SlideShare a Scribd company logo
1 of 20
Download to read offline
6
                                        เอกสารประกอบห้องย่อยวิชาการ




           กลยุทธ์การเชื่อมร้อย
บริการปฐมภูมิให้เป็นเครือข่าย
       บทเรียนจาก CUP ชนบท




             การประชุมมหกรรมสุขภาพชุมชน ครั้งที่ 2
    จากความรู้สู่ระบบจัดการใหม่ จินตนาการเป็นจริงได้ไม่รู้จบ
 วันที่ 19 มกราคม 2555 เวลา 10.30 - 12.30 น. ห้อง Sapphire 6
คำ�นำ�
            เอกสารประกอบการอภิ ป รายห้ อ งย่ อ ย กลยุ ท ธ์ ก ารเชื่ อ มร้ อ ย
บริการปฐมภูมิให้เป็นเครือข่าย : บทเรียนจาก CUP ชนบท วันพฤหัสบดี
ที่ 19 มกราคม 2555 เวลา 10:30 – 12:30 น. เพื่ อ สะท้ อ นแนวคิ ด
คุ ณ ค่ า ของระบบบริ ก ารสุ ข ภาพปฐมภู มิ ซึ่ ง เป็ น กลไกสำ � คั ญ ในการพั ฒ นา
ระบบสุ ข ภาพชุ ม ชน และสะท้ อ นความเป็ น ตั ว ตนของเครื อ ข่ า ยสุ ข ภาพ
ระดั บ อำ � เภอ (CUP) ในกลยุ ท ธ์ วิ ธี ก ารจั ด การระดั บ เครื อ ข่ า ยปฐมภู มิ
ที่ ดี ใ นการเชื่ อ มร้ อ ยบริ ก ารปฐมภู มิ ใ ห้ เ ป็ น เครื อ ข่ า ย ที่ จ ะนำ � ไปสู่ สุ ข ภาวะ
ประชาชนในพื้นที่

          ในงานประชุ ม ประชุ ม วิ ช าการ มหกรรมสุ ข ภาพชุ ม ชน ครั้ ง ที่ 2
“จากความรู้ สู่ ร ะบบจั ด การใหม่ จิ น ตนาการเป็ น จริ ง ได้ ไ ม่ รู้ จ บ” ระหว่ า ง
วันที่ 18 – 21 มกราคม 2555 ณ อาคารอิมแพ็คฟอรั่ม เมืองทองธานี

                                       สำ�นักงานวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน
                                                                มกราคม 2555




                                                        กลยุทธ์การเชื่อมร้อยบริการปฐมภูมิให้เป็นเครือข่าย
                                                                                 บทเรียนจาก CUP ชนบท        3
กลยทธการเชอมรอยบรการปฐมภมใหเ้ ปนเครอขาย
   ุ ์    ่ื ้   ิ      ูิ ็ ื ่
                    : บทเรียนจาก CUP ชนบท
                                         ส�ำนักงานวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน (สพช.)
                                                                      ชมรมแพทย์ชนบท

            บทเรียนส�ำคัญในการประสานเชื่อมต่อระหว่างหน่วยบริการปฐมภูมิ สาธารณสุข
อ�ำเภอ และโรงพยาบาลรวมถึงการเชื่อมโยงกับชุมชน ท้องถิ่น การสร้างให้เป็นทีมงาน
เดียวกันอย่างเป็นเอกภาพ ทั้งนี้ได้เลือกเครือข่ายบริการปฐมภูมิในระดับอ�ำเภอแต่ละแบบ
มา 4 พื้ น ที่ ที่ จ ะสะท ้ อ นให ้ เ ห็ น ลั ก ษณะเด ่ น ในการท�ำงานเครื อ ข ่ า ยบริ ก ารปฐมภู มิ
ในรู ป แบบที่ ห ลากหลายในการพั ฒ นาตามบริ บ ทของแต่ ล ะพื้ น ที่ ซึ่ ง สามารถน�ำไป
ประยุ ก ต ์ ใช ้ ใ นการจั ด ระบบบริ ก ารสุ ข ภาพปฐมภู มิ ใ นระดั บ อ�ำเภอให ้ เ กิ ด ประโยชน ์
ต่อประชาชนในพื้นที่ต่อไป....ดังกรณีตัวอย่างบทเรียนของ CUP ชนบทใน 4 รูปแบบ
4 บริบท

บทเรียนจาก CUP โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชกุฉนารายณ์
                                          ิ
จังหวัดกาฬสินธุ์
        การจัดการระบบบริการสุขภาพเชิงรุกเพื่อเพิ่มโอกาสการเข้าถึงบริการสุขภาพ
และสวัสดิการชุมชนของประชาชนทุกกลุ่มเป้าหมาย : กรณีอ�ำเภอกุฉินารายณ์
            กุฉินารายณ์เป็นหนึ่งในสิบแปดอ�ำเภอของจังหวัดกาฬสินธุ์ ห่างจากตัวจังหวัด
กาฬสิ น ธุ ์ ไปทางทิ ศ ตะวั น ออกประมาณ 80 กิ โ ลเมตร รั บ ผิ ด ชอบประชากรทั้ ง หมด
101,410 คน มีหน่วยบริการสุขภาพจ�ำนวน 18 แห่ง เป็นโรงพยาบาลชุมชนขนาด 90 เตียง
1 แห่ง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบล 17 แห่ง โดยมีส�ำนักงานสาธารณสุขอ�ำเภอ 1 แห่ง
เป็ น กลไกของรั ฐ ในการเชื่ อ มประสานการท�ำงานร่ ว มกั น ระหว่ า งโรงพยาบาลแม่ ข ่ า ย
(รพ.ร. กุฉินารายณ์) กับหน่วยบริการปฐมภูมิ (รพ.สต.) ในพื้นที่

                                                        กลยุทธ์การเชื่อมร้อยบริการปฐมภูมิให้เป็นเครือข่าย
                                                                                 บทเรียนจาก CUP ชนบท        5
จากโครงสร้างและกลไกการจัดระบบบริการสุขภาพที่เป็นอยู่ ที่ไม่สามารถตอบ
      สนองต่อความจ�ำเป็นต้องการของคนในพื้นที่และสร้างความเป็นทุกข์ใจให้กับผู้ให้บริการ
      จากข้อจ�ำกัดของพื้นที่และเวลาการจัดให้บริการ ผู้มารับบริการมาแออัดรอรับบริการ ณ
      รพ.ร.กุฉินารายณ์ การกลับมารับบริการซ�้ำในปัญหาเดิม ๆ สิ่งเหล่านี้ท�ำให้ผู้บริหาร
      โรงพยาบาลต้องกลับมาทบทวนกระบวนการจัดระบบบริการสุขภาพของอ�ำเภอเสียใหม่
      ด้วยการเชื่อมร้อยระบบบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิในพื้นที่กับการจัดให้บริการสุขภาพ
      ทุติยภูมิของโรงพยาบาลแม่ข่าย (รพ.ร.กุฉินารายณ์) ที่มีความลงตัวอย่างพอเหมาะพอสม
      กับสภาพบริบทของพื้นที่กุฉินารายณ์
                 เริ่มจากการสร้างทีมงานที่มีความเข้าใจในลีลาชีวิตของ มนุษย์ ที่มีองค์ประกอบ
      ดวยกาย จตใจ ความรสกชวดี (จตวญญาณ) ปรบมโนทรรศนจากการรกษาโรคมาเปนรกษาคน
       ้          ิ          ู้ ึ ั่ ิ ิ                ั         ์         ั           ็ ั
      ท�ำให้ทีมงานมีความรู้และทักษะการดูแลประชาชนในพื้นที่ในสามส่วนได้แก่ ความรู้เรื่อง
      การรักษาโรค ความรู้เรื่องวิถีชีวิตของคนป่วย และความรู้เรื่องแหล่งทุน/ทรัพยากรชุมชน
      ที่น�ำใช้ในการระดมเพื่อดูแลคนในพื้นที่ เติมพลังแรงใจ (หัวใจมนุษย์) และพลังปัญญา
      (หลักวิชาการ) ให้กับทีมงาน สร้างสัมพันธภาพความไว้วางใจ การให้คุณค่าของทีมงาน
      (ทุกวิชาชีพมีคุณค่าเสมอกัน) จากนั้นเริ่มด�ำเนินการตามความเชื่อและแนวคิดสามด้าน คือ
      หลกการบรการสขภาพปฐมภมิ หลกเวชศาสตรครอบครวและหลกการท�ำงานแบบบรณาการ
          ั         ิ ุ               ู ั                 ์   ั      ั                    ู
      ของสหวิชาชีพ ในพืนทีเ่ ขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลกุฉนารายณ์ โดยเน้นในกลุมเป้าหมาย
                           ้                                    ิ                    ่
      ผู้พิการและกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังเป็นบทพิสูจน์ให้เห็นความส�ำเร็จในการสร้างสุขภาพด้วย
      กลไกการจั ด ระบบบริ ก ารสุ ข ภาพระดั บ อ�ำเภอที่ เ หมาะสมโดยเน้ น บริ ก ารสุ ข ภาพ
      ปฐมภูมิ (บริการที่เน้นการผสมผสานบริการทั้งมิติการส่งเสริมสุขภาพ ควบคุมป้องกันโรค
      การรักษาพยาบาล การฟื้นฟูสุขภาพรวมถึงการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพที่มีดุลยภาพ)
      ภายใต้ทีมงานที่ถูกสร้างและพัฒนาขึ้นของโรงพยาบาลกุฉินารายณ์ร่วมกับเครือข่ายใน
      พื้นที่ส่วนหนึ่ง (รพ.สต. 2-3 แห่งที่เห็นด้วยกับแนวคิดดังกล่าว) โดยมีแผนปฏิบัติการการ
      ดูแลผู้ป่วยของทีมงานที่มีหัวใจความเป็นมนุษย์ ในขณะที่มีการเคลื่อนไหวของทีมงาน
      ไม้เลือย (ทีมสหวิชาชีพ) ตัวผูบริหาร (ผอ.รพ.ร.กุฉนารายณ์) จะท�ำหน้าทีในการน�ำและอ�ำนวยการ
            ้                       ้                 ิ                   ่
      ให้ทีมงานได้ท�ำหน้าที่ของพวกเขาอย่างเต็มก�ำลัง เมื่อเวลาผ่านเลยไปตั้งแต่ปี 2549 ที่
      ต้นกล้าพันธุ์ “หมอเวชศาสตร์ครอบครัว” ได้เกิดขึ้นในพื้นที่กุฉินารายณ์และแตกหน่อ
      ก่อเชื้อแพร่ขยายสู่วิชาชีพอื่น ๆ รวมถึงเครือข่ายในชุมชน (เช่น อสม. ผู้น�ำชุมชน ผู้น�ำท้องถิ่น

    กลยุทธ์การเชื่อมร้อยบริการปฐมภูมิให้เป็นเครือข่าย
6   บทเรียนจาก CUP ชนบท
เป็นต้น) เป็นทีมงาน“ไม้เลื้อย” ท�ำให้ผู้เจ็บป่วย(ด้วยมิติทางกาย มิติทางใจ มิติทางสังคม)
ได้รับการเยียวยาที่มีคุณภาพ มาตรฐานแห่งวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง สร้างความพึงพอใจให้กับ
ทั้งผู้รับบริการและผู้ให้บริการ จากคนที่ด้อยโอกาสไม่ได้รับการดูแลที่เหมาะสมในหลักร้อย
ขยายสหลกพนและหลาย ๆ พนในเวลาตอมา ซงทมงานและผบรหารไดมการจดเวทแลกเปลยน
           ู่ ั ั              ั       ่      ึ่ ี            ู้ ิ ้ี ั ี            ี่
เรียนรู้จากวงเสวนาของทีมงานเอง และขยายสู่กลุ่มเครือข่ายต่าง ๆ เป็นบทเรียนที่สร้าง
ความสนใจให้กับภาคี องค์กรต่าง ๆ คุณค่าของการท�ำงานที่ยึดผู้ป่วยเป็นศูนย์กลางและ
ไม่ละเลยตัวชี้วัดของส่วนกลางที่สั่งการ (แม้จะเป็นอุปสรรคการท�ำงานของพื้นที่) ด้วยกลไก
การเชื่อมร้อยของบริการปฐมภูมิในระดับพื้นที่ (รพ.สต.) ในฐานะองค์กรสุขภาพที่มีความ
เชี่ยวชาญ (รู้และเข้าใจชุมชน) กับโรงพยาบาลแม่ข่ายในพื้นที่ ในฐานะผู้เชี่ยวชาญด้านการ
แพทย์และสาธารณสุข (รู้และเข้าใจธรรมชาติการเกิดโรครวมถึงการรักษาโรค) และภาคี
เครือข่ายสุขภาพชุมชน (อสม.แกนน�ำชุมชน อปท.) ในฐานะเจ้าของพื้นที่ตัวจริง น�ำมาสู่การ
เรียนรูและการพัฒนาระบบการจัดบริการสุขภาพปฐมภูมทมความต่อเนืองเป็นพลวัตร จนเป็น
         ้                                             ิ ี่ ี       ่
กุฉินารายณ์ Model ซึ่งเป็นรูปแบบการบริหารจัดการสุขภาพแนวใหม่ ที่ควรค่าต่อการ
ติดตาม ศึกษาและน�ำไปประยุกต์เพื่อเกิดประโยชน์ให้กับชาวบ้านในเขตรับผิดชอบต่อไป
       ปัจจัยที่ส่งผลให้กลไกการจัดการระบบสุขภาพในรูปแบบของ “กุฉินารายณ์
Model” ประสบผลส�ำเร็จนั้นมาจาก...
         1. ผู้น�ำองค์กร (ผอ.รพ.ร.กุฉินารายณ์ : นายแพทย์นพดล เสรีรัตน์) ที่มีวิสัยทัศน์
กว้างไกลและมีความเชื่อมั่นต่อการแก้ปัญหาหรือการยกระดับสุขภาพให้ส�ำเร็จนั้นต้อง
ยึดบุคคลเป็นศูนย์กลาง (Personal Approach / Person Center) ด้วยฐานความคิด
“Primary care” , “Family medicine” , “Multidisciplinary team”
          2. ผู ้ น�ำทีม ที่มีความเข้ม แข็งและเชื่อมั่น ในคุ ณ ค่ า ของบริ ก ารสุ ข ภาพปฐมภู มิ
อย่างคุณหมอสิริชัย นามทัศนีย์ แพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว ประจ�ำศูนย์สุขภาพชุมชน
โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชกุฉินารายณ์ ที่เป็นแบบอย่างในการประยุกต์ใช้หลักวิชาการ
เชิงทฤษฎีของระบบบริการสุขภาพปฐมภูมิสู่การปฏิบัติที่เกิดเห็นผลเชิงรูปธรรม จับต้องได้
ท�ำให้ทีมงานและภาคีเครือข่ายเกิดความศรัทธา มั่นใจและมุ่งมั่นต่อภารกิจในบทบาท
หน้าที่


                                                      กลยุทธ์การเชื่อมร้อยบริการปฐมภูมิให้เป็นเครือข่าย
                                                                               บทเรียนจาก CUP ชนบท        7
3. ทีมงานสหวิชาชีพที่ปฏิบัติการในพื้นที่ ที่มีความอดทน มุ่งมั่น ศรัทธาต่อ
      แนวคิดและคุณค่าของบริการสุขภาพปฐมภูมิและมีหัวใจความเป็นมนุษย์
                4. กระบวนการพัฒนา การให้โอกาสและการสนับสนุนการท�ำงานของทีมงาน
      ผ่านการแลกเปลี่ยนเรียนรู้อย่างเป็นกัลยาณมิตร ให้เกียรติและมองเห็นคุณค่าตนเองและ
      คนอื่น ๆ ในทีมงาน การเยี่ยมบ้านเชิงลึกเพื่อให้ได้ข้อมูลที่เป็นจริงมากที่สุดเพื่อใช้ประกอบ
      การวางแผนดูแลเยียวยาตลอดจนการสร้างองค์ความรู้ใหม่ๆเพื่อการดูแลประชาชน ท�ำให้
      เกิดการพัฒนาต่อยอดอย่างไม่หยุดนิ่ง จนทีมงานแต่ละคน มีทักษะที่เรียกว่า “Mixed Skill”
      ท�ำให้เกิดนวตกรรมการท�ำงานที่สร้างคุณค่าและเป็นแบบอย่างที่ดีในพื้นที่ตลอดเวลา
      ภายใต้ค่านิยม บ่ดีเฮ็ดใหม่ ...ให้เริ่มต้นท�ำในสิ่งที่ชอบก่อน... ให้ท�ำในสิ่งที่ง่าย ๆ ก่อนแล้ว
      ขยายผลเมื่องานส�ำเร็จ
                5. ความพอเหมาะพอดีของการจัดทีมงานสหวิชาชีพที่มีจุดเด่นคือ มีหมอหนึ่งคน
      ดูแลพื้นที่รับผิดชอบประชากรประมาณหมื่นคน (พื้นที่รับผิดชอบ รพ.ร.และ รพ.สต.
      2-3 แห่ง)
                   6. กลไกและกลวิธีการท�ำงานที่เน้นการท�ำงานเชิงสร้างสรรค์ มองมุมบวก สร้าง
      สัมพันธภาพแนวราบ ลดการจัดการเชิงสั่งการ (อ�ำนาจนิยม) แต่จะป็นการท�ำงานแบบ
      กัลยาณมิตร ประสานความร่วมมือเพื่อผลส�ำเร็จของงานเป็นส�ำคัญรวมถึงการเลือกกลุ่ม
      เป้าหมายเพื่อการดูแลในระยะเริ่มต้นจะเน้นไปในกลุ่มที่มีความเป็นไปได้ในการส�ำเร็จผล
      และเป็นที่สนใจของชุมชนโดยรวมเป็นกรณีตัวอย่างในการดูจัดการดูแลก่อน ได้แก่ ผู้พิการ
      ผู้ป่วยเรื้อรัง ผู้สูงอายุ เป็นต้น ซึ่งจะสร้างผลผลิตที่สื่อให้เห็นคุณค่าของบริการปฐมภูมิ
      ที่มีศักดิ์ศรีเชิงวิชาการได้มากกว่า

