SlideShare a Scribd company logo
1 of 17
สรุ ป ผลโครงการประชุ ม แลกเปลี ่ ย นเรี ย นรู ้ ง านทั น ต
                   สาธารณสุ ข ในชุ ม ชน
             วั น ที ่ ๒-๔ พฤษภาคม ๒๕๕๕
          ณ โรงแรมฮอลิ เ ดย์ อิ น น์ จ.เชี ย งใหม่
วั ต ถุ ป ระสงค์
     เพื่อการจัดประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้การทำางานส่งเสริมสุขภาพ
ช่องปากในชุมชนและรพ.สต. และพัฒนาเครือข่ายบุคลากรด้านการ
ทำางานทันตสาธารณสุขในชุมชน
ผู ้ เ ข้ า ประชุ ม เป็นทันตบุคลากรจากรพสต. รพช. สสจง ศูนย์อนามัย
สำานักทันตสาธารณสุข ๑๕๐ คน
วิ ธ ี ก าร -บรรยายพิเศษ งานส่งเสริมสุขภาพช่องปาก
     - เสวนาเรื่องการทำางานทันตสาธารณสุขในชุมชน และการ
ทำางานกับชุมชน
- ตลาดนัดความรู้การทำางานทันตฯในชุมชนโดยมีผู้นำาเสนอจาก
       พื้นที่ และเปิดวงเวิลดิ์ คาเฟ
     - การศึกษาดูงานในพื้นที่ (กลุ่มต่างๆ ในชุมชน เทศบาลตำาบล
       สันกำาแพง อ.สันกำาแพง จ .เชียงใหม่)
     - ทบทวนการเรียนรู้ของตนเอง และเพิ่มเติมเรื่องการทำางานกับ
       องค์การปกครองท้องถิ่นและนวัตกรรม
ผลการดำ า เนิ น งาน
1. เกริ ่ น นำ า ทิ ศ ทางงานส่ ง เสริ ม สุ ข ภาพช่ อ งปาก โดย ทพ.สุธา
  เจียรมณีโชติชัย ผู้อำานวยการสำานักทันตสาธารณสุข
         การทำางานกับชุมชนเป็นมุมมองและแนวทางในการทำางานให้
  สำาเร็จ เพราะปากคือประตูสู่สุขภาพ สามารถทำางานบูรณาการกับ
  สาขาอื่นๆได้ การดูแลต้องครอบคลุม ทั้งการสร้าง ซ่อม ฟื้นฟู และ
  มิติสุขภาพโดยรวม
         บทบาทหน้าที่การทำางานแบบเดิม คือ การดูแลสุขภาพช่องปาก
  ทุกกลุ่มวัยในพื้นที่รับผิดชอบ และให้บริการในสถานบริการ แต่คน
  ส่วนใหญ่ยังเข้าไม่ถึงบริการ การบริการเป็นแบบซ่อมมากกว่าสร้าง
  จึงมีกระบวนทัศน์ใหม่ของการทำางานในชุมชน ได้แก่
          -    จาก สุขภาพไม่ดี ไปสู่การมีสุขภาพดี
          -    จาก ซ่อมนำา ไปสู่การสร้างนำา
          -    จากทำางานเฉพาะของตน ไปสู่การทำางานแบบสห
              วิทยาการและสหสาขา
          -    จากบริการทางการแพทย์ ไปสู่การบริการทางสังคม
          -    จากการมีฐานอยู่ที่โรงพยาบาล (รับ) ไปสู่การมีฐานเป็น
              ชุมชน (รุก)
          -    จากการทำางานกับปัจเจกบุคคล ไปสู่การทำางานกับ
              ประชากร
          การทบทวนภารกิจและบทบาทของงานสาธารณสุข แบ่งเป็น
     4 หมวดดังนี้
            หมวดที่ ๑ นโยบายและยุทธศาสตร์ เป็นแกนในการจัดการ
      ทุน
            หมวดที่ ๒ ระบบบริการ ระบบการป้องกันและควบคุมโรค
            ระบบการสร้างเสริมสุขภาพ ระบบ
                     การคุ้มครองผู้บริโภค
หมวดที่ ๓ มาตรการและเครื่องมือ (การเงินการคลังและ
       เทคโนโลยีสารสนเทศ)
             หมวดที่ ๔ การบริหารจัดการ โครงสร้าง กำาลังคน และงบ
       ประมาณ
             ดังนั้นการทำางานในชุมชนต้องปรับแนวคิดและการทำางาน
       เพื่อให้สามารถทำางานอยู่ในชุมชนได้อย่างมีความสุข เป็นที่
       ยอมรับ ประสบความสำาเร็จ และนำาไปสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน ตาม
       แนวคิดของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว “เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา”
2.   เสวนา การทำ า งานทั น ตสาธารณสุ ข ในชุ ม ชนและการทำางาน
     กับชุมชน โดยวิทยากรรับเชิญ ได้แก่
       นาย อำา น ว ย รื่ น นุ สาร กำา นั น ตำา บล หิ น มู ล อ .บางเลน จ .นครปฐม
              ที่ชุมชนมีปัญหาเรื่องฟลูออไรด์ในนำ้าดื่มเกินมาตรฐาน มี
       สาเหตุมาจากคนในชุมชนใช้นำ้าบาดาลบริโภคบริโภคโดยไม่รู้ถึง
       พิษภัยของฟลูออไรด์ ทำาให้เด็กมีปัญหาฟันตกกระมาก หลังจาก
       ที่เจ้าหน้าที่จากสำานักงานสาธารณสุขจังหวัดมาให้ความรู้ และให้
       คำาแนะนำาในการแก้ปัญหา 2 ทางเลือก คือ การใช้นำ้าฝนแทน(ไม่
       เหมาะเพราะชุมชนมีโรงงานและนกพิราบมาก) และการใช้เครื่อง
       กรอง RO กำานันจึงร่างโครงการร่วมกับคณะกรรมการหมู่บ้าน
       แล้วเสนอโครงการต่อนายอำาเภอและของบสนับสนุนจากองค์การ
       บริหารส่วนตำาบล หลังจากได้งบประมาณสนับสนุนจึงเริ่มดำาเนิน
       การตั้งแต่ปี 2551 จนถึงปัจจุบัน ผลที่ได้คือเด็กรุ่นใหม่มีสุขภาพ
       ฟันดีขึ้น ชุมชนยอมรับและรักโรงงานนำ้า คนในชุมชนมีงานทำา
       และในอนาคตจะให้ชุมชนมีส่วนร่วมเป็นหุ้นส่วนของโรงงานนำ้า
       มีปัจจัยที่ทำาให้เกิดความสำาเร็จ คือ การลงไปคลุกคลีในชุมชน
       ทำาให้เห็นปัญหาที่แท้จริง การมีประชุมหมู่บ้านอย่างสมำ่าเสมอ
       ตามหลักการเข้าใจ เข้าถึง พัฒนา
       นายประที ป กาญจนเส ม า ผอ .กองสาธาร ณ สุ ขเท ศ บ า ล ตำา บ ล ร าง
กระทุ่ ม อ .บางเลน จ .นครปฐม
              มีปัญหาเรื่องฟลูออไรด์ในนำ้าดื่มเกินมาตรฐาน ทำาให้เด็กมี
       ปัญหาฟันตกกระมาก จึงเก็บตัวอย่างนำ้าประปาและนำ้าตู้หยอด
       เหรียญส่งสำานักทันตสาธารณสุขตรวจ ไตรมาสละ 1 ครั้ง จัด
       ประชาคมหมู่บ้านร่วมวางแผนติดตั้งเครื่องกรองนำ้า RO โดยเริ่ม
       ติดตั้งที่ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สิ่งที่จะทำาต่อไปคือการสำารวจ
พฤติกรรมการใช้นำ้าของคนในชุมชนจากสมุดบันทึกตู้นำ้าหยอด
       เหรียญ มีปัจจัยที่ทำาให้เกิดความสำาเร็จ คือ เป็นการทำางานที่ไม่มี
       แรงกดดันจากใคร จึงสามารถทำาอย่างเป็นขั้นตอน มีการ
       วางแผนเป็นระยะ และประทับใจความร่วมมือของเจ้าหน้าที่และ
       คนในชุมชน ผู้ใหญ่บ้าน กรรมการหมู่บ้าน ทำาให้รู้ระบบการ
       จัดการของแต่ละหมู่บ้าน
       ทพญ .ธิ รั ม ภา ลุ พ รหมมา ร .พ .สระใคร จ .หนองคาย
             - เรียนรู้จากการถามคนที่มารักษาฟัน โดยศึกษาข้อมูล
ชุมชน บริบทชุมชน
             - จัดประชุมเตรียมการลงชุมชนในช่วงก่อนเกี่ยวข้าว เชิญ
      หัวหน้าสถานีอนามัยเป็นคนกลางระหว่างคนในชุมชนและเจ้า
      หน้าที่ เลือกหมู่บ้านที่มี อสม.ที่เข้มแข็ง โดยคนในชุมชนร่วม
      กำาหนดเวลาการลงชุมชนเป็นช่วงหลังเกี่ยวข้าว
             - เวลาเยี่ยมบ้านห้ามสอน ควรดูว่าเขาเลี้ยงลูกหลานอย่างไร
      ใช้ชีวิตอย่างไร ชวนคุยให้เขาเลือกว่าอยากแก้ปัญหาเรื่องใด
      ซึ่งส่วนใหญ่จะเลือกการแปรงฟัน
             - นายกองค์การบริหารส่วนตำาบลเห็นความสำาคัญและมีงบจึง
      จัดกิจกรรมการแข่งแปรงฟัน ทำาให้คนในชุมชนมีส่วนร่วม
             - สกัดสิ่งดีๆจากข้อมูล เช่น ก่อนให้นมแม่จะใช้บอระเพ็ดเช็ด
เพื่อให้เด็กเลิกดูดนม
             - รู้คน รู้เวลา ใช้ความรักของผู้ดูแลเด็กให้เป็นประโยชน์
      เข้าไปแบบมิตรสกัดข้อมูล และส่งข้อมูลกลับให้ชุมชน
         นาง ณั ฏฐ พั ชร คงผดุ ง หั ว หน้ า สำา นั กปลั ดเทศ บ า ล ตำา บ ล น า ม ะเ ฟื อง
อ .เมื อ ง จ .หนองบั ว ลำา ภู
             บทเรียนที่ได้เรียนรู้จากการทำางานในชุมชน ได้แก่
             - ถอด เชื่อม และคืนข้อมูลกลับแก่ชาวบ้าน
             - ใช้การมีส่วนร่วมของชาวบ้านในการคิดแก้ปัญหาและมีเจ้า
       หน้าที่คอยเสริมความเข้าใจ ทำาให้เกิดการจัดการในชุมชนโดย
       คนในชุมชน
             - การทำางานทำาให้เห็นถึงวิถีชีวิต สร้างเวทีชาวบ้าน
       สามารถทำาความเข้าใจปัญหา เพราะสาเหตุของปัญหาเกิดจาก
       ทุกข์ของคนในชุมชน
             - ใช้กระบวนการขับเคลื่อนจากความร่วมมือระหว่าง
       ประชาชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น/ วยงานภาครัฐ และ
                                               หน่
องค์ความรู้วิชาการ เริ่มจากการจัดการข้อมูล การจัดการความ
    รู้(ประชุมบ่อยๆ)
    ประชาชนเป็นเจ้าของข้อมูล(ใส่ใจในข้อมูลของทุกคน) การจัด
    ระบบความคิดโดยกระบวนการ”วิจัยชุมชน” มีการรวมกลุ่มเชื่อม
    เครือข่าย การจัดการความทุกข์ของเขาเองในทุกกลุ่ม จนทำาให้
    เกิดนโยบายสาธารณะ และมาตรการสังคมสงบสุข จัด
    กระบวนการคิดเอาความสุขเป็นที่ตั้ง
            - ปัจจัยที่ทำาให้เกิดการเปลี่ยนแปลง คือ การปรับความคิด
ของทั้งเจ้าหน้าที่และคนในชุมชน
     ทพญ .พั ช รลั กษ ณ์ เถื่ อนนาดี ร .พ . บ้ า นฝาง อ .บ้ า นฝาง จ .ขอนแก่ น
          - การทำางานใกล้ชิดกับประชาชน มีพี่เลี้ยงที่ดีที่สุดคือ
คนในชุมชน อสม.
          - การทำางานโดยตั้งคำาตอบไว้ก่อนว่าจะได้ผลอย่างไรจะ
เป็นการล็อกตัวเรา เป็นการจำากัดความคิด
          - ควรทำางานตามหน้าที่ให้ดีก่อนแล้วทำาไปเรื่อยๆให้ลึกซึ้ง
          ในสิ่งที่ทำาว่าแก่นของเรื่องนี้คืออะไร

