SlideShare a Scribd company logo
1 of 13
บทที่ 6 
การใช้งานฟอร์มกับ PHP 
ฟอร์มทำหน้าที่ในการติดต่อสื่อสารหรือโต้ตอบกับผู้ใช้เว็บไซต์ในลักษณะการรับส่งข้อมูล เมื่อ 
ผู้ใช้กรอกข้อมูลในฟอร์มและคลิกปุ่มส่งข้อมูล ข้อมูลเหล่านั้นก็จะถูกส่งไปประมวลผลที่เซิร์ฟเวอร์ ฟอร์มจะประกอบไป 
ด้วยอ็อบเจ็คต์ต่างๆ ซึ่งแต่ละอ็อบเจ็คต์ก็มีลักษณะการโต้ตอบกับผู้ใช้แตกต่างกันไป รายละเอียดการทำงานแต่ละอ็อบเจ็คต์จะ 
กล่าวถึงในลำดับต่อไป นอกจากนั้นภายในแท็กฟอร์มยังมีพารามิเตอร์ที่เราสามารถกำหนดค่าเป็นการระบุให้ส่งค่าไปยังไฟล์ 
สคริปต์บนเซิร์ฟเวอร์หรือโปรแกรมอื่นๆ เพื่อทำหน้าที่ประมวลผลข้อมูลที่ถูกส่งมากับฟอร์มได้อีกด้วย 
รูปแสดงการทำงานของฟอร์ม 
วิธีการทำงานของฟอร์ม 
จากรูปด้านบน แสดงวิธีการทำงานของฟอร์มดังนี้ 
1) เริ่มต้นเมื่อผู้ใช้กรอกแบบฟอร์มบนเว็บเพจและคลิกปุ่มส่งข้อมูลมาที่เว็บเซิร์ฟเวอร์ 
2) ข้อมูลจากฟอร์มจะถูกประมวลผลที่ไฟล์ PHP, ASP หรือไฟล์ CGI อื่นๆบนเว็บเซิร์ฟเวอร์ 
3) เมื่อประมวลผลเสร็จแล้ว ผลลัพธ์จะถูกส่งกลับไปให้ผู้ใช้ในรูปแบบเอกสาร HTML เพื่อให้เว็บเบราเซอร์แสดงผล 
dulyawat@hotmail.com การใช้งานฟอร์มกับ PHP 33
การสร้างและใช้งานฟอร์มกับ PHP 
ขั้นตอนการสร้างฟอร์ม: 
1. เปิดโปรแกรม Dreamweaver คลิกเมนู File > New จะปรากฏไดอะล็อก New Document ขึ้นมา ให้คลิกแท็บ General 
เลือก Dynamic Page > PHP หลังจากนั้นคลิกปุ่ม Create บันทึกเป็นไฟล์ form.php 
2. ที่หน้าจอของเว็บเพจ ให้คลิกเพื่อวางเคอร์เซอร์ในตำแหน่งที่ต้องการสร้างฟอร์ม หลังจากนั้นคลิกที่เมนู 
Insert > Form > Form ฟอร์มจะถูกแทรกลงในเว็บเพจ หากอยู่ใน Design View จะเห็นขอบเขตของฟอร์มแสดงเป็น 
เส้นประสีแดง (หากไม่มีเส้นประสีแสดงขึ้นมา ให้คลิกที่เมนู View > Visual Aids > Invisible Elements) 
รูปแสดงเว็บเพจที่แทรกฟอร์ม 
3. คลิกวางตำแหน่งเคอร์เซอร์ลงภายในขอบเขตของฟอร์ม หลังจากนั้นให้คลิกเลือกแท็ก <form> จาก Tag Selector บริเวณ 
ขอบล่างซ้ายของเว็บเพจ เมื่อปรากฏไดอะล็อก Properties ช่อง Form Name ให้กำหนดชื่อของฟอร์ม เท่ากับ fmProcess 
ชื่อของฟอร์มนี้จะถูกใช้เพื่ออ้างอิงในสคริปต์ PHP 
รูปแสดง Property ของฟอร์ม 
4. ไดอะล็อก Properties ช่อง Action ให้กำหนดชื่อไฟล์ หรือ URL ของสคริปต์ที่จะใช้ในการประมวลผลฟอร์ม เท่ากับ 
formprocess.php (หากต้องการระบุเป็น URL ให้พิมพ์เป็น http://localhost/phpweb/formprocess.php) 
dulyawat@hotmail.com การใช้งานฟอร์มกับ PHP 34
5. ไดอะล็อก Properties ช่อง Method ให้เลือกรูปแบบการส่งข้อมูลจากฟอร์มไปที่เว็บเซิร์ฟเวอร์ ซึ่งมีให้เลือก 3 รูปแบบ คือ 
การทำงานของ METHOD: 
• 
POST ส่งข้อมูลโดยส่งข้อมูลส่งไปกับ HTTP Request 
• 
GET ส่งข้อมูลโดยการแปะค่าเป็น URL Parameter (Query String) ไปกับ URL (ข้อมูลที่ส่งจะแสดงอยู่ 
บน URL ของเว็บเบราเซอร์) 
• 
DEFAULT ส่งข้อมูลโดยขึ้นอยู่กับค่า default ของเว็บเบราเซอร์ โดยปกติจะเป็นแบบ GET 
NOTE: วิธีการส่งข้อมูลแบบ GET ไม่ควรใช้กับฟอร์มที่มีการส่งข้อมูลจำนวนมาก รวมทั้งไม่ควรใช้ในการส่งข้อมูลที่ 
เป็นความลับ เช่น username, password หรือเลขที่บัตรเครดิต เป็นต้น เนื่องจากวิธีการส่งแบบ GET นี้ ข้อมูลที่เราส่งจะ 
