SlideShare a Scribd company logo
1 of 4
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5- 6
ปีการศึกษา 2561
ชื่อโครงงาน สัญญาณเตือนคุณอาจเป็นโรคไบโพล่าร์
ชื่อผู้ทาโครงงาน
นางสาวสโรชา มูลรัตน์ เลขที่7 ชั้น ม.6 ห้อง10
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2561
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
นางสาวสโรชา มูลรัตน์ ชั้น 6/10 เลขที่7
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
สัญญาณเตือนคุณอาจเป็นโรคไบโพล่าร์
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
Warning Signs You May Have Bipolar Disorder
ประเภทโครงงาน เพื่อการศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวสโรชา มูลรัตน์
ชื่อที่ปรึกษา ครู เขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา2561
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน
ในปัจจุบันในโลกของเรามีการแข่งขันที่สูงทุกๆคนต้องแข่งกับตัวเอง คนอื่นๆ และเวลาที่กาลังหมุนไปเรื่อยๆ จึงทาให้
คนส่วนใหญ่กาลังตกอยู่ในสภาวะความเครียดความกดดันจนนาไปสูโรคซึมเศร้าและโรคไบโพล่าร์ได้ บางคนได้เป็นโรค
ไบโพล่าร์โดยที่ไม่รู้ตัว อาการของโรคไบโพล่าร์สามารถสังเกตุได้จากบุคลิกท่าทางการแสดงออกทางอารมณ์ของบุคคล
นั้นๆโรคนี้มีอาการพื้นฐานอยู่ทั้งหมด 4 อาการ ซึ่งอาการพื้นฐานเหล่านี้จะทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางอารมณ์
เรี่ยวแรง และความคล่องตัว และยังส่งผลกระทบต่อสิ่งที่เราต้องรับผิดชอบในชีวิตประจาวันรวมทั้งหน้าที่การงาน
โดยทั่วไปผู้ที่เป็นโรคไบโพล่าร์จะเผชิญกับภาวะที่เรียกว่า Manic Episode คือ ความผิดปกติที่เกิดขึ้นในช่วงหนึ่งของ
โรคไบโพลาร์ เป็นช่วงที่ผู้ป่วยมีอาการฟุ้งพล่าน (Mania) ซึ่งจะเกิดสลับกับช่วงที่มีอาการซึมเศร้า (Depressive
Episode) อาการที่เกิดขึ้นในช่วง Manic Episode ได้แก่ อยู่ไม่สุข ชอบทางานหรือลุกเดินไปมา ความคิดแล่นเร็ว พูด
เร็ว ความต้องการในการนอนน้อยลงหรือไม่อยากนอนหงุดหงิดง่าย ตัดสินใจไม่เหมาะสม ไม่มีสมาธิ และอาจทา
อันตรายต่อผู้ใกล้ชิด ยิ่งไปกว่านั้นผู้ป่วยบางรายอาจจะเผชิญกับภาวะ Hypomanic Episode ซึ่งจะมีความรุนแรง
น้อยกว่า Manic Episode อาการของโรคไบโพล่าร์สามารถรักษาให้หายได้หากเราให้ความสาคัญและใส่ใจต่ออาการ
เหล่านี้ให้มากขึ้น
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ
1. เพื่อศึกษาอาการของผู้ป่วยโรคไบโพล่าร์
2. เพื่อสังเกตอาการของตนเองและบุคคนรอบข้างที่มีความเสี่ยงต่ออาการโรคไบโพล่าร์
3. ให้แนวคิดและการปฏิบัติที่ถูกวิธีเกียวกับโรคไบโพล่าร์
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน
1. สาเหตุของโรคไบโพล่าร์
2. กลุ่มผู้ที่มีความเสี่ยงเป็นโรคไบโพล่าร์
3
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน
“ไบโพลาร์คืออะไร”