๓. ตลาดนั ด ความรู ้ ก ารทำ า งานทั น ตฯในชุ ม ชนและเปิ ด วง
World Café
       แบ่งผู้เข้าร่วมประชุมเป็น ๑๐ กลุ่ม รับฟังการนำาเสนอผลงาน
วิชาการจาก ๑๑ พื้นที่เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้การทำางานทันต
สาธารณสุขในชุมชน/        รพ.สต. โดยให้เวลารับฟังรอบละ ๒๐ นาที
จำานวน ๒ รอบ หลังจากนั้นจัดประชุมรูปแบบ World Café โดยแบ่งผู้
เข้าร่วมประชุมโต๊ะละ ๔-๕ คน เพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกันในกลุ่ม
รอบละ ๒๐ นาที ในประเด็นการสนทนาดังนี้
       คำาถามที่ ๑. สิ่งที่ชอบจากตลาดนัดความรู้
       คำาถามที่ ๒. ประสบการณ์การทำางานในชุมชนของเรา
       คำาถามที่ ๓. สิ่งที่ได้เรียนรู้จากวันนี้
       หลังจากนั้นตัวแทนกลุ่มนำาเสนอ
       - ได้แนวคิดในการทำางานที่หลากหลายต่อยอดแนวความคิด
       และวิธีการทำางานขึ้นอยู่กับบริบทของชุมชน
       - ได้รู้ความรู้สึกของทันตาภิบาลในการทำางาน
       - ได้รู้แนวทางในการดำาเนินงานในชุมชนมากขึ้น
- ได้ชาร์จแบต หลังจากทำางานจนใกล้หมดไฟเนื่องจากไม่ประสบ
     ความสำาเร็จในการทำางาน มาครั้งนี้ทำาให้มีกำาลังใจในการทำางาน
     เพิ่มมากขึ้น
     - ได้ถ่ายทอดประสบการณ์ในการทำางานให้เพื่อนๆฟัง
     - ได้แนวทางในการพัฒนางานที่ทำา
     - การทำางานชุมชนต้องไปให้ได้ถูกที่ ถูกทาง Keym an Key
source
     - รูปแบบการทำางานต่างกันเนื่องจากแต่ละชุมชนมีบริบทที่ต่างกัน
๔. การศึ ก ษาดู ง านในพื ้ น ที ่ (เทศบาลตำาบลสันกำาแพง
อ.สันกำาแพง จ .เชียงใหม่)
       ศึ ก ษาดู ง านที่ เ ทศบาลตำา บลสั น กำา แพง มี ก ารนำา เสนอการทำา
กิจกรรมที่ผ่านมาของชมรม อสม. ,ชมรมผู้สูงอายุ ,ชมรมกลุ่มสายใยรัก
และสุขภาพจิต ,และชมรมออกกำาลังกาย โดยสมาชิกชมรมเป็นผู้ดำาเนิน
การและเทศบาลเป็นผู้สนับสนุนและให้คำา ปรึกษา หลังจากนั้นเดินทาง
ไปดู กิ จ กรรมของกลุ่ ม พั ฒ นาสตรี บ้ า นต้ น โจก(คำา ซาว) เป็ น วิ ส าหกิ จ
ชุ มชนที่ เกิ ด จากการรวมตั ว กั น มีข้ าราชการบำา นาญและอาจารย์ จ าก
มหาวิ ท ยาลั ย เป็ น แกนนำา ใช้ ค วามรู้ ที่ มี พั ฒ นาศั ก ยภาพคนในชุ ม ชน
ผลิตสินค้าจากเศษผ้าเนื่องจากในชุมชนมีโรงงานเย็บผ้า เพื่อเพิ่มราย
ได้ เ สริ ม ให้ ค นในชุ ม ชน กลุ่ ม ผู้ นำา เสนอทั้ ง สองที่ มี ค วามยิ น ดี ที่ ไ ด้ นำา
เสนอผลงานของชุ ม ชน เป็ น การเติ ม กำา ลั ง ใจในการทำา งานให้ ค นใน
ชุมชน และคณะศึกษาดูงานต่างได้รับความรู้จากการทำางานของชุมชน
ที่ประสบความสำาเร็จ คนในชุมชนมีความสุข สร้างแรงบันดาลใจให้กับ
เจ้าหน้าที่ในการกลับไปทำางานต่อไป

๕. ทบทวนการเรี ย นรู ้ ข องตนเอง และเพิ ่ ม เติ ม เรื ่ อ งการ
ทำ า งานกั บ องค์ ก ารปกครองท้ อ งถิ ่ น และนวั ต กรรม
       ๕ .๑ สรุ ป ผล การ ศึ กษ า ดู งาน   โดยตัวแทนกลุ่มนำาเสนอ
     กลุ่มที่ ๑
     - เห็นการที่จะเริ่มมีกลุ่ม ชมรม เริ่มจาก “คิดเอง” ต่อจากนั้นก็
     รวมกลุ่ม “จิตอาสา” ได้กลุ่มแล้วก็เกิดผล
งาน และ “ต่อยอดไปเรื่อย” หน่วยงานอื่นเข้ามาทีหลัง
     - การบูรณาการ เช่น กลุ่มสายใยไม่ไปเยี่ยมคลอดเฉยๆ เริ่มมีเบี้ย
     ต้นไม้ เพื่อให้ชาวบ้านปลูก ต้นไม้โตไปพร้อมเด็ก
     - ได้ความสามัคคีในกลุ่มที่ไปศึกษาดูงาน
- ได้เห็นความร่วมมือระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกับ
ชุมชน มีความเชื่อมโยงที่แน่นแฟ้น
         - รู้วิธีการทำาการตลาดให้ผลิตภัณฑ์ของชุมชน
         - การมีส่วนร่วมของชุมชนในการสร้างชมรมขึ้นมาและทำาให้เกิด
         ความยั่งยืนโดยมีการทำากิจกรรมร่วมกัน
อยู่เรื่อยๆ ไม่ให้หยุดนิ่ง
         - ความเสียสละและจิตอาสาของคนในชุมชน ทำาให้ชุมชนน่าอยู่
มากขึ้น
         - มีความต่อเนื่อง ยั่งยืน
         - หน่วยงานภาครัฐให้การสนับสนุนและให้ความร่วมมือในการทำา
กิจกรรมต่างๆ
         - เห็นคุณค่าของชีวิต คือ เราอย่ามองผู้สูงอายุเป็นแค่ผู้สูงอายุ
แต่ผู้สูงอายุยังมีศักยภาพในตัวเอง จึงควรดึง ศักยภาพของเขาออกมา
ให้ใช้ประโยชน์สูงสุด เช่น เมื่อเกษียณอายุราชการไปแล้วสามารถใช้
ประโยชน์จากความรู้ที่มีได้โดยการร่วมทำากิจกรรมต่างๆของชมรม
         - การทำางานกับชุมชนต้องทำาด้วยใจ จึงจะได้ใจของคนอื่นมา
         - ใช้หลัก “เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา ”
         - การมีส่วนร่วมของภาคประชาชน เป็นการส่งเสริมหลัก
ประชาธิปไตย
         - มีเวทีในการแสดงความคิดเห็น
         - การขยายเครือข่ายไปสู่ที่อื่น การเผยแพร่ความรู้แก่ชุมชนอื่นๆ
เช่น การรำามวยจีน
         - ได้เห็นความสุขของชาวบ้านที่ได้ร่วมกิจกรรม
         - ทำาให้คนในชุมชนมีรายได้ที่ยั่งยืน
         - เป็นการสร้างแรงบันดาลใจในการทำางาน ทำาให้ชุมชนของตนดี
ขึ้น
         - ได้แนวคิดการทำางานร่วมกับชุมชน
         - มีความตั้งใจในการทำางานมากขึ้นเมื่อมาเห็นชุมชนอื่นตั้งใจ
ทำางานจนได้ผลสำาเร็จ
         - อยากสะท้อนถึงหน่วยงานว่าควรมีการเพิ่มเรื่องของทันต
สาธารณสุขในชมรมต่างๆ ด้วย และสามารถนำาความรู้ที่ได้ไปประยุกต์
ใช้โดยนำาแนวทางการทำางานที่ได้เรียนรู้ไปปรับใช้กับบริบทของตนเอง
         กลุ่มที่ ๒
         - จุดเริ่มต้นมาจากชุมชน ไม่ได้รับการยัดเยียดจากภาครัฐ
- มีทรั พยากรชุ ม ชนที่ เข้ มแข็ ง แกนนำา มี ความพร้ อ ม ทั้ งด้ านความ
รู้ เศรษฐานะ เริ่ มด้ วยใจ “จิตอาสา”
         - ชุมชนเห็ น ความสำา คั ญ ด้ า นสุ ข ภาพ
         - มีการสร้ างแรงจู งใจ เช่ น ประกวด ให้ รางวั ล
         - วิสัยทั ศน์ ของผู้ นำา ชุ ม ชน ทั้ งจากองค์ กรและชุ ม ชน มีความกว้ าง
ไกล ทำา ให้ องค์ กรภาครั ฐเข้ าไปทำา งานได้ ง่ าย
         - มีความยั่ งยื น เพราะสิ่ งต่ างๆ เกิดจากชุ ม ชน เริ่มจากชุ ม ชน
         - อสม. เกิดจากนโยบาย ของเทศบาล และสาธารณสุ ข แต่
กิจกรรมที่ ทำา เกิดจากความคิ ด ของกลุ่ มเอง ความจริ งใจของ อสม.ที่
อยากช่ ว ยชุ ม ชน ความเด่ น คือ คิดเอง ทำา เอง เกิดความอยากทำา งาน
จริง ๆ
         - ผู้ สูงอายุ เกิดจากจุ ด มุ่ งหมายร่ ว มกั น ของผู้ สู งอายุ “ยิ้มแย้ ม
แจ่ มใส พูดจาไพเราะ” ทำา งานแบบมี อุ ด มการณ์ เ ดี ย วกั น ต่อเนื่ อง เน้น
“การช่ วยเหลื อตั วเอง”
         - กลุ่ มสานสั ม พั นธ์ สัน กำา แพง เกิ ดจากปั ญ หาของตนเอง แล้ว
ชุมชนช่ วยกั น ผลั ก ดั น ทำา ให้ ผู้ ป่ วยจิ ตเวชได้ รั บการรั ก ษาร้ อยละ ๑๐๐
         - การออกกำา ลั ง กายแบบเต้ าเต๋ อ ซิ น ซี เป็ นการดู แลสุ ข ภาพโดย
ใช้ หลั กธรรม
         - กลุ่ มอาชี พ เพื่ อคนในชุ ม ชนมี ห น้ า ที่ และส่ ว นสำา คั ญ ในการทำา
กิจกรรม คนในชุ มชนมี อ าชี พ รายได้ ดึงองค์ กรภาครั ฐเข้ าร่ วม
         - กลุ่ มเพื่ อนช่ ว ยเพื่ อน ดูแลผู้ ป่ วยเรื้ อรั ง ได้รั บการรั ก ษา และมี
คุ ณภาพชี วิ ต
         - การสร้ างกลุ่ มขึ้ นมาได้ เ นื่ องจาก มีแกนนำา เข้ มแข็ ง
         - เห็นความร่ วมมื อในชุ ม ชน เข้าถึ งชุ ม ชนได้ ถู กจุ ด ปรั บใช้
ภูมิ ปั ญ ญาท้ องถิ่ น
         - ได้ ชาร์ ตแบต มี กำา ลั งใจในการทำา งาน
         - การรวมกลุ่ ม พลั งชุ มชน พึ่ งพาตั วเองได้ แล้ วหน่ ว ยงานภาค
รัฐเข้ ามาสนั บ สนุ น
         กลุ่ มที่ ๓
         มีการรวมกลุ่ ม พลั งชุ มชน พึ่ งพาตั วเองได้ แล้ วหน่ ว ยงานภาครั ฐ
เข้ามาสนั บสนุ น จึ งเกิ ดความต่ อเนื่ องของกิ จ กรรม ส่วนสิ่ งที่ ได้ แตกต่ าง
จากกลุ่ มอื่ นคื อ กลุ่ มผ้ า มี ประธาน (ที่ ปรึ กษา) เป็นคนที่ ทำา ธุ ร กิ จเกี่ ยว
กับผ้ าอยู่ แล้ ว แต่ อยากพั ฒ นาชุ ม ชน จึงนำา เศษผ้ ามาให้ ชุ มชนได้ นำา มา
ใช้ หารายได้ ต่ อ
กลุ่มที่ ๔
      การสร้างชมรมมีทั้งจากที่ชุมชนริเริ่มสร้างเองและมีบางชมรมสร้าง
จากการที่เทศบาลสันกำาแพงสนับสนุนให้เกิดก่อน แต่มีจุดมุ่งหมาย
เหมือนกันคือทำาอย่างไรจึงจะพึ่งพาตนเองได้ ทางชมรมเห็นความเชื่อม
โยงของสุขภาพองค์รวมทำาให้เกิดกิจกรรมด้านต่างๆที่เกี่ยวกับสุขภาพ
ไม่เฉพาะด้านใดด้านหนึ่ง วิสาหกิจชุมชนทำาให้เห็นว่ารายได้ การ
ดำารงชีวิต เป็นเงื่อนไขของความสุขก่อนที่จะคำานึงถึงสุขภาพ และที่
เห็นคือทุกคนมานำาเสนอด้วยความสุข
     ๕ .๒ ทบทวน ค วา ม สุ ขจ า ก ก า ร ทำา ง า น ใ น ชุ ม ช น   แบ่งกลุ่มแลก
เปลี่ยนความคิดเห็น นำาเสนอผลดังนี้
       กลุ่มที่ ๑
       - ได้เห็นรอยยิ้มและความห่วงใย
       - ได้รับการยอมรับ
       - เสียงหัวเราะ
       - การช่วยเหลือเด็กๆและชุมชน จนชุมชนเห็นความสำาคัญของ
การดูแลสุขภาพช่องปาก
       - ชุมชนให้ความจริงใจตอบกลับมาจากการที่เราตั้งใจทำางาน
       กลุ่มที่ ๒
       - สุขเมื่อผู้ได้รับ ได้รับในสิ่งที่ปรารถนามานาน
       - ผู้นำาชุมชนให้ความร่วมมือและประสานงานจนประสบความ
สำาเร็จ
       - สุขเมื่อเป็นผู้ให้เขาก่อน ให้ด้วยรอยยิ้มและความจริงใจ
       - สุขที่มีสามัญสำานึกที่ดีในการทำางาน และได้รับการยอมรับจาก
ทุกคน
       - ความพึงพอใจของผู้รับบริการ
       - ความจริงใจของเราในการทำางาน
       กลุ่มที่ ๓
       - ได้การยอมรับในชุมชน
       - ภูมิใจที่เห็นความสำาเร็จในชุมชน พึ่งตนเองได้
       - สุขใจเมื่อเห็นเขาฟันดีขึ้น
       - เรามองโลกในแง่บวก มีศรัทธาในงานที่ทำา และมีสติอยู่ตลอด
เวลา
       กลุ่มที่ ๔
       - เปลี่ยนจากคำาว่า “หมอ” กลายเป็น “เพือน”  ่
- จากผู้สูงอายุที่มีความพยายามพูดอธิบายให้หมอฟังถึงสิ่งที่เป็น
     - การทำางานร่วมกับผู้อื่น เพื่อนร่วมงานคอยช่วยเหลือ
     - ผู้สูงอายุได้เข้ามาถามสารทุกข์สุขดิบ “กินข้าวหรือยัง” “มี ที่พัก
หรือไม่” ก่อเกิดแรงบันดาลใจในการทำางานต่อไป
     กลุ่มที่ ๕
     - ได้ค้นพบว่า ปัญญาของเราเกิดจากคำาพูดง่ายๆ วิถีชีวิตง่ายๆ
ของคนไข้ ทำาให้เกิดแรงบันดาลใจ และหายเหนื่อยจากการทำางาน
     - เกิดการมองเป็นวงกลม , องค์รวม เห็นเบื้องหลังของชาวบ้าน
เกิดความท้าทายในการเข้าไปหาผู้รับบริการที่จะไปเรียนรู้ m ulti skill
เช่น ทักษะการสื่อสารเชิงบวก การเจรจาต่อรอง การฟังอย่างลึกซึ้ง “
มองเขาเป็นคน ไม่ใช่คนไข้”
     - ภาคีเครือข่ายหรือชุมชนทำาให้มีความสุข
     ๕ .๓ เติ ม เต็ มการ ทำา ง า น กั บอง ค์ กร ป ก ค ร อ ง ส่ วน ท้ องถิ่ น
          โดย ณัฏฐพัชร คงผดุง หัวหน้าสำานักปลัดเทศบาลตำาบลนา
มะเฟือง
       การคลายปมที่สำาคัญ คือ การเปิดใจตัวเอง ในวิชาอาชีพมักคิดว่า
เรื่องของเราหรือเรื่องสุขภาพใหญ่เสมอ เช่น เวลาที่ท้องถิ่นไม่มาร่วม
งานเราเรารู้สึกว่าเค้าผิด แต่พอเราถูกเชิญกลับใคร่ครวญว่าเกี่ยวกับเรา
หรือไม่ ไม่ว่างบ้าง ไม่ใส่ใจบ้าง ใจเราจึงไม่เปิด ควรเปิดใจ มี
ปฏิสัมพันธ์กัน เช่น ไม่ไปโรงเรียนหรือท้องถิ่นเฉพาะเมื่อเราต้องการ
งานจากเขา ไปเยี่ยม ไปพูดคุยกัน ไปตอนที่เขาต้องการเราด้วย
เครื่องมือสำาคัญที่จะทำาให้เราทำางานอย่างมีความสุข คือ ความเชื่อว่าเรา
ทำางานได้ คือถึงแม้ท้องถิ่นจะไม่ให้เงินเราก็ทำางานได้ และไม่เชื่อว่าจะ
มีใครมาวางกรอบว่าเราทำาได้แค่นี้ หมั่นหาความสุขโดยสังเกต ทบทวน
ความสุขตัวเอง เพื่อเป็นเครื่องมือช่วยเวลาเจออุปสรรค
     ๕.๔ เปิ ด ความคิ ด อะไรคื อน วั ตกร ร ม งานเชิ งรุ ก /เชิ ง พั ฒน า
          โดย ทพญ.ศัณสนี รัชชกูล กลุ่มพัฒนาความร่วมมือทางทันต
     สาธารณสุขระหว่างประเทศ
     นวัตกรรมคือ สิ่งใหม่ที่เกิดขึ้น สิ่งที่ชาวบ้านคิด เช่นการเยี่ยมบ้าน
โดยนำาต้นกล้วยไปให้ เพราะสิ่งที่ชาวบ้าน คิดเองจะเหมาะสมกับ
ชุมชนที่สุด โดยหน่วยงานภาครัฐสามารถเป็นฝ่ายสนับสนุนได้
ผู ้ จ ั ด ประชุ ม กลุ่มพัฒนาการคุ้มครองผู้บริโภคด้านทันตสุขภาพ
สำานักทันตสาธารณสุข กรมอนามัย
ภาคผนวก
World café เรี ย นรู ้ ก ารทำ า งานทั น ตสาธารณสุ ข ในชุ ม ชน/
รพสต.
      สภากาแฟ (World café) สภากาแฟ นั้น เป็นเวทีแลกเปลี่ยน
ความคิด โดยที่ผู้จดเวทีจะต้องกำาหนดประเด็นและวางแผนการแลก
                  ั
เปลี่ยนความคิด โดยสภากาแฟเป็นเครื่องมือที่จะทำาให้กลุ่มคนมาเข้า
ร่วมอยู่ในสถานที่เดียวกัน ได้มีโอกาสพูดคุยกันทุกคน
      กติ ก า “สภากาแฟ ” ได้แก่ ผ่อนคลาย สบาย ทุกคนเท่าเทียม
กัน การฟังอย่างลึกซึ้ง เคารพทุกความคิด ไม่ตัดสิน ผิด ถูก สมาชิกวง
ละ ๔-๖ คน บอกเล่าเรื่องราวทีละคน แบ่งเวลาให้เพื่อนพูดให้ครบวง