ถูกแสดงบน URL เช่น http://localhost/phpweb/detail.php?empid=01020489 
6. ไดอะล็อก Properties ช่อง Enctype ให้ระบุชนิดของการเข้ารหัสข้อมูล โดยค่า default ของ Enctype จะเป็น 
application/x-www-form-urlencode ซึ่งจะถูกใช้ร่วมกับ method แบบ POST หากใช้ฟอร์มในการอัปโหลดไฟล์ ให้เลือก 
Enctype เป็นแบบ multipart/form-data 
7. ไดอะล็อก Properties ช่อง Target ให้พิมพ์ชื่อหน้าจอของเว็บเบราเซอร์ที่ต้องการแสดงผลลัพธ์ของฟอร์มหรือเลือกจาก 
รายการที่กำหนดไว้ให้ หากเว็บเบราเซอร์ยังไม่มีชื่อหน้าจอที่ระบุ เว็บเบราเซอร์จะสร้างหน้าจอชื่อที่ระบุขึ้นมาใหม่ 
ตัวเลือกที่กำหนดไว้ให้ในช่อง Target 
การทำงานของ TARGET: 
• 
_blank ผลลัพธ์ของฟอร์มจะแสดงที่หน้าจอเว็บเบราเซอร์ที่สร้างขึ้นมาใหม่ 
• 
_parent ผลลัพธ์ของฟอร์มจะแสดงที่หน้าจอหลัก (parent) ของหน้าจอเว็บเบราเซอร์ขณะนั้น 
• 
_self ผลลัพธ์จะแสดงที่หน้าจอเว็บเบราเซอร์เดียวกับฟอร์ม 
• 
_top ผลลัพธ์ของฟอร์มจะแสดงที่หน้าจอหลัก ในกรณีที่หน้าจอเว็บเบราเซอร์แบ่งเป็นหลายเฟรม 
8. คลิกปุ่ม Code View เพื่อเขียนโค้ด HTML ดังรูปด้านล่าง หลังจากนั้นบันทึกไฟล์ form.php 
<html> 
<body> 
<form action="formprocess.php" method="POST" name="fmProcess"> 
ชื่อ: <input name="firstname" type="text" size="32" maxlength="30"> <br> 
นามสกุล: <input name="lastname" type="text" size="32" maxlength="30"> <br> 
<input name="btnSubmit" type="submit" value="บันทึก"> 
<input name="btnReset" type="reset" value="ยกเลิก"> 
</form> 
</body> 
</html> 
รูปแสดงโค้ดไฟล์ form.php 
dulyawat@hotmail.com การใช้งานฟอร์มกับ PHP 35
9. เปิดโปรแกรม Dreamweaver คลิกเมนู File > New จะปรากฏไดอะล็อก New Document ขึ้นมา ให้คลิกแท็บ General 
เลือก Dynamic Page > PHP คลิกปุ่ม Create หลังจากนั้นให้เพื่อเขียนโค้ด PHP ดังรูปด้านล่าง บันทึกเป็นไฟล์ 
formprocess.php 
<html> 
<body> 
<?php 
echo "ชื่อ: " . $_POST['firstname'] . "<br>"; 
echo "นามสกุล: " . $_POST['lastname'] . "<br>"; 
?> 
</body> 
</html> 
รูปแสดงโค้ดไฟล์ formprocess.php 
10. ทดสอบการทำงานของฟอร์ม โดยเปิด Dreamweaver ไปที่หน้าจอไฟล์ form.php หลังจากนั้นกดปุ่ม F12 จะปรากฏ 
หน้าจอ Internet Explorer เป็นแบบฟอร์มกรอกข้อมูล ให้กรอกข้อมูล แล้วคลิกปุ่ม "บันทึก" ให้สังเกตผลลัพธ์การทำงาน 
ของเว็บเพจ 
รูปแสดงการทำงานของไฟล์ form.php 
รูปแสดงการทำงานของไฟล์ formprocess.php 
11. เปลี่ยน METHOD ของฟอร์มในไฟล์ form.php จาก METHOD="POST" เป็น METHOD="GET" 
12. เปลี่ยนชื่อตัวแปรในไฟล์ formprocess.php จาก $_POST['firstname’] เป็น $_GET['firstname'] 
และ $_POST['lastname'] เป็น $_GET['lastname'] 
13. ทดสอบการทำงานของฟอร์มใหม่อีกครั้ง ให้สังเกตผลลัพธ์การทำงานของเว็บเพจ 
dulyawat@hotmail.com การใช้งานฟอร์มกับ PHP 36
อ็อบเจ็คต์ คือส่วนของฟอร์มที่ใช้ในการรับข้อมูลจากผู้ใช้ ก่อนที่จะแทรกอ็อบเจ็คต์ลงบนเว็บเพจ ต้องมีการสร้าง 
หรือแทรกฟอร์มลงในเว็บเพจก่อนเสมอ หากมีการแทรกอ็อบเจ็คต์ลงในส่วนที่ไม่มีฟอร์ม Dreamweaver จะถามโดย 
ปรากฏไดอะล็อก “Add form tags?” ให้เลือก Yes เพื่อให้ Dreamweaver สร้างแท็กฟอร์มสำหรับอ็อบเจ็คต์นั้น 