      บทเรียนจาก CUP โรงพยาบาลสนามชัยเขต จังหวัดฉะเชิงเทรา
                การจัดการก�ำลังคนภาคบริการสุขภาพระดับอ�ำเภอเพื่อการจัดบริการสุขภาพ
      ปฐมภู มิ ที่ ท รงประสิ ท ธิ ภ าพ : กรณี อ�ำเภอสนามชั ย เขต จั ง หวั ด ฉะเชิ ง เทราอ�ำเภอ
      สนามชัยเขตเป็นอ�ำเภอชายขอบของจังหวัดฉะเชิงเทรา มีพื้นที่ติดกับจังหวัดสระแก้ว
      และปราจีนบุรี อยู่ห่างจากตัวจังหวัดประมาณ 55 กิโลเมตร จัดว่าเป็นโรงพยาบาล
      ทุติยภูมิระดับกลาง ด�ำเนินงานภายใต้ปรัชญา “มุ่งมั่นช่วยชีวิต คือกิจที่ส�ำคัญ บริการ


    กลยุทธ์การเชื่อมร้อยบริการปฐมภูมิให้เป็นเครือข่าย
8   บทเรียนจาก CUP ชนบท
เท่าเทียมกัน ไม่แบ่งชั้นชาติตระกูล” โดยวางวิสัยทัศน์ “เป็นโรงพยาบาลคุณภาพของ
ชุมชนที่มีความเป็นเลิศด้านการดูแลสุขภาพ ที่ผู้ใช้บริการอบอุ่นใจและมีความสุข”อ�ำเภอ
สนามชัยเขตประกอบด้วยเทศบาลต�ำบลสนามชัยเขต และอีก 4 ต�ำบล คือ ต�ำบลคู้ยายหมี
ต�ำบลท่ากระดาน ต�ำบลทุ่งพระยา และต�ำบลลาดกระทิง มีประชากรรวมทั้งสิ้น 70,345 คน
เป็นชาย 35,520 คน หญิง 34,825 คน แต่มีจ�ำนวนหมู่บ้านมากถึง 70 หมู่บ้าน มีพื้นที่
ประมาณหนึ่งล้านไร่ หรือพื้นที่ราว 1,600 ตารางกิโลเมตร ท�ำให้สนามชัยเขตนับว่าเป็น
อ�ำเภอที่มีขนาดใหญ่เป็นที่สองของประเทศ รองจากอ�ำเภออุ้มผาง และยังมีเนื้อที่ใหญ่กว่า
จังหวัดสมุทรปราการทั้งจังหวัด ซึ่งมีพื้นที่ประมาณ 1,000 ตารางกิโลเมตรสภาพพื้นที่
โดยรวมเป็ น ป่ า เสื่ อ มโทรม ประชากรส่ ว นใหญ่ ย ้ า ยมาจากภาคตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ
ส่วนมากประกอบอาชีพเกษตรกรรม รับจ้างท�ำงานในโรงงานอุตสาหกรรม และรับจ้าง
ทางการเกษตร มีแรงงานต่างด้าวที่ขึ้นทะเบียนไว้ประมาณ 1,400 คน ปัญหาที่หนักหน่วง
ที่สุดของหน่วยบริการปฐมภูมิที่ห่างไกลความเจริญ นั่นคือการขาดแคลนบุคลากร ท�ำให้
การจัดบริการสุขภาพในระบบบริการสุขภาพปฐมภูมิไม่มีความต่อเนื่อง ผู้บริหารต้องวิ่ง
ตามแก้ปัญหาเดิม ๆ ปีแล้วปีเล่า 	
              แนวคิดและยุทธศาสตร์การสร้างทีมงานสุขภาพที่เข้มแข็งโดย “การปั้นดินให้เป็น
ดาว” ด้วยการสร้างโอกาสให้กับคนในพื้นที่ได้รับการพัฒนาเป็นบุคลากรด้านสุขภาพที่เป็น
มืออาชีพกลับมาดูแลญาติพี่น้องในพื้นที่ เพื่อแก้ปัญหาการขาดแคลนก�ำลังคนและการไหล
ออกของก�ำลังคนในระบบบริการสุขภาพของอ�ำเภอสนามชัยเขตโดยเฉพาะในหน่วยบริการ
ปฐมภูมิ...จากแนวคิด น�ำไปสู่กลยุทธ์และกระบวนการจัดการเพื่อให้เกิดต้นกล้าก�ำลังคน
สุขภาพสายเลือดใหม่ (สายเลือดพันธุ์พื้นเมืองที่มีความแข็งแกร่ง มีจิตใจเป็นพยาบาล
มืออาชีพ มีหัวใจความเป็นมนุษย์ ส�ำนึก กตัญญูต่อแผ่นดินเกิด) ด้วยการค้นหาเด็กที่มีแวว
ในพื้ น ที่ ใ ห ้ ไ ด ้ รั บ โอกาสในการพั ฒ นาตนเองสู ่ วิ ช าชี พ พยาบาลของชุ ม ชน เพื่ อ ชุ ม ชน
(โดยคนสาธารณะที่มีหัวใจความเป็นมนุษย์ อย่างคุณหมอสมคิดปีแล้วปีเล่าที่หมอสมคิด
วิระเทพสุภรณ์ ในฐานะผู้อ�ำนวยการโรงพยาบาลสนามชัยเขต ผู้น�ำในระบบบริการสุขภาพ
ระดับอ�ำเภอ) จากนั้นน�ำเด็กที่สนใจจะไปในทางเดินนี้มาฝึกงานในโรงพยาบาลและสถานี
อนามัย เพื่อให้พวกเขาเห็นสภาพจริงก่อนไปเรียน แล้วตัดสินใจเองว่า จะสมัครไปสอบ
ขอทุนเรียนหรือไม่ เมื่อเด็กและผู้ปกครองตกลงใจแล้ว ก็ยังต้องวิ่งเต้นและจัดการเพื่อให้
เด็กในพื้นที่ได้ทุน ได้มีที่นั่งเรียน ทั้งมองหาแหล่งทุนการศึกษา ไม่ว่าจะเป็นทุนของจังหวัด

                                                        กลยุทธ์การเชื่อมร้อยบริการปฐมภูมิให้เป็นเครือข่าย
                                                                                 บทเรียนจาก CUP ชนบท        9
ทุน อบต. มีบางกรณีพ่อแม่ยินดีจ่ายค่าเรียนเอง แต่ก็ยังต้องช่วยมองหาสถานศึกษาที่จะรับ
       เด็กเข้าเรียน โดยติดต่อพูดคุยเจรจากับแต่ละแห่ง เช่น วิทยาลัยพยาบาลชลบุรี ฯลฯ เพื่อที่
       ท้ายที่สุดแล้ว เด็กในพื้นที่สักหนึ่งคน จะสามารถแทรกตัวเข้าไปนั่งเรียนจนจบได้ส�ำเร็จ
                 โรงพยาบาลสนามชัยเขต ส�ำนักงานสาธารณสุขอ�ำเภอ และองค์กรปกครอง
       สวนทองถน ไดรวมมอกนอยางใกลชดในการสรางก�ำลงคนสาธารณสข ตงแตกอนการคดเลอก
        ่ ้ ิ่ ้ ่ ื ั ่               ้ิ         ้     ั            ุ ั้ ่ ่        ั ื
       นักเรียนทุน โดยท�ำการประชาสัมพันธ์ในโรงเรียนมัธยม แจ้งเรื่องการรับสมัครเรียนด้านการ
       พยาบาลและสาธารณสุข รวมทั้งให้นักเรียนลองฝึกงานที่โรงพยาบาล หรือที่โรงพยาบาล
       ส่งเสริมสุขภาพต�ำบล 10 วัน และเข้าค่ายวิชาการ 10 วัน เพื่อดูว่าสนใจท�ำงานวิชาชีพนี้
       หรือไม่ เพื่อท�ำให้นักศึกษาเกิดความคุ้นเคยกับเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลและที่สถานีอนามัย
       และยังให้ยืมเงินสวัสดิการของโรงพยาบาลไปเรียนได้
                 ในระหว่างทีก�ำลังเรียน หากเด็กมีวนหยุดหรือปิดเทอม ก็จะสนับสนุนให้พสอนน้อง
                              ่                      ั                                ี่
       น้องช่วยพี่ โดยให้นักศึกษาพยาบาลได้ไปฝึกงานที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบล ปีละ
       5 วัน สร้างความรู้จักกันตั้งแต่ยังเรียนอยู่ เมื่อจบกลับมาท�ำงานด้วยกันก็สามารถช่วยเหลือ
       กันในพื้นที่ได้อย่างทันที ครั้นเมื่อน้องจบมาใหม่ ๆ ก็มีการจัดเวทีให้ได้แนะน�ำตัวต่อผู้น�ำ
       ชุมชน และหน่วยราชการต่าง ๆ เป็นการสร้างความภาคภูมิใจ สร้างความผูกพันต่อชุมชน
       และท�ำให้ก�ำลังคนเหล่านี้ รวมทั้งครอบครัว รู้สึกว่ามีภาระใจในการตอบแทนคุณแผ่นดิน
       และอยากรับใช้พี่น้องในภูมิล�ำเนาของตัวเอง
                  สิ่งเหล่านี้ คือ แรงจูงใจที่ไม่ใช่เงิน แต่มีคุณค่าและมีอิทธิพลสูงยิ่งต่อการสร้าง
       และรักษาก�ำลังคนสาธารณสุขไว้ในระบบบริการปฐมภูมิ โดยมิได้เน้นแต่จะสร้างพยาบาล
       มาอยู่ในโรงพยาบาล แต่ท�ำทุกทางให้ได้คนไปอยู่ในสถานีอนามัย และสร้างความเป็น
       เครือข่ายบริการร่วมกันด้วย การปั้นดินให้เป็นดาวดวงแล้วดวงเล่า (ซึ่งมีมากกว่า 70 ชีวิต
       ในปัจจุบัน) ที่อยู่ในระบบบริการสุขภาพของอ�ำเภอสนามชัยเขต เมื่อ 20 ปีก่อนได้ท�ำให้เกิด
       ทีมสหวิชาชีพที่มีความผูกพัน รู้จักคุ้นเคยชนิดมองตาก็รู้ใจ จากนั้นจึงหันมาสร้างกลไกการ
       ท�ำงานที่เชื่อมประสานกันของส่วนต่าง ๆ ท�ำให้เกิดกลุ่มงานเวชปฏิบัติครอบครัวและชุมชน
       ในโรงพยาบาล มีการจัดระบบการดูแลประชาชนในพื้นที่โดยการแบ่งความรับผิดชอบของ
       แพทย์ในโรงพยาบาลเป็นโซนเพื่อให้แพทย์กับผู้รับบริการในพื้นที่โซนมีความรู้จักคุ้นเคย
       กันมากขึ้น เกิดระบบการเคลื่อนทีมจากโรงพยาบาลไปช่วยให้บริการที่ รพ.สต. หรือศูนย์


     กลยุทธ์การเชื่อมร้อยบริการปฐมภูมิให้เป็นเครือข่าย
10   บทเรียนจาก CUP ชนบท
สุขภาพชุมชน (PCU) เป็นการสร้างความแข็งแกร่งให้หน่วยบริการปฐมภูมิในสังกัดและ
สร้างความเชื่อมั่นต่อคุณภาพบริการที่จัดให้ น�ำบริการแพทย์ทางเลือกมาประยุกต์ใช้ใน
โรงพยาบาล ประสานองค์กร ชุมชน ท้องถิ่นเพื่อระดมทรัพยากรมาใช้เพื่อจัดบริการสุขภาพ
แก่ประชาชนในเขตรับผิดชอบ ท�ำให้ปัญหาความขัดแย้งระหว่างทีมงานสุขภาพของอ�ำเภอ
กับผูรบบริการลดลง ต้นทุนการให้บริการลดลงแต่เพิมคุณภาพการจัดให้บริการทีเ่ พิมมากขึน
     ้ั                                        ่                           ่     ้
เป็นภาพแห่งความส�ำเร็จของการจัดบริการสุขภาพปฐมภูมิด้วย
         กลไกระบบบริหารจัดการสุขภาพแนวใหม่ที่เป็นแบบอย่างในอีกรูปแบบหนึ่ง
ภายใต้รูปแบบ “สนามชัยเขต Model”

ปัจจัยของความส�ำเร็จของรูปแบบการจัดการ “สนามชัยเขต Model”
ที่ส�ำคัญอยู่ที่
         1. มุมมองและวิสัยทัศน์ตลอดจนกลยุทธ์ของผู้น�ำที่แหลมคมไม่ติดอยู่ในวังวนของ
ระบบเดิม ๆ เห็นปัญหาที่เผชิญอยู่หากแก้ได้ด้วยระบบที่เป็นอยู่จริงๆ ความขาดแคลนก�ำลัง
คนด้านสุขภาพคงไม่ด�ำเนินมาจนถึงปานนี้ การมองเห็นคุณค่าของคนในพื้นที่และความ
สามารถในการจัดการท�ำให้เกิดทีมงานสหวิชาชีพที่มีเอกภาพและประสิทธิภาพพูดภาษา
เดียวกันและปฏิบัติตามแนวทางเดียวกัน
              2. การเป็นแบบอย่างของนักปฏิบัติที่ดี คิดและท�ำให้เห็นเป็นแบบอย่างของผู้น�ำ
ที่มุ่งเพื่อสุขภาวะของคนในเขตพื้นที่ที่รับผิดชอบเป็นส�ำคัญ ท�ำให้ทีมงานและภาคีเครือข่าย
มีความเชื่อมั่นและศรัทธาต่อผู้น�ำท�ำให้เกิดพลังในการขับเคลื่อนไปสู่เป้าหมายเบื้องหน้า
ได้ง่ายขึ้น
          3. การขับเคลื่อนสู่เป้าหมายที่มีเป้าหมายในแต่ละเรื่องที่ชัดเจนเป็นล�ำดับเป็นมูล
เหตุส�ำคัญประการหนึ่งที่ท�ำให้ระบบบริการสุขภาพของสนามชัยเขตเกิดผลเป็นที่ยอมรับ
ของคนในพื้นที่และเป็นที่ชื่นชมในผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นตามมา โดยการเริ่มต้นที่การสร้างและ
พัฒนาทีมงานเป็นพื้นฐานตั้งแต่การสรรหา การพัฒนา บ�ำรุงรักษาต่อเนื่อง จนเกิดความ
ลงตัวของทีมงานอย่างเต็มที่แล้วจึงมาขยับเรื่องการจัดบริการสุขภาพปฐมภูมิที่มีความ
เชื่อมโยงร้อยรัดถักทอเป็นเนื้อเดียวทั้งบริการในระดับโรงพยาบาลสนามชัยเขต (แม่ข่าย)
กบเครือข่ายบริการปฐมภูมิในระดับ (รพ.สต.) และการจัดบริการสุขภาพในภาคของชุมชน
  ั
โดยการใช้ทรัพยากรในพื้นที่ให้เกิดประโยชน์สูงสุด

                                                   กลยุทธ์การเชื่อมร้อยบริการปฐมภูมิให้เป็นเครือข่าย
                                                                            บทเรียนจาก CUP ชนบท        11
4. การจัดระบบบริการเพื่อเอื้อให้ประชาชนหรือที่เรียกว่าการให้ความส�ำคัญกับ
       ผู้รับบริการ หรือ การยึดคนเป็นศูนย์กลางในการจัดให้บริการ สุดแท้แต่จะเรียกขานด้วย
       บริสุทธิ์ใจ เห็นผลลัพธ์ที่เป็นแบบอย่างที่เป็นรูปธรรมเชิงประจักษ์ ท�ำให้เป็นพลังในการดึง
       ภาคีเครือข่ายเข้ามาร่วมด้วยช่วยกันเป็นเจ้าภาพ เจ้ามือ เจ้าของ ในการจัดระบบบริการ
       สุขภาพที่มีแนวโน้มจะเกิดขึ้นอย่างมั่นคงยั่งยืนสืบไป


       บทเรียนจาก...CUP โรงพยาบาลล�ำสนธิ จังหวัดลพบุรี
       การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพระดับอ�ำเภอล�ำสนธิ
                  อ�ำเภอล�ำสนธิ ตั้งอยู่ในจังหวัดลพบุรี อยู่ทางตะวันออกสุดของจังหวัด แบ่งเขต
       การปกครองย่อยออกเป็น 6 ต�ำบล 49 หมู่บ้าน ประชากรในเขตรับผิดชอบประมาณ
       30,000 คน มีโรงพยาบาลชุมชนขนาด 30 เตียง 1 แห่ง 5 สถานีอนามัย 2 โรงพยาบาล
       ส่งเสริมสุขภาพต�ำบล มีระยะทางที่ห่างจากจังหวัดลพบุรีประมาณ 120 กิโลเมตร
                 อ�ำเภอล�ำสนธิเป็นอ�ำเภอหนึ่งในจังหวัดลพบุรีที่มีการท�ำงานด้านสาธารณสุข
       ที่โดดเด่น โดยความร่วมมือร่วมใจกันอย่างเป็นเอกภาพทั้งโรงพยาบาล ส�ำนักงาน
       สาธารณสุ ข อ�ำเภอ สถานี อ นามั ย ในสั ง กั ด และองค์ ก ารปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น ในพื้ น ที่
       มีการก�ำหนดนโยบายและเป้าหมายในการท�ำงานด้วยกัน การจัดท�ำโครงการในการดูแล
       ประชาชนในชุมชน ค�ำนึงถึงประชาชนเป็นหลักเน้นการดูแลแบบรอบด้านในทุกมิติของชีวิต
       ครอบคลุมต่อเนื่องและยั่งยืน
                 มีการจัดตั้งคณะกรรมการในการท�ำงานด้านสาธารณสุขจากทุกภาคส่วน อาทิ
       การดูแลและสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุและผู้พิการในชุมชนแบบบูรณาการ, ความสุขใน
       ความมืดของผู้พิการด้านสายตา, ผู้พิการด้านสติปัญญา, คลินิกสุขภาพจิต, การสร้าง
       เครือข่ายจิตอาสาชุมชน, การดูแลหญิงตังครรภ์, การดูแลกลุมวัยรุน ฯลฯ การบริการปฐมภูมิ
                                           ้                 ่ ่
       ของล�ำสนธิ คือ การพัฒนาคุณภาพชีวิตของชุมชนให้ดีขึ้น ดูแลรอบด้านและต่อเนื่อง
       โดยแบ่งกลุ่มการดูแลดังนี้
                   -	 กลุ่มผู้สูงอายุ และผู้พิการ
                   -	 กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และพัฒนาการเด็กเล็ก