ประเด็ น สนทนา
“สิ ่ ง ที ่ ช อบจากตลาดนั ด ความรู ้ ”
     มีการสอดแทรกความรู้เรื่องทันตสุขภาพในวิถีชีวิตของชุมชน
     การบูรณาการการแปรงฟันกับการละหมาด
     การทำางานครอบคลุมทุกลุ่มอายุ
     การทำางานร่วมกันเป็นทีม CUP
     สามารถหาเครือข่ายในการทำางานโดย อสม. และเพิ่มศักยภาพให้
         อสม.ก่อนลงมือปฏิบัติงาน
     การแก้ปัญหาฟลูออไรด์ในพื้นที่โดยชุมชนมีส่วนร่วม การประเมิน
         ผลการทำางานที่เป็นรูปธรรม
   การสร้ างนวั ต กรรมทั น ตสุ ข ภาพ อสม.เครื อข่ ายรั ก ฟั น (การให้ อ
       สม.ตรวจฟั นให้ กั บ AN C ,WBB,ผู้ สูงอายุ ) เพิ่ มทั กษะความรู้ จ นเกิ ด
       ความชำา นาญก่ อ นลงตรวจ
      การทำา การ์ ดวั นเกิ ดเด็ ก ๑-๓ ปี (ให้ ทุ ก ๑ ปี มีกลอนด้ า นส่ ง
       เสริ มสุ ข ภาพช่ องปากด้ ว ย )
      อสม.เป็ นผู้ ให้ ความรู้ และผลิ ตสื่ อในการให้ ค วามรู้ แก่ คนในชุ ม ชน
       เอง
      การสะท้ อนข้ อ มู ล ให้ ห น่ วยงานที่ เกี่ ยวข้ อง
      การเชื่ อมโยงผู้ สู งอายุ เล่ า นิ ทานในศู น ย์ เด็ กเล็ ก
      การจั ดผ้ าป่ าที่ แปรงฟั น
      เกิดแนวคิ ดการทำา งานใหม่ ๆ

“ ป ร ะ ส บ ก า ร ณ ์ ก า ร ท ำา ง า น ช ุ ม ช น ข อ ง เ ร า ”
    มีการสร้ างเครื อข่ ายการทำา งานทั น ตสุ ข ภาพในชุ ม ชน โดยเน้ นอ
       สม.ในการดู แลสุ ข ภาพช่ อ งปากของคนในพื้ น ที่ มีการประเมิ น
       ความรู้ ของ อสม.
      มีการเชื่ อมโยงปั ญ หา นำา มาวิ เคราะห์ การลงชุ ม ชนให้ ค วามรู้ แก่
       กลุ่ มผู้ ดู แลเด็ ก WBB,ANC การเยี่ ยมบ้ า นผู้ สู งอายุ ผู้ พิ การ ,ผู้ ป่ วย
       NC D
      การบู ร ณาการร่ ว มกั บ งานรั ก ษาอื่ นๆ ทำา งานเป็ น สหวิ ช าชี พ
      การทำา งานเชิ งรุ ก ให้ เด็ กเข้ าร่ วมให้ ม ากขึ้ น (model ทำา ฟั นให้ เด็ กดู
       เยี่ ยมบ้ าน การทำา ภาพการทำา ฟั น ไม่ ใ ห้ น่ า กลั ว )
      มีระบบการติ ด ตามที่ ต่ อเนื่ อง เพื่ อปรั บวิ ธี การทำา งานให้ เข้ ากั บ
       คนในชุ ม ชน
      บุคลากรที่ ทำา งานจะต้ อ งผสมผสานการทำา งานตามนโยบายกั บ วิ ธี
       การทำา งานให้ success ตามบริ บ ทชุ ม ชน
      การทำา แบบบั น ทึ ก ฝั น ผุ ถ่ายรู ป ฟั น บันทึ ก การรั ก ษา
      ทำา เมนู ทำา ฟั นเพื่ อให้ เด็ ก สนุ ก กั บ การทำา ฟั น
      นำา การ์ ตู น มาเป็ นสื่ อในการทำา ฟั น ให้ เด็ ก
      การส่ งเสริ ม ทั นตสุ ข ภาพชาวไทยมุ ส ลิ ม ใช้ วิ ถี ชี วิ ตของศาสนา
       อิสลามกั บ การส่ งเสริ ม ด้ า นทั น ตสุ ข ภาพ คือ “ร่างกายเป็ น สิ่ งที่
       พระเจ้ าสร้ างให้ มีหน้ าที่ ต้ องรั กษา” ศาสนา ความเชื่ อ (การละมาด )
       การชำา ระล้ างร่ างกายโดยการล้ างหน้ า บ้วนปาก วันละ ๕ ครั้ ง
       เปลี่ ยนเป็ น การแปรงฟั น ก่ อ นเข้ ามั สยิ ด
 การออกหน่วยทันตกรรมที่ รพสต. เพื่อลดความแออัดของผู้ป่วย
     ในโรงพยาบาล
    จัดประกวดแปรงฟัน
    การให้บริการครบคลุม KPI
    การประชาคมหมู่บ้านเพื่อหาวิธีแก้ไขโดยชุมชนมีส่วนร่วม

“ วันนี้เร ารู้อะไ ร เ พิ่ ม ขึ้น ”
    ได้แนวคิดและแนวทางในการทำางานที่หลากหลาย ได้ต่อยอด
     และพัฒนางานที่ทำา
    ได้ทราบปัญหาแต่ละที่มีความแตกต่างกัน การทำางานตามบริบท
     ของชุมชน
    ได้รับทราบความรู้สึกของทันตาภิบาล ได้รู้ว่าตอนนี้ทันตาภิบาล
     กำาลังต้องการเปลี่ยนสายงาน แต่ยังมีบุคลากรที่อยากทำางานต่อ
     แต่ถ้ามีโอกาสก็จะเปลี่ยนอาชีพ
    ได้ชาร์จแบต ทำางานใกล้หมดไฟแล้ว เพราะทำางานในชุมชนไม่
     ประสบความสำาเร็จ วันนี้ได้รู้แนวทางการทำางานในชุมชนมากขึ้น
    ได้ถ่ายทอดประสบการณ์
    การทำางานชุมชนต้องไปให้ได้ถูกที่ ถูกทาง Key man Key source
    รู้ทักษะการทำางานร่วมกับชุมชน เน้น ทำาให้ “สำา เร็จ มากกว่า
     เสร็จ”
    การวิเคราะห์ข้อมูลชุมชน (จุดแข็ง จุดอ่อน ข้อมูลพื้นฐานชุมชน
     กลุ่มผู้มีส่วนได้เสีย)
    การทำางานเป็นทีม(พัฒนาศักยภาพบุคลากร มีการประสานงาน
     เครือข่าย สหวิชาชีพ)
    การกำาหนดเป้าหมายที่ชัดเจนร่วมกัน
    การแลกเปลี่ยนข้อมูล ติดตามอย่างเป็นระบบ
    การปรับกลยุทธ์ วิธีการทำางาน ไม่ยึดติดรูปแบบ
    CQI ปรับและทำาอย่างต่อเนื่อง แลกเปลี่ยนเรียนรู้