“ไบโพลาร์” หรือโรคอารมณ์สองขั้ว (Bipolar Disorder) เป็นหนึ่งในกลุ่มโรคอารมณ์ผิดปกติที่พบได้บ่อยในทั่วโลก
ประมาณ 1-2% ของอาการป่วยทางจิต
“อะไรคือสาเหตุของการเกิดโรค”
ประกอบด้วยหลายปัจจัย หนึ่งในนั้นคืออาการผิดปกติของสมองหรือความผิดปกติของระบบฮอร์โมนต่างๆ ใน
ร่างกายที่ทาให้การสมองส่วนที่ควบคุม
ดูอย่างไร?...ใครเป็นไบโพลาร์
สาหรับผู้ที่มีแนวโน้มเป็นโรคไบโพลาร์ อาจจะมีอาการเบื้องต้น ยกตัวอย่าง ซึมเศร้า เก็บตัว เสียใจง่าย ร้องไห้
ง่าย เหนื่อยหน่าย
“รักษาได้ไหม?”
ได้! ดังนั้นหากคนรู้จักของใครที่มีอาการเข้าข่าย ควรรีบนาผู้ป่วยไปพบแพทย์หรือปรึกษาแพทย์โดยด่วน เพราะโรคนี้
รักษาให้หายได้
“แล้วหายได้อย่างไร?”
หากแพทย์วินิจฉัยว่าบุคคลนั้นเป็นโรคอารมณ์สองขั้วแล้ว ก็จะเริ่มให้รับประทานยาเพื่อปรับอารมณ์ อาทิ กลุ่มยาต้าน
โรคจิต (Antipsychotics)กลุ่มยาต้านซึมเศร้า (Antidepressants)และกลุ่มยาคลายกังวล (Antianxiety
medications) เป็นต้น ผู้ป่วยส่วนใหญ่จะหายจากอาการใน 2-8 สัปดาห์ และกลับมาใช้ชีวิตได้ตามปกติ
“เคล็ด(ไม่)ลับ ช่วยให้หายเร็วขึ้น”
ผู้ป่วยโรคนี้ต้องการกาลังใจและความเข้าใจเป็นอย่างมาก หากคนใกล้ตัวของคุณเป็นโรคนี้ หลังจากพาเขาไปพบ
แพทย์ คุณควรเป็นส่วนหนึ่งในกาลังใจให้เขา เพื่อให้เขารู้ว่าตัวเองยังมีคนคอยสนับสนุน พูดคุยให้คาปรึกษา จากนั้นก็
พาเขาออกไปทากิจกรรมอื่นๆ อาทิ ออกกาลังกาย รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ รวมถึงดูแลให้มีการพักผ่อนอย่าง
เพียงพอ เท่านี้อาการของโรคก็จะค่อยๆหายไป
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
1. หาผู้คนเพื่อที่จะเข้ามาเป็นกลุ่มตัวอย่างในการศึกษา
2. พูดคุยและดูอาการความเสี่ยงของโรคไบโพล่าร์
3. ให้คาแนะนาในการรักษา
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
1. คอมพิวเตอร์ไว้สาหรับบันทึกข้อมูลต่างๆ
2. สื่อที่ช่วยให้ผู้ป่วยดูแล้วเกิดความสบายใจ
4
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดั
บ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
12
1
3
1
4
1
5
1
6
1
7
สโรชา
1 คิดหัวข้อโครงงาน ü สโรชา
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล ü สโรชา
3 จัดทาโครงร่างงาน ü สโรชา
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน ü สโรชา
5 ปรับปรุงทดสอบ ü สโรชา
6 การทาเอกสารรายงาน ü สโรชา
7 ประเมินผลงาน ü สโรชา
8 นาเสนอโครงงาน ü สโรชา
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน
จะช่วยให้ผู้ที่มีความเสี่ยงหรือที่กาลังเป็นโรคไบโพล่าร์มีความสบายใจและได้กาลังใจจากคาแนะนาที่ดี
สถานที่ดาเนินการ
โรงพยาบาล
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
ชีววิทยาและสุขศึกษา
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน
ttps://www.honestdocs.co/understanding-bipolar