     กลยุทธ์การเชื่อมร้อยบริการปฐมภูมิให้เป็นเครือข่าย
12   บทเรียนจาก CUP ชนบท
-	 กลุ่มวัยรุ่น
         -	 กลุ่มโรคเรื้อรัง
         -	 กลุ่มจิตเวช
         -	 กลุ่มการคัดกรองสุขภาพ
            โครงการเด่นที่ภาคภูมิใจ คือ โครงการต้นกล้าอาชีพจากแนวนโยบายของ
รัฐบาลแต่อ�ำเภอล�ำสนธิ ได้น�ำประเด็นปัญหาด้านสาธารณสุข มาเป็นแนวทางการให้การ
แก้ปัญหา โดยการจัดอบรมหลักสูตรการดูแลผู้สูงอายุในชุมชนและเด็กให้แก่ต้นกล้าอาชีพ
มีการอบรมทั้งภาคทฤษฎีและฝึกปฏิบัติโดยมีเจ้าหน้าที่สาธารณสุขที่หน่วยบริการปฐมภูมิ
เป็นพี่เลี้ยง เมื่อผ่านการฝึกอบรมได้ด�ำเนินการจ้างงานให้เป็นต้นกล้า เป็นดูแลผู้ป่วยจาก
องค์การบริหารส่วนต�ำบลเดือนละ 4,000 บาทต่อคน ท�ำให้คนกลุ่มดังกล่าวมีรายได้เลี้ยงชีพ
ความคาดหวังเบื้องต้นเพียงแค่ให้คนว่างงานมีรายได้เท่านั้น แต่สิ่งที่เกิดขึ้นมากกว่านั้นคือ
การแบ่งเบาภาระของเจ้าหน้าที่สาธารณสุข รวมทั้ง ความรักความผูกพัน ระหว่างคนดูแล
ผู้ป่วย และตัวผู้ป่วย ประดุจญาติพี่น้องกัน เหล่านี้ การเพิ่มคุณค่าทางจิตใจของบุคคล
อย่างสูงส่ง
           หัวใจส�ำคัญของการพัฒนาและสร้างความร่วมมือระหว่างหน่วยงานในส�ำสนธิ
คือ การท�ำให้หน่วยงานอื่นๆ เห็นคุณค่าการทุ่มเทของทีมงานและความจ�ำเป็นที่ต้องร่วมกัน
ดูแลประชาชนอย่างรอบด้านและต่อเนื่อง การประเมินคุณภาพต่าง ๆ ที่ผ่านมาของ
อ�ำเภอล�ำสนธิเป็นเพียงบันได แต่ความส�ำคัญจริง ๆ คือคุณค่ามากกว่าความเป็นตัวเลข
หรือตัวชี้วัด



          การใช้ แ นวคิ ด เชิ ง บวก พลิ ก ทุ ก สถานการณ์ ใ ห้ เ ป็ น โอกาสเพื่ อ หากลยุ ท ธ์
 ในการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในพื้นที่ หรือ “การเป็นนักหยิบฉวยและหยิบยื่น
 โอกาส” นั้นเอง จุดเริ่มต้นคือ การมีนักคิดและสร้างนักคิด นักพัฒนา เสริมพลัง
 เจ้าหน้าที่ภายในโรงพยาบาลให้เข้มแข็ง จนเกิดความเป็น “ทีมของพวกเรา” และ
 แผ่กระจายร้อยเรียงเข้ากับสถานีอนามัย เพื่อพร้อมรับทุกสถานการณ์ในการให้บริการ
 กับประชาชน

                                                     กลยุทธ์การเชื่อมร้อยบริการปฐมภูมิให้เป็นเครือข่าย
                                                                              บทเรียนจาก CUP ชนบท        13
บทเรียนจาก….CUP วังจันทร์ จังหวัดระยอง
       การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพระดับอ�ำเภอวังจันทร์
                   อ�ำเภอวังจันทร์ เป็นอ�ำเภอหนึ่งในแปดอ�ำเภอของจังหวัดระยอง มีอาณาเขต
       ติดต่อกับอ�ำเภอบ่อทองและอ�ำเภอหนองใหญ่ จังหวัดชลบุรี โดยมีถนนสายบ้านบึง-แกลง
       ตัดผ่านพื้นที่ของอ�ำเภอ อ�ำเภอวังจันทร์ รับผิดชอบ 4 ต�ำบล 29 หมู่บ้าน 5 ชุมชน
       อบต. 4 แห่ง เทศบาล 1 แห่ง ประชาชน 24,902 คน ประชาชนส่วนใหญ่มีอาชีพหลัก
       ได้แก่ เกษตรกรรม ท�ำสวนยางพารา สวนผลไม้ เช่น ทุเรียน มังคุด เงาะ อาชีพเสริม ได้แก่
       รับจ้างในโรงงานอุตสาหกรรม รับจ้าง และค้าขาย
                   หน่วยบริการสาธารณสุข 8 แห่ง คือ 1) รพ.สต.บ้านคลองเขต 2) รพ.สต.
       บ้านสันติสุข 3) รพ.สต.บ้านเขาสิงห์โต 4) รพ.สต.บ้านหนองม่วง 5) รพ.สต.บ้านวังจันทร์
       6) รพ.สต.บ้านพลงตาเอี่ยม 7) รพ.สต.บ้านเขาตาอิ๋น 8) โรงพยาบาลวังจันทร์
                   การจัดเครือข่ายบริการ CUP วังจันทร์ ได้มีการจัดรูปแบบของเครือข่ายหน่วย
       บริการปฐมภูมิ 2 รูปแบบ คือ
                   1)	 การจัดเครือข่ายบริการตามเกณฑ์ขึ้นทะเบียนหน่วยบริการปฐมภูมิและ
       ตามเกณฑ์การประเมิน On Top Payment ของส�ำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
       การจัดรูปแบบเครือข่ายในรูปแบบนี้เป็นการจัดเพื่อเน้นการช่วยเหลือกันและกันภายใน
       เครือข่ายบริการในเรื่องของการจัดบริการด้านสุขภาพ การใช้งบประมาณและบุคลากร
       ร่วมกัน โดยแบ่งเครือข่าย ได้ดังนี้
                   	 1.1	 เครือข่ายบริการแม่ข่ายวังจันทร์ ประกอบไปด้วย หน่วยบริการปฐมภูมิ
       แม่ขาย คือ รพ.สต. วังจันทร์ ประกอบไปด้วยหน่วยบริการปฐมภูมลกข่าย คือ สอ.พลงตาเอียม
             ่                                                                    ิู                 ่
       และ สอ.เขาตาอิ่น
                   	 1.2	 เครอขายบรการแมขายคลองเขต ประกอบไปดวย หนวยบรการปฐมภมิ
                                   ื ่ ิ              ่่                             ้   ่ ิ           ู
       แม่ข่าย รพ.สต คลองเขต ประกอบไปด้วยหน่วยบริการปฐมภูมิลูกข่าย คือ สอ.สันติสุข
       สอ.เขาสิงโตและ สอ.หนองม่วง
                   2)	 การจั ด เครื อ ข่ า ยบริ ก ารโรงพยาบาลส่ ง เสริ ม สุ ข ภาพต�ำบล ซึ่ ง การ
       จั ด รู ป แบบเครื อ ข ่ า ยในรู ป แบบนี้ เ ป ็ น การจั ด เพื่ อ เน ้ น ความสะดวกในการบริ ห ารงาน
       ด้านสาธารณสุขในระดับต�ำบล เช่น ในการประสานงานกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น


     กลยุทธ์การเชื่อมร้อยบริการปฐมภูมิให้เป็นเครือข่าย
14   บทเรียนจาก CUP ชนบท
การด�ำเนินงานในกองทุนหลักประกันสุขภาพต�ำบลและการแต่งตั้งคณะกรรมการบริหาร
รพ.สต. เป็นต้น มีการแบ่งเครือข่ายเป็น 4 เครือข่าย โดยแยกเป็นรายต�ำบล ดังนี้
         	 2.1	 เครือข่ายบริการ รพ.สต.วังจันทร์ (เป้าหมาย ปี 2552) มีสถาน
บริการหลักคือ รพ.สต.วังจันทร์ รับผิดชอบในการดูแลสุขภาพประชาชนในต�ำบลวังจันทร์
เป็นสถานบริการในรูปแบบ รพ.สต.เดี่ยว
         	 2.2	 เครือข่ายบริการ รพ.สต.พลงตาเอี่ยม (เป้าหมาย ปี 2554) มีสถาน
บริการหลักคือ รพ.สต.พลงตาเอี่ยม รับผิดชอบในการดูแลสุขภาพประชาชนในต�ำบล
พลงตาเอี่ยม เป็นสถานบริการในรูปแบบ รพ.สต.เดี่ยว
         	 2.3	 เครือข่ายบริการ รพ.สต.คลองเขต (เป้าหมาย ปี 2553) มีสถานบริการ
หลักคือ รพ.สต.คลองเขต และลูกข่าย คือ สอ.เขาสิงโต รับผิดชอบในการดูแลสุขภาพ
ประชาชนในต�ำบลป่ายุบใน เป็นสถานบริการในรูปแบบ รพ.สต.เครือข่าย
         	 2.4	 เครือข่ายบริการ รพ.สต.สันติสุข(เป้าหมาย ปี 2554) มีสถานบริการ
หลักคือ สอ.สันติสุข และลูกข่าย คือ สอ.เขาตาอิ๋นและ สอ. หนองม่วง รับผิดชอบใน
การดูแลสุขภาพประชาชนในต�ำบลชุมแสง เป็นสถานบริการในรูปแบบ รพ.สต.เครือข่าย

ลักษณะเด่นในการท�ำงานเครือข่ายบริการปฐมภูมิ
          CUP วังจันทร์ มีรูปแบบในการท�ำงาน ที่แตกต่างจาก CUP อื่นๆ ในจังหวัด
ระยองหรือ CUP อื่นๆ ในประเทศ กล่าวคือ
          1.	 การบริหารงานด้านสาธารณสุขของอ�ำเภอวังจันทร์ จะใช้คณะกรรมการ
ชุดหลักที่เป็น CUP Board คือ คณะกรรมการประสานงานสาธารณสุขอ�ำเภอวังจันทร์
(คปสอ.วังจันทร์) โดยในคณะกรรมการ คปสอ.วังจันทร์ จะมีคณะกรรมการอ�ำนวยการ
จ�ำนวน 15 ทาน ซงประกอบไปดวย ผบรหารของหนวยงานสาธารณสขในพนที่ นายกองคการ
              ่ ึ่            ้ ู้ ิ        ่             ุ ื้           ์
ปกครองส่วนท้องถิ่น ตัวแทนภาคการศึกษาและ อสม. และมีการแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ
(Core Team) ขึ้นมา 10 คณะ เพื่อเป็นคณะท�ำงานและประเมินผล ได้แก่ 1) คณะท�ำงาน
และประเมินผลงานด้านคุมครองผู้บริโภค 2) คณะท�ำงานและประเมินผลงานด้านการ
ควบคุมและป้องกันโรคติดต่อ 3) คณะท�ำงานและประเมินผลงานด้านข้อมูลและเทคโนโลยี
4) คณะท�ำงานและประเมิ น ผลงานด้ า นการแพทย์ ฉุ ก เฉิ น และระบบการส่ ง ต่ อ
5) คณะท�ำงานและประเมินผลงานด้านส่งเสริมสุขภาพและอบายมุข 6) คณะท�ำงานและ


                                            กลยุทธ์การเชื่อมร้อยบริการปฐมภูมิให้เป็นเครือข่าย
                                                                     บทเรียนจาก CUP ชนบท        15
ประเมินผลงานด้านพัฒนาคุณภาพมาตรฐานบริการ 7) คณะท�ำงานและติดตามผลงาน
       ด้านการจัดบริการ การรักษาพยาบาลและฟื้นฟูสมรรถภาพ 8) คณะท�ำงานและประเมิน
       ผลงานด้านพัฒนาศักยภาพของอาสาสมัครสาธารณสุข 9) คณะท�ำงานและประเมินผล
       งานด้านโรคไม่ติดต่อและโรคเรื้อรัง 10) คณะท�ำงานและประเมินผลงานด้านการพัฒนา
       ศักยภาพ รพ.สต. และกองทุนฯต�ำบล คณะท�ำงานฯ ดังกล่าว ในแต่ละคณะ จะมีกรรมการ
       ที่เป็นทีมเจ้าหน้าที่สาธารณสุข ทั้ง 3 ส่วน คือ ในส่วนของ รพ.วังจันทร์ สสอ.วังจันทร์
       และจาก รพ.สต. ทีมคณะท�ำงานฯ มีบทบาททั้งในด้านวิเคราะห์ข้อมูล จัดท�ำแผนงาน/
       โครงการ ติดตามและเร่งรัดผลงาน ประเมินผลการด�ำเนินการ
                  ข้อดีของการแต่งตั้งคณะกรรมการในรูปแบบนี้คือ ท�ำให้การท�ำงานในแต่ละด้าน
       มีความรวดเร็ว มีการวางแผนงานแบบบูรณาการ (ปฐมภูมิและทุตติยภูมิ) ส่วนใหญ่ของ
       เจ้าหน้าที่สาธารณสุข มีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาและพัฒนางานสาธารณสุข
                  2.	 การมอบหมายการด�ำเนินงานสาธารณสุขของ CUP วังจันทร์ ได้มีการ
       มอบหมายงานและพื้นที่ด�ำเนินงานให้เหมาะสมกับลักษณะงาน กล่าวคือ งานส่งเสริมและ
       ป้องกันโรค มอบหมายให้ สสอ.วังจันทร์ เป็นเจ้าภาพด�ำเนินงาน รับผิดชอบงาน ทุกพื้นที่
       ของอ�ำเภอวังจันทร์ (ในเขตรับผิดชอบของ รพ.วังจันทร์และเขตรับผิดชอบของ รพ.สต.)
       งานรักษาพยาบาล งานฟื้นฟูสมรรถภาพ และงานพัฒนาคุณภาพบริการ มอบหมายให้
       รพ.วังจันทร์ เป็นเจ้าภาพ รับผิดชอบงานทุกหน่วยบริการปฐมภูมิในพื้นที่ มีการจัดสรร
       งบประมาณ ตามเจ้าภาพผู้รับผิดชอบ
                  3.	 การด�ำเนินงานของ CUP วังจันทร์ จะใช้กลยุทธหลัก คือ การท�ำงานแบบ
       เป็นทีม ในลักษณะการลงแขก เช่น งานตรวจคัดกรองโรค (รูปแบบคาราวานส่งเสริม
       สุขภาพและป้องกันโรค) การตรวจ Pap Smear การตรวจสถานประกอบการด้านคุ้มครอง
       ผู้บริโภค หรือ การรณรงค์ควบคุมการระบาดของโรคระบาด
                  4.	 การส่งเสริมตัวแทนภาคชุมชนและประชาชน ให้มีบทบาทผ่านการท�ำงาน
       ด้านสาธารณสุข ในเวทีของคณะกรรมการบริหาร รพ.สต. และคณะกรรมการกองทุน
       สุขภาพต�ำบล

       สิ่งที่ภาคภูมิใจหรือท�ำได้ดี
                   ตัวอย่างของสิ่งที่ท�ำได้ดี ก่อให้เกิดความภาคภูมิใจ ในระดับ CUP วังจันทร์ ได้แก่
                   1.	 รพ.สต. ทุกแห่งในอ�ำเภอวังจันทร์ได้รับการพัฒนาศักยภาพ ตอบสนองความ

     กลยุทธ์การเชื่อมร้อยบริการปฐมภูมิให้เป็นเครือข่าย
16   บทเรียนจาก CUP ชนบท
ต้องการของประชาชน มีการจัดตั้งคลินิก DM/HT/Asthma/COPD มีการตั้งคลินิกทันต
กรรม ใน รพ.สต. ทุกแห่ง
          2.	 มีระบบการสนับสนุนบริการในหลายๆด้าน ให้ รพ.สต. เช่น ระบบการ
ก�ำจัดขยะติดเชื้อ ระบบ Set หัตการ ระบบ Speculum Center ระบบการส่งต่อ/Green
Channel ระบบเวชภัณฑ์ที่รองรับการจัดบริการในคลินิกต่างๆของ รพ.สต. ระบบซ่อม
บ�ำรุง ระบบการแลกเปลี่ยนข้อมูลความครอบคลุมของผลงาน การสนับสนุนทีมสหวิชาชีพ
ในการให้บริการมนคลินิก/Home Ward/HHC
          3.	 มี ก ารพัฒนานวัต กรรมที่ผ่านการด�ำเนิ น งานของ คณะกรรมการบริ ห าร
รพ.สต.และกองทุนต�ำบล เช่น การใช้ม าตรการทางสังคมในการสร้ างความตระหนัก
ของประชาชนในการก�ำจัดลูกน�้ำยุงลาย การพัฒนารูปแบบเชิงรุก เชิงรับในการตรวจ
Pap Smear เป็นต้น
          4.	 ประชาชนมีความพึงพอใจต่อการรับบริการในภาพรวมของ CUP มากกว่า ร้อยละ
86.75 โดยส่วนใหญ่พึงพอใจต่อระบบบริการแบบใกล้บ้านใกล้ใจ ของ รพ.สต. และ
รพ.วังจันทร์

บทเรียน/ปัจจัยของความส�ำเร็จ
          1.	 ผู้อ�ำนวยการโรงพยาบาลวังจันทร์ บริหารโดยเป็นผู้อ�ำนวยการของ CUP
วังจันทร์ กล่าวคือ มองงานเต็มพื้นที่ พัฒนางานใน รพ.สต. ทุกแห่ง ไม่ได้พัฒนาเฉพาะ
โรงพยาบาลวังจันทร์
          2.	 การท�ำงานเป็นทีมของเจ้าหน้าที่ในภาพ CUP วังจันทร์
          3.	 การให้ความส�ำคัญต่อการมีส่วนร่วมของประชาชน ในการวิเคราะห์ปัญหา
การพัฒนาแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ การสร้างแผนงาน/โครงการโดยประชาชน เป็นต้น