ทบทวนการศึกษาดูงาน
    เห็นการที่จะเริ่มมีกลุ่ม ชมรม เริ่มจาก “คิดเอง” ต่อจากนั้นก็รวม
     กลุ่ม “จิตอาสา” ได้กลุ่มแล้วก็เกิดผลงาน และ “ต่อยอด” หน่วย
     งานอื่นเข้ามาทีหลัง
    การบูรณาการ กลุ่มสายใยรัก ไปเยี่ยมคลอด โดยมีต้นกล้า เพื่อ
     ให้ชาวบ้านปลูก ต้นไม้โตไปพร้อมเด็ก
 จุดเริ่ มต้ นมาจากชุ มชน ไม่ ได้ รั บการยั ดเยี ย ดจากภาครั ฐ
   มีทรั พยากรชุ ม ชนที่ เข้ มแข็ ง แกนนำา มี ความพร้ อ ม ทั้ งด้ านความรู้
    เศรษฐานะ เริ่ มด้ วยใจ “จิ ต อาสา”
   ชุมชนเห็ น ความสำา คั ญ ด้ า นสุ ข ภาพ
   มีการสร้ างแรงจู งใจ เช่ น ประกวด ให้ รางวั ล
   วิสัยทั ศน์ ของผู้ นำา ชุ มชน ทั้งจากองค์ กร และชุ ม ชน มีความกว้ าง
    ไกล ทำา ให้ องค์ กรภาครั ฐเข้ าไปทำา งานได้ ง่ าย
   มีความยั่ งยื น เพราะสิ่ งต่ างๆ เกิดจากชุ ม ชน เริ่มจากชุ ม ชน
   อสม. เกิดจากนโยบาย ของเทศบาล และสาธารณสุ ข แต่
    กิจกรรมที่ ทำา เกิดจากความคิ ด ของกลุ่ มเอง ความจริ งใจของ
    อสม.ที่ อยากช่ ว ยชุ ม ชน ความเด่ น คือ คิดเอง ทำา เอง เกิดความ
    อยากทำา งานจริ ง ๆ
   ผู้ สูงอายุ เกิดจากจุ ด มุ่ งหมายร่ ว มกั น ของผู้ สู งอายุ “ยิ้ มแย้ มแจ่ ม ใส
    พูดจาไพเราะ” ทำา งานแบบมี อุ ดมการณ์ เดี ยวกั น ต่อเนื่ อง เน้น “
    การช่ วยเหลื อ ตั วเอง”
   กลุ่ มสานสั ม พั นธ์ สัน กำา แพง เกิ ดจากปั ญ หาของตนเอง แล้วชุ มชน
    ช่วยกั น ผลั กดั น ทำา ให้ ผู้ ป่ วยจิ ตเวชได้ รั บ การรั ก ษาร้ อยละ ๑๐๐
   กลุ่ มชมรมเต้ าเต๋ อ ซิ่ น ซี ดูแลสุ ข ภาพโดยใช้ ห ลั ก ธรรม
   กลุ่ มอาชี พ เพื่ อคนในชุ ม ชนมี ห น้ า ที่ และส่ ว นสำา คั ญ ในการทำา
    กิจกรรม คนในชุ มชนมี อ าชี พ รายได้ ให้ องค์ กรภาครั ฐเข้ าร่ วม
    สนั บสนุ น
   กลุ่ มเพื่ อนช่ ว ยเพื่ อน ดูแลผู้ ป่ วยเรื้ อรั ง ได้รั บการรั ก ษา และมี
    คุ ณภาพชี วิ ต
   เห็นความร่ วมมื อในชุ ม ชน เข้าถึ งชุ ม ชนได้ ถู กจุ ด ปรั บใช้
    ภูมิ ปั ญ ญาท้ องถิ่ น
   การรวมกลุ่ ม พลั งชุ มชน พึ่ งพาตั วเองได้ แล้ วหน่ ว ยงานภาครั ฐ
    จึงเข้ ามาสนั บ สนุ น
   กลุ่ มผ้ า ที่ สำา คั ญ คื อ ประธาน (ที่ ปรึ กษา) เป็นคนที่ ทำา ธุ ร กิ จเกี่ ยว
    กับผ้ าอยู่ แล้ ว แต่ ก็ อยากให้ ชุ มชนได้ พั ฒ นา จึง นำา เศษผ้ า มาให้
    ชุมชนได้ นำา มาใช้ ห ารายได้ ต่ อ การมี ที่ ปรึ กษาช่ วยในเรื่ องการ
    ตลาด
   รู้วิธี การทำา การตลาดเมื่ อมี ผลิ ตภั ณ ฑ์
   การมี ส่ วนร่ วมของชุ ม ชนทำา ให้ ยั่ งยื น
   ความเสี ยสละ และจิ ตอาสา “เห็ น ปั ญ หาแล้ ว ไม่ นิ่ งดู ดาย”
   หน่ วยงานภาครั ฐ ดู แ ล
 เห็นคุ ณ ค่ า ชี วิ ต ผู้ สูงอายุ มี ศั กยภาพ ขรก.เกษี ย ณ
     การทำา งานกั บ ชุ ม ชน ต้องทำา ด้ วยใจ
     เข้าใจ เข้าถึ ง พั ฒนา
     การมี ส่ วนร่ วมของภาคประชาชน ส่งเสริ มประชาธิ ปไตย
     การขยายเครื อ ข่ าย ขยายความดี ไม่ ปิ ดกั้ นความดี ที่ มี อยู่
     ความสุ ข ของชาวบ้ า น เห็ นรอยยิ้ ม ทุกคนมี ร อยยิ้ ม
     การสร้ างรายได้ ที่ ยั่ งยื น
     แรงบั นดาลใจในการทำา งาน (เห็นแล้ วเกิ ดแรงบั นดาลใจ อยาก
      กลั บไปทำา งานในพื้ น ที่ )
     สิ่ งที่ อยากเพิ่ มเติ มกั บ พื้ นที่ คือ การเพิ่ มด้ านทั นตสาธารณสุ ข เข้า
      กับชมรมที่ มี อยู่ ให้เป็ นรู ปธรรม เช่ น ก่อนจะเข้ า มาทำา กิ จ กรรมกั บ
      ชมรมก็ แปรงฟั น ก่ อ น ฯลฯ
     นำา แนวทางที่ ได้ ไปปรั บใช้ กั บ บริ บ ทของตนเอง เพราะแต่ ล ะพื้ นที่
      ไม่เหมื อ นกั น

“ เ ร า ส ั ง เ ก ต เ ห ็ น ค ว า ม ส ุ ข ง ่ า ย ๆ อ ะ ไ ร บ ้ า ง จ า ก ก า ร ท ำา ง า น เ ก ี ่ ย ว
กับชุม ช น ใ น พ ื้ น ที่ข อ ง เ ร า ”
     รอยยิ้ ม เสียงหั วเราะ และความห่ วงใย
     การช่ วยเหลื อเด็ กๆและชุ ม ชน จนชุ ม ชนเห็ น ความสำา คั ญ ของการ
        ดูแลสุ ขภาพช่ อ งปาก
       ชุมชนให้ ความจริ งใจตอบกลั บ มาจากการที่ เราตั้ งใจทำา งาน
       สุขเมื่ อผู้ ได้ รั บ ได้ รั บในสิ่ งที่ ปรารถนามานาน
       ผู้ นำา ชุ มชนให้ ความร่ ว มมื อและประสบความสำา เร็ จ
       เป็ นผู้ ให้ เขาก่ อน ให้ ด้ วยรอยยิ้ มและความจริ ง ใจ
       มีสามั ญ สำา นึ ก ที่ ดี ในการทำา งาน และได้ รั บ การยอมรั บ จากทุ ก คน
       ความพึ งพอใจของผู้ รั บบริ ก าร
       ภูมิ ใจที่ เห็ น ความสำา เร็ จ ในชุ ม ชน พึ่ งตนเองได้
       สุขใจเมื่ อเห็ นเขามี สุ ข ภาพฟั น ที่ ดี ขึ้ น
       เรามองโลกในแง่ บ วก มีศรั ทธาในงานที่ ทำา และมี สติ อ ยู่ ตลอดเวลา
       เปลี่ ยนจากคำา ว่ า “หมอ” กลายเป็ น “เพื่ อ น”
       จากผู้ สู งอายุ ที่ มี ความพยายามพู ด อธิ บ ายให้ ห มอฟั ง ถึ ง สิ่ งที่ เป็ น
       การทำา งานร่ วมกั บ ผู้ อื่ น เพื่ อนร่ วมงานคอยช่ ว ยเหลื อ
       ผู้ สูงอายุ ได้ เข้ ามาถามสารทุ ก ข์ สุ ขดิ บ “กิ น ข้ า วหรื อยั ง ” “มี ที่ พั ก
        หรื อไม่ ” ก่อเกิ ดแรงบั น ดาลใจในการทำา งานต่ อ ไป
 ค้นพบว่ า ปั ญญาของเราเกิ ดจากคำา พู ดง่ ายๆ วิถีชี วิ ตง่ ายๆของ
  คนไข้ ทำา ให้ เกิ ดแรงบั นดาลใจ และหายเหนื่ อ ย
 เกิ ด การมองเป็ น วงกลม , องค์ ร วม เห็ นเบื้ องหลั ง ของชาวบ้ า น เกิ ด
  ความท้ าทายในการเข้ าไปหาผู้ รั บบริ ก ารที่ จะไปเรี ย นรู้ multi-skill
  เช่ น ทักษะการสื่ อสารเชิ งบวก การเจรจาต่ อ รอง การฟั งอย่ างลึ ก
  ซึ้ ง “มองเขาเป็ น คน ไม่ ใช่ คนไข้ ”
 ภาคี เครื อ ข่ ายทำา ให้ อ บอุ่ น

More Related Content

What's hot

โครงการพัฒนาการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว(ตัวอย่าง)
โครงการพัฒนาการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว(ตัวอย่าง)โครงการพัฒนาการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว(ตัวอย่าง)
โครงการพัฒนาการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว(ตัวอย่าง)Chuchai Sornchumni
 
PPT โครงการ จิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา
PPT โครงการ จิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเราPPT โครงการ จิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา
PPT โครงการ จิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเราIam Champooh
 
กองทุนหลักประกันสุขภาพ
กองทุนหลักประกันสุขภาพกองทุนหลักประกันสุขภาพ
กองทุนหลักประกันสุขภาพgel2onimal
 

What's hot (7)

การพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน
การพัฒนาระบบสุขภาพชุมชนการพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน
การพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน
 
โครงการพัฒนาการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว(ตัวอย่าง)
โครงการพัฒนาการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว(ตัวอย่าง)โครงการพัฒนาการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว(ตัวอย่าง)
โครงการพัฒนาการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว(ตัวอย่าง)
 
4.strategies 53
4.strategies  534.strategies  53
4.strategies 53
 
PPT โครงการ จิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา
PPT โครงการ จิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเราPPT โครงการ จิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา
PPT โครงการ จิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา
 
3.public policy 53
3.public policy  533.public policy  53
3.public policy 53
 
Rule
RuleRule
Rule
 
กองทุนหลักประกันสุขภาพ
กองทุนหลักประกันสุขภาพกองทุนหลักประกันสุขภาพ
กองทุนหลักประกันสุขภาพ
 

Viewers also liked

Trecom - DDoS Detekcja-obrona
Trecom - DDoS Detekcja-obronaTrecom - DDoS Detekcja-obrona
Trecom - DDoS Detekcja-obronaMaciek Szamowski
 
Group slide presentation forum week 11
Group slide presentation forum  week 11Group slide presentation forum  week 11
Group slide presentation forum week 11Yohei Hino
 
Tata nano r consumer behaviour
Tata nano r consumer behaviourTata nano r consumer behaviour
Tata nano r consumer behaviourMandeep Singh
 
Group slide presentation forum week   11
Group slide presentation forum  week   11Group slide presentation forum  week   11
Group slide presentation forum week   11Yohei Hino
 
How network management system work
How network management system workHow network management system work
How network management system workYohei Hino
 
Group slide presentation forum week 11
Group slide presentation forum  week 11Group slide presentation forum  week 11
Group slide presentation forum week 11Yohei Hino
 
讲座控 最新项目规划
讲座控 最新项目规划讲座控 最新项目规划
讲座控 最新项目规划jiangzuokong
 
一凡的快乐生活
一凡的快乐生活一凡的快乐生活
一凡的快乐生活henrybinbin
 
PROJEKTOWANIE SYSTEMU UC DLA TYPOWEGO PRZEDSIĘBIORSTWA
PROJEKTOWANIE SYSTEMU UC DLA TYPOWEGO PRZEDSIĘBIORSTWAPROJEKTOWANIE SYSTEMU UC DLA TYPOWEGO PRZEDSIĘBIORSTWA
PROJEKTOWANIE SYSTEMU UC DLA TYPOWEGO PRZEDSIĘBIORSTWAMaciek Szamowski
 
Trecom: Prezentacja o firmie
Trecom: Prezentacja o firmieTrecom: Prezentacja o firmie
Trecom: Prezentacja o firmieMaciek Szamowski
 
Virtual Data Room Webinar by Onehub
Virtual Data Room Webinar by OnehubVirtual Data Room Webinar by Onehub
Virtual Data Room Webinar by OnehubCharles Mount
 
Consumer behavior- TATA NANO CAR
Consumer behavior- TATA NANO CARConsumer behavior- TATA NANO CAR
Consumer behavior- TATA NANO CARMandeep Singh
 

Viewers also liked (17)

Week14
Week14Week14
Week14
 
Trecom - DDoS Detekcja-obrona
Trecom - DDoS Detekcja-obronaTrecom - DDoS Detekcja-obrona
Trecom - DDoS Detekcja-obrona
 
Group slide presentation forum week 11
Group slide presentation forum  week 11Group slide presentation forum  week 11
Group slide presentation forum week 11
 
Tata nano r consumer behaviour
Tata nano r consumer behaviourTata nano r consumer behaviour
Tata nano r consumer behaviour
 
Group slide presentation forum week   11
Group slide presentation forum  week   11Group slide presentation forum  week   11
Group slide presentation forum week   11
 
Week12
Week12Week12
Week12
 
How network management system work
How network management system workHow network management system work
How network management system work
 
Group slide presentation forum week 11
Group slide presentation forum  week 11Group slide presentation forum  week 11
Group slide presentation forum week 11
 
Week13
Week13Week13
Week13
 
Onehub 101
Onehub 101Onehub 101
Onehub 101
 
讲座控 最新项目规划
讲座控 最新项目规划讲座控 最新项目规划
讲座控 最新项目规划
 
一凡的快乐生活
一凡的快乐生活一凡的快乐生活
一凡的快乐生活
 
Week12
Week12Week12
Week12
 
PROJEKTOWANIE SYSTEMU UC DLA TYPOWEGO PRZEDSIĘBIORSTWA
PROJEKTOWANIE SYSTEMU UC DLA TYPOWEGO PRZEDSIĘBIORSTWAPROJEKTOWANIE SYSTEMU UC DLA TYPOWEGO PRZEDSIĘBIORSTWA
PROJEKTOWANIE SYSTEMU UC DLA TYPOWEGO PRZEDSIĘBIORSTWA
 
Trecom: Prezentacja o firmie
Trecom: Prezentacja o firmieTrecom: Prezentacja o firmie
Trecom: Prezentacja o firmie
 
Virtual Data Room Webinar by Onehub
Virtual Data Room Webinar by OnehubVirtual Data Room Webinar by Onehub
Virtual Data Room Webinar by Onehub
 
Consumer behavior- TATA NANO CAR
Consumer behavior- TATA NANO CARConsumer behavior- TATA NANO CAR
Consumer behavior- TATA NANO CAR
 

Similar to Dental public meeting Holiday Inn

เสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรมเสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรมchanhom357
 