More Related Content

What's hot

2562 final-project 22
2562 final-project 222562 final-project 22
2562 final-project 22ssuser8b25961
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์isaka123
 
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์Akira Adulyanubhap
 
โครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอมโครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอมeyecosmomo
 
เต้นะไอสาส
เต้นะไอสาสเต้นะไอสาส
เต้นะไอสาส2793233922
 
Bipolar disorder in adolescents
Bipolar disorder in adolescentsBipolar disorder in adolescents
Bipolar disorder in adolescentsIssalaratJaiaree
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์kooker
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Rachan Potaya
 
2560 project .pdf1
2560 project .pdf12560 project .pdf1
2560 project .pdf1achirayaRchi
 
2560 project -1-1
2560 project -1-12560 project -1-1
2560 project -1-1rungthiwa_
 
โครงงานเปรม
โครงงานเปรมโครงงานเปรม
โครงงานเปรมThanakorn Intrarat
 
2562 final-project 34-610
2562 final-project 34-6102562 final-project 34-610
2562 final-project 34-610ssuser015151
 

What's hot (20)

Work1
Work1Work1
Work1
 
2562 final-project 22
2562 final-project 222562 final-project 22
2562 final-project 22
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
 
โครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอมโครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอม
 
เต้นะไอสาส
เต้นะไอสาสเต้นะไอสาส
เต้นะไอสาส
 
Bipolar disorder in adolescents
Bipolar disorder in adolescentsBipolar disorder in adolescents
Bipolar disorder in adolescents
 
แบบร่างโครงงานคอม
แบบร่างโครงงานคอมแบบร่างโครงงานคอม
แบบร่างโครงงานคอม
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2560 project .pdf1
2560 project .pdf12560 project .pdf1
2560 project .pdf1
 
2560 project -1-1
2560 project -1-12560 project -1-1
2560 project -1-1
 
2561 project
2561 project 2561 project
2561 project
 
โครงงานเปรม
โครงงานเปรมโครงงานเปรม
โครงงานเปรม
 
Sasawat
SasawatSasawat
Sasawat
 
Kittapad
KittapadKittapad
Kittapad
 
Lin
LinLin
Lin
 
2562 final-project 34-610
2562 final-project 34-6102562 final-project 34-610
2562 final-project 34-610
 
05 606 2561-1
05 606 2561-105 606 2561-1
05 606 2561-1
 

Similar to 2561 project (6)

ภาคิน
ภาคิน ภาคิน
ภาคิน Wi Nit
 
2562 final-project 0710
2562 final-project 07102562 final-project 0710
2562 final-project 0710noey2846
 
2561 project
2561 project2561 project
2561 projectNewTF
 
2561 project07
2561 project07 2561 project07
2561 project07 PPhumin
 
ใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ไข้เลือดออก
ใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ไข้เลือดออกใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ไข้เลือดออก
ใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ไข้เลือดออกselenagomezz
 
2558 โปรเจ็ค
2558 โปรเจ็ค2558 โปรเจ็ค
2558 โปรเจ็คayatsuji
 
พลาสเตอร์มะลิ
พลาสเตอร์มะลิพลาสเตอร์มะลิ
พลาสเตอร์มะลิchompunutuknow
 
Piyawatn 09 603
Piyawatn 09 603Piyawatn 09 603
Piyawatn 09 603WatanyaSao
 
Influenza
 Influenza Influenza
InfluenzaNutvipa
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ 2561
โครงงานคอมพิวเตอร์ 2561โครงงานคอมพิวเตอร์ 2561
โครงงานคอมพิวเตอร์ 2561NodChaa
 
2561 project 9999
2561 project    99992561 project    9999
2561 project 9999dalika
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานkkkkkkamonnat
 

Similar to 2561 project (6) (20)

Project1
Project1Project1
Project1
 
ภาคิน
ภาคิน ภาคิน
ภาคิน
 
Beopgjeopf
BeopgjeopfBeopgjeopf
Beopgjeopf
 
2562 final-project 0710
2562 final-project 07102562 final-project 0710
2562 final-project 0710
 
Trans fatty acids
Trans fatty acidsTrans fatty acids
Trans fatty acids
 
2561 project 606.09
2561 project  606.092561 project  606.09
2561 project 606.09
 
2561 project
2561 project2561 project
2561 project
 
2561 project07
2561 project07 2561 project07
2561 project07
 
Com 2560
Com 2560Com 2560
Com 2560
 
้้้project01
้้้project01้้้project01
้้้project01
 
ใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ไข้เลือดออก
ใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ไข้เลือดออกใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ไข้เลือดออก
ใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ไข้เลือดออก
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
2558 โปรเจ็ค
2558 โปรเจ็ค2558 โปรเจ็ค
2558 โปรเจ็ค
 