รูปแสดงฟอร์มและอ็อบเจ็คต์บน Insert Bar 
การใช้งานอ็อบเจ็คต์ Text Field 
อ็อบเจ็คต์ชนิด Text Field จะมีหน้าที่ในการรับค่าข้อมูล เพื่อใช้ในการจัดเก็บข้อมูลหรือส่งค่าบางอย่างที่ต้องการ 
ค้นหา เช่น ใช้ในการค้นหาข้อมูล (Search Engine) เป็นต้น 
วิธีการสร้าง Text Field ทำได้โดยการคลิกเมนู Insert > Form > Text Field เสร็จแล้วให้กำหนดคุณสมบัติของ 
Text Field โดยให้คลิกเลือกที่ Text Field ในเว็บเพจ หลังจากนั้นให้ไปที่เมนู Window > Properties จะปรากฏคุณสมบัติของ 
Text Field แสดงในไดอะล็อก Properties 
รูปแสดง Property ของอ็อบเจ็คต์ Text Field แบบ Single line 
คุณสมบัติของอ็อบเจ็คต์ Text Field: 
• 
TextField กำหนดชื่อของอ็อบเจ็คต์ Text Field 
• 
Char Width กำหนดความกว้างของ Text Field 
• 
Max Chars กำหนดจำนวนตัวอักษรสูงสุดที่กรอกข้อมูลได้ของ Text Field 
• 
Type กำหนดชนิดของ Text Field มี 3 ลักษณะ คือ 
การใช้งานอ็อบเจ็คต์ของฟอร์มชนิดต่างๆ 
dulyawat@hotmail.com การใช้งานฟอร์มกับ PHP 37
o 
Single Line กำหนดให้แสดงเป็นแบบบรรทัด (Textarea) 
o 
Multi Line กำหนดให้แสดงเป็นแบบหลายบรรทัด 
o 
Password กำหนดให้แสดงแบบรหัสผ่าน 
• 
Init Val กำหนดค่าเริ่มต้น 
รูปแสดงการใช้งานอ็อบเจ็คต์ Text Field 
การใช้งานอ็อบเจ็คต์ Textarea 
อ็อบเจ็คต์ชนิด Textarea จะมีหน้าที่ในการรับค่าข้อมูลที่มีขนาดใหญ่ เช่น ที่อยู่ เป็นต้น 
วิธีการสร้าง Text Field ทำได้โดยการคลิกเมนู Insert > Form > Textarea เสร็จแล้วให้กำหนดคุณสมบัติของ 
Textarea โดยให้คลิกเลือกที่ Textarea ในเว็บเพจ หลังจากนั้นให้ไปที่เมนู Window > Properties จะปรากฏคุณสมบัติของ 
Textarea แสดงในไดอะล็อก Properties 
รูปแสดง Property ของอ็อบเจ็คต์ Textarea 
คุณสมบัติของอ็อบเจ็คต์ Textarea: 
• 
TextField กำหนดชื่อของอ็อบเจ็คต์ Textarea 
• 
Char Width กำหนดความกว้างของ Textarea 
• 
Max Chars กำหนดจำนวนตัวอักษรสูงสุดที่กรอกข้อมูลได้ของ Textarea 
• 
Type กำหนดชนิดของ Textarea คือ Multi Line 
• 
Init Val กำหนดค่าเริ่มต้น 
dulyawat@hotmail.com การใช้งานฟอร์มกับ PHP 38
รูปแสดงการใช้งานอ็อบเจ็คต์ Textarea 
การใช้งานอ็อบเจ็คต์ Button 
อ็อบเจ็คต์ชนิด Button มักถูกนำมาใช้เพื่อทำหน้าที่ในการยืนยันการเพิ่มข้อมูล แก้ไขข้อมูล การลบข้อมูล หรือยกเลิก 
การใช้งาน 
วิธีการสร้าง Button ทำได้โดยการคลิกเมนู Insert > Form > Button เสร็จแล้วให้กำหนดคุณสมบัติของ Button 
โดยให้คลิกเลือกที่ Button ในเว็บเพจ หลังจากนั้นให้ไปที่เมนู Window > Properties จะปรากฏคุณสมบัติของ Button แสดง 
ในไดอะล็อก Properties 
รูปแสดง Property ของอ็อบเจ็คต์ Button 
คุณสมบัติของอ็อบเจ็คต์ Button: 
• 
Button name กำหนดชื่อของอ็อบเจ็คต์ Button 
• 
Label กำหนดข้อความที่จะแสดงบนปุ่ม Button 
• 
Action กำหนดชนิดของ Action มี 3 ลักษณะ คือ 
o 
Submit Form กำหนดให้ใช้สำหรับส่งฟอร์มไปประมวลผล 
o 
Reset Form กำหนดให้ใช้สำหรับยกเลิกการกรอกข้อมูลในฟอร์ม 
o 
None กำหนดให้เป็นปุ่มที่คลิกแล้วไม่ทำงานใดๆ 
dulyawat@hotmail.com การใช้งานฟอร์มกับ PHP 39
รูปแสดงการใช้งานอ็อบเจ็คต์ Button 
การใช้งานอ็อบเจ็คต์ Check Box 
อ็อบเจ็คต์ชนิด Check Box ทำหน้าที่เพื่อแสดงตัวเลือกให้ผู้ใช้ได้เลือกตัวเลือกที่กำหนดให้ ซึ่งสามารถเลือกได้ 