 การมีเป้าหมายเป็นแผนยุทธศาสตร์เป็นหนึ่งเดียวร่วมกันทั้งอำ�เภอ คือ แผนที่ทางเดินสู่ความ
 สำ�เร็จของการให้บริการปฐมภูมิของที่น้ี การเชื่อมและร้อยเรียงหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเข้าด้วยกัน
 สร้างความสัมพันธ์ที่แนบแน่นด้วยเป้าหมายหนึ่งเดียว เป็นแนวคิดสำ�คัญของการดำ�เนินงาน
 บทเรียนนี้คือบทเรียนของการพัฒนาเชิงระบบ ขับเคลื่อนกลไกการให้บริการปฐมภูมิไปพร้อมกัน
 ผานตวประสานทเ่ี ขมแขง นนคอ คณะกรรมการประสานงานสาธารณสขระดบอ�เภอ (คปสอ.)
   ่ ั              ้ ็ ้ั ื                                       ุ ั ำ


                                                      กลยุทธ์การเชื่อมร้อยบริการปฐมภูมิให้เป็นเครือข่าย
                                                                               บทเรียนจาก CUP ชนบท        17
บทเรียนจาก...CUP หนองจิก จังหวัดปัตานี
       การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพระดับอ�ำเภออ�ำเภอหนองจิก
                 อ�ำเภอหนองจิก ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกของจังหวัดปัตตานี แบ่งเขตการปกครอง
       ย่อยออกเป็น 12 ต�ำบล 76 หมู่บ้าน เทศบาลต�ำบล 2 แห่ง องค์การบริหารส่วนต�ำบล
       11 แห่ง มีโรงพยาบาลชุมชนขนาด 30 เตียง 1 แห่ง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบล
       15 แห่ง ประชากรในเขตรับผิดชอบประมาณ 73,000 คน ส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม
       ร้อยละ 87 มีอสม. 702 คน เป็นพื้นที่ที่ได้รับผลกระทบจากเหตุสถานการณ์ความไม่สงบ
       มาตั้งแต่ปี 2547
                   ระบบงานสาธารณสุขอ�ำเภอหนองจิก ด�ำเนินงานโดยคณะกรรมการประสานงาน
       สาธารณสุ ข ระดั บ อ�ำเภอ (คปสอ.) ซึ่ ง เป็ น ความร่ ว มมื อ ของโรงพยาบาลชุ ม ชน
       ส�ำนักงานสาธารณสุขอ�ำเภอ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบล และองค์กรปกครอง
       ส่วนท้องถิ่น โดยมีโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบล (รพ.สต) ทุกแห่งเป็นผู้ประสานงาน
       ส่งต่อข้อมูล และด�ำเนินงานร่วมกับชุมชน นอกจากนัน ยังมีการขยายเครือข่ายการด�ำเนินงาน
                                                      ้
       สู่องค์กรอื่นๆ เช่น เครือข่ายภาคประชาชน (อสม.) เครือข่ายผู้น�ำศาสนา เครือข่ายโรงเรียน
       เครือข่ายผู้พิการและผู้ได้รับผลกระทบ เป็นต้น
                   มีการก�ำหนดนโยบายและเป้าหมายในการท�ำงานด้วยกัน จัดท�ำโครงการ
       พัฒนาระบบการดูแลประชาชนในชุมชน โดยค�ำนึงถึงประชาชนเป็นหลักเน้นการดูแล
       แบบรอบด้านในทุกมิติของชีวิตครอบคลุมต่อเนื่องและยั่งยืนมุ่งให้เกิดระบบสุขภาพเชิง
       รุกเพื่อเสริมสร้างสุขภาพดี ควบคู่กับการมีหลักประกันสุขภาพ และเข้าถึงบริการเมื่อยาม
       เจ็บป่วยหรือจ�ำเป็น โดยสังคมทุกส่วนและทุกระดับมีศักยภาพ และมีส่วนร่วมในการสร้าง
       และจัดระบบบริการสุขภาพ โดยการเรียนรูและใช้ประโยชน์จากภูมปญญาสากลและภูมปญญา
                                              ้                  ิ ั              ิ ั
       ในท้องถิ่น
                 จากการด�ำเนิ น งานอย่ า งมุ ่ ง มั่ น ตั้ ง ใจของเจ้ า หน้ า ที่ ใ นพื้ น ที่ ข องโรงพยาบาล
       ส่งเสริมสุขภาพต�ำบล การหนุนเสริมทั้งด้านวิชาการและงบประมาณของโรงพยาบาล
       ชุมชน ส�ำนักงานสาธารณสุขอ�ำเภอ เครือข่ายในและนอกระบบ ภาครัฐต่างๆ ส่งผล
       ให้ได้รับความร่วมมือจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และประชาชนในพื้นที่มีความมั่นใจ
       และไว้วางใจในเจ้าหน้าที่เข้ามีส่วนร่วมในการจัดบริการ ให้ข้อเสนอแนะและสนับสนุนงบ

     กลยุทธ์การเชื่อมร้อยบริการปฐมภูมิให้เป็นเครือข่าย
18   บทเรียนจาก CUP ชนบท
ประมาณ เช่น ที่ รพ.สต.ยาบี มีการเปลี่ยนวันการให้บริการวัคซีนจากวันพุธเป็นศุกร์ที่
ประชาชนหยุดงานสามารถดูแลบุตรที่เป็นไข้หลังรับวัคซีนได้เต็มที่ จากเวทีประชาคม
ประชาชนเข้าไม่ถึงบริการทันตกรรมมีการเสนอโดยประชาชนให้ท้องถิ่นจัดซื้อ Unit ฟันไว้
ให้บริการที่ รพ.สต.ยาบี และประสานให้โรงพยาบาลหนองจิกจัดทีมทันตแพทย์และทันตภิบาล
ลงไปให้บริการ และเป็นต้นแบบให้ท้องถิ่นอื่นๆ เช่น ต�ำบลลิปะสะโงและต�ำบลปุโละปูโย
ด�ำเนินตาม หรือจากสถานการณ์ความไม่สงบในพื้นที่อ�ำเภอหนองจิก ประชาชนไม่กล้า
เดินทางไปรับยาที่โรงพยาบาลส่งผลให้ผู้ป่วยเรื้อรัง โรคความดันเบาหวาน ขาดยา มีการ
เสนอให้มีการให้บริการคลินิกเรื้อรังที่ รพ.สต (สอ.ในขณะนั้น) ทางโรงพยาบาลได้ส่งทีม
สหวิชาชีพมาให้บริการคลินิกเรื้อรังในทุก รพ.สต. ต่อมามีการพัฒนาพยาบาลให้เป็น
พยาบาลเวชปฏิบัติ ให้บริการได้ในทุก รพ.สต และอีกหลายๆ เรื่อง ที่ส่งผลให้การพัฒนา
ระบบบริการมีคุณภาพ เหมาะสม ตรงกับความต้องการของชุมชนที่แท้จริง เจ้าหน้าที่ได้รับ
การดูแลจากชุมชนเป็นอย่างดีด้วยเช่นกัน
             หัวใจส�ำคัญของการพัฒนาและสร้างความร่วมมือระหว่างหน่วยงานในอ�ำเภอ
หนองจิก คือ การท�ำให้หน่วยงานอื่นๆ เห็นคุณค่าการทุ่มเทของทีมงานและความจ�ำเป็น
ที่ต้องร่วมกันดูแลประชาชนอย่างรอบด้านและต่อเนื่อง ช่วยสร้างให้ถึงชุมชนและสังคม
ของเราเข ้ ม แข็ ง และมี ค วามสุ ข ส ่ ง ผลประชาชนในพื้ น ที่ มี คุ ณ ภาพชี วิ ต ที่ ดี แ ละยั่ ง ยื น
อย ่ า งแท ้ จ ริ ง แม ้ พื้ น ที่ ข องเราจะมี ค วามต ่ า งกั น ในหลายด ้ า นแต ่ พื้ น ที่ ชุ ม ชนของเรา
จะไม่แตกแยกกัน




                                                            กลยุทธ์การเชื่อมร้อยบริการปฐมภูมิให้เป็นเครือข่าย
                                                                                     บทเรียนจาก CUP ชนบท        19
006 7 cupชนบท

More Related Content

What's hot

การพัฒนาคุณภาพในการทำงานชุมชน
การพัฒนาคุณภาพในการทำงานชุมชนการพัฒนาคุณภาพในการทำงานชุมชน
การพัฒนาคุณภาพในการทำงานชุมชนsoftganz
 
ระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่น
ระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่นระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่น
ระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่นKomsan Iemthaisong
 
รายงานวิจัยการจัดบริการสุขภาพผู้สูงอายุของโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข
รายงานวิจัยการจัดบริการสุขภาพผู้สูงอายุของโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขรายงานวิจัยการจัดบริการสุขภาพผู้สูงอายุของโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข
รายงานวิจัยการจัดบริการสุขภาพผู้สูงอายุของโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขโปรตอน บรรณารักษ์
 
โครงสร้างสาธารณสุขไทย
โครงสร้างสาธารณสุขไทยโครงสร้างสาธารณสุขไทย
โครงสร้างสาธารณสุขไทยSurasak Tumthong
 
006 2-2สังเคราะห์บทเรียนcupเมือง sp
006 2-2สังเคราะห์บทเรียนcupเมือง sp006 2-2สังเคราะห์บทเรียนcupเมือง sp
006 2-2สังเคราะห์บทเรียนcupเมือง spสปสช นครสวรรค์
 
การสร้างสรรค์บริการสุขภาพที่มีคุณค่าแก่ประชาชน เขตบริการสุขภาพที่ 10 Better S...
การสร้างสรรค์บริการสุขภาพที่มีคุณค่าแก่ประชาชน เขตบริการสุขภาพที่ 10 Better S...การสร้างสรรค์บริการสุขภาพที่มีคุณค่าแก่ประชาชน เขตบริการสุขภาพที่ 10 Better S...
การสร้างสรรค์บริการสุขภาพที่มีคุณค่าแก่ประชาชน เขตบริการสุขภาพที่ 10 Better S...Dr.Suradet Chawadet
 
การขับเคลื่อนระบบสุขภาพอำเภอ(รสอ.)/DHSฉบับประเทศไทย
การขับเคลื่อนระบบสุขภาพอำเภอ(รสอ.)/DHSฉบับประเทศไทยการขับเคลื่อนระบบสุขภาพอำเภอ(รสอ.)/DHSฉบับประเทศไทย
การขับเคลื่อนระบบสุขภาพอำเภอ(รสอ.)/DHSฉบับประเทศไทยAuamporn Junthong
 
คู่มือ PCA เล่มฟ้า
คู่มือ PCA  เล่มฟ้าคู่มือ PCA  เล่มฟ้า
คู่มือ PCA เล่มฟ้าDr.Suradet Chawadet
 
บริการปฐมภูมิ
บริการปฐมภูมิบริการปฐมภูมิ
บริการปฐมภูมิSunisa Sudsawang
 
โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.
โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.
โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.nhs0
 
หนังสือหมอครอบครัว
หนังสือหมอครอบครัวหนังสือหมอครอบครัว
หนังสือหมอครอบครัวChuchai Sornchumni
 
Dhs pca เขตสุขภาพที่ 10
Dhs  pca เขตสุขภาพที่ 10Dhs  pca เขตสุขภาพที่ 10
Dhs pca เขตสุขภาพที่ 10Dr.Suradet Chawadet
 
เรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง เพื่อเตรียมผู้เรียนสู่ระบบสุขภาพในศตวรรษที่ ๒๑ ที่ ...
เรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง เพื่อเตรียมผู้เรียนสู่ระบบสุขภาพในศตวรรษที่ ๒๑ ที่ ...เรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง เพื่อเตรียมผู้เรียนสู่ระบบสุขภาพในศตวรรษที่ ๒๑ ที่ ...
เรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง เพื่อเตรียมผู้เรียนสู่ระบบสุขภาพในศตวรรษที่ ๒๑ ที่ ...Pattie Pattie
 
หนังสือเสริมคุณค่าปฐมภูมิด้วยระบบสุขภาพอำเภอ
หนังสือเสริมคุณค่าปฐมภูมิด้วยระบบสุขภาพอำเภอหนังสือเสริมคุณค่าปฐมภูมิด้วยระบบสุขภาพอำเภอ
หนังสือเสริมคุณค่าปฐมภูมิด้วยระบบสุขภาพอำเภอUtai Sukviwatsirikul
 

What's hot (20)

การพัฒนาคุณภาพในการทำงานชุมชน
การพัฒนาคุณภาพในการทำงานชุมชนการพัฒนาคุณภาพในการทำงานชุมชน
การพัฒนาคุณภาพในการทำงานชุมชน
 
ระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่น
ระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่นระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่น
ระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่น
 
รายงานวิจัยการจัดบริการสุขภาพผู้สูงอายุของโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข
รายงานวิจัยการจัดบริการสุขภาพผู้สูงอายุของโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขรายงานวิจัยการจัดบริการสุขภาพผู้สูงอายุของโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข
รายงานวิจัยการจัดบริการสุขภาพผู้สูงอายุของโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข
 
โครงสร้างสาธารณสุขไทย
โครงสร้างสาธารณสุขไทยโครงสร้างสาธารณสุขไทย
โครงสร้างสาธารณสุขไทย
 
006 2-2สังเคราะห์บทเรียนcupเมือง sp
006 2-2สังเคราะห์บทเรียนcupเมือง sp006 2-2สังเคราะห์บทเรียนcupเมือง sp
006 2-2สังเคราะห์บทเรียนcupเมือง sp
 
006 2-0 cupเมือง
006 2-0 cupเมือง006 2-0 cupเมือง
006 2-0 cupเมือง
 
District health system
District health systemDistrict health system
District health system
 
การสร้างสรรค์บริการสุขภาพที่มีคุณค่าแก่ประชาชน เขตบริการสุขภาพที่ 10 Better S...
การสร้างสรรค์บริการสุขภาพที่มีคุณค่าแก่ประชาชน เขตบริการสุขภาพที่ 10 Better S...การสร้างสรรค์บริการสุขภาพที่มีคุณค่าแก่ประชาชน เขตบริการสุขภาพที่ 10 Better S...
การสร้างสรรค์บริการสุขภาพที่มีคุณค่าแก่ประชาชน เขตบริการสุขภาพที่ 10 Better S...
 
การขับเคลื่อนระบบสุขภาพอำเภอ(รสอ.)/DHSฉบับประเทศไทย
การขับเคลื่อนระบบสุขภาพอำเภอ(รสอ.)/DHSฉบับประเทศไทยการขับเคลื่อนระบบสุขภาพอำเภอ(รสอ.)/DHSฉบับประเทศไทย
การขับเคลื่อนระบบสุขภาพอำเภอ(รสอ.)/DHSฉบับประเทศไทย
 
คู่มือ PCA เล่มฟ้า
คู่มือ PCA  เล่มฟ้าคู่มือ PCA  เล่มฟ้า
คู่มือ PCA เล่มฟ้า
 
บริการปฐมภูมิ
บริการปฐมภูมิบริการปฐมภูมิ
บริการปฐมภูมิ
 
Primary Health Care System_Padkao T
Primary Health Care System_Padkao TPrimary Health Care System_Padkao T
Primary Health Care System_Padkao T
 
District Health System : DHS
District Health System : DHSDistrict Health System : DHS
District Health System : DHS
 
โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.
โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.
โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.
 
samutprakan
samutprakansamutprakan
samutprakan
 
หนังสือหมอครอบครัว
หนังสือหมอครอบครัวหนังสือหมอครอบครัว
หนังสือหมอครอบครัว
 
An Improvement of EMS by Integrated Network at Dansai District, Loei Province
An Improvement of EMS by Integrated Network at Dansai District, Loei ProvinceAn Improvement of EMS by Integrated Network at Dansai District, Loei Province
An Improvement of EMS by Integrated Network at Dansai District, Loei Province
 
Dhs pca เขตสุขภาพที่ 10
Dhs  pca เขตสุขภาพที่ 10Dhs  pca เขตสุขภาพที่ 10
Dhs pca เขตสุขภาพที่ 10
 
เรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง เพื่อเตรียมผู้เรียนสู่ระบบสุขภาพในศตวรรษที่ ๒๑ ที่ ...
เรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง เพื่อเตรียมผู้เรียนสู่ระบบสุขภาพในศตวรรษที่ ๒๑ ที่ ...เรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง เพื่อเตรียมผู้เรียนสู่ระบบสุขภาพในศตวรรษที่ ๒๑ ที่ ...
เรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง เพื่อเตรียมผู้เรียนสู่ระบบสุขภาพในศตวรรษที่ ๒๑ ที่ ...
 