องค์ความรู้การบริการวิชาการโครงการ “คืนคลองสวยใส ให้ชุมชนของเรา”
องค์ความรู้การบริการวิชาการโครงการ “คืนคลองสวยใส ให้ชุมชนของเรา”องค์ความรู้การบริการวิชาการโครงการ “คืนคลองสวยใส ให้ชุมชนของเรา”
องค์ความรู้การบริการวิชาการโครงการ “คืนคลองสวยใส ให้ชุมชนของเรา”นู๋หนึ่ง nooneung
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงานtongkesmanee
 
จุดเน้นที่ 4
จุดเน้นที่ 4จุดเน้นที่ 4
จุดเน้นที่ 4Suwakhon Phus
 
โครงการบำเพ็ญประโยชน์เพื่อส่วมรวม
โครงการบำเพ็ญประโยชน์เพื่อส่วมรวมโครงการบำเพ็ญประโยชน์เพื่อส่วมรวม
โครงการบำเพ็ญประโยชน์เพื่อส่วมรวมJustarn Pd
 
DHS_PCA-CUPบ้านนา
DHS_PCA-CUPบ้านนาDHS_PCA-CUPบ้านนา
DHS_PCA-CUPบ้านนาAuamporn Junthong
 
Participatory action research
Participatory action researchParticipatory action research
Participatory action researchUltraman Taro
 
ชุมชนเข้มแข็งในการจัดการอนามัยสิ่งแวดล่้อมชุมชน
ชุมชนเข้มแข็งในการจัดการอนามัยสิ่งแวดล่้อมชุมชนชุมชนเข้มแข็งในการจัดการอนามัยสิ่งแวดล่้อมชุมชน
ชุมชนเข้มแข็งในการจัดการอนามัยสิ่งแวดล่้อมชุมชนssuser9d597a
 
หลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 3: ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน และการพัฒนาชุมชน
หลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 3: ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน และการพัฒนาชุมชนหลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 3: ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน และการพัฒนาชุมชน
หลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 3: ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน และการพัฒนาชุมชนthanathip
 
ปาฐกถาอารี วัลยะเสวี Pilatl real -รศ.นพ.สุรเกียรติ อาชานานุภาพ-201058
ปาฐกถาอารี วัลยะเสวี Pilatl real -รศ.นพ.สุรเกียรติ อาชานานุภาพ-201058ปาฐกถาอารี วัลยะเสวี Pilatl real -รศ.นพ.สุรเกียรติ อาชานานุภาพ-201058
ปาฐกถาอารี วัลยะเสวี Pilatl real -รศ.นพ.สุรเกียรติ อาชานานุภาพ-201058Auamporn Junthong
 
จุดเน้นที่ 4 พัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนอย่างยั่งยืน
จุดเน้นที่  4 พัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนอย่างยั่งยืนจุดเน้นที่  4 พัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนอย่างยั่งยืน
จุดเน้นที่ 4 พัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนอย่างยั่งยืนโรงเรียนมหาธิคุณวิทยา
 
2554 ค่ายอาสาพัฒนาจุฬา - ชนบท ครั้งที่ ๒๒
2554 ค่ายอาสาพัฒนาจุฬา - ชนบท ครั้งที่ ๒๒2554 ค่ายอาสาพัฒนาจุฬา - ชนบท ครั้งที่ ๒๒
2554 ค่ายอาสาพัฒนาจุฬา - ชนบท ครั้งที่ ๒๒mahaoath พระมหาโอ๊ท
 
ตัวอย่าง การจัดทำโครงการและการประเมินผลด้านสุขภาพ
ตัวอย่าง การจัดทำโครงการและการประเมินผลด้านสุขภาพตัวอย่าง การจัดทำโครงการและการประเมินผลด้านสุขภาพ
ตัวอย่าง การจัดทำโครงการและการประเมินผลด้านสุขภาพWC Triumph
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8kanwan0429
 

Similar to Dental public meeting Holiday Inn (20)

เสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรมเสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรม
 
องค์ความรู้การบริการวิชาการโครงการ “คืนคลองสวยใส ให้ชุมชนของเรา”
องค์ความรู้การบริการวิชาการโครงการ “คืนคลองสวยใส ให้ชุมชนของเรา”องค์ความรู้การบริการวิชาการโครงการ “คืนคลองสวยใส ให้ชุมชนของเรา”
องค์ความรู้การบริการวิชาการโครงการ “คืนคลองสวยใส ให้ชุมชนของเรา”
 
006 7 cupชนบท
006 7 cupชนบท006 7 cupชนบท
006 7 cupชนบท
 
บทบาทบริหารกิจการนักเรียน
บทบาทบริหารกิจการนักเรียนบทบาทบริหารกิจการนักเรียน
บทบาทบริหารกิจการนักเรียน
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
จุดเน้นที่ 4
จุดเน้นที่ 4จุดเน้นที่ 4
จุดเน้นที่ 4
 
โครงการบำเพ็ญประโยชน์เพื่อส่วมรวม
โครงการบำเพ็ญประโยชน์เพื่อส่วมรวมโครงการบำเพ็ญประโยชน์เพื่อส่วมรวม
โครงการบำเพ็ญประโยชน์เพื่อส่วมรวม
 
DHS_PCA-CUPบ้านนา
DHS_PCA-CUPบ้านนาDHS_PCA-CUPบ้านนา
DHS_PCA-CUPบ้านนา
 
Participatory action research
Participatory action researchParticipatory action research
Participatory action research
 
Youth council
Youth councilYouth council
Youth council
 
ชุมชนเข้มแข็งในการจัดการอนามัยสิ่งแวดล่้อมชุมชน
ชุมชนเข้มแข็งในการจัดการอนามัยสิ่งแวดล่้อมชุมชนชุมชนเข้มแข็งในการจัดการอนามัยสิ่งแวดล่้อมชุมชน
ชุมชนเข้มแข็งในการจัดการอนามัยสิ่งแวดล่้อมชุมชน
 
รายงาน กลุม 1
รายงาน กลุม 1รายงาน กลุม 1
รายงาน กลุม 1
 
หลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 3: ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน และการพัฒนาชุมชน
หลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 3: ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน และการพัฒนาชุมชนหลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 3: ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน และการพัฒนาชุมชน
หลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 3: ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน และการพัฒนาชุมชน
 
ปาฐกถาอารี วัลยะเสวี Pilatl real -รศ.นพ.สุรเกียรติ อาชานานุภาพ-201058
ปาฐกถาอารี วัลยะเสวี Pilatl real -รศ.นพ.สุรเกียรติ อาชานานุภาพ-201058ปาฐกถาอารี วัลยะเสวี Pilatl real -รศ.นพ.สุรเกียรติ อาชานานุภาพ-201058
ปาฐกถาอารี วัลยะเสวี Pilatl real -รศ.นพ.สุรเกียรติ อาชานานุภาพ-201058
 
Focus 8-55
Focus 8-55Focus 8-55
Focus 8-55
 
จุดเน้นที่ 4 พัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนอย่างยั่งยืน
จุดเน้นที่  4 พัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนอย่างยั่งยืนจุดเน้นที่  4 พัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนอย่างยั่งยืน
จุดเน้นที่ 4 พัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนอย่างยั่งยืน
 
Communty diagnosis
Communty diagnosisCommunty diagnosis
Communty diagnosis
 
2554 ค่ายอาสาพัฒนาจุฬา - ชนบท ครั้งที่ ๒๒
2554 ค่ายอาสาพัฒนาจุฬา - ชนบท ครั้งที่ ๒๒2554 ค่ายอาสาพัฒนาจุฬา - ชนบท ครั้งที่ ๒๒
2554 ค่ายอาสาพัฒนาจุฬา - ชนบท ครั้งที่ ๒๒
 
ตัวอย่าง การจัดทำโครงการและการประเมินผลด้านสุขภาพ
ตัวอย่าง การจัดทำโครงการและการประเมินผลด้านสุขภาพตัวอย่าง การจัดทำโครงการและการประเมินผลด้านสุขภาพ
ตัวอย่าง การจัดทำโครงการและการประเมินผลด้านสุขภาพ
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 