มากกว่า 1 ตัวเลือก 
วิธีการสร้าง Check Box ทำได้โดยการคลิกเมนู Insert > Form > Check Box เสร็จแล้วให้กำหนดคุณสมบัติของ 
Check Box โดยให้คลิกเลือกที่ Check Box ในเว็บเพจ หลังจากนั้นให้ไปที่เมนู Window > Properties จะปรากฏคุณสมบัติ 
ของ Check Box แสดงในไดอะล็อก Properties 
รูปแสดง Property ของอ็อบเจ็คต์ Check Box 
คุณสมบัติของอ็อบเจ็คต์ Check Box: 
• 
CheckBox กำหนดชื่อของอ็อบเจ็คต์ Check Box 
• 
Checked Value กำหนดค่าให้ Check Box 
• 
Initial State กำหนดสถานะเริ่มต้นเมื่อแสดงบนเว็บเพจ มี 2 ลักษณะ คือ 
o 
Checked กำหนดให้เริ่มต้นโดยให้สถานะเป็นถูกเลือกไว้ 
o 
Unchecked กำหนดให้เริ่มต้นโดยสถานะไม่ให้ถูกเลือก 
รูปแสดงการใช้งานอ็อบเจ็คต์ Check Box 
dulyawat@hotmail.com การใช้งานฟอร์มกับ PHP 40
การใช้งานอ็อบเจ็คต์ Radio Button 
อ็อบเจ็คต์ชนิด Radio Button ทำหน้าที่เพื่อแสดงตัวเลือกให้ผู้ใช้ได้เลือกตัวเลือกที่กำหนดให้ ซึ่งสามารถเลือกได้เพียง 
1 ตัวเลือกเท่านั้น เช่น การเลือกระบุเพศ ชาย หรือ หญิง จะเป็นการเลือกเพศใดเพศหนึ่งเพียงเพศเดียวเท่านั้น 
วิธีการสร้าง Radio Button ทำได้โดยการคลิกเมนู Insert > Form > Radio Button เสร็จแล้วให้กำหนดคุณสมบัติ 
ของ Radio Button โดยให้คลิกเลือกที่ Radio Button ในเว็บเพจ หลังจากนั้นให้ไปที่เมนู Window > Properties จะปรากฏ 
คุณสมบัติของ Radio Button แสดงในไดอะล็อก Properties 
รูปแสดง Property ของอ็อบเจ็คต์ Radio button 
คุณสมบัติของอ็อบเจ็คต์ Radio Button: 
• 
RadioButton กำหนดชื่อของอ็อบเจ็คต์ Radio Button หากเป็นการเลือกอย่างใดอย่างหนึ่ง จากตัวเลือกตั้งแต่ 2 
ตัวขึ้นไป จะต้องกำหนดชื่อของ Radio Button ทุกตัวให้ชื่อเหมือนกัน มิฉะนั้น การทำงานของ Radio Button จะไม่ 
ถูกต้อง 
• 
Checked Value กำหนดค่าให้ Radio Button 
• 
Initial State กำหนดสถานะเริ่มต้นเมื่อแสดงบนเว็บเพจ มี 2 ลักษณะ คือ 
o 
Checked กำหนดให้เริ่มต้นโดยให้สถานะเป็นถูกเลือกไว้ 
o 
Unchecked กำหนดให้เริ่มต้นโดยสถานะไม่ให้ถูกเลือก 
รูปแสดงการใช้งานอ็อบเจ็คต์ Radio Button 
การใช้งานอ็อบเจ็คต์ List/Menu 
อ็อบเจ็คต์ชนิด List/Menu ทำหน้าที่เพื่อกำหนดค่าโดยที่ใช้ไม่ต้องพิมพ์ตัวเลือกที่ต้องการลงไป เพียงแค่คลิกเลือก 
รายการต่างๆ ที่ไดกำหนดไว้ให้แล้วเท่านั้น สามารถเลือกได้เพียง 1 ตัวเท่านั้น 
วิธีการสร้าง List/Menu ทำได้โดยการคลิกเมนู Insert > Form > List/Menu เสร็จแล้วให้กำหนดคุณสมบัติของ 
List/Menu โดยให้คลิกเลือกที่ List/Menu ในเว็บเพจ หลังจากนั้นให้ไปที่เมนู Window > Properties จะปรากฏคุณสมบัติ 
ของ List/Menu แสดงในไดอะล็อก Properties 
dulyawat@hotmail.com การใช้งานฟอร์มกับ PHP 41
รูปแสดงการกำหนด Property ของอ็อบเจ็คต์ List/Menu 
คุณสมบัติของอ็อบเจ็คต์ List/Menu: 
• 
List/Menu กำหนดชื่อของอ็อบเจ็คต์ List/Menu 
• 
Type เลือกการทำงานเป็นแบบ Menu หรือ List 
• 
Initially Selected แสดงค่าตัวเลือกที่กำหนดมาจาก List Values 
รูปแสดงการใช้งานอ็อบเจ็คต์ List/Menu 
การใช้งานอ็อบเจ็คต์ File Field 
อ็อบเจ็คต์ชนิด File Field นี้ ทำหน้าที่ในการแสดงรายชื่อไฟล์ต่างๆ เพื่อให้ผู้ใช้เว็บไซต์สามารถเลือกไฟล์เหล่านั้น 