หนังสือเสริมคุณค่าปฐมภูมิด้วยระบบสุขภาพอำเภอ
หนังสือเสริมคุณค่าปฐมภูมิด้วยระบบสุขภาพอำเภอหนังสือเสริมคุณค่าปฐมภูมิด้วยระบบสุขภาพอำเภอ
หนังสือเสริมคุณค่าปฐมภูมิด้วยระบบสุขภาพอำเภอ
 

Similar to 006 7 cupชนบท

แถลงข่าว โครงการศึกษาดูงานการจัดระบบการเรียนรู้ โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน มหาวิทยาลั...
แถลงข่าว โครงการศึกษาดูงานการจัดระบบการเรียนรู้ โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน มหาวิทยาลั...แถลงข่าว โครงการศึกษาดูงานการจัดระบบการเรียนรู้ โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน มหาวิทยาลั...
แถลงข่าว โครงการศึกษาดูงานการจัดระบบการเรียนรู้ โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน มหาวิทยาลั...Pattie Pattie
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชนแนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชนCAPD AngThong
 
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทย
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทยการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทย
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทยsoftganz
 
ระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัย
ระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัยระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัย
ระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัยChuchai Sornchumni
 
Healthcare ปัญหาและอุปสรรค ในการพัฒนาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
Healthcare ปัญหาและอุปสรรค ในการพัฒนาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์Healthcare ปัญหาและอุปสรรค ในการพัฒนาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
Healthcare ปัญหาและอุปสรรค ในการพัฒนาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์Jaratpan Onghununtakul
 
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรบทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรSanyawadee
 
คอมโรงพยาบาล
คอมโรงพยาบาลคอมโรงพยาบาล
คอมโรงพยาบาลNongpla Narak
 
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4) Page 1 50
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 1 50หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 1 50
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4) Page 1 50Makin Puttaisong
 
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรบทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรSanyawadee
 
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรบทที่5 ระบบข้อมูลข่าสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรSanyawadee
 
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรบทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรSanyawadee
 
Electronic Health Records: What Does The HITECH Act Teach Thailand?
Electronic Health Records: What Does The HITECH Act Teach Thailand?Electronic Health Records: What Does The HITECH Act Teach Thailand?
Electronic Health Records: What Does The HITECH Act Teach Thailand?Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Dental public meeting Holiday Inn
Dental public meeting Holiday Inn Dental public meeting Holiday Inn
Dental public meeting Holiday Inn Jitty Chanprasit
 
หมออนามัยVol.6
หมออนามัยVol.6หมออนามัยVol.6
หมออนามัยVol.6Chuchai Sornchumni
 
Social Media Guidelines for Health Professionals Progress Report to National ...
Social Media Guidelines for Health Professionals Progress Report to National ...Social Media Guidelines for Health Professionals Progress Report to National ...
Social Media Guidelines for Health Professionals Progress Report to National ...Nawanan Theera-Ampornpunt
 
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์Apichat kon
 
ปลัดสธ. วางระบบDhs
ปลัดสธ. วางระบบDhsปลัดสธ. วางระบบDhs
ปลัดสธ. วางระบบDhsCddthai Thailand
 

Similar to 006 7 cupชนบท (20)

การทำแผนของ Cup ปี 2559
การทำแผนของ Cup ปี 2559การทำแผนของ Cup ปี 2559
การทำแผนของ Cup ปี 2559
 
แถลงข่าว โครงการศึกษาดูงานการจัดระบบการเรียนรู้ โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน มหาวิทยาลั...
แถลงข่าว โครงการศึกษาดูงานการจัดระบบการเรียนรู้ โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน มหาวิทยาลั...แถลงข่าว โครงการศึกษาดูงานการจัดระบบการเรียนรู้ โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน มหาวิทยาลั...
แถลงข่าว โครงการศึกษาดูงานการจัดระบบการเรียนรู้ โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน มหาวิทยาลั...
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชนแนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชน
 
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทย
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทยการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทย
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทย
 
551212 moph policy
551212 moph policy551212 moph policy
551212 moph policy
 
ระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัย
ระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัยระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัย
ระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัย
 
Healthcare ปัญหาและอุปสรรค ในการพัฒนาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
Healthcare ปัญหาและอุปสรรค ในการพัฒนาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์Healthcare ปัญหาและอุปสรรค ในการพัฒนาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
Healthcare ปัญหาและอุปสรรค ในการพัฒนาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
 
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรบทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
 
คอมโรงพยาบาล
คอมโรงพยาบาลคอมโรงพยาบาล
คอมโรงพยาบาล
 
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4) Page 1 50
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 1 50หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 1 50
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4) Page 1 50
 
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรบทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
 
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรบทที่5 ระบบข้อมูลข่าสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
 
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรบทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
 
Electronic Health Records: What Does The HITECH Act Teach Thailand?
Electronic Health Records: What Does The HITECH Act Teach Thailand?Electronic Health Records: What Does The HITECH Act Teach Thailand?
Electronic Health Records: What Does The HITECH Act Teach Thailand?
 
Dental public meeting Holiday Inn
Dental public meeting Holiday Inn Dental public meeting Holiday Inn
Dental public meeting Holiday Inn
 
หมออนามัยVol.6
หมออนามัยVol.6หมออนามัยVol.6
หมออนามัยVol.6
 
Social Media Guidelines for Health Professionals Progress Report to National ...
Social Media Guidelines for Health Professionals Progress Report to National ...Social Media Guidelines for Health Professionals Progress Report to National ...
Social Media Guidelines for Health Professionals Progress Report to National ...
 
Hpon2 mix
Hpon2 mixHpon2 mix
Hpon2 mix
 
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
 
ปลัดสธ. วางระบบDhs
ปลัดสธ. วางระบบDhsปลัดสธ. วางระบบDhs
ปลัดสธ. วางระบบDhs
 

More from สปสช นครสวรรค์

คำสั่งแต่งตั้ง นพ.วงษ์สวัสดิ์ ตันวิสุทธิ์ ในตำแหน่ง ผอ.สปสช. เขต 3 นว
คำสั่งแต่งตั้ง นพ.วงษ์สวัสดิ์ ตันวิสุทธิ์ ในตำแหน่ง ผอ.สปสช. เขต 3 นวคำสั่งแต่งตั้ง นพ.วงษ์สวัสดิ์ ตันวิสุทธิ์ ในตำแหน่ง ผอ.สปสช. เขต 3 นว
คำสั่งแต่งตั้ง นพ.วงษ์สวัสดิ์ ตันวิสุทธิ์ ในตำแหน่ง ผอ.สปสช. เขต 3 นวสปสช นครสวรรค์
 
ยูเอ็นเรียกร้องทุกประเทศจัดหลักประกันสุขภาพให้ประชาชน ยกไทยต้นแบบความสำเร็จ
ยูเอ็นเรียกร้องทุกประเทศจัดหลักประกันสุขภาพให้ประชาชน ยกไทยต้นแบบความสำเร็จยูเอ็นเรียกร้องทุกประเทศจัดหลักประกันสุขภาพให้ประชาชน ยกไทยต้นแบบความสำเร็จ
ยูเอ็นเรียกร้องทุกประเทศจัดหลักประกันสุขภาพให้ประชาชน ยกไทยต้นแบบความสำเร็จสปสช นครสวรรค์
 
121113สปสช.ขู่สอบรพ.เบิกเงินเกินจริง เดลินิวส์
121113สปสช.ขู่สอบรพ.เบิกเงินเกินจริง เดลินิวส์121113สปสช.ขู่สอบรพ.เบิกเงินเกินจริง เดลินิวส์
121113สปสช.ขู่สอบรพ.เบิกเงินเกินจริง เดลินิวส์สปสช นครสวรรค์
 
18 oct 55 แนวทางการบริหารงบ tb ปี 56
18 oct 55 แนวทางการบริหารงบ tb ปี 5618 oct 55 แนวทางการบริหารงบ tb ปี 56
18 oct 55 แนวทางการบริหารงบ tb ปี 56สปสช นครสวรรค์
 
023125 กค(การระบุเหตุผลการใช้ยานอกบัญชียาหลัก)
023125 กค(การระบุเหตุผลการใช้ยานอกบัญชียาหลัก)023125 กค(การระบุเหตุผลการใช้ยานอกบัญชียาหลัก)
023125 กค(การระบุเหตุผลการใช้ยานอกบัญชียาหลัก)สปสช นครสวรรค์
 
ประกาศกระทรวงพม เรื่องประเภทและหลักเกณฑ์ความพิการ6ประเภท
ประกาศกระทรวงพม เรื่องประเภทและหลักเกณฑ์ความพิการ6ประเภทประกาศกระทรวงพม เรื่องประเภทและหลักเกณฑ์ความพิการ6ประเภท
ประกาศกระทรวงพม เรื่องประเภทและหลักเกณฑ์ความพิการ6ประเภทสปสช นครสวรรค์
 
ประกาศกระทรวงพม ประเภทและหลักเกณฑ์ความพิการ7ประเภท
ประกาศกระทรวงพม ประเภทและหลักเกณฑ์ความพิการ7ประเภทประกาศกระทรวงพม ประเภทและหลักเกณฑ์ความพิการ7ประเภท
ประกาศกระทรวงพม ประเภทและหลักเกณฑ์ความพิการ7ประเภทสปสช นครสวรรค์
 

More from สปสช นครสวรรค์ (20)

3ข่าวรับฟังความคิดเห็น
3ข่าวรับฟังความคิดเห็น3ข่าวรับฟังความคิดเห็น
3ข่าวรับฟังความคิดเห็น
 
~$Poster รับฟังความคิดเห็น
~$Poster รับฟังความคิดเห็น~$Poster รับฟังความคิดเห็น
~$Poster รับฟังความคิดเห็น
 
Ad
AdAd
Ad
 
Ad
AdAd
Ad
 
คำสั่งแต่งตั้ง นพ.วงษ์สวัสดิ์ ตันวิสุทธิ์ ในตำแหน่ง ผอ.สปสช. เขต 3 นว
คำสั่งแต่งตั้ง นพ.วงษ์สวัสดิ์ ตันวิสุทธิ์ ในตำแหน่ง ผอ.สปสช. เขต 3 นวคำสั่งแต่งตั้ง นพ.วงษ์สวัสดิ์ ตันวิสุทธิ์ ในตำแหน่ง ผอ.สปสช. เขต 3 นว
คำสั่งแต่งตั้ง นพ.วงษ์สวัสดิ์ ตันวิสุทธิ์ ในตำแหน่ง ผอ.สปสช. เขต 3 นว
 
ยูเอ็นเรียกร้องทุกประเทศจัดหลักประกันสุขภาพให้ประชาชน ยกไทยต้นแบบความสำเร็จ
ยูเอ็นเรียกร้องทุกประเทศจัดหลักประกันสุขภาพให้ประชาชน ยกไทยต้นแบบความสำเร็จยูเอ็นเรียกร้องทุกประเทศจัดหลักประกันสุขภาพให้ประชาชน ยกไทยต้นแบบความสำเร็จ
ยูเอ็นเรียกร้องทุกประเทศจัดหลักประกันสุขภาพให้ประชาชน ยกไทยต้นแบบความสำเร็จ
 
121113สปสช.ขู่สอบรพ.เบิกเงินเกินจริง เดลินิวส์
121113สปสช.ขู่สอบรพ.เบิกเงินเกินจริง เดลินิวส์121113สปสช.ขู่สอบรพ.เบิกเงินเกินจริง เดลินิวส์
121113สปสช.ขู่สอบรพ.เบิกเงินเกินจริง เดลินิวส์
 
ประกาศฯ(ฉบับที๒)
ประกาศฯ(ฉบับที๒)ประกาศฯ(ฉบับที๒)
ประกาศฯ(ฉบับที๒)
 
ผลสำรวจ สำนักงานสถิติ Oct55
ผลสำรวจ สำนักงานสถิติ Oct55ผลสำรวจ สำนักงานสถิติ Oct55
ผลสำรวจ สำนักงานสถิติ Oct55
 
18 oct 55 แนวทางการบริหารงบ tb ปี 56
18 oct 55 แนวทางการบริหารงบ tb ปี 5618 oct 55 แนวทางการบริหารงบ tb ปี 56
18 oct 55 แนวทางการบริหารงบ tb ปี 56
 
023125 กค(การระบุเหตุผลการใช้ยานอกบัญชียาหลัก)
023125 กค(การระบุเหตุผลการใช้ยานอกบัญชียาหลัก)023125 กค(การระบุเหตุผลการใช้ยานอกบัญชียาหลัก)
023125 กค(การระบุเหตุผลการใช้ยานอกบัญชียาหลัก)
 
18 oct12 การจัดทำแผนเอดส์56เขต
18 oct12 การจัดทำแผนเอดส์56เขต18 oct12 การจัดทำแผนเอดส์56เขต
18 oct12 การจัดทำแผนเอดส์56เขต
 
ประกาศจากสำนักกฎหมาย
ประกาศจากสำนักกฎหมาย ประกาศจากสำนักกฎหมาย
ประกาศจากสำนักกฎหมาย
 
ประกาศแก้ไขบุคคลภายนอก
ประกาศแก้ไขบุคคลภายนอกประกาศแก้ไขบุคคลภายนอก
ประกาศแก้ไขบุคคลภายนอก
 
ประกาศฯบริหารจัดการปี ๕๕
ประกาศฯบริหารจัดการปี ๕๕ประกาศฯบริหารจัดการปี ๕๕
ประกาศฯบริหารจัดการปี ๕๕
 
Aidsปี56สรุปภาพรวม
Aidsปี56สรุปภาพรวมAidsปี56สรุปภาพรวม
Aidsปี56สรุปภาพรวม
 
Aidsปี56สรุปภาพรวม
Aidsปี56สรุปภาพรวมAidsปี56สรุปภาพรวม
Aidsปี56สรุปภาพรวม
 
Gnewvb01 090401013958-phpapp01
Gnewvb01 090401013958-phpapp01Gnewvb01 090401013958-phpapp01
Gnewvb01 090401013958-phpapp01
 
ประกาศกระทรวงพม เรื่องประเภทและหลักเกณฑ์ความพิการ6ประเภท
ประกาศกระทรวงพม เรื่องประเภทและหลักเกณฑ์ความพิการ6ประเภทประกาศกระทรวงพม เรื่องประเภทและหลักเกณฑ์ความพิการ6ประเภท
ประกาศกระทรวงพม เรื่องประเภทและหลักเกณฑ์ความพิการ6ประเภท
 
ประกาศกระทรวงพม ประเภทและหลักเกณฑ์ความพิการ7ประเภท
ประกาศกระทรวงพม ประเภทและหลักเกณฑ์ความพิการ7ประเภทประกาศกระทรวงพม ประเภทและหลักเกณฑ์ความพิการ7ประเภท
ประกาศกระทรวงพม ประเภทและหลักเกณฑ์ความพิการ7ประเภท
 