Dental public meeting Holiday Inn

  • 1. สรุ ป ผลโครงการประชุ ม แลกเปลี ่ ย นเรี ย นรู ้ ง านทั น ต สาธารณสุ ข ในชุ ม ชน วั น ที ่ ๒-๔ พฤษภาคม ๒๕๕๕ ณ โรงแรมฮอลิ เ ดย์ อิ น น์ จ.เชี ย งใหม่ วั ต ถุ ป ระสงค์ เพื่อการจัดประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้การทำางานส่งเสริมสุขภาพ ช่องปากในชุมชนและรพ.สต. และพัฒนาเครือข่ายบุคลากรด้านการ ทำางานทันตสาธารณสุขในชุมชน ผู ้ เ ข้ า ประชุ ม เป็นทันตบุคลากรจากรพสต. รพช. สสจง ศูนย์อนามัย สำานักทันตสาธารณสุข ๑๕๐ คน วิ ธ ี ก าร -บรรยายพิเศษ งานส่งเสริมสุขภาพช่องปาก - เสวนาเรื่องการทำางานทันตสาธารณสุขในชุมชน และการ ทำางานกับชุมชน
  • 2. - ตลาดนัดความรู้การทำางานทันตฯในชุมชนโดยมีผู้นำาเสนอจาก พื้นที่ และเปิดวงเวิลดิ์ คาเฟ - การศึกษาดูงานในพื้นที่ (กลุ่มต่างๆ ในชุมชน เทศบาลตำาบล สันกำาแพง อ.สันกำาแพง จ .เชียงใหม่) - ทบทวนการเรียนรู้ของตนเอง และเพิ่มเติมเรื่องการทำางานกับ องค์การปกครองท้องถิ่นและนวัตกรรม ผลการดำ า เนิ น งาน 1. เกริ ่ น นำ า ทิ ศ ทางงานส่ ง เสริ ม สุ ข ภาพช่ อ งปาก โดย ทพ.สุธา เจียรมณีโชติชัย ผู้อำานวยการสำานักทันตสาธารณสุข การทำางานกับชุมชนเป็นมุมมองและแนวทางในการทำางานให้ สำาเร็จ เพราะปากคือประตูสู่สุขภาพ สามารถทำางานบูรณาการกับ สาขาอื่นๆได้ การดูแลต้องครอบคลุม ทั้งการสร้าง ซ่อม ฟื้นฟู และ มิติสุขภาพโดยรวม บทบาทหน้าที่การทำางานแบบเดิม คือ การดูแลสุขภาพช่องปาก ทุกกลุ่มวัยในพื้นที่รับผิดชอบ และให้บริการในสถานบริการ แต่คน ส่วนใหญ่ยังเข้าไม่ถึงบริการ การบริการเป็นแบบซ่อมมากกว่าสร้าง จึงมีกระบวนทัศน์ใหม่ของการทำางานในชุมชน ได้แก่ - จาก สุขภาพไม่ดี ไปสู่การมีสุขภาพดี - จาก ซ่อมนำา ไปสู่การสร้างนำา - จากทำางานเฉพาะของตน ไปสู่การทำางานแบบสห วิทยาการและสหสาขา - จากบริการทางการแพทย์ ไปสู่การบริการทางสังคม - จากการมีฐานอยู่ที่โรงพยาบาล (รับ) ไปสู่การมีฐานเป็น ชุมชน (รุก) - จากการทำางานกับปัจเจกบุคคล ไปสู่การทำางานกับ ประชากร การทบทวนภารกิจและบทบาทของงานสาธารณสุข แบ่งเป็น 4 หมวดดังนี้ หมวดที่ ๑ นโยบายและยุทธศาสตร์ เป็นแกนในการจัดการ ทุน หมวดที่ ๒ ระบบบริการ ระบบการป้องกันและควบคุมโรค ระบบการสร้างเสริมสุขภาพ ระบบ การคุ้มครองผู้บริโภค
  • 3. หมวดที่ ๓ มาตรการและเครื่องมือ (การเงินการคลังและ เทคโนโลยีสารสนเทศ) หมวดที่ ๔ การบริหารจัดการ โครงสร้าง กำาลังคน และงบ ประมาณ ดังนั้นการทำางานในชุมชนต้องปรับแนวคิดและการทำางาน เพื่อให้สามารถทำางานอยู่ในชุมชนได้อย่างมีความสุข เป็นที่ ยอมรับ ประสบความสำาเร็จ และนำาไปสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน ตาม แนวคิดของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว “เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา” 2. เสวนา การทำ า งานทั น ตสาธารณสุ ข ในชุ ม ชนและการทำางาน กับชุมชน โดยวิทยากรรับเชิญ ได้แก่ นาย อำา น ว ย รื่ น นุ สาร กำา นั น ตำา บล หิ น มู ล อ .บางเลน จ .นครปฐม ที่ชุมชนมีปัญหาเรื่องฟลูออไรด์ในนำ้าดื่มเกินมาตรฐาน มี สาเหตุมาจากคนในชุมชนใช้นำ้าบาดาลบริโภคบริโภคโดยไม่รู้ถึง พิษภัยของฟลูออไรด์ ทำาให้เด็กมีปัญหาฟันตกกระมาก หลังจาก ที่เจ้าหน้าที่จากสำานักงานสาธารณสุขจังหวัดมาให้ความรู้ และให้ คำาแนะนำาในการแก้ปัญหา 2 ทางเลือก คือ การใช้นำ้าฝนแทน(ไม่ เหมาะเพราะชุมชนมีโรงงานและนกพิราบมาก) และการใช้เครื่อง กรอง RO กำานันจึงร่างโครงการร่วมกับคณะกรรมการหมู่บ้าน แล้วเสนอโครงการต่อนายอำาเภอและของบสนับสนุนจากองค์การ บริหารส่วนตำาบล หลังจากได้งบประมาณสนับสนุนจึงเริ่มดำาเนิน การตั้งแต่ปี 2551 จนถึงปัจจุบัน ผลที่ได้คือเด็กรุ่นใหม่มีสุขภาพ ฟันดีขึ้น ชุมชนยอมรับและรักโรงงานนำ้า คนในชุมชนมีงานทำา และในอนาคตจะให้ชุมชนมีส่วนร่วมเป็นหุ้นส่วนของโรงงานนำ้า มีปัจจัยที่ทำาให้เกิดความสำาเร็จ คือ การลงไปคลุกคลีในชุมชน ทำาให้เห็นปัญหาที่แท้จริง การมีประชุมหมู่บ้านอย่างสมำ่าเสมอ ตามหลักการเข้าใจ เข้าถึง พัฒนา นายประที ป กาญจนเส ม า ผอ .กองสาธาร ณ สุ ขเท ศ บ า ล ตำา บ ล ร าง กระทุ่ ม อ .บางเลน จ .นครปฐม มีปัญหาเรื่องฟลูออไรด์ในนำ้าดื่มเกินมาตรฐาน ทำาให้เด็กมี ปัญหาฟันตกกระมาก จึงเก็บตัวอย่างนำ้าประปาและนำ้าตู้หยอด เหรียญส่งสำานักทันตสาธารณสุขตรวจ ไตรมาสละ 1 ครั้ง จัด ประชาคมหมู่บ้านร่วมวางแผนติดตั้งเครื่องกรองนำ้า RO โดยเริ่ม ติดตั้งที่ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สิ่งที่จะทำาต่อไปคือการสำารวจ
  • 4. พฤติกรรมการใช้นำ้าของคนในชุมชนจากสมุดบันทึกตู้นำ้าหยอด เหรียญ มีปัจจัยที่ทำาให้เกิดความสำาเร็จ คือ เป็นการทำางานที่ไม่มี แรงกดดันจากใคร จึงสามารถทำาอย่างเป็นขั้นตอน มีการ วางแผนเป็นระยะ และประทับใจความร่วมมือของเจ้าหน้าที่และ คนในชุมชน ผู้ใหญ่บ้าน กรรมการหมู่บ้าน ทำาให้รู้ระบบการ จัดการของแต่ละหมู่บ้าน ทพญ .ธิ รั ม ภา ลุ พ รหมมา ร .พ .สระใคร จ .หนองคาย - เรียนรู้จากการถามคนที่มารักษาฟัน โดยศึกษาข้อมูล ชุมชน บริบทชุมชน - จัดประชุมเตรียมการลงชุมชนในช่วงก่อนเกี่ยวข้าว เชิญ หัวหน้าสถานีอนามัยเป็นคนกลางระหว่างคนในชุมชนและเจ้า หน้าที่ เลือกหมู่บ้านที่มี อสม.ที่เข้มแข็ง โดยคนในชุมชนร่วม กำาหนดเวลาการลงชุมชนเป็นช่วงหลังเกี่ยวข้าว - เวลาเยี่ยมบ้านห้ามสอน ควรดูว่าเขาเลี้ยงลูกหลานอย่างไร ใช้ชีวิตอย่างไร ชวนคุยให้เขาเลือกว่าอยากแก้ปัญหาเรื่องใด ซึ่งส่วนใหญ่จะเลือกการแปรงฟัน - นายกองค์การบริหารส่วนตำาบลเห็นความสำาคัญและมีงบจึง จัดกิจกรรมการแข่งแปรงฟัน ทำาให้คนในชุมชนมีส่วนร่วม - สกัดสิ่งดีๆจากข้อมูล เช่น ก่อนให้นมแม่จะใช้บอระเพ็ดเช็ด เพื่อให้เด็กเลิกดูดนม - รู้คน รู้เวลา ใช้ความรักของผู้ดูแลเด็กให้เป็นประโยชน์ เข้าไปแบบมิตรสกัดข้อมูล และส่งข้อมูลกลับให้ชุมชน นาง ณั ฏฐ พั ชร คงผดุ ง หั ว หน้ า สำา นั กปลั ดเทศ บ า ล ตำา บ ล น า ม ะเ ฟื อง อ .เมื อ ง จ .หนองบั ว ลำา ภู บทเรียนที่ได้เรียนรู้จากการทำางานในชุมชน ได้แก่ - ถอด เชื่อม และคืนข้อมูลกลับแก่ชาวบ้าน - ใช้การมีส่วนร่วมของชาวบ้านในการคิดแก้ปัญหาและมีเจ้า หน้าที่คอยเสริมความเข้าใจ ทำาให้เกิดการจัดการในชุมชนโดย คนในชุมชน - การทำางานทำาให้เห็นถึงวิถีชีวิต สร้างเวทีชาวบ้าน สามารถทำาความเข้าใจปัญหา เพราะสาเหตุของปัญหาเกิดจาก ทุกข์ของคนในชุมชน - ใช้กระบวนการขับเคลื่อนจากความร่วมมือระหว่าง ประชาชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น/ วยงานภาครัฐ และ หน่
  • 5. องค์ความรู้วิชาการ เริ่มจากการจัดการข้อมูล การจัดการความ รู้(ประชุมบ่อยๆ) ประชาชนเป็นเจ้าของข้อมูล(ใส่ใจในข้อมูลของทุกคน) การจัด ระบบความคิดโดยกระบวนการ”วิจัยชุมชน” มีการรวมกลุ่มเชื่อม เครือข่าย การจัดการความทุกข์ของเขาเองในทุกกลุ่ม จนทำาให้ เกิดนโยบายสาธารณะ และมาตรการสังคมสงบสุข จัด กระบวนการคิดเอาความสุขเป็นที่ตั้ง - ปัจจัยที่ทำาให้เกิดการเปลี่ยนแปลง คือ การปรับความคิด ของทั้งเจ้าหน้าที่และคนในชุมชน ทพญ .พั ช รลั กษ ณ์ เถื่ อนนาดี ร .พ . บ้ า นฝาง อ .บ้ า นฝาง จ .ขอนแก่ น - การทำางานใกล้ชิดกับประชาชน มีพี่เลี้ยงที่ดีที่สุดคือ คนในชุมชน อสม. - การทำางานโดยตั้งคำาตอบไว้ก่อนว่าจะได้ผลอย่างไรจะ เป็นการล็อกตัวเรา เป็นการจำากัดความคิด - ควรทำางานตามหน้าที่ให้ดีก่อนแล้วทำาไปเรื่อยๆให้ลึกซึ้ง ในสิ่งที่ทำาว่าแก่นของเรื่องนี้คืออะไร ๓. ตลาดนั ด ความรู ้ ก ารทำ า งานทั น ตฯในชุ ม ชนและเปิ ด วง World Café แบ่งผู้เข้าร่วมประชุมเป็น ๑๐ กลุ่ม รับฟังการนำาเสนอผลงาน วิชาการจาก ๑๑ พื้นที่เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้การทำางานทันต สาธารณสุขในชุมชน/ รพ.สต. โดยให้เวลารับฟังรอบละ ๒๐ นาที จำานวน ๒ รอบ หลังจากนั้นจัดประชุมรูปแบบ World Café โดยแบ่งผู้ เข้าร่วมประชุมโต๊ะละ ๔-๕ คน เพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกันในกลุ่ม รอบละ ๒๐ นาที ในประเด็นการสนทนาดังนี้ คำาถามที่ ๑. สิ่งที่ชอบจากตลาดนัดความรู้ คำาถามที่ ๒. ประสบการณ์การทำางานในชุมชนของเรา คำาถามที่ ๓. สิ่งที่ได้เรียนรู้จากวันนี้ หลังจากนั้นตัวแทนกลุ่มนำาเสนอ - ได้แนวคิดในการทำางานที่หลากหลายต่อยอดแนวความคิด และวิธีการทำางานขึ้นอยู่กับบริบทของชุมชน - ได้รู้ความรู้สึกของทันตาภิบาลในการทำางาน - ได้รู้แนวทางในการดำาเนินงานในชุมชนมากขึ้น