ขึ้นมาใช้งาน เช่น การอัปโหลดไฟล์ เป็นต้น 
วิธีการสร้าง File Field ทำได้โดยการคลิกเมนู Insert > Form > File Field เสร็จแล้วให้กำหนดคุณสมบัติของ File 
Field โดยให้คลิกเลือกที่ File Field ในเว็บเพจ หลังจากนั้นให้ไปที่เมนู Window > Properties จะปรากฏคุณสมบัติของ File 
Field แสดงในไดอะล็อก Properties 
รูปแสดง Property ของอ็อบเจ็คต์ File Field 
dulyawat@hotmail.com การใช้งานฟอร์มกับ PHP 42
คุณสมบัติของอ็อบเจ็คต์ File Field: 
• 
FileField กำหนดชื่อของอ็อบเจ็คต์ File Field 
• 
Char Width กำหนดความกว้างของ File Field 
• 
Max Chars กำหนดจำนวนตัวอักษรสูงสุด 
รูปแสดงการใช้งานอ็อบเจ็คต์ File Field 
การใช้งานอ็อบเจ็คต์ Hidden Field 
อ็อบเจ็คต์ชนิด Hidden Field นี้ จะทำงานในลักษณะล่องหน กล่าวคือ มีจุดประสงค์เพื่อใช้ในการประมวลผลข้อมูล 
ที่ได้รับจากการใช้งานฟอร์มต่างๆ ซึ่งฟิลด์แบบ Hidden Field นี้ จะไม่มีการติดต่อสื่อสารกับผู้ใช้งานฟอร์ม แต่อย่างใด รวมทั้ง 
ไม่มีการแสดงผลบนหน้าเว็บเพจด้วย 
วิธีการสร้าง Hidden Field ทำได้โดยการคลิกเมนู Insert > Form > Hidden Field เสร็จแล้วให้กำหนดคุณสมบัติ 
ของ Hidden Field โดยให้คลิกเลือกที่ Hidden Field ในเว็บเพจ หลังจากนั้นให้ไปที่เมนู Window > Properties จะปรากฏ 
คุณสมบัติของ Hidden Field แสดงในไดอะล็อก Hidden Field 
รูปแสดง Property ของอ็อบเจ็คต์ Hidden Field 
คุณสมบัติของอ็อบเจ็คต์ Hidden Field: 
• 
HiddenField กำหนดชื่อของอ็อบเจ็คต์ Hidden Field 
• 
Value กำหนดค่าเริ่มต้นสำหรับ Hidden Field 
dulyawat@hotmail.com การใช้งานฟอร์มกับ PHP 43
รูปแสดงการใช้งานอ็อบเจ็คต์ Hidden Field 
การใช้งานอ็อบเจ็คต์ Image Field 
อ็อบเจ็คต์ชนิด Image Field นี้ เราสามารถใส่รูปลงในฟอร์มเพื่อทำให้เว็บเพจนั้นดูมีสีสันดูสวยงามขึ้นยิ่งขึ้น หรืออาจ 
ใช้ประโยชน์ในการใช้แทนปุ่ม Button ก็ได้ 
วิธีการสร้าง Image Field ทำได้โดยการคลิกเมนู Insert > Form > Image Field เสร็จแล้วให้กำหนดคุณสมบัติของ 
List/Menu โดยให้คลิกเลือกที่ Image Field ในเว็บเพจ หลังจากนั้นให้ไปที่เมนู Window > Properties จะปรากฏคุณสมบัติ 
ของ Image Field แสดงในไดอะล็อก Image Field 
รูปแสดง Property ของอ็อบเจ็คต์ Image Field 
คุณสมบัติของอ็อบเจ็คต์ Image Field: 
• 
ImageField กำหนดชื่อของอ็อบเจ็คต์ Image Field 
• 
W กำหนดค่าความกว้างของ Image Field ที่แสดง 
• 
H กำหนดค่าความสูงของ Image Field ที่แสดง 
• 
Src ชื่อไฟล์รูปภาพของ Image Field ที่แสดง 
• 
Alt กำหนดข้อควาที่จะใช้แสดงแทน ในกรณีที่ไม่พบไฟล์รูปภาพ 
• 
Align กำหนดตำแหน่งการแสดง Image Field 
รูปแสดงการใช้งานอ็อบเจ็คต์ Image Field 
dulyawat@hotmail.com การใช้งานฟอร์มกับ PHP 44
dulyawat@hotmail.com การใช้งานฟอร์มกับ PHP 45 
Exercise: 
1. สร้างฟอร์มสำหรับกรอกข้อมูลพนักงาน บันทึกเป็นไฟล์ htmlform.htm ดังรูปด้านล่าง 
Hint: 
- ประยุกต์การใช้งานแท็ก <TABLE> <IMG> <A> และ <FORM> 
- 
Backgroung Image ใช้ไฟล์ PHPWEBimagesbkg_insert.gif 
- 
Title ใช้ไฟล์ PHPWEBimagestitle_insert.gif 
firstname 
Document Title 
Imagestitle_insert.gif 
extension 
phone 
deptid 
startdate 
birthdate 
lastname 
photo 
email 
notes