พลาสเตอร์มะลิ
พลาสเตอร์มะลิพลาสเตอร์มะลิ
พลาสเตอร์มะลิ
 
Piyawatn 09 603
Piyawatn 09 603Piyawatn 09 603
Piyawatn 09 603
 
Influenza
 Influenza Influenza
Influenza
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ 2561
โครงงานคอมพิวเตอร์ 2561โครงงานคอมพิวเตอร์ 2561
โครงงานคอมพิวเตอร์ 2561
 
2561 project 9999
2561 project    99992561 project    9999
2561 project 9999
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน
 
As
AsAs
As
 

2561 project (6)

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5- 6 ปีการศึกษา 2561 ชื่อโครงงาน สัญญาณเตือนคุณอาจเป็นโรคไบโพล่าร์ ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวสโรชา มูลรัตน์ เลขที่7 ชั้น ม.6 ห้อง10 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2561 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ นางสาวสโรชา มูลรัตน์ ชั้น 6/10 เลขที่7 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) สัญญาณเตือนคุณอาจเป็นโรคไบโพล่าร์ ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Warning Signs You May Have Bipolar Disorder ประเภทโครงงาน เพื่อการศึกษา ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวสโรชา มูลรัตน์ ชื่อที่ปรึกษา ครู เขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา2561 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน ในปัจจุบันในโลกของเรามีการแข่งขันที่สูงทุกๆคนต้องแข่งกับตัวเอง คนอื่นๆ และเวลาที่กาลังหมุนไปเรื่อยๆ จึงทาให้ คนส่วนใหญ่กาลังตกอยู่ในสภาวะความเครียดความกดดันจนนาไปสูโรคซึมเศร้าและโรคไบโพล่าร์ได้ บางคนได้เป็นโรค ไบโพล่าร์โดยที่ไม่รู้ตัว อาการของโรคไบโพล่าร์สามารถสังเกตุได้จากบุคลิกท่าทางการแสดงออกทางอารมณ์ของบุคคล นั้นๆโรคนี้มีอาการพื้นฐานอยู่ทั้งหมด 4 อาการ ซึ่งอาการพื้นฐานเหล่านี้จะทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางอารมณ์ เรี่ยวแรง และความคล่องตัว และยังส่งผลกระทบต่อสิ่งที่เราต้องรับผิดชอบในชีวิตประจาวันรวมทั้งหน้าที่การงาน โดยทั่วไปผู้ที่เป็นโรคไบโพล่าร์จะเผชิญกับภาวะที่เรียกว่า Manic Episode คือ ความผิดปกติที่เกิดขึ้นในช่วงหนึ่งของ โรคไบโพลาร์ เป็นช่วงที่ผู้ป่วยมีอาการฟุ้งพล่าน (Mania) ซึ่งจะเกิดสลับกับช่วงที่มีอาการซึมเศร้า (Depressive Episode) อาการที่เกิดขึ้นในช่วง Manic Episode ได้แก่ อยู่ไม่สุข ชอบทางานหรือลุกเดินไปมา ความคิดแล่นเร็ว พูด เร็ว ความต้องการในการนอนน้อยลงหรือไม่อยากนอนหงุดหงิดง่าย ตัดสินใจไม่เหมาะสม ไม่มีสมาธิ และอาจทา อันตรายต่อผู้ใกล้ชิด ยิ่งไปกว่านั้นผู้ป่วยบางรายอาจจะเผชิญกับภาวะ Hypomanic Episode ซึ่งจะมีความรุนแรง น้อยกว่า Manic Episode อาการของโรคไบโพล่าร์สามารถรักษาให้หายได้หากเราให้ความสาคัญและใส่ใจต่ออาการ เหล่านี้ให้มากขึ้น วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ 1. เพื่อศึกษาอาการของผู้ป่วยโรคไบโพล่าร์ 2. เพื่อสังเกตอาการของตนเองและบุคคนรอบข้างที่มีความเสี่ยงต่ออาการโรคไบโพล่าร์ 3. ให้แนวคิดและการปฏิบัติที่ถูกวิธีเกียวกับโรคไบโพล่าร์ ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน 1. สาเหตุของโรคไบโพล่าร์ 2. กลุ่มผู้ที่มีความเสี่ยงเป็นโรคไบโพล่าร์