  • 6. - ได้ชาร์จแบต หลังจากทำางานจนใกล้หมดไฟเนื่องจากไม่ประสบ ความสำาเร็จในการทำางาน มาครั้งนี้ทำาให้มีกำาลังใจในการทำางาน เพิ่มมากขึ้น - ได้ถ่ายทอดประสบการณ์ในการทำางานให้เพื่อนๆฟัง - ได้แนวทางในการพัฒนางานที่ทำา - การทำางานชุมชนต้องไปให้ได้ถูกที่ ถูกทาง Keym an Key source - รูปแบบการทำางานต่างกันเนื่องจากแต่ละชุมชนมีบริบทที่ต่างกัน ๔. การศึ ก ษาดู ง านในพื ้ น ที ่ (เทศบาลตำาบลสันกำาแพง อ.สันกำาแพง จ .เชียงใหม่) ศึ ก ษาดู ง านที่ เ ทศบาลตำา บลสั น กำา แพง มี ก ารนำา เสนอการทำา กิจกรรมที่ผ่านมาของชมรม อสม. ,ชมรมผู้สูงอายุ ,ชมรมกลุ่มสายใยรัก และสุขภาพจิต ,และชมรมออกกำาลังกาย โดยสมาชิกชมรมเป็นผู้ดำาเนิน การและเทศบาลเป็นผู้สนับสนุนและให้คำา ปรึกษา หลังจากนั้นเดินทาง ไปดู กิ จ กรรมของกลุ่ ม พั ฒ นาสตรี บ้ า นต้ น โจก(คำา ซาว) เป็ น วิ ส าหกิ จ ชุ มชนที่ เกิ ด จากการรวมตั ว กั น มีข้ าราชการบำา นาญและอาจารย์ จ าก มหาวิ ท ยาลั ย เป็ น แกนนำา ใช้ ค วามรู้ ที่ มี พั ฒ นาศั ก ยภาพคนในชุ ม ชน ผลิตสินค้าจากเศษผ้าเนื่องจากในชุมชนมีโรงงานเย็บผ้า เพื่อเพิ่มราย ได้ เ สริ ม ให้ ค นในชุ ม ชน กลุ่ ม ผู้ นำา เสนอทั้ ง สองที่ มี ค วามยิ น ดี ที่ ไ ด้ นำา เสนอผลงานของชุ ม ชน เป็ น การเติ ม กำา ลั ง ใจในการทำา งานให้ ค นใน ชุมชน และคณะศึกษาดูงานต่างได้รับความรู้จากการทำางานของชุมชน ที่ประสบความสำาเร็จ คนในชุมชนมีความสุข สร้างแรงบันดาลใจให้กับ เจ้าหน้าที่ในการกลับไปทำางานต่อไป ๕. ทบทวนการเรี ย นรู ้ ข องตนเอง และเพิ ่ ม เติ ม เรื ่ อ งการ ทำ า งานกั บ องค์ ก ารปกครองท้ อ งถิ ่ น และนวั ต กรรม ๕ .๑ สรุ ป ผล การ ศึ กษ า ดู งาน โดยตัวแทนกลุ่มนำาเสนอ กลุ่มที่ ๑ - เห็นการที่จะเริ่มมีกลุ่ม ชมรม เริ่มจาก “คิดเอง” ต่อจากนั้นก็ รวมกลุ่ม “จิตอาสา” ได้กลุ่มแล้วก็เกิดผล งาน และ “ต่อยอดไปเรื่อย” หน่วยงานอื่นเข้ามาทีหลัง - การบูรณาการ เช่น กลุ่มสายใยไม่ไปเยี่ยมคลอดเฉยๆ เริ่มมีเบี้ย ต้นไม้ เพื่อให้ชาวบ้านปลูก ต้นไม้โตไปพร้อมเด็ก - ได้ความสามัคคีในกลุ่มที่ไปศึกษาดูงาน
  • 7. - ได้เห็นความร่วมมือระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกับ ชุมชน มีความเชื่อมโยงที่แน่นแฟ้น - รู้วิธีการทำาการตลาดให้ผลิตภัณฑ์ของชุมชน - การมีส่วนร่วมของชุมชนในการสร้างชมรมขึ้นมาและทำาให้เกิด ความยั่งยืนโดยมีการทำากิจกรรมร่วมกัน อยู่เรื่อยๆ ไม่ให้หยุดนิ่ง - ความเสียสละและจิตอาสาของคนในชุมชน ทำาให้ชุมชนน่าอยู่ มากขึ้น - มีความต่อเนื่อง ยั่งยืน - หน่วยงานภาครัฐให้การสนับสนุนและให้ความร่วมมือในการทำา กิจกรรมต่างๆ - เห็นคุณค่าของชีวิต คือ เราอย่ามองผู้สูงอายุเป็นแค่ผู้สูงอายุ แต่ผู้สูงอายุยังมีศักยภาพในตัวเอง จึงควรดึง ศักยภาพของเขาออกมา ให้ใช้ประโยชน์สูงสุด เช่น เมื่อเกษียณอายุราชการไปแล้วสามารถใช้ ประโยชน์จากความรู้ที่มีได้โดยการร่วมทำากิจกรรมต่างๆของชมรม - การทำางานกับชุมชนต้องทำาด้วยใจ จึงจะได้ใจของคนอื่นมา - ใช้หลัก “เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา ” - การมีส่วนร่วมของภาคประชาชน เป็นการส่งเสริมหลัก ประชาธิปไตย - มีเวทีในการแสดงความคิดเห็น - การขยายเครือข่ายไปสู่ที่อื่น การเผยแพร่ความรู้แก่ชุมชนอื่นๆ เช่น การรำามวยจีน - ได้เห็นความสุขของชาวบ้านที่ได้ร่วมกิจกรรม - ทำาให้คนในชุมชนมีรายได้ที่ยั่งยืน - เป็นการสร้างแรงบันดาลใจในการทำางาน ทำาให้ชุมชนของตนดี ขึ้น - ได้แนวคิดการทำางานร่วมกับชุมชน - มีความตั้งใจในการทำางานมากขึ้นเมื่อมาเห็นชุมชนอื่นตั้งใจ ทำางานจนได้ผลสำาเร็จ - อยากสะท้อนถึงหน่วยงานว่าควรมีการเพิ่มเรื่องของทันต สาธารณสุขในชมรมต่างๆ ด้วย และสามารถนำาความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ ใช้โดยนำาแนวทางการทำางานที่ได้เรียนรู้ไปปรับใช้กับบริบทของตนเอง กลุ่มที่ ๒ - จุดเริ่มต้นมาจากชุมชน ไม่ได้รับการยัดเยียดจากภาครัฐ
  • 8. - มีทรั พยากรชุ ม ชนที่ เข้ มแข็ ง แกนนำา มี ความพร้ อ ม ทั้ งด้ านความ รู้ เศรษฐานะ เริ่ มด้ วยใจ “จิตอาสา” - ชุมชนเห็ น ความสำา คั ญ ด้ า นสุ ข ภาพ - มีการสร้ างแรงจู งใจ เช่ น ประกวด ให้ รางวั ล - วิสัยทั ศน์ ของผู้ นำา ชุ ม ชน ทั้ งจากองค์ กรและชุ ม ชน มีความกว้ าง ไกล ทำา ให้ องค์ กรภาครั ฐเข้ าไปทำา งานได้ ง่ าย - มีความยั่ งยื น เพราะสิ่ งต่ างๆ เกิดจากชุ ม ชน เริ่มจากชุ ม ชน - อสม. เกิดจากนโยบาย ของเทศบาล และสาธารณสุ ข แต่ กิจกรรมที่ ทำา เกิดจากความคิ ด ของกลุ่ มเอง ความจริ งใจของ อสม.ที่ อยากช่ ว ยชุ ม ชน ความเด่ น คือ คิดเอง ทำา เอง เกิดความอยากทำา งาน จริง ๆ - ผู้ สูงอายุ เกิดจากจุ ด มุ่ งหมายร่ ว มกั น ของผู้ สู งอายุ “ยิ้มแย้ ม แจ่ มใส พูดจาไพเราะ” ทำา งานแบบมี อุ ด มการณ์ เ ดี ย วกั น ต่อเนื่ อง เน้น “การช่ วยเหลื อตั วเอง” - กลุ่ มสานสั ม พั นธ์ สัน กำา แพง เกิ ดจากปั ญ หาของตนเอง แล้ว ชุมชนช่ วยกั น ผลั ก ดั น ทำา ให้ ผู้ ป่ วยจิ ตเวชได้ รั บการรั ก ษาร้ อยละ ๑๐๐ - การออกกำา ลั ง กายแบบเต้ าเต๋ อ ซิ น ซี เป็ นการดู แลสุ ข ภาพโดย ใช้ หลั กธรรม - กลุ่ มอาชี พ เพื่ อคนในชุ ม ชนมี ห น้ า ที่ และส่ ว นสำา คั ญ ในการทำา กิจกรรม คนในชุ มชนมี อ าชี พ รายได้ ดึงองค์ กรภาครั ฐเข้ าร่ วม - กลุ่ มเพื่ อนช่ ว ยเพื่ อน ดูแลผู้ ป่ วยเรื้ อรั ง ได้รั บการรั ก ษา และมี คุ ณภาพชี วิ ต - การสร้ างกลุ่ มขึ้ นมาได้ เ นื่ องจาก มีแกนนำา เข้ มแข็ ง - เห็นความร่ วมมื อในชุ ม ชน เข้าถึ งชุ ม ชนได้ ถู กจุ ด ปรั บใช้ ภูมิ ปั ญ ญาท้ องถิ่ น - ได้ ชาร์ ตแบต มี กำา ลั งใจในการทำา งาน - การรวมกลุ่ ม พลั งชุ มชน พึ่ งพาตั วเองได้ แล้ วหน่ ว ยงานภาค รัฐเข้ ามาสนั บ สนุ น กลุ่ มที่ ๓ มีการรวมกลุ่ ม พลั งชุ มชน พึ่ งพาตั วเองได้ แล้ วหน่ ว ยงานภาครั ฐ เข้ามาสนั บสนุ น จึ งเกิ ดความต่ อเนื่ องของกิ จ กรรม ส่วนสิ่ งที่ ได้ แตกต่ าง จากกลุ่ มอื่ นคื อ กลุ่ มผ้ า มี ประธาน (ที่ ปรึ กษา) เป็นคนที่ ทำา ธุ ร กิ จเกี่ ยว กับผ้ าอยู่ แล้ ว แต่ อยากพั ฒ นาชุ ม ชน จึงนำา เศษผ้ ามาให้ ชุ มชนได้ นำา มา ใช้ หารายได้ ต่ อ
  • 9. กลุ่มที่ ๔ การสร้างชมรมมีทั้งจากที่ชุมชนริเริ่มสร้างเองและมีบางชมรมสร้าง จากการที่เทศบาลสันกำาแพงสนับสนุนให้เกิดก่อน แต่มีจุดมุ่งหมาย เหมือนกันคือทำาอย่างไรจึงจะพึ่งพาตนเองได้ ทางชมรมเห็นความเชื่อม โยงของสุขภาพองค์รวมทำาให้เกิดกิจกรรมด้านต่างๆที่เกี่ยวกับสุขภาพ ไม่เฉพาะด้านใดด้านหนึ่ง วิสาหกิจชุมชนทำาให้เห็นว่ารายได้ การ ดำารงชีวิต เป็นเงื่อนไขของความสุขก่อนที่จะคำานึงถึงสุขภาพ และที่ เห็นคือทุกคนมานำาเสนอด้วยความสุข ๕ .๒ ทบทวน ค วา ม สุ ขจ า ก ก า ร ทำา ง า น ใ น ชุ ม ช น แบ่งกลุ่มแลก เปลี่ยนความคิดเห็น นำาเสนอผลดังนี้ กลุ่มที่ ๑ - ได้เห็นรอยยิ้มและความห่วงใย - ได้รับการยอมรับ - เสียงหัวเราะ - การช่วยเหลือเด็กๆและชุมชน จนชุมชนเห็นความสำาคัญของ การดูแลสุขภาพช่องปาก - ชุมชนให้ความจริงใจตอบกลับมาจากการที่เราตั้งใจทำางาน กลุ่มที่ ๒ - สุขเมื่อผู้ได้รับ ได้รับในสิ่งที่ปรารถนามานาน - ผู้นำาชุมชนให้ความร่วมมือและประสานงานจนประสบความ สำาเร็จ - สุขเมื่อเป็นผู้ให้เขาก่อน ให้ด้วยรอยยิ้มและความจริงใจ - สุขที่มีสามัญสำานึกที่ดีในการทำางาน และได้รับการยอมรับจาก ทุกคน - ความพึงพอใจของผู้รับบริการ - ความจริงใจของเราในการทำางาน กลุ่มที่ ๓ - ได้การยอมรับในชุมชน - ภูมิใจที่เห็นความสำาเร็จในชุมชน พึ่งตนเองได้ - สุขใจเมื่อเห็นเขาฟันดีขึ้น - เรามองโลกในแง่บวก มีศรัทธาในงานที่ทำา และมีสติอยู่ตลอด เวลา กลุ่มที่ ๔ - เปลี่ยนจากคำาว่า “หมอ” กลายเป็น “เพือน” ่
  • 10. - จากผู้สูงอายุที่มีความพยายามพูดอธิบายให้หมอฟังถึงสิ่งที่เป็น - การทำางานร่วมกับผู้อื่น เพื่อนร่วมงานคอยช่วยเหลือ - ผู้สูงอายุได้เข้ามาถามสารทุกข์สุขดิบ “กินข้าวหรือยัง” “มี ที่พัก หรือไม่” ก่อเกิดแรงบันดาลใจในการทำางานต่อไป กลุ่มที่ ๕ - ได้ค้นพบว่า ปัญญาของเราเกิดจากคำาพูดง่ายๆ วิถีชีวิตง่ายๆ ของคนไข้ ทำาให้เกิดแรงบันดาลใจ และหายเหนื่อยจากการทำางาน - เกิดการมองเป็นวงกลม , องค์รวม เห็นเบื้องหลังของชาวบ้าน เกิดความท้าทายในการเข้าไปหาผู้รับบริการที่จะไปเรียนรู้ m ulti skill เช่น ทักษะการสื่อสารเชิงบวก การเจรจาต่อรอง การฟังอย่างลึกซึ้ง “ มองเขาเป็นคน ไม่ใช่คนไข้” - ภาคีเครือข่ายหรือชุมชนทำาให้มีความสุข ๕ .๓ เติ ม เต็ มการ ทำา ง า น กั บอง ค์ กร ป ก ค ร อ ง ส่ วน ท้ องถิ่ น โดย ณัฏฐพัชร คงผดุง หัวหน้าสำานักปลัดเทศบาลตำาบลนา มะเฟือง การคลายปมที่สำาคัญ คือ การเปิดใจตัวเอง ในวิชาอาชีพมักคิดว่า เรื่องของเราหรือเรื่องสุขภาพใหญ่เสมอ เช่น เวลาที่ท้องถิ่นไม่มาร่วม งานเราเรารู้สึกว่าเค้าผิด แต่พอเราถูกเชิญกลับใคร่ครวญว่าเกี่ยวกับเรา หรือไม่ ไม่ว่างบ้าง ไม่ใส่ใจบ้าง ใจเราจึงไม่เปิด ควรเปิดใจ มี ปฏิสัมพันธ์กัน เช่น ไม่ไปโรงเรียนหรือท้องถิ่นเฉพาะเมื่อเราต้องการ งานจากเขา ไปเยี่ยม ไปพูดคุยกัน ไปตอนที่เขาต้องการเราด้วย เครื่องมือสำาคัญที่จะทำาให้เราทำางานอย่างมีความสุข คือ ความเชื่อว่าเรา ทำางานได้ คือถึงแม้ท้องถิ่นจะไม่ให้เงินเราก็ทำางานได้ และไม่เชื่อว่าจะ มีใครมาวางกรอบว่าเราทำาได้แค่นี้ หมั่นหาความสุขโดยสังเกต ทบทวน ความสุขตัวเอง เพื่อเป็นเครื่องมือช่วยเวลาเจออุปสรรค ๕.๔ เปิ ด ความคิ ด อะไรคื อน วั ตกร ร ม งานเชิ งรุ ก /เชิ ง พั ฒน า โดย ทพญ.ศัณสนี รัชชกูล กลุ่มพัฒนาความร่วมมือทางทันต สาธารณสุขระหว่างประเทศ นวัตกรรมคือ สิ่งใหม่ที่เกิดขึ้น สิ่งที่ชาวบ้านคิด เช่นการเยี่ยมบ้าน โดยนำาต้นกล้วยไปให้ เพราะสิ่งที่ชาวบ้าน คิดเองจะเหมาะสมกับ ชุมชนที่สุด โดยหน่วยงานภาครัฐสามารถเป็นฝ่ายสนับสนุนได้ ผู ้ จ ั ด ประชุ ม กลุ่มพัฒนาการคุ้มครองผู้บริโภคด้านทันตสุขภาพ สำานักทันตสาธารณสุข กรมอนามัย