More Related Content

What's hot

Lesson 4 การสร้าง query
Lesson 4 การสร้าง queryLesson 4 การสร้าง query
Lesson 4 การสร้าง queryErrorrrrr
 
Lesson 3 ตาราง
Lesson 3 ตารางLesson 3 ตาราง
Lesson 3 ตารางErrorrrrr
 
Microsoft access
Microsoft accessMicrosoft access
Microsoft accesskomolpalin
 
Lesson 6 การสร้างรายงาน
Lesson 6 การสร้างรายงานLesson 6 การสร้างรายงาน
Lesson 6 การสร้างรายงานErrorrrrr
 
ใช้งานโปรแกรม Microsoft word2007
ใช้งานโปรแกรม Microsoft word2007ใช้งานโปรแกรม Microsoft word2007
ใช้งานโปรแกรม Microsoft word2007tanongsak
 
คู่มือการใช้งาน Word 2007
คู่มือการใช้งาน Word 2007คู่มือการใช้งาน Word 2007
คู่มือการใช้งาน Word 2007chanoncm2555
 
องค์ประกอบของวิชวลเบสิก
องค์ประกอบของวิชวลเบสิกองค์ประกอบของวิชวลเบสิก
องค์ประกอบของวิชวลเบสิกpisan kiatudomsak
 
ส่วนประกอบวิชวลเบสิก
ส่วนประกอบวิชวลเบสิกส่วนประกอบวิชวลเบสิก
ส่วนประกอบวิชวลเบสิกNuunamnoy Singkham
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4หน่วยการเรียนรู้ที่ 4
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4chaiwat vichianchai
 
บทเรียนที่ 3 บท 4
บทเรียนที่ 3 บท 4บทเรียนที่ 3 บท 4
บทเรียนที่ 3 บท 4Nakharin Inphiban
 
Microsoft office excel 2007
Microsoft office excel 2007Microsoft office excel 2007
Microsoft office excel 2007Wee Jay
 
เอกสารประกอบการเรียนวิชา การใช้โปรแกรมคำนวน Excel
เอกสารประกอบการเรียนวิชา การใช้โปรแกรมคำนวน Excelเอกสารประกอบการเรียนวิชา การใช้โปรแกรมคำนวน Excel
เอกสารประกอบการเรียนวิชา การใช้โปรแกรมคำนวน ExcelLerdrit Dangrathok
 

What's hot (19)

Lesson 4 การสร้าง query
Lesson 4 การสร้าง queryLesson 4 การสร้าง query
Lesson 4 การสร้าง query
 
Lesson 3 ตาราง
Lesson 3 ตารางLesson 3 ตาราง
Lesson 3 ตาราง
 
Microsoft access
Microsoft accessMicrosoft access
Microsoft access
 
53011213099
5301121309953011213099
53011213099
 
Lesson 6 การสร้างรายงาน
Lesson 6 การสร้างรายงานLesson 6 การสร้างรายงาน
Lesson 6 การสร้างรายงาน
 
ใช้งานโปรแกรม Microsoft word2007
ใช้งานโปรแกรม Microsoft word2007ใช้งานโปรแกรม Microsoft word2007
ใช้งานโปรแกรม Microsoft word2007
 
คู่มือการใช้งาน Word 2007
คู่มือการใช้งาน Word 2007คู่มือการใช้งาน Word 2007
คู่มือการใช้งาน Word 2007
 
องค์ประกอบของวิชวลเบสิก
องค์ประกอบของวิชวลเบสิกองค์ประกอบของวิชวลเบสิก
องค์ประกอบของวิชวลเบสิก
 
ส่วนประกอบวิชวลเบสิก
ส่วนประกอบวิชวลเบสิกส่วนประกอบวิชวลเบสิก
ส่วนประกอบวิชวลเบสิก
 
การใช้งาน Ms office 2010
การใช้งาน Ms office 2010การใช้งาน Ms office 2010
การใช้งาน Ms office 2010
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4หน่วยการเรียนรู้ที่ 4
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4
 
บทเรียนที่ 3 บท 4
บทเรียนที่ 3 บท 4บทเรียนที่ 3 บท 4
บทเรียนที่ 3 บท 4
 
Dw ch08 display_records
Dw ch08 display_recordsDw ch08 display_records
Dw ch08 display_records
 