006 7 cupชนบท

  • 1. 6 เอกสารประกอบห้องย่อยวิชาการ กลยุทธ์การเชื่อมร้อย บริการปฐมภูมิให้เป็นเครือข่าย บทเรียนจาก CUP ชนบท การประชุมมหกรรมสุขภาพชุมชน ครั้งที่ 2 จากความรู้สู่ระบบจัดการใหม่ จินตนาการเป็นจริงได้ไม่รู้จบ วันที่ 19 มกราคม 2555 เวลา 10.30 - 12.30 น. ห้อง Sapphire 6
  • 2.
  • 3. คำ�นำ� เอกสารประกอบการอภิ ป รายห้ อ งย่ อ ย กลยุ ท ธ์ ก ารเชื่ อ มร้ อ ย บริการปฐมภูมิให้เป็นเครือข่าย : บทเรียนจาก CUP ชนบท วันพฤหัสบดี ที่ 19 มกราคม 2555 เวลา 10:30 – 12:30 น. เพื่ อ สะท้ อ นแนวคิ ด คุ ณ ค่ า ของระบบบริ ก ารสุ ข ภาพปฐมภู มิ ซึ่ ง เป็ น กลไกสำ � คั ญ ในการพั ฒ นา ระบบสุ ข ภาพชุ ม ชน และสะท้ อ นความเป็ น ตั ว ตนของเครื อ ข่ า ยสุ ข ภาพ ระดั บ อำ � เภอ (CUP) ในกลยุ ท ธ์ วิ ธี ก ารจั ด การระดั บ เครื อ ข่ า ยปฐมภู มิ ที่ ดี ใ นการเชื่ อ มร้ อ ยบริ ก ารปฐมภู มิ ใ ห้ เ ป็ น เครื อ ข่ า ย ที่ จ ะนำ � ไปสู่ สุ ข ภาวะ ประชาชนในพื้นที่ ในงานประชุ ม ประชุ ม วิ ช าการ มหกรรมสุ ข ภาพชุ ม ชน ครั้ ง ที่ 2 “จากความรู้ สู่ ร ะบบจั ด การใหม่ จิ น ตนาการเป็ น จริ ง ได้ ไ ม่ รู้ จ บ” ระหว่ า ง วันที่ 18 – 21 มกราคม 2555 ณ อาคารอิมแพ็คฟอรั่ม เมืองทองธานี สำ�นักงานวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน มกราคม 2555 กลยุทธ์การเชื่อมร้อยบริการปฐมภูมิให้เป็นเครือข่าย บทเรียนจาก CUP ชนบท 3
  • 4.
  • 5. กลยทธการเชอมรอยบรการปฐมภมใหเ้ ปนเครอขาย ุ ์ ่ื ้ ิ ูิ ็ ื ่ : บทเรียนจาก CUP ชนบท ส�ำนักงานวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน (สพช.) ชมรมแพทย์ชนบท บทเรียนส�ำคัญในการประสานเชื่อมต่อระหว่างหน่วยบริการปฐมภูมิ สาธารณสุข อ�ำเภอ และโรงพยาบาลรวมถึงการเชื่อมโยงกับชุมชน ท้องถิ่น การสร้างให้เป็นทีมงาน เดียวกันอย่างเป็นเอกภาพ ทั้งนี้ได้เลือกเครือข่ายบริการปฐมภูมิในระดับอ�ำเภอแต่ละแบบ มา 4 พื้ น ที่ ที่ จ ะสะท ้ อ นให ้ เ ห็ น ลั ก ษณะเด ่ น ในการท�ำงานเครื อ ข ่ า ยบริ ก ารปฐมภู มิ ในรู ป แบบที่ ห ลากหลายในการพั ฒ นาตามบริ บ ทของแต่ ล ะพื้ น ที่ ซึ่ ง สามารถน�ำไป ประยุ ก ต ์ ใช ้ ใ นการจั ด ระบบบริ ก ารสุ ข ภาพปฐมภู มิ ใ นระดั บ อ�ำเภอให ้ เ กิ ด ประโยชน ์ ต่อประชาชนในพื้นที่ต่อไป....ดังกรณีตัวอย่างบทเรียนของ CUP ชนบทใน 4 รูปแบบ 4 บริบท บทเรียนจาก CUP โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชกุฉนารายณ์ ิ จังหวัดกาฬสินธุ์ การจัดการระบบบริการสุขภาพเชิงรุกเพื่อเพิ่มโอกาสการเข้าถึงบริการสุขภาพ และสวัสดิการชุมชนของประชาชนทุกกลุ่มเป้าหมาย : กรณีอ�ำเภอกุฉินารายณ์ กุฉินารายณ์เป็นหนึ่งในสิบแปดอ�ำเภอของจังหวัดกาฬสินธุ์ ห่างจากตัวจังหวัด กาฬสิ น ธุ ์ ไปทางทิ ศ ตะวั น ออกประมาณ 80 กิ โ ลเมตร รั บ ผิ ด ชอบประชากรทั้ ง หมด 101,410 คน มีหน่วยบริการสุขภาพจ�ำนวน 18 แห่ง เป็นโรงพยาบาลชุมชนขนาด 90 เตียง 1 แห่ง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบล 17 แห่ง โดยมีส�ำนักงานสาธารณสุขอ�ำเภอ 1 แห่ง เป็ น กลไกของรั ฐ ในการเชื่ อ มประสานการท�ำงานร่ ว มกั น ระหว่ า งโรงพยาบาลแม่ ข ่ า ย (รพ.ร. กุฉินารายณ์) กับหน่วยบริการปฐมภูมิ (รพ.สต.) ในพื้นที่ กลยุทธ์การเชื่อมร้อยบริการปฐมภูมิให้เป็นเครือข่าย บทเรียนจาก CUP ชนบท 5
  • 6. จากโครงสร้างและกลไกการจัดระบบบริการสุขภาพที่เป็นอยู่ ที่ไม่สามารถตอบ สนองต่อความจ�ำเป็นต้องการของคนในพื้นที่และสร้างความเป็นทุกข์ใจให้กับผู้ให้บริการ จากข้อจ�ำกัดของพื้นที่และเวลาการจัดให้บริการ ผู้มารับบริการมาแออัดรอรับบริการ ณ รพ.ร.กุฉินารายณ์ การกลับมารับบริการซ�้ำในปัญหาเดิม ๆ สิ่งเหล่านี้ท�ำให้ผู้บริหาร โรงพยาบาลต้องกลับมาทบทวนกระบวนการจัดระบบบริการสุขภาพของอ�ำเภอเสียใหม่ ด้วยการเชื่อมร้อยระบบบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิในพื้นที่กับการจัดให้บริการสุขภาพ ทุติยภูมิของโรงพยาบาลแม่ข่าย (รพ.ร.กุฉินารายณ์) ที่มีความลงตัวอย่างพอเหมาะพอสม กับสภาพบริบทของพื้นที่กุฉินารายณ์ เริ่มจากการสร้างทีมงานที่มีความเข้าใจในลีลาชีวิตของ มนุษย์ ที่มีองค์ประกอบ ดวยกาย จตใจ ความรสกชวดี (จตวญญาณ) ปรบมโนทรรศนจากการรกษาโรคมาเปนรกษาคน ้ ิ ู้ ึ ั่ ิ ิ ั ์ ั ็ ั ท�ำให้ทีมงานมีความรู้และทักษะการดูแลประชาชนในพื้นที่ในสามส่วนได้แก่ ความรู้เรื่อง การรักษาโรค ความรู้เรื่องวิถีชีวิตของคนป่วย และความรู้เรื่องแหล่งทุน/ทรัพยากรชุมชน ที่น�ำใช้ในการระดมเพื่อดูแลคนในพื้นที่ เติมพลังแรงใจ (หัวใจมนุษย์) และพลังปัญญา (หลักวิชาการ) ให้กับทีมงาน สร้างสัมพันธภาพความไว้วางใจ การให้คุณค่าของทีมงาน (ทุกวิชาชีพมีคุณค่าเสมอกัน) จากนั้นเริ่มด�ำเนินการตามความเชื่อและแนวคิดสามด้าน คือ หลกการบรการสขภาพปฐมภมิ หลกเวชศาสตรครอบครวและหลกการท�ำงานแบบบรณาการ ั ิ ุ ู ั ์ ั ั ู ของสหวิชาชีพ ในพืนทีเ่ ขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลกุฉนารายณ์ โดยเน้นในกลุมเป้าหมาย ้ ิ ่ ผู้พิการและกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังเป็นบทพิสูจน์ให้เห็นความส�ำเร็จในการสร้างสุขภาพด้วย กลไกการจั ด ระบบบริ ก ารสุ ข ภาพระดั บ อ�ำเภอที่ เ หมาะสมโดยเน้ น บริ ก ารสุ ข ภาพ ปฐมภูมิ (บริการที่เน้นการผสมผสานบริการทั้งมิติการส่งเสริมสุขภาพ ควบคุมป้องกันโรค การรักษาพยาบาล การฟื้นฟูสุขภาพรวมถึงการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพที่มีดุลยภาพ) ภายใต้ทีมงานที่ถูกสร้างและพัฒนาขึ้นของโรงพยาบาลกุฉินารายณ์ร่วมกับเครือข่ายใน พื้นที่ส่วนหนึ่ง (รพ.สต. 2-3 แห่งที่เห็นด้วยกับแนวคิดดังกล่าว) โดยมีแผนปฏิบัติการการ ดูแลผู้ป่วยของทีมงานที่มีหัวใจความเป็นมนุษย์ ในขณะที่มีการเคลื่อนไหวของทีมงาน ไม้เลือย (ทีมสหวิชาชีพ) ตัวผูบริหาร (ผอ.รพ.ร.กุฉนารายณ์) จะท�ำหน้าทีในการน�ำและอ�ำนวยการ ้ ้ ิ ่ ให้ทีมงานได้ท�ำหน้าที่ของพวกเขาอย่างเต็มก�ำลัง เมื่อเวลาผ่านเลยไปตั้งแต่ปี 2549 ที่ ต้นกล้าพันธุ์ “หมอเวชศาสตร์ครอบครัว” ได้เกิดขึ้นในพื้นที่กุฉินารายณ์และแตกหน่อ ก่อเชื้อแพร่ขยายสู่วิชาชีพอื่น ๆ รวมถึงเครือข่ายในชุมชน (เช่น อสม. ผู้น�ำชุมชน ผู้น�ำท้องถิ่น กลยุทธ์การเชื่อมร้อยบริการปฐมภูมิให้เป็นเครือข่าย 6 บทเรียนจาก CUP ชนบท
  • 7. เป็นต้น) เป็นทีมงาน“ไม้เลื้อย” ท�ำให้ผู้เจ็บป่วย(ด้วยมิติทางกาย มิติทางใจ มิติทางสังคม) ได้รับการเยียวยาที่มีคุณภาพ มาตรฐานแห่งวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง สร้างความพึงพอใจให้กับ ทั้งผู้รับบริการและผู้ให้บริการ จากคนที่ด้อยโอกาสไม่ได้รับการดูแลที่เหมาะสมในหลักร้อย ขยายสหลกพนและหลาย ๆ พนในเวลาตอมา ซงทมงานและผบรหารไดมการจดเวทแลกเปลยน ู่ ั ั ั ่ ึ่ ี ู้ ิ ้ี ั ี ี่ เรียนรู้จากวงเสวนาของทีมงานเอง และขยายสู่กลุ่มเครือข่ายต่าง ๆ เป็นบทเรียนที่สร้าง ความสนใจให้กับภาคี องค์กรต่าง ๆ คุณค่าของการท�ำงานที่ยึดผู้ป่วยเป็นศูนย์กลางและ ไม่ละเลยตัวชี้วัดของส่วนกลางที่สั่งการ (แม้จะเป็นอุปสรรคการท�ำงานของพื้นที่) ด้วยกลไก การเชื่อมร้อยของบริการปฐมภูมิในระดับพื้นที่ (รพ.สต.) ในฐานะองค์กรสุขภาพที่มีความ เชี่ยวชาญ (รู้และเข้าใจชุมชน) กับโรงพยาบาลแม่ข่ายในพื้นที่ ในฐานะผู้เชี่ยวชาญด้านการ แพทย์และสาธารณสุข (รู้และเข้าใจธรรมชาติการเกิดโรครวมถึงการรักษาโรค) และภาคี เครือข่ายสุขภาพชุมชน (อสม.แกนน�ำชุมชน อปท.) ในฐานะเจ้าของพื้นที่ตัวจริง น�ำมาสู่การ เรียนรูและการพัฒนาระบบการจัดบริการสุขภาพปฐมภูมทมความต่อเนืองเป็นพลวัตร จนเป็น ้ ิ ี่ ี ่ กุฉินารายณ์ Model ซึ่งเป็นรูปแบบการบริหารจัดการสุขภาพแนวใหม่ ที่ควรค่าต่อการ ติดตาม ศึกษาและน�ำไปประยุกต์เพื่อเกิดประโยชน์ให้กับชาวบ้านในเขตรับผิดชอบต่อไป ปัจจัยที่ส่งผลให้กลไกการจัดการระบบสุขภาพในรูปแบบของ “กุฉินารายณ์ Model” ประสบผลส�ำเร็จนั้นมาจาก... 1. ผู้น�ำองค์กร (ผอ.รพ.ร.กุฉินารายณ์ : นายแพทย์นพดล เสรีรัตน์) ที่มีวิสัยทัศน์ กว้างไกลและมีความเชื่อมั่นต่อการแก้ปัญหาหรือการยกระดับสุขภาพให้ส�ำเร็จนั้นต้อง ยึดบุคคลเป็นศูนย์กลาง (Personal Approach / Person Center) ด้วยฐานความคิด “Primary care” , “Family medicine” , “Multidisciplinary team” 2. ผู ้ น�ำทีม ที่มีความเข้ม แข็งและเชื่อมั่น ในคุ ณ ค่ า ของบริ ก ารสุ ข ภาพปฐมภู มิ อย่างคุณหมอสิริชัย นามทัศนีย์ แพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว ประจ�ำศูนย์สุขภาพชุมชน โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชกุฉินารายณ์ ที่เป็นแบบอย่างในการประยุกต์ใช้หลักวิชาการ เชิงทฤษฎีของระบบบริการสุขภาพปฐมภูมิสู่การปฏิบัติที่เกิดเห็นผลเชิงรูปธรรม จับต้องได้ ท�ำให้ทีมงานและภาคีเครือข่ายเกิดความศรัทธา มั่นใจและมุ่งมั่นต่อภารกิจในบทบาท หน้าที่ กลยุทธ์การเชื่อมร้อยบริการปฐมภูมิให้เป็นเครือข่าย บทเรียนจาก CUP ชนบท 7
  • 8. 3. ทีมงานสหวิชาชีพที่ปฏิบัติการในพื้นที่ ที่มีความอดทน มุ่งมั่น ศรัทธาต่อ แนวคิดและคุณค่าของบริการสุขภาพปฐมภูมิและมีหัวใจความเป็นมนุษย์ 4. กระบวนการพัฒนา การให้โอกาสและการสนับสนุนการท�ำงานของทีมงาน ผ่านการแลกเปลี่ยนเรียนรู้อย่างเป็นกัลยาณมิตร ให้เกียรติและมองเห็นคุณค่าตนเองและ คนอื่น ๆ ในทีมงาน การเยี่ยมบ้านเชิงลึกเพื่อให้ได้ข้อมูลที่เป็นจริงมากที่สุดเพื่อใช้ประกอบ การวางแผนดูแลเยียวยาตลอดจนการสร้างองค์ความรู้ใหม่ๆเพื่อการดูแลประชาชน ท�ำให้ เกิดการพัฒนาต่อยอดอย่างไม่หยุดนิ่ง จนทีมงานแต่ละคน มีทักษะที่เรียกว่า “Mixed Skill” ท�ำให้เกิดนวตกรรมการท�ำงานที่สร้างคุณค่าและเป็นแบบอย่างที่ดีในพื้นที่ตลอดเวลา ภายใต้ค่านิยม บ่ดีเฮ็ดใหม่ ...ให้เริ่มต้นท�ำในสิ่งที่ชอบก่อน... ให้ท�ำในสิ่งที่ง่าย ๆ ก่อนแล้ว ขยายผลเมื่องานส�ำเร็จ 5. ความพอเหมาะพอดีของการจัดทีมงานสหวิชาชีพที่มีจุดเด่นคือ มีหมอหนึ่งคน ดูแลพื้นที่รับผิดชอบประชากรประมาณหมื่นคน (พื้นที่รับผิดชอบ รพ.ร.และ รพ.สต. 2-3 แห่ง) 6. กลไกและกลวิธีการท�ำงานที่เน้นการท�ำงานเชิงสร้างสรรค์ มองมุมบวก สร้าง สัมพันธภาพแนวราบ ลดการจัดการเชิงสั่งการ (อ�ำนาจนิยม) แต่จะป็นการท�ำงานแบบ กัลยาณมิตร ประสานความร่วมมือเพื่อผลส�ำเร็จของงานเป็นส�ำคัญรวมถึงการเลือกกลุ่ม เป้าหมายเพื่อการดูแลในระยะเริ่มต้นจะเน้นไปในกลุ่มที่มีความเป็นไปได้ในการส�ำเร็จผล และเป็นที่สนใจของชุมชนโดยรวมเป็นกรณีตัวอย่างในการดูจัดการดูแลก่อน ได้แก่ ผู้พิการ ผู้ป่วยเรื้อรัง ผู้สูงอายุ เป็นต้น ซึ่งจะสร้างผลผลิตที่สื่อให้เห็นคุณค่าของบริการปฐมภูมิ ที่มีศักดิ์ศรีเชิงวิชาการได้มากกว่า บทเรียนจาก CUP โรงพยาบาลสนามชัยเขต จังหวัดฉะเชิงเทรา การจัดการก�ำลังคนภาคบริการสุขภาพระดับอ�ำเภอเพื่อการจัดบริการสุขภาพ ปฐมภู มิ ที่ ท รงประสิ ท ธิ ภ าพ : กรณี อ�ำเภอสนามชั ย เขต จั ง หวั ด ฉะเชิ ง เทราอ�ำเภอ สนามชัยเขตเป็นอ�ำเภอชายขอบของจังหวัดฉะเชิงเทรา มีพื้นที่ติดกับจังหวัดสระแก้ว และปราจีนบุรี อยู่ห่างจากตัวจังหวัดประมาณ 55 กิโลเมตร จัดว่าเป็นโรงพยาบาล ทุติยภูมิระดับกลาง ด�ำเนินงานภายใต้ปรัชญา “มุ่งมั่นช่วยชีวิต คือกิจที่ส�ำคัญ บริการ กลยุทธ์การเชื่อมร้อยบริการปฐมภูมิให้เป็นเครือข่าย 8 บทเรียนจาก CUP ชนบท