  • 12. World café เรี ย นรู ้ ก ารทำ า งานทั น ตสาธารณสุ ข ในชุ ม ชน/ รพสต. สภากาแฟ (World café) สภากาแฟ นั้น เป็นเวทีแลกเปลี่ยน ความคิด โดยที่ผู้จดเวทีจะต้องกำาหนดประเด็นและวางแผนการแลก ั เปลี่ยนความคิด โดยสภากาแฟเป็นเครื่องมือที่จะทำาให้กลุ่มคนมาเข้า ร่วมอยู่ในสถานที่เดียวกัน ได้มีโอกาสพูดคุยกันทุกคน กติ ก า “สภากาแฟ ” ได้แก่ ผ่อนคลาย สบาย ทุกคนเท่าเทียม กัน การฟังอย่างลึกซึ้ง เคารพทุกความคิด ไม่ตัดสิน ผิด ถูก สมาชิกวง ละ ๔-๖ คน บอกเล่าเรื่องราวทีละคน แบ่งเวลาให้เพื่อนพูดให้ครบวง ประเด็ น สนทนา “สิ ่ ง ที ่ ช อบจากตลาดนั ด ความรู ้ ”  มีการสอดแทรกความรู้เรื่องทันตสุขภาพในวิถีชีวิตของชุมชน  การบูรณาการการแปรงฟันกับการละหมาด  การทำางานครอบคลุมทุกลุ่มอายุ  การทำางานร่วมกันเป็นทีม CUP  สามารถหาเครือข่ายในการทำางานโดย อสม. และเพิ่มศักยภาพให้ อสม.ก่อนลงมือปฏิบัติงาน  การแก้ปัญหาฟลูออไรด์ในพื้นที่โดยชุมชนมีส่วนร่วม การประเมิน ผลการทำางานที่เป็นรูปธรรม
  • 13. การสร้ างนวั ต กรรมทั น ตสุ ข ภาพ อสม.เครื อข่ ายรั ก ฟั น (การให้ อ สม.ตรวจฟั นให้ กั บ AN C ,WBB,ผู้ สูงอายุ ) เพิ่ มทั กษะความรู้ จ นเกิ ด ความชำา นาญก่ อ นลงตรวจ  การทำา การ์ ดวั นเกิ ดเด็ ก ๑-๓ ปี (ให้ ทุ ก ๑ ปี มีกลอนด้ า นส่ ง เสริ มสุ ข ภาพช่ องปากด้ ว ย )  อสม.เป็ นผู้ ให้ ความรู้ และผลิ ตสื่ อในการให้ ค วามรู้ แก่ คนในชุ ม ชน เอง  การสะท้ อนข้ อ มู ล ให้ ห น่ วยงานที่ เกี่ ยวข้ อง  การเชื่ อมโยงผู้ สู งอายุ เล่ า นิ ทานในศู น ย์ เด็ กเล็ ก  การจั ดผ้ าป่ าที่ แปรงฟั น  เกิดแนวคิ ดการทำา งานใหม่ ๆ “ ป ร ะ ส บ ก า ร ณ ์ ก า ร ท ำา ง า น ช ุ ม ช น ข อ ง เ ร า ”  มีการสร้ างเครื อข่ ายการทำา งานทั น ตสุ ข ภาพในชุ ม ชน โดยเน้ นอ สม.ในการดู แลสุ ข ภาพช่ อ งปากของคนในพื้ น ที่ มีการประเมิ น ความรู้ ของ อสม.  มีการเชื่ อมโยงปั ญ หา นำา มาวิ เคราะห์ การลงชุ ม ชนให้ ค วามรู้ แก่ กลุ่ มผู้ ดู แลเด็ ก WBB,ANC การเยี่ ยมบ้ า นผู้ สู งอายุ ผู้ พิ การ ,ผู้ ป่ วย NC D  การบู ร ณาการร่ ว มกั บ งานรั ก ษาอื่ นๆ ทำา งานเป็ น สหวิ ช าชี พ  การทำา งานเชิ งรุ ก ให้ เด็ กเข้ าร่ วมให้ ม ากขึ้ น (model ทำา ฟั นให้ เด็ กดู เยี่ ยมบ้ าน การทำา ภาพการทำา ฟั น ไม่ ใ ห้ น่ า กลั ว )  มีระบบการติ ด ตามที่ ต่ อเนื่ อง เพื่ อปรั บวิ ธี การทำา งานให้ เข้ ากั บ คนในชุ ม ชน  บุคลากรที่ ทำา งานจะต้ อ งผสมผสานการทำา งานตามนโยบายกั บ วิ ธี การทำา งานให้ success ตามบริ บ ทชุ ม ชน  การทำา แบบบั น ทึ ก ฝั น ผุ ถ่ายรู ป ฟั น บันทึ ก การรั ก ษา  ทำา เมนู ทำา ฟั นเพื่ อให้ เด็ ก สนุ ก กั บ การทำา ฟั น  นำา การ์ ตู น มาเป็ นสื่ อในการทำา ฟั น ให้ เด็ ก  การส่ งเสริ ม ทั นตสุ ข ภาพชาวไทยมุ ส ลิ ม ใช้ วิ ถี ชี วิ ตของศาสนา อิสลามกั บ การส่ งเสริ ม ด้ า นทั น ตสุ ข ภาพ คือ “ร่างกายเป็ น สิ่ งที่ พระเจ้ าสร้ างให้ มีหน้ าที่ ต้ องรั กษา” ศาสนา ความเชื่ อ (การละมาด ) การชำา ระล้ างร่ างกายโดยการล้ างหน้ า บ้วนปาก วันละ ๕ ครั้ ง เปลี่ ยนเป็ น การแปรงฟั น ก่ อ นเข้ ามั สยิ ด
  • 14.  การออกหน่วยทันตกรรมที่ รพสต. เพื่อลดความแออัดของผู้ป่วย ในโรงพยาบาล  จัดประกวดแปรงฟัน  การให้บริการครบคลุม KPI  การประชาคมหมู่บ้านเพื่อหาวิธีแก้ไขโดยชุมชนมีส่วนร่วม “ วันนี้เร ารู้อะไ ร เ พิ่ ม ขึ้น ”  ได้แนวคิดและแนวทางในการทำางานที่หลากหลาย ได้ต่อยอด และพัฒนางานที่ทำา  ได้ทราบปัญหาแต่ละที่มีความแตกต่างกัน การทำางานตามบริบท ของชุมชน  ได้รับทราบความรู้สึกของทันตาภิบาล ได้รู้ว่าตอนนี้ทันตาภิบาล กำาลังต้องการเปลี่ยนสายงาน แต่ยังมีบุคลากรที่อยากทำางานต่อ แต่ถ้ามีโอกาสก็จะเปลี่ยนอาชีพ  ได้ชาร์จแบต ทำางานใกล้หมดไฟแล้ว เพราะทำางานในชุมชนไม่ ประสบความสำาเร็จ วันนี้ได้รู้แนวทางการทำางานในชุมชนมากขึ้น  ได้ถ่ายทอดประสบการณ์  การทำางานชุมชนต้องไปให้ได้ถูกที่ ถูกทาง Key man Key source  รู้ทักษะการทำางานร่วมกับชุมชน เน้น ทำาให้ “สำา เร็จ มากกว่า เสร็จ”  การวิเคราะห์ข้อมูลชุมชน (จุดแข็ง จุดอ่อน ข้อมูลพื้นฐานชุมชน กลุ่มผู้มีส่วนได้เสีย)  การทำางานเป็นทีม(พัฒนาศักยภาพบุคลากร มีการประสานงาน เครือข่าย สหวิชาชีพ)  การกำาหนดเป้าหมายที่ชัดเจนร่วมกัน  การแลกเปลี่ยนข้อมูล ติดตามอย่างเป็นระบบ  การปรับกลยุทธ์ วิธีการทำางาน ไม่ยึดติดรูปแบบ  CQI ปรับและทำาอย่างต่อเนื่อง แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ทบทวนการศึกษาดูงาน  เห็นการที่จะเริ่มมีกลุ่ม ชมรม เริ่มจาก “คิดเอง” ต่อจากนั้นก็รวม กลุ่ม “จิตอาสา” ได้กลุ่มแล้วก็เกิดผลงาน และ “ต่อยอด” หน่วย งานอื่นเข้ามาทีหลัง  การบูรณาการ กลุ่มสายใยรัก ไปเยี่ยมคลอด โดยมีต้นกล้า เพื่อ ให้ชาวบ้านปลูก ต้นไม้โตไปพร้อมเด็ก
  • 15.  จุดเริ่ มต้ นมาจากชุ มชน ไม่ ได้ รั บการยั ดเยี ย ดจากภาครั ฐ  มีทรั พยากรชุ ม ชนที่ เข้ มแข็ ง แกนนำา มี ความพร้ อ ม ทั้ งด้ านความรู้ เศรษฐานะ เริ่ มด้ วยใจ “จิ ต อาสา”  ชุมชนเห็ น ความสำา คั ญ ด้ า นสุ ข ภาพ  มีการสร้ างแรงจู งใจ เช่ น ประกวด ให้ รางวั ล  วิสัยทั ศน์ ของผู้ นำา ชุ มชน ทั้งจากองค์ กร และชุ ม ชน มีความกว้ าง ไกล ทำา ให้ องค์ กรภาครั ฐเข้ าไปทำา งานได้ ง่ าย  มีความยั่ งยื น เพราะสิ่ งต่ างๆ เกิดจากชุ ม ชน เริ่มจากชุ ม ชน  อสม. เกิดจากนโยบาย ของเทศบาล และสาธารณสุ ข แต่ กิจกรรมที่ ทำา เกิดจากความคิ ด ของกลุ่ มเอง ความจริ งใจของ อสม.ที่ อยากช่ ว ยชุ ม ชน ความเด่ น คือ คิดเอง ทำา เอง เกิดความ อยากทำา งานจริ ง ๆ  ผู้ สูงอายุ เกิดจากจุ ด มุ่ งหมายร่ ว มกั น ของผู้ สู งอายุ “ยิ้ มแย้ มแจ่ ม ใส พูดจาไพเราะ” ทำา งานแบบมี อุ ดมการณ์ เดี ยวกั น ต่อเนื่ อง เน้น “ การช่ วยเหลื อ ตั วเอง”  กลุ่ มสานสั ม พั นธ์ สัน กำา แพง เกิ ดจากปั ญ หาของตนเอง แล้วชุ มชน ช่วยกั น ผลั กดั น ทำา ให้ ผู้ ป่ วยจิ ตเวชได้ รั บ การรั ก ษาร้ อยละ ๑๐๐  กลุ่ มชมรมเต้ าเต๋ อ ซิ่ น ซี ดูแลสุ ข ภาพโดยใช้ ห ลั ก ธรรม  กลุ่ มอาชี พ เพื่ อคนในชุ ม ชนมี ห น้ า ที่ และส่ ว นสำา คั ญ ในการทำา กิจกรรม คนในชุ มชนมี อ าชี พ รายได้ ให้ องค์ กรภาครั ฐเข้ าร่ วม สนั บสนุ น  กลุ่ มเพื่ อนช่ ว ยเพื่ อน ดูแลผู้ ป่ วยเรื้ อรั ง ได้รั บการรั ก ษา และมี คุ ณภาพชี วิ ต  เห็นความร่ วมมื อในชุ ม ชน เข้าถึ งชุ ม ชนได้ ถู กจุ ด ปรั บใช้ ภูมิ ปั ญ ญาท้ องถิ่ น  การรวมกลุ่ ม พลั งชุ มชน พึ่ งพาตั วเองได้ แล้ วหน่ ว ยงานภาครั ฐ จึงเข้ ามาสนั บ สนุ น  กลุ่ มผ้ า ที่ สำา คั ญ คื อ ประธาน (ที่ ปรึ กษา) เป็นคนที่ ทำา ธุ ร กิ จเกี่ ยว กับผ้ าอยู่ แล้ ว แต่ ก็ อยากให้ ชุ มชนได้ พั ฒ นา จึง นำา เศษผ้ า มาให้ ชุมชนได้ นำา มาใช้ ห ารายได้ ต่ อ การมี ที่ ปรึ กษาช่ วยในเรื่ องการ ตลาด  รู้วิธี การทำา การตลาดเมื่ อมี ผลิ ตภั ณ ฑ์  การมี ส่ วนร่ วมของชุ ม ชนทำา ให้ ยั่ งยื น  ความเสี ยสละ และจิ ตอาสา “เห็ น ปั ญ หาแล้ ว ไม่ นิ่ งดู ดาย”  หน่ วยงานภาครั ฐ ดู แ ล
  • 16.  เห็นคุ ณ ค่ า ชี วิ ต ผู้ สูงอายุ มี ศั กยภาพ ขรก.เกษี ย ณ  การทำา งานกั บ ชุ ม ชน ต้องทำา ด้ วยใจ  เข้าใจ เข้าถึ ง พั ฒนา  การมี ส่ วนร่ วมของภาคประชาชน ส่งเสริ มประชาธิ ปไตย  การขยายเครื อ ข่ าย ขยายความดี ไม่ ปิ ดกั้ นความดี ที่ มี อยู่  ความสุ ข ของชาวบ้ า น เห็ นรอยยิ้ ม ทุกคนมี ร อยยิ้ ม  การสร้ างรายได้ ที่ ยั่ งยื น  แรงบั นดาลใจในการทำา งาน (เห็นแล้ วเกิ ดแรงบั นดาลใจ อยาก กลั บไปทำา งานในพื้ น ที่ )  สิ่ งที่ อยากเพิ่ มเติ มกั บ พื้ นที่ คือ การเพิ่ มด้ านทั นตสาธารณสุ ข เข้า กับชมรมที่ มี อยู่ ให้เป็ นรู ปธรรม เช่ น ก่อนจะเข้ า มาทำา กิ จ กรรมกั บ ชมรมก็ แปรงฟั น ก่ อ น ฯลฯ  นำา แนวทางที่ ได้ ไปปรั บใช้ กั บ บริ บ ทของตนเอง เพราะแต่ ล ะพื้ นที่ ไม่เหมื อ นกั น “ เ ร า ส ั ง เ ก ต เ ห ็ น ค ว า ม ส ุ ข ง ่ า ย ๆ อ ะ ไ ร บ ้ า ง จ า ก ก า ร ท ำา ง า น เ ก ี ่ ย ว กับชุม ช น ใ น พ ื้ น ที่ข อ ง เ ร า ”  รอยยิ้ ม เสียงหั วเราะ และความห่ วงใย  การช่ วยเหลื อเด็ กๆและชุ ม ชน จนชุ ม ชนเห็ น ความสำา คั ญ ของการ ดูแลสุ ขภาพช่ อ งปาก  ชุมชนให้ ความจริ งใจตอบกลั บ มาจากการที่ เราตั้ งใจทำา งาน  สุขเมื่ อผู้ ได้ รั บ ได้ รั บในสิ่ งที่ ปรารถนามานาน  ผู้ นำา ชุ มชนให้ ความร่ ว มมื อและประสบความสำา เร็ จ  เป็ นผู้ ให้ เขาก่ อน ให้ ด้ วยรอยยิ้ มและความจริ ง ใจ  มีสามั ญ สำา นึ ก ที่ ดี ในการทำา งาน และได้ รั บ การยอมรั บ จากทุ ก คน  ความพึ งพอใจของผู้ รั บบริ ก าร  ภูมิ ใจที่ เห็ น ความสำา เร็ จ ในชุ ม ชน พึ่ งตนเองได้  สุขใจเมื่ อเห็ นเขามี สุ ข ภาพฟั น ที่ ดี ขึ้ น  เรามองโลกในแง่ บ วก มีศรั ทธาในงานที่ ทำา และมี สติ อ ยู่ ตลอดเวลา  เปลี่ ยนจากคำา ว่ า “หมอ” กลายเป็ น “เพื่ อ น”  จากผู้ สู งอายุ ที่ มี ความพยายามพู ด อธิ บ ายให้ ห มอฟั ง ถึ ง สิ่ งที่ เป็ น  การทำา งานร่ วมกั บ ผู้ อื่ น เพื่ อนร่ วมงานคอยช่ ว ยเหลื อ  ผู้ สูงอายุ ได้ เข้ ามาถามสารทุ ก ข์ สุ ขดิ บ “กิ น ข้ า วหรื อยั ง ” “มี ที่ พั ก หรื อไม่ ” ก่อเกิ ดแรงบั น ดาลใจในการทำา งานต่ อ ไป
  • 17.  ค้นพบว่ า ปั ญญาของเราเกิ ดจากคำา พู ดง่ ายๆ วิถีชี วิ ตง่ ายๆของ คนไข้ ทำา ให้ เกิ ดแรงบั นดาลใจ และหายเหนื่ อ ย  เกิ ด การมองเป็ น วงกลม , องค์ ร วม เห็ นเบื้ องหลั ง ของชาวบ้ า น เกิ ด ความท้ าทายในการเข้ าไปหาผู้ รั บบริ ก ารที่ จะไปเรี ย นรู้ multi-skill เช่ น ทักษะการสื่ อสารเชิ งบวก การเจรจาต่ อ รอง การฟั งอย่ างลึ ก ซึ้ ง “มองเขาเป็ น คน ไม่ ใช่ คนไข้ ”  ภาคี เครื อ ข่ ายทำา ให้ อ บอุ่ น