Microsoft office excel 2007
Microsoft office excel 2007Microsoft office excel 2007
Microsoft office excel 2007
 
เอกสารประกอบการเรียนวิชา การใช้โปรแกรมคำนวน Excel
เอกสารประกอบการเรียนวิชา การใช้โปรแกรมคำนวน Excelเอกสารประกอบการเรียนวิชา การใช้โปรแกรมคำนวน Excel
เอกสารประกอบการเรียนวิชา การใช้โปรแกรมคำนวน Excel
 
Word1
Word1Word1
Word1
 
Unit 3
Unit 3Unit 3
Unit 3
 
Excel2010
Excel2010Excel2010
Excel2010
 
Word2007
Word2007Word2007
Word2007
 

Viewers also liked

Blackman_Resume Business
Blackman_Resume BusinessBlackman_Resume Business
Blackman_Resume BusinessRobyn Blackman
 
[Done] star theory
[Done] star theory[Done] star theory
[Done] star theoryvren88
 
Burlesque stereotypes evidence
Burlesque stereotypes evidenceBurlesque stereotypes evidence
Burlesque stereotypes evidencevren88
 
YP Presence Plus New Pre-Sales Scan
YP Presence Plus New Pre-Sales ScanYP Presence Plus New Pre-Sales Scan
YP Presence Plus New Pre-Sales ScanKev Carter
 
Xenia Lab Semplicissimo
Xenia Lab SemplicissimoXenia Lab Semplicissimo
Xenia Lab SemplicissimoXenia Lab
 
GUSASpotlight_AnniversaryEdition_November2015
GUSASpotlight_AnniversaryEdition_November2015GUSASpotlight_AnniversaryEdition_November2015
GUSASpotlight_AnniversaryEdition_November2015Elyse Adams
 
Sang_Kim_Resume_May_30
Sang_Kim_Resume_May_30Sang_Kim_Resume_May_30
Sang_Kim_Resume_May_30sang kim
 
해외카지노 ox600 ˛ CΘM 해외카지노
해외카지노 ox600 ˛ CΘM 해외카지노해외카지노 ox600 ˛ CΘM 해외카지노
해외카지노 ox600 ˛ CΘM 해외카지노krthrghgfh
 
BASF Procees Improvement
BASF Procees ImprovementBASF Procees Improvement
BASF Procees ImprovementR W
 
samrat resume updated on 28th july 2015
samrat resume updated on 28th july 2015samrat resume updated on 28th july 2015
samrat resume updated on 28th july 2015Samrat Vijayvargiya
 
Offre 123rendezvous pour les rencontres d'affaires
Offre 123rendezvous pour les rencontres d'affairesOffre 123rendezvous pour les rencontres d'affaires
Offre 123rendezvous pour les rencontres d'affairesVincent Prosper
 
Oracle Certified Professional, Java SE 5 Programmer
Oracle Certified Professional, Java SE 5 ProgrammerOracle Certified Professional, Java SE 5 Programmer
Oracle Certified Professional, Java SE 5 Programmeradarshkumarsingh83
 
Apresentação Torneio Futebol Arte
Apresentação Torneio Futebol Arte Apresentação Torneio Futebol Arte
Apresentação Torneio Futebol Arte vanessaalvim102030
 
Manajemen persediaan
Manajemen persediaanManajemen persediaan
Manajemen persediaannonarunny
 

Viewers also liked (20)

การสร้างเว็บด้วย Bootstrap framework
การสร้างเว็บด้วย Bootstrap frameworkการสร้างเว็บด้วย Bootstrap framework
การสร้างเว็บด้วย Bootstrap framework
 
Bootstrap 3 Basic - Bangkok WordPress Meetup
Bootstrap 3 Basic - Bangkok WordPress MeetupBootstrap 3 Basic - Bangkok WordPress Meetup
Bootstrap 3 Basic - Bangkok WordPress Meetup
 
Frontend developer 2016 | cloudcourse.io
Frontend developer 2016 | cloudcourse.ioFrontend developer 2016 | cloudcourse.io
Frontend developer 2016 | cloudcourse.io
 
Blackman_Resume Business
Blackman_Resume BusinessBlackman_Resume Business
Blackman_Resume Business
 
[Done] star theory
[Done] star theory[Done] star theory
[Done] star theory
 
Burlesque stereotypes evidence
Burlesque stereotypes evidenceBurlesque stereotypes evidence
Burlesque stereotypes evidence
 
YP Presence Plus New Pre-Sales Scan
YP Presence Plus New Pre-Sales ScanYP Presence Plus New Pre-Sales Scan
YP Presence Plus New Pre-Sales Scan
 
Xenia Lab Semplicissimo
Xenia Lab SemplicissimoXenia Lab Semplicissimo
Xenia Lab Semplicissimo
 
GUSASpotlight_AnniversaryEdition_November2015
GUSASpotlight_AnniversaryEdition_November2015GUSASpotlight_AnniversaryEdition_November2015
GUSASpotlight_AnniversaryEdition_November2015
 