  • 9. เท่าเทียมกัน ไม่แบ่งชั้นชาติตระกูล” โดยวางวิสัยทัศน์ “เป็นโรงพยาบาลคุณภาพของ ชุมชนที่มีความเป็นเลิศด้านการดูแลสุขภาพ ที่ผู้ใช้บริการอบอุ่นใจและมีความสุข”อ�ำเภอ สนามชัยเขตประกอบด้วยเทศบาลต�ำบลสนามชัยเขต และอีก 4 ต�ำบล คือ ต�ำบลคู้ยายหมี ต�ำบลท่ากระดาน ต�ำบลทุ่งพระยา และต�ำบลลาดกระทิง มีประชากรรวมทั้งสิ้น 70,345 คน เป็นชาย 35,520 คน หญิง 34,825 คน แต่มีจ�ำนวนหมู่บ้านมากถึง 70 หมู่บ้าน มีพื้นที่ ประมาณหนึ่งล้านไร่ หรือพื้นที่ราว 1,600 ตารางกิโลเมตร ท�ำให้สนามชัยเขตนับว่าเป็น อ�ำเภอที่มีขนาดใหญ่เป็นที่สองของประเทศ รองจากอ�ำเภออุ้มผาง และยังมีเนื้อที่ใหญ่กว่า จังหวัดสมุทรปราการทั้งจังหวัด ซึ่งมีพื้นที่ประมาณ 1,000 ตารางกิโลเมตรสภาพพื้นที่ โดยรวมเป็ น ป่ า เสื่ อ มโทรม ประชากรส่ ว นใหญ่ ย ้ า ยมาจากภาคตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ ส่วนมากประกอบอาชีพเกษตรกรรม รับจ้างท�ำงานในโรงงานอุตสาหกรรม และรับจ้าง ทางการเกษตร มีแรงงานต่างด้าวที่ขึ้นทะเบียนไว้ประมาณ 1,400 คน ปัญหาที่หนักหน่วง ที่สุดของหน่วยบริการปฐมภูมิที่ห่างไกลความเจริญ นั่นคือการขาดแคลนบุคลากร ท�ำให้ การจัดบริการสุขภาพในระบบบริการสุขภาพปฐมภูมิไม่มีความต่อเนื่อง ผู้บริหารต้องวิ่ง ตามแก้ปัญหาเดิม ๆ ปีแล้วปีเล่า แนวคิดและยุทธศาสตร์การสร้างทีมงานสุขภาพที่เข้มแข็งโดย “การปั้นดินให้เป็น ดาว” ด้วยการสร้างโอกาสให้กับคนในพื้นที่ได้รับการพัฒนาเป็นบุคลากรด้านสุขภาพที่เป็น มืออาชีพกลับมาดูแลญาติพี่น้องในพื้นที่ เพื่อแก้ปัญหาการขาดแคลนก�ำลังคนและการไหล ออกของก�ำลังคนในระบบบริการสุขภาพของอ�ำเภอสนามชัยเขตโดยเฉพาะในหน่วยบริการ ปฐมภูมิ...จากแนวคิด น�ำไปสู่กลยุทธ์และกระบวนการจัดการเพื่อให้เกิดต้นกล้าก�ำลังคน สุขภาพสายเลือดใหม่ (สายเลือดพันธุ์พื้นเมืองที่มีความแข็งแกร่ง มีจิตใจเป็นพยาบาล มืออาชีพ มีหัวใจความเป็นมนุษย์ ส�ำนึก กตัญญูต่อแผ่นดินเกิด) ด้วยการค้นหาเด็กที่มีแวว ในพื้ น ที่ ใ ห ้ ไ ด ้ รั บ โอกาสในการพั ฒ นาตนเองสู ่ วิ ช าชี พ พยาบาลของชุ ม ชน เพื่ อ ชุ ม ชน (โดยคนสาธารณะที่มีหัวใจความเป็นมนุษย์ อย่างคุณหมอสมคิดปีแล้วปีเล่าที่หมอสมคิด วิระเทพสุภรณ์ ในฐานะผู้อ�ำนวยการโรงพยาบาลสนามชัยเขต ผู้น�ำในระบบบริการสุขภาพ ระดับอ�ำเภอ) จากนั้นน�ำเด็กที่สนใจจะไปในทางเดินนี้มาฝึกงานในโรงพยาบาลและสถานี อนามัย เพื่อให้พวกเขาเห็นสภาพจริงก่อนไปเรียน แล้วตัดสินใจเองว่า จะสมัครไปสอบ ขอทุนเรียนหรือไม่ เมื่อเด็กและผู้ปกครองตกลงใจแล้ว ก็ยังต้องวิ่งเต้นและจัดการเพื่อให้ เด็กในพื้นที่ได้ทุน ได้มีที่นั่งเรียน ทั้งมองหาแหล่งทุนการศึกษา ไม่ว่าจะเป็นทุนของจังหวัด กลยุทธ์การเชื่อมร้อยบริการปฐมภูมิให้เป็นเครือข่าย บทเรียนจาก CUP ชนบท 9
  • 10. ทุน อบต. มีบางกรณีพ่อแม่ยินดีจ่ายค่าเรียนเอง แต่ก็ยังต้องช่วยมองหาสถานศึกษาที่จะรับ เด็กเข้าเรียน โดยติดต่อพูดคุยเจรจากับแต่ละแห่ง เช่น วิทยาลัยพยาบาลชลบุรี ฯลฯ เพื่อที่ ท้ายที่สุดแล้ว เด็กในพื้นที่สักหนึ่งคน จะสามารถแทรกตัวเข้าไปนั่งเรียนจนจบได้ส�ำเร็จ โรงพยาบาลสนามชัยเขต ส�ำนักงานสาธารณสุขอ�ำเภอ และองค์กรปกครอง สวนทองถน ไดรวมมอกนอยางใกลชดในการสรางก�ำลงคนสาธารณสข ตงแตกอนการคดเลอก ่ ้ ิ่ ้ ่ ื ั ่ ้ิ ้ ั ุ ั้ ่ ่ ั ื นักเรียนทุน โดยท�ำการประชาสัมพันธ์ในโรงเรียนมัธยม แจ้งเรื่องการรับสมัครเรียนด้านการ พยาบาลและสาธารณสุข รวมทั้งให้นักเรียนลองฝึกงานที่โรงพยาบาล หรือที่โรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพต�ำบล 10 วัน และเข้าค่ายวิชาการ 10 วัน เพื่อดูว่าสนใจท�ำงานวิชาชีพนี้ หรือไม่ เพื่อท�ำให้นักศึกษาเกิดความคุ้นเคยกับเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลและที่สถานีอนามัย และยังให้ยืมเงินสวัสดิการของโรงพยาบาลไปเรียนได้ ในระหว่างทีก�ำลังเรียน หากเด็กมีวนหยุดหรือปิดเทอม ก็จะสนับสนุนให้พสอนน้อง ่ ั ี่ น้องช่วยพี่ โดยให้นักศึกษาพยาบาลได้ไปฝึกงานที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบล ปีละ 5 วัน สร้างความรู้จักกันตั้งแต่ยังเรียนอยู่ เมื่อจบกลับมาท�ำงานด้วยกันก็สามารถช่วยเหลือ กันในพื้นที่ได้อย่างทันที ครั้นเมื่อน้องจบมาใหม่ ๆ ก็มีการจัดเวทีให้ได้แนะน�ำตัวต่อผู้น�ำ ชุมชน และหน่วยราชการต่าง ๆ เป็นการสร้างความภาคภูมิใจ สร้างความผูกพันต่อชุมชน และท�ำให้ก�ำลังคนเหล่านี้ รวมทั้งครอบครัว รู้สึกว่ามีภาระใจในการตอบแทนคุณแผ่นดิน และอยากรับใช้พี่น้องในภูมิล�ำเนาของตัวเอง สิ่งเหล่านี้ คือ แรงจูงใจที่ไม่ใช่เงิน แต่มีคุณค่าและมีอิทธิพลสูงยิ่งต่อการสร้าง และรักษาก�ำลังคนสาธารณสุขไว้ในระบบบริการปฐมภูมิ โดยมิได้เน้นแต่จะสร้างพยาบาล มาอยู่ในโรงพยาบาล แต่ท�ำทุกทางให้ได้คนไปอยู่ในสถานีอนามัย และสร้างความเป็น เครือข่ายบริการร่วมกันด้วย การปั้นดินให้เป็นดาวดวงแล้วดวงเล่า (ซึ่งมีมากกว่า 70 ชีวิต ในปัจจุบัน) ที่อยู่ในระบบบริการสุขภาพของอ�ำเภอสนามชัยเขต เมื่อ 20 ปีก่อนได้ท�ำให้เกิด ทีมสหวิชาชีพที่มีความผูกพัน รู้จักคุ้นเคยชนิดมองตาก็รู้ใจ จากนั้นจึงหันมาสร้างกลไกการ ท�ำงานที่เชื่อมประสานกันของส่วนต่าง ๆ ท�ำให้เกิดกลุ่มงานเวชปฏิบัติครอบครัวและชุมชน ในโรงพยาบาล มีการจัดระบบการดูแลประชาชนในพื้นที่โดยการแบ่งความรับผิดชอบของ แพทย์ในโรงพยาบาลเป็นโซนเพื่อให้แพทย์กับผู้รับบริการในพื้นที่โซนมีความรู้จักคุ้นเคย กันมากขึ้น เกิดระบบการเคลื่อนทีมจากโรงพยาบาลไปช่วยให้บริการที่ รพ.สต. หรือศูนย์ กลยุทธ์การเชื่อมร้อยบริการปฐมภูมิให้เป็นเครือข่าย 10 บทเรียนจาก CUP ชนบท
  • 11. สุขภาพชุมชน (PCU) เป็นการสร้างความแข็งแกร่งให้หน่วยบริการปฐมภูมิในสังกัดและ สร้างความเชื่อมั่นต่อคุณภาพบริการที่จัดให้ น�ำบริการแพทย์ทางเลือกมาประยุกต์ใช้ใน โรงพยาบาล ประสานองค์กร ชุมชน ท้องถิ่นเพื่อระดมทรัพยากรมาใช้เพื่อจัดบริการสุขภาพ แก่ประชาชนในเขตรับผิดชอบ ท�ำให้ปัญหาความขัดแย้งระหว่างทีมงานสุขภาพของอ�ำเภอ กับผูรบบริการลดลง ต้นทุนการให้บริการลดลงแต่เพิมคุณภาพการจัดให้บริการทีเ่ พิมมากขึน ้ั ่ ่ ้ เป็นภาพแห่งความส�ำเร็จของการจัดบริการสุขภาพปฐมภูมิด้วย กลไกระบบบริหารจัดการสุขภาพแนวใหม่ที่เป็นแบบอย่างในอีกรูปแบบหนึ่ง ภายใต้รูปแบบ “สนามชัยเขต Model” ปัจจัยของความส�ำเร็จของรูปแบบการจัดการ “สนามชัยเขต Model” ที่ส�ำคัญอยู่ที่ 1. มุมมองและวิสัยทัศน์ตลอดจนกลยุทธ์ของผู้น�ำที่แหลมคมไม่ติดอยู่ในวังวนของ ระบบเดิม ๆ เห็นปัญหาที่เผชิญอยู่หากแก้ได้ด้วยระบบที่เป็นอยู่จริงๆ ความขาดแคลนก�ำลัง คนด้านสุขภาพคงไม่ด�ำเนินมาจนถึงปานนี้ การมองเห็นคุณค่าของคนในพื้นที่และความ สามารถในการจัดการท�ำให้เกิดทีมงานสหวิชาชีพที่มีเอกภาพและประสิทธิภาพพูดภาษา เดียวกันและปฏิบัติตามแนวทางเดียวกัน 2. การเป็นแบบอย่างของนักปฏิบัติที่ดี คิดและท�ำให้เห็นเป็นแบบอย่างของผู้น�ำ ที่มุ่งเพื่อสุขภาวะของคนในเขตพื้นที่ที่รับผิดชอบเป็นส�ำคัญ ท�ำให้ทีมงานและภาคีเครือข่าย มีความเชื่อมั่นและศรัทธาต่อผู้น�ำท�ำให้เกิดพลังในการขับเคลื่อนไปสู่เป้าหมายเบื้องหน้า ได้ง่ายขึ้น 3. การขับเคลื่อนสู่เป้าหมายที่มีเป้าหมายในแต่ละเรื่องที่ชัดเจนเป็นล�ำดับเป็นมูล เหตุส�ำคัญประการหนึ่งที่ท�ำให้ระบบบริการสุขภาพของสนามชัยเขตเกิดผลเป็นที่ยอมรับ ของคนในพื้นที่และเป็นที่ชื่นชมในผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นตามมา โดยการเริ่มต้นที่การสร้างและ พัฒนาทีมงานเป็นพื้นฐานตั้งแต่การสรรหา การพัฒนา บ�ำรุงรักษาต่อเนื่อง จนเกิดความ ลงตัวของทีมงานอย่างเต็มที่แล้วจึงมาขยับเรื่องการจัดบริการสุขภาพปฐมภูมิที่มีความ เชื่อมโยงร้อยรัดถักทอเป็นเนื้อเดียวทั้งบริการในระดับโรงพยาบาลสนามชัยเขต (แม่ข่าย) กบเครือข่ายบริการปฐมภูมิในระดับ (รพ.สต.) และการจัดบริการสุขภาพในภาคของชุมชน ั โดยการใช้ทรัพยากรในพื้นที่ให้เกิดประโยชน์สูงสุด กลยุทธ์การเชื่อมร้อยบริการปฐมภูมิให้เป็นเครือข่าย บทเรียนจาก CUP ชนบท 11
  • 12. 4. การจัดระบบบริการเพื่อเอื้อให้ประชาชนหรือที่เรียกว่าการให้ความส�ำคัญกับ ผู้รับบริการ หรือ การยึดคนเป็นศูนย์กลางในการจัดให้บริการ สุดแท้แต่จะเรียกขานด้วย บริสุทธิ์ใจ เห็นผลลัพธ์ที่เป็นแบบอย่างที่เป็นรูปธรรมเชิงประจักษ์ ท�ำให้เป็นพลังในการดึง ภาคีเครือข่ายเข้ามาร่วมด้วยช่วยกันเป็นเจ้าภาพ เจ้ามือ เจ้าของ ในการจัดระบบบริการ สุขภาพที่มีแนวโน้มจะเกิดขึ้นอย่างมั่นคงยั่งยืนสืบไป บทเรียนจาก...CUP โรงพยาบาลล�ำสนธิ จังหวัดลพบุรี การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพระดับอ�ำเภอล�ำสนธิ อ�ำเภอล�ำสนธิ ตั้งอยู่ในจังหวัดลพบุรี อยู่ทางตะวันออกสุดของจังหวัด แบ่งเขต การปกครองย่อยออกเป็น 6 ต�ำบล 49 หมู่บ้าน ประชากรในเขตรับผิดชอบประมาณ 30,000 คน มีโรงพยาบาลชุมชนขนาด 30 เตียง 1 แห่ง 5 สถานีอนามัย 2 โรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพต�ำบล มีระยะทางที่ห่างจากจังหวัดลพบุรีประมาณ 120 กิโลเมตร อ�ำเภอล�ำสนธิเป็นอ�ำเภอหนึ่งในจังหวัดลพบุรีที่มีการท�ำงานด้านสาธารณสุข ที่โดดเด่น โดยความร่วมมือร่วมใจกันอย่างเป็นเอกภาพทั้งโรงพยาบาล ส�ำนักงาน สาธารณสุ ข อ�ำเภอ สถานี อ นามั ย ในสั ง กั ด และองค์ ก ารปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น ในพื้ น ที่ มีการก�ำหนดนโยบายและเป้าหมายในการท�ำงานด้วยกัน การจัดท�ำโครงการในการดูแล ประชาชนในชุมชน ค�ำนึงถึงประชาชนเป็นหลักเน้นการดูแลแบบรอบด้านในทุกมิติของชีวิต ครอบคลุมต่อเนื่องและยั่งยืน มีการจัดตั้งคณะกรรมการในการท�ำงานด้านสาธารณสุขจากทุกภาคส่วน อาทิ การดูแลและสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุและผู้พิการในชุมชนแบบบูรณาการ, ความสุขใน ความมืดของผู้พิการด้านสายตา, ผู้พิการด้านสติปัญญา, คลินิกสุขภาพจิต, การสร้าง เครือข่ายจิตอาสาชุมชน, การดูแลหญิงตังครรภ์, การดูแลกลุมวัยรุน ฯลฯ การบริการปฐมภูมิ ้ ่ ่ ของล�ำสนธิ คือ การพัฒนาคุณภาพชีวิตของชุมชนให้ดีขึ้น ดูแลรอบด้านและต่อเนื่อง โดยแบ่งกลุ่มการดูแลดังนี้ - กลุ่มผู้สูงอายุ และผู้พิการ - กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และพัฒนาการเด็กเล็ก กลยุทธ์การเชื่อมร้อยบริการปฐมภูมิให้เป็นเครือข่าย 12 บทเรียนจาก CUP ชนบท
  • 13. - กลุ่มวัยรุ่น - กลุ่มโรคเรื้อรัง - กลุ่มจิตเวช - กลุ่มการคัดกรองสุขภาพ โครงการเด่นที่ภาคภูมิใจ คือ โครงการต้นกล้าอาชีพจากแนวนโยบายของ รัฐบาลแต่อ�ำเภอล�ำสนธิ ได้น�ำประเด็นปัญหาด้านสาธารณสุข มาเป็นแนวทางการให้การ แก้ปัญหา โดยการจัดอบรมหลักสูตรการดูแลผู้สูงอายุในชุมชนและเด็กให้แก่ต้นกล้าอาชีพ มีการอบรมทั้งภาคทฤษฎีและฝึกปฏิบัติโดยมีเจ้าหน้าที่สาธารณสุขที่หน่วยบริการปฐมภูมิ เป็นพี่เลี้ยง เมื่อผ่านการฝึกอบรมได้ด�ำเนินการจ้างงานให้เป็นต้นกล้า เป็นดูแลผู้ป่วยจาก องค์การบริหารส่วนต�ำบลเดือนละ 4,000 บาทต่อคน ท�ำให้คนกลุ่มดังกล่าวมีรายได้เลี้ยงชีพ ความคาดหวังเบื้องต้นเพียงแค่ให้คนว่างงานมีรายได้เท่านั้น แต่สิ่งที่เกิดขึ้นมากกว่านั้นคือ การแบ่งเบาภาระของเจ้าหน้าที่สาธารณสุข รวมทั้ง ความรักความผูกพัน ระหว่างคนดูแล ผู้ป่วย และตัวผู้ป่วย ประดุจญาติพี่น้องกัน เหล่านี้ การเพิ่มคุณค่าทางจิตใจของบุคคล อย่างสูงส่ง หัวใจส�ำคัญของการพัฒนาและสร้างความร่วมมือระหว่างหน่วยงานในส�ำสนธิ คือ การท�ำให้หน่วยงานอื่นๆ เห็นคุณค่าการทุ่มเทของทีมงานและความจ�ำเป็นที่ต้องร่วมกัน ดูแลประชาชนอย่างรอบด้านและต่อเนื่อง การประเมินคุณภาพต่าง ๆ ที่ผ่านมาของ อ�ำเภอล�ำสนธิเป็นเพียงบันได แต่ความส�ำคัญจริง ๆ คือคุณค่ามากกว่าความเป็นตัวเลข หรือตัวชี้วัด การใช้ แ นวคิ ด เชิ ง บวก พลิ ก ทุ ก สถานการณ์ ใ ห้ เ ป็ น โอกาสเพื่ อ หากลยุ ท ธ์ ในการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในพื้นที่ หรือ “การเป็นนักหยิบฉวยและหยิบยื่น โอกาส” นั้นเอง จุดเริ่มต้นคือ การมีนักคิดและสร้างนักคิด นักพัฒนา เสริมพลัง เจ้าหน้าที่ภายในโรงพยาบาลให้เข้มแข็ง จนเกิดความเป็น “ทีมของพวกเรา” และ แผ่กระจายร้อยเรียงเข้ากับสถานีอนามัย เพื่อพร้อมรับทุกสถานการณ์ในการให้บริการ กับประชาชน กลยุทธ์การเชื่อมร้อยบริการปฐมภูมิให้เป็นเครือข่าย บทเรียนจาก CUP ชนบท 13
  • 14. บทเรียนจาก….CUP วังจันทร์ จังหวัดระยอง การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพระดับอ�ำเภอวังจันทร์ อ�ำเภอวังจันทร์ เป็นอ�ำเภอหนึ่งในแปดอ�ำเภอของจังหวัดระยอง มีอาณาเขต ติดต่อกับอ�ำเภอบ่อทองและอ�ำเภอหนองใหญ่ จังหวัดชลบุรี โดยมีถนนสายบ้านบึง-แกลง ตัดผ่านพื้นที่ของอ�ำเภอ อ�ำเภอวังจันทร์ รับผิดชอบ 4 ต�ำบล 29 หมู่บ้าน 5 ชุมชน อบต. 4 แห่ง เทศบาล 1 แห่ง ประชาชน 24,902 คน ประชาชนส่วนใหญ่มีอาชีพหลัก ได้แก่ เกษตรกรรม ท�ำสวนยางพารา สวนผลไม้ เช่น ทุเรียน มังคุด เงาะ อาชีพเสริม ได้แก่ รับจ้างในโรงงานอุตสาหกรรม รับจ้าง และค้าขาย หน่วยบริการสาธารณสุข 8 แห่ง คือ 1) รพ.สต.บ้านคลองเขต 2) รพ.สต. บ้านสันติสุข 3) รพ.สต.บ้านเขาสิงห์โต 4) รพ.สต.บ้านหนองม่วง 5) รพ.สต.บ้านวังจันทร์ 6) รพ.สต.บ้านพลงตาเอี่ยม 7) รพ.สต.บ้านเขาตาอิ๋น 8) โรงพยาบาลวังจันทร์ การจัดเครือข่ายบริการ CUP วังจันทร์ ได้มีการจัดรูปแบบของเครือข่ายหน่วย บริการปฐมภูมิ 2 รูปแบบ คือ 1) การจัดเครือข่ายบริการตามเกณฑ์ขึ้นทะเบียนหน่วยบริการปฐมภูมิและ ตามเกณฑ์การประเมิน On Top Payment ของส�ำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ การจัดรูปแบบเครือข่ายในรูปแบบนี้เป็นการจัดเพื่อเน้นการช่วยเหลือกันและกันภายใน เครือข่ายบริการในเรื่องของการจัดบริการด้านสุขภาพ การใช้งบประมาณและบุคลากร ร่วมกัน โดยแบ่งเครือข่าย ได้ดังนี้ 1.1 เครือข่ายบริการแม่ข่ายวังจันทร์ ประกอบไปด้วย หน่วยบริการปฐมภูมิ แม่ขาย คือ รพ.สต. วังจันทร์ ประกอบไปด้วยหน่วยบริการปฐมภูมลกข่าย คือ สอ.พลงตาเอียม ่ ิู ่ และ สอ.เขาตาอิ่น 1.2 เครอขายบรการแมขายคลองเขต ประกอบไปดวย หนวยบรการปฐมภมิ ื ่ ิ ่่ ้ ่ ิ ู แม่ข่าย รพ.สต คลองเขต ประกอบไปด้วยหน่วยบริการปฐมภูมิลูกข่าย คือ สอ.สันติสุข สอ.เขาสิงโตและ สอ.หนองม่วง 2) การจั ด เครื อ ข่ า ยบริ ก ารโรงพยาบาลส่ ง เสริ ม สุ ข ภาพต�ำบล ซึ่ ง การ จั ด รู ป แบบเครื อ ข ่ า ยในรู ป แบบนี้ เ ป ็ น การจั ด เพื่ อ เน ้ น ความสะดวกในการบริ ห ารงาน ด้านสาธารณสุขในระดับต�ำบล เช่น ในการประสานงานกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กลยุทธ์การเชื่อมร้อยบริการปฐมภูมิให้เป็นเครือข่าย 14 บทเรียนจาก CUP ชนบท