  • 3. 3 หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน “ไบโพลาร์คืออะไร” “ไบโพลาร์” หรือโรคอารมณ์สองขั้ว (Bipolar Disorder) เป็นหนึ่งในกลุ่มโรคอารมณ์ผิดปกติที่พบได้บ่อยในทั่วโลก ประมาณ 1-2% ของอาการป่วยทางจิต “อะไรคือสาเหตุของการเกิดโรค” ประกอบด้วยหลายปัจจัย หนึ่งในนั้นคืออาการผิดปกติของสมองหรือความผิดปกติของระบบฮอร์โมนต่างๆ ใน ร่างกายที่ทาให้การสมองส่วนที่ควบคุม ดูอย่างไร?...ใครเป็นไบโพลาร์ สาหรับผู้ที่มีแนวโน้มเป็นโรคไบโพลาร์ อาจจะมีอาการเบื้องต้น ยกตัวอย่าง ซึมเศร้า เก็บตัว เสียใจง่าย ร้องไห้ ง่าย เหนื่อยหน่าย “รักษาได้ไหม?” ได้! ดังนั้นหากคนรู้จักของใครที่มีอาการเข้าข่าย ควรรีบนาผู้ป่วยไปพบแพทย์หรือปรึกษาแพทย์โดยด่วน เพราะโรคนี้ รักษาให้หายได้ “แล้วหายได้อย่างไร?” หากแพทย์วินิจฉัยว่าบุคคลนั้นเป็นโรคอารมณ์สองขั้วแล้ว ก็จะเริ่มให้รับประทานยาเพื่อปรับอารมณ์ อาทิ กลุ่มยาต้าน โรคจิต (Antipsychotics)กลุ่มยาต้านซึมเศร้า (Antidepressants)และกลุ่มยาคลายกังวล (Antianxiety medications) เป็นต้น ผู้ป่วยส่วนใหญ่จะหายจากอาการใน 2-8 สัปดาห์ และกลับมาใช้ชีวิตได้ตามปกติ “เคล็ด(ไม่)ลับ ช่วยให้หายเร็วขึ้น” ผู้ป่วยโรคนี้ต้องการกาลังใจและความเข้าใจเป็นอย่างมาก หากคนใกล้ตัวของคุณเป็นโรคนี้ หลังจากพาเขาไปพบ แพทย์ คุณควรเป็นส่วนหนึ่งในกาลังใจให้เขา เพื่อให้เขารู้ว่าตัวเองยังมีคนคอยสนับสนุน พูดคุยให้คาปรึกษา จากนั้นก็ พาเขาออกไปทากิจกรรมอื่นๆ อาทิ ออกกาลังกาย รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ รวมถึงดูแลให้มีการพักผ่อนอย่าง เพียงพอ เท่านี้อาการของโรคก็จะค่อยๆหายไป วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน 1. หาผู้คนเพื่อที่จะเข้ามาเป็นกลุ่มตัวอย่างในการศึกษา 2. พูดคุยและดูอาการความเสี่ยงของโรคไบโพล่าร์ 3. ให้คาแนะนาในการรักษา เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ 1. คอมพิวเตอร์ไว้สาหรับบันทึกข้อมูลต่างๆ 2. สื่อที่ช่วยให้ผู้ป่วยดูแล้วเกิดความสบายใจ
  • 4. 4 ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดั บ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 12 1 3 1 4 1 5 1 6 1 7 สโรชา 1 คิดหัวข้อโครงงาน ü สโรชา 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล ü สโรชา 3 จัดทาโครงร่างงาน ü สโรชา 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน ü สโรชา 5 ปรับปรุงทดสอบ ü สโรชา 6 การทาเอกสารรายงาน ü สโรชา 7 ประเมินผลงาน ü สโรชา 8 นาเสนอโครงงาน ü สโรชา ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน จะช่วยให้ผู้ที่มีความเสี่ยงหรือที่กาลังเป็นโรคไบโพล่าร์มีความสบายใจและได้กาลังใจจากคาแนะนาที่ดี สถานที่ดาเนินการ โรงพยาบาล กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง ชีววิทยาและสุขศึกษา แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน ttps://www.honestdocs.co/understanding-bipolar