  • 15. การด�ำเนินงานในกองทุนหลักประกันสุขภาพต�ำบลและการแต่งตั้งคณะกรรมการบริหาร รพ.สต. เป็นต้น มีการแบ่งเครือข่ายเป็น 4 เครือข่าย โดยแยกเป็นรายต�ำบล ดังนี้ 2.1 เครือข่ายบริการ รพ.สต.วังจันทร์ (เป้าหมาย ปี 2552) มีสถาน บริการหลักคือ รพ.สต.วังจันทร์ รับผิดชอบในการดูแลสุขภาพประชาชนในต�ำบลวังจันทร์ เป็นสถานบริการในรูปแบบ รพ.สต.เดี่ยว 2.2 เครือข่ายบริการ รพ.สต.พลงตาเอี่ยม (เป้าหมาย ปี 2554) มีสถาน บริการหลักคือ รพ.สต.พลงตาเอี่ยม รับผิดชอบในการดูแลสุขภาพประชาชนในต�ำบล พลงตาเอี่ยม เป็นสถานบริการในรูปแบบ รพ.สต.เดี่ยว 2.3 เครือข่ายบริการ รพ.สต.คลองเขต (เป้าหมาย ปี 2553) มีสถานบริการ หลักคือ รพ.สต.คลองเขต และลูกข่าย คือ สอ.เขาสิงโต รับผิดชอบในการดูแลสุขภาพ ประชาชนในต�ำบลป่ายุบใน เป็นสถานบริการในรูปแบบ รพ.สต.เครือข่าย 2.4 เครือข่ายบริการ รพ.สต.สันติสุข(เป้าหมาย ปี 2554) มีสถานบริการ หลักคือ สอ.สันติสุข และลูกข่าย คือ สอ.เขาตาอิ๋นและ สอ. หนองม่วง รับผิดชอบใน การดูแลสุขภาพประชาชนในต�ำบลชุมแสง เป็นสถานบริการในรูปแบบ รพ.สต.เครือข่าย ลักษณะเด่นในการท�ำงานเครือข่ายบริการปฐมภูมิ CUP วังจันทร์ มีรูปแบบในการท�ำงาน ที่แตกต่างจาก CUP อื่นๆ ในจังหวัด ระยองหรือ CUP อื่นๆ ในประเทศ กล่าวคือ 1. การบริหารงานด้านสาธารณสุขของอ�ำเภอวังจันทร์ จะใช้คณะกรรมการ ชุดหลักที่เป็น CUP Board คือ คณะกรรมการประสานงานสาธารณสุขอ�ำเภอวังจันทร์ (คปสอ.วังจันทร์) โดยในคณะกรรมการ คปสอ.วังจันทร์ จะมีคณะกรรมการอ�ำนวยการ จ�ำนวน 15 ทาน ซงประกอบไปดวย ผบรหารของหนวยงานสาธารณสขในพนที่ นายกองคการ ่ ึ่ ้ ู้ ิ ่ ุ ื้ ์ ปกครองส่วนท้องถิ่น ตัวแทนภาคการศึกษาและ อสม. และมีการแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ (Core Team) ขึ้นมา 10 คณะ เพื่อเป็นคณะท�ำงานและประเมินผล ได้แก่ 1) คณะท�ำงาน และประเมินผลงานด้านคุมครองผู้บริโภค 2) คณะท�ำงานและประเมินผลงานด้านการ ควบคุมและป้องกันโรคติดต่อ 3) คณะท�ำงานและประเมินผลงานด้านข้อมูลและเทคโนโลยี 4) คณะท�ำงานและประเมิ น ผลงานด้ า นการแพทย์ ฉุ ก เฉิ น และระบบการส่ ง ต่ อ 5) คณะท�ำงานและประเมินผลงานด้านส่งเสริมสุขภาพและอบายมุข 6) คณะท�ำงานและ กลยุทธ์การเชื่อมร้อยบริการปฐมภูมิให้เป็นเครือข่าย บทเรียนจาก CUP ชนบท 15
  • 16. ประเมินผลงานด้านพัฒนาคุณภาพมาตรฐานบริการ 7) คณะท�ำงานและติดตามผลงาน ด้านการจัดบริการ การรักษาพยาบาลและฟื้นฟูสมรรถภาพ 8) คณะท�ำงานและประเมิน ผลงานด้านพัฒนาศักยภาพของอาสาสมัครสาธารณสุข 9) คณะท�ำงานและประเมินผล งานด้านโรคไม่ติดต่อและโรคเรื้อรัง 10) คณะท�ำงานและประเมินผลงานด้านการพัฒนา ศักยภาพ รพ.สต. และกองทุนฯต�ำบล คณะท�ำงานฯ ดังกล่าว ในแต่ละคณะ จะมีกรรมการ ที่เป็นทีมเจ้าหน้าที่สาธารณสุข ทั้ง 3 ส่วน คือ ในส่วนของ รพ.วังจันทร์ สสอ.วังจันทร์ และจาก รพ.สต. ทีมคณะท�ำงานฯ มีบทบาททั้งในด้านวิเคราะห์ข้อมูล จัดท�ำแผนงาน/ โครงการ ติดตามและเร่งรัดผลงาน ประเมินผลการด�ำเนินการ ข้อดีของการแต่งตั้งคณะกรรมการในรูปแบบนี้คือ ท�ำให้การท�ำงานในแต่ละด้าน มีความรวดเร็ว มีการวางแผนงานแบบบูรณาการ (ปฐมภูมิและทุตติยภูมิ) ส่วนใหญ่ของ เจ้าหน้าที่สาธารณสุข มีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาและพัฒนางานสาธารณสุข 2. การมอบหมายการด�ำเนินงานสาธารณสุขของ CUP วังจันทร์ ได้มีการ มอบหมายงานและพื้นที่ด�ำเนินงานให้เหมาะสมกับลักษณะงาน กล่าวคือ งานส่งเสริมและ ป้องกันโรค มอบหมายให้ สสอ.วังจันทร์ เป็นเจ้าภาพด�ำเนินงาน รับผิดชอบงาน ทุกพื้นที่ ของอ�ำเภอวังจันทร์ (ในเขตรับผิดชอบของ รพ.วังจันทร์และเขตรับผิดชอบของ รพ.สต.) งานรักษาพยาบาล งานฟื้นฟูสมรรถภาพ และงานพัฒนาคุณภาพบริการ มอบหมายให้ รพ.วังจันทร์ เป็นเจ้าภาพ รับผิดชอบงานทุกหน่วยบริการปฐมภูมิในพื้นที่ มีการจัดสรร งบประมาณ ตามเจ้าภาพผู้รับผิดชอบ 3. การด�ำเนินงานของ CUP วังจันทร์ จะใช้กลยุทธหลัก คือ การท�ำงานแบบ เป็นทีม ในลักษณะการลงแขก เช่น งานตรวจคัดกรองโรค (รูปแบบคาราวานส่งเสริม สุขภาพและป้องกันโรค) การตรวจ Pap Smear การตรวจสถานประกอบการด้านคุ้มครอง ผู้บริโภค หรือ การรณรงค์ควบคุมการระบาดของโรคระบาด 4. การส่งเสริมตัวแทนภาคชุมชนและประชาชน ให้มีบทบาทผ่านการท�ำงาน ด้านสาธารณสุข ในเวทีของคณะกรรมการบริหาร รพ.สต. และคณะกรรมการกองทุน สุขภาพต�ำบล สิ่งที่ภาคภูมิใจหรือท�ำได้ดี ตัวอย่างของสิ่งที่ท�ำได้ดี ก่อให้เกิดความภาคภูมิใจ ในระดับ CUP วังจันทร์ ได้แก่ 1. รพ.สต. ทุกแห่งในอ�ำเภอวังจันทร์ได้รับการพัฒนาศักยภาพ ตอบสนองความ กลยุทธ์การเชื่อมร้อยบริการปฐมภูมิให้เป็นเครือข่าย 16 บทเรียนจาก CUP ชนบท
  • 17. ต้องการของประชาชน มีการจัดตั้งคลินิก DM/HT/Asthma/COPD มีการตั้งคลินิกทันต กรรม ใน รพ.สต. ทุกแห่ง 2. มีระบบการสนับสนุนบริการในหลายๆด้าน ให้ รพ.สต. เช่น ระบบการ ก�ำจัดขยะติดเชื้อ ระบบ Set หัตการ ระบบ Speculum Center ระบบการส่งต่อ/Green Channel ระบบเวชภัณฑ์ที่รองรับการจัดบริการในคลินิกต่างๆของ รพ.สต. ระบบซ่อม บ�ำรุง ระบบการแลกเปลี่ยนข้อมูลความครอบคลุมของผลงาน การสนับสนุนทีมสหวิชาชีพ ในการให้บริการมนคลินิก/Home Ward/HHC 3. มี ก ารพัฒนานวัต กรรมที่ผ่านการด�ำเนิ น งานของ คณะกรรมการบริ ห าร รพ.สต.และกองทุนต�ำบล เช่น การใช้ม าตรการทางสังคมในการสร้ างความตระหนัก ของประชาชนในการก�ำจัดลูกน�้ำยุงลาย การพัฒนารูปแบบเชิงรุก เชิงรับในการตรวจ Pap Smear เป็นต้น 4. ประชาชนมีความพึงพอใจต่อการรับบริการในภาพรวมของ CUP มากกว่า ร้อยละ 86.75 โดยส่วนใหญ่พึงพอใจต่อระบบบริการแบบใกล้บ้านใกล้ใจ ของ รพ.สต. และ รพ.วังจันทร์ บทเรียน/ปัจจัยของความส�ำเร็จ 1. ผู้อ�ำนวยการโรงพยาบาลวังจันทร์ บริหารโดยเป็นผู้อ�ำนวยการของ CUP วังจันทร์ กล่าวคือ มองงานเต็มพื้นที่ พัฒนางานใน รพ.สต. ทุกแห่ง ไม่ได้พัฒนาเฉพาะ โรงพยาบาลวังจันทร์ 2. การท�ำงานเป็นทีมของเจ้าหน้าที่ในภาพ CUP วังจันทร์ 3. การให้ความส�ำคัญต่อการมีส่วนร่วมของประชาชน ในการวิเคราะห์ปัญหา การพัฒนาแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ การสร้างแผนงาน/โครงการโดยประชาชน เป็นต้น การมีเป้าหมายเป็นแผนยุทธศาสตร์เป็นหนึ่งเดียวร่วมกันทั้งอำ�เภอ คือ แผนที่ทางเดินสู่ความ สำ�เร็จของการให้บริการปฐมภูมิของที่น้ี การเชื่อมและร้อยเรียงหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเข้าด้วยกัน สร้างความสัมพันธ์ที่แนบแน่นด้วยเป้าหมายหนึ่งเดียว เป็นแนวคิดสำ�คัญของการดำ�เนินงาน บทเรียนนี้คือบทเรียนของการพัฒนาเชิงระบบ ขับเคลื่อนกลไกการให้บริการปฐมภูมิไปพร้อมกัน ผานตวประสานทเ่ี ขมแขง นนคอ คณะกรรมการประสานงานสาธารณสขระดบอ�เภอ (คปสอ.) ่ ั ้ ็ ้ั ื ุ ั ำ กลยุทธ์การเชื่อมร้อยบริการปฐมภูมิให้เป็นเครือข่าย บทเรียนจาก CUP ชนบท 17
  • 18. บทเรียนจาก...CUP หนองจิก จังหวัดปัตานี การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพระดับอ�ำเภออ�ำเภอหนองจิก อ�ำเภอหนองจิก ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกของจังหวัดปัตตานี แบ่งเขตการปกครอง ย่อยออกเป็น 12 ต�ำบล 76 หมู่บ้าน เทศบาลต�ำบล 2 แห่ง องค์การบริหารส่วนต�ำบล 11 แห่ง มีโรงพยาบาลชุมชนขนาด 30 เตียง 1 แห่ง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบล 15 แห่ง ประชากรในเขตรับผิดชอบประมาณ 73,000 คน ส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม ร้อยละ 87 มีอสม. 702 คน เป็นพื้นที่ที่ได้รับผลกระทบจากเหตุสถานการณ์ความไม่สงบ มาตั้งแต่ปี 2547 ระบบงานสาธารณสุขอ�ำเภอหนองจิก ด�ำเนินงานโดยคณะกรรมการประสานงาน สาธารณสุ ข ระดั บ อ�ำเภอ (คปสอ.) ซึ่ ง เป็ น ความร่ ว มมื อ ของโรงพยาบาลชุ ม ชน ส�ำนักงานสาธารณสุขอ�ำเภอ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบล และองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น โดยมีโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบล (รพ.สต) ทุกแห่งเป็นผู้ประสานงาน ส่งต่อข้อมูล และด�ำเนินงานร่วมกับชุมชน นอกจากนัน ยังมีการขยายเครือข่ายการด�ำเนินงาน ้ สู่องค์กรอื่นๆ เช่น เครือข่ายภาคประชาชน (อสม.) เครือข่ายผู้น�ำศาสนา เครือข่ายโรงเรียน เครือข่ายผู้พิการและผู้ได้รับผลกระทบ เป็นต้น มีการก�ำหนดนโยบายและเป้าหมายในการท�ำงานด้วยกัน จัดท�ำโครงการ พัฒนาระบบการดูแลประชาชนในชุมชน โดยค�ำนึงถึงประชาชนเป็นหลักเน้นการดูแล แบบรอบด้านในทุกมิติของชีวิตครอบคลุมต่อเนื่องและยั่งยืนมุ่งให้เกิดระบบสุขภาพเชิง รุกเพื่อเสริมสร้างสุขภาพดี ควบคู่กับการมีหลักประกันสุขภาพ และเข้าถึงบริการเมื่อยาม เจ็บป่วยหรือจ�ำเป็น โดยสังคมทุกส่วนและทุกระดับมีศักยภาพ และมีส่วนร่วมในการสร้าง และจัดระบบบริการสุขภาพ โดยการเรียนรูและใช้ประโยชน์จากภูมปญญาสากลและภูมปญญา ้ ิ ั ิ ั ในท้องถิ่น จากการด�ำเนิ น งานอย่ า งมุ ่ ง มั่ น ตั้ ง ใจของเจ้ า หน้ า ที่ ใ นพื้ น ที่ ข องโรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพต�ำบล การหนุนเสริมทั้งด้านวิชาการและงบประมาณของโรงพยาบาล ชุมชน ส�ำนักงานสาธารณสุขอ�ำเภอ เครือข่ายในและนอกระบบ ภาครัฐต่างๆ ส่งผล ให้ได้รับความร่วมมือจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และประชาชนในพื้นที่มีความมั่นใจ และไว้วางใจในเจ้าหน้าที่เข้ามีส่วนร่วมในการจัดบริการ ให้ข้อเสนอแนะและสนับสนุนงบ กลยุทธ์การเชื่อมร้อยบริการปฐมภูมิให้เป็นเครือข่าย 18 บทเรียนจาก CUP ชนบท
  • 19. ประมาณ เช่น ที่ รพ.สต.ยาบี มีการเปลี่ยนวันการให้บริการวัคซีนจากวันพุธเป็นศุกร์ที่ ประชาชนหยุดงานสามารถดูแลบุตรที่เป็นไข้หลังรับวัคซีนได้เต็มที่ จากเวทีประชาคม ประชาชนเข้าไม่ถึงบริการทันตกรรมมีการเสนอโดยประชาชนให้ท้องถิ่นจัดซื้อ Unit ฟันไว้ ให้บริการที่ รพ.สต.ยาบี และประสานให้โรงพยาบาลหนองจิกจัดทีมทันตแพทย์และทันตภิบาล ลงไปให้บริการ และเป็นต้นแบบให้ท้องถิ่นอื่นๆ เช่น ต�ำบลลิปะสะโงและต�ำบลปุโละปูโย ด�ำเนินตาม หรือจากสถานการณ์ความไม่สงบในพื้นที่อ�ำเภอหนองจิก ประชาชนไม่กล้า เดินทางไปรับยาที่โรงพยาบาลส่งผลให้ผู้ป่วยเรื้อรัง โรคความดันเบาหวาน ขาดยา มีการ เสนอให้มีการให้บริการคลินิกเรื้อรังที่ รพ.สต (สอ.ในขณะนั้น) ทางโรงพยาบาลได้ส่งทีม สหวิชาชีพมาให้บริการคลินิกเรื้อรังในทุก รพ.สต. ต่อมามีการพัฒนาพยาบาลให้เป็น พยาบาลเวชปฏิบัติ ให้บริการได้ในทุก รพ.สต และอีกหลายๆ เรื่อง ที่ส่งผลให้การพัฒนา ระบบบริการมีคุณภาพ เหมาะสม ตรงกับความต้องการของชุมชนที่แท้จริง เจ้าหน้าที่ได้รับ การดูแลจากชุมชนเป็นอย่างดีด้วยเช่นกัน หัวใจส�ำคัญของการพัฒนาและสร้างความร่วมมือระหว่างหน่วยงานในอ�ำเภอ หนองจิก คือ การท�ำให้หน่วยงานอื่นๆ เห็นคุณค่าการทุ่มเทของทีมงานและความจ�ำเป็น ที่ต้องร่วมกันดูแลประชาชนอย่างรอบด้านและต่อเนื่อง ช่วยสร้างให้ถึงชุมชนและสังคม ของเราเข ้ ม แข็ ง และมี ค วามสุ ข ส ่ ง ผลประชาชนในพื้ น ที่ มี คุ ณ ภาพชี วิ ต ที่ ดี แ ละยั่ ง ยื น อย ่ า งแท ้ จ ริ ง แม ้ พื้ น ที่ ข องเราจะมี ค วามต ่ า งกั น ในหลายด ้ า นแต ่ พื้ น ที่ ชุ ม ชนของเรา จะไม่แตกแยกกัน กลยุทธ์การเชื่อมร้อยบริการปฐมภูมิให้เป็นเครือข่าย บทเรียนจาก CUP ชนบท 19