Sang_Kim_Resume_May_30
Sang_Kim_Resume_May_30Sang_Kim_Resume_May_30
Sang_Kim_Resume_May_30
 
해외카지노 ox600 ˛ CΘM 해외카지노
해외카지노 ox600 ˛ CΘM 해외카지노해외카지노 ox600 ˛ CΘM 해외카지노
해외카지노 ox600 ˛ CΘM 해외카지노
 
Fibroide par nasser
Fibroide par nasserFibroide par nasser
Fibroide par nasser
 
BASF Procees Improvement
BASF Procees ImprovementBASF Procees Improvement
BASF Procees Improvement
 
samrat resume updated on 28th july 2015
samrat resume updated on 28th july 2015samrat resume updated on 28th july 2015
samrat resume updated on 28th july 2015
 
Offre 123rendezvous pour les rencontres d'affaires
Offre 123rendezvous pour les rencontres d'affairesOffre 123rendezvous pour les rencontres d'affaires
Offre 123rendezvous pour les rencontres d'affaires
 
jaiween_kumar_new
jaiween_kumar_newjaiween_kumar_new
jaiween_kumar_new
 
Expoooopptx
ExpoooopptxExpoooopptx
Expoooopptx
 
Oracle Certified Professional, Java SE 5 Programmer
Oracle Certified Professional, Java SE 5 ProgrammerOracle Certified Professional, Java SE 5 Programmer
Oracle Certified Professional, Java SE 5 Programmer
 
Apresentação Torneio Futebol Arte
Apresentação Torneio Futebol Arte Apresentação Torneio Futebol Arte
Apresentação Torneio Futebol Arte
 
Manajemen persediaan
Manajemen persediaanManajemen persediaan
Manajemen persediaan
 

Similar to Dw ch06 form_and_php

53011213098
5301121309853011213098
53011213098jeabchat
 
53011213098
5301121309853011213098
53011213098jeabchat
 
ใบความรู้ที่ 6 10
ใบความรู้ที่ 6 10ใบความรู้ที่ 6 10
ใบความรู้ที่ 6 10chaiwat vichianchai
 
การจัดการเว็บเพจ การออกแบบหน้าด้วยตารางและ Layout
การจัดการเว็บเพจ การออกแบบหน้าด้วยตารางและ Layoutการจัดการเว็บเพจ การออกแบบหน้าด้วยตารางและ Layout
การจัดการเว็บเพจ การออกแบบหน้าด้วยตารางและ LayoutKhon Kaen University
 
ใบความรู้ที่ 6 การสร้างแบบฟอร์ม (Form)อย่างง่าย
ใบความรู้ที่ 6 การสร้างแบบฟอร์ม (Form)อย่างง่ายใบความรู้ที่ 6 การสร้างแบบฟอร์ม (Form)อย่างง่าย
ใบความรู้ที่ 6 การสร้างแบบฟอร์ม (Form)อย่างง่ายkrunueng1
 
งานคอมกลุ่ม6
งานคอมกลุ่ม6งานคอมกลุ่ม6
งานคอมกลุ่ม6Aum Forfang
 
ตอนที่ 3 การนำเสนอข้อมูล
ตอนที่ 3 การนำเสนอข้อมูลตอนที่ 3 การนำเสนอข้อมูล
ตอนที่ 3 การนำเสนอข้อมูลKriangx Ch
 
แนะนำการใช้โปรแกรมสำเร็จรูป Microsoft Access 2010
แนะนำการใช้โปรแกรมสำเร็จรูป Microsoft Access 2010แนะนำการใช้โปรแกรมสำเร็จรูป Microsoft Access 2010
แนะนำการใช้โปรแกรมสำเร็จรูป Microsoft Access 2010krunueng1
 
ใบความรู้ที่ 4 การเขียนโปรแกรมด้วย visual basic 2010
ใบความรู้ที่ 4 การเขียนโปรแกรมด้วย visual basic 2010ใบความรู้ที่ 4 การเขียนโปรแกรมด้วย visual basic 2010
ใบความรู้ที่ 4 การเขียนโปรแกรมด้วย visual basic 2010Nattapon
 
ใบความรู้ เรื่อง ส่วนประกอบของโปรแกรม Microsoft excel 2007
ใบความรู้ เรื่อง ส่วนประกอบของโปรแกรม Microsoft excel 2007ใบความรู้ เรื่อง ส่วนประกอบของโปรแกรม Microsoft excel 2007
ใบความรู้ เรื่อง ส่วนประกอบของโปรแกรม Microsoft excel 2007Nicharee Piwjan
 

Similar to Dw ch06 form_and_php (20)

53011213098
5301121309853011213098
53011213098
 
53011213098
5301121309853011213098
53011213098
 
Lesson 6
Lesson 6Lesson 6
Lesson 6
 
ใบความรู้ที่ 6 10
ใบความรู้ที่ 6 10ใบความรู้ที่ 6 10
ใบความรู้ที่ 6 10
 
การจัดการเว็บเพจ การออกแบบหน้าด้วยตารางและ Layout
การจัดการเว็บเพจ การออกแบบหน้าด้วยตารางและ Layoutการจัดการเว็บเพจ การออกแบบหน้าด้วยตารางและ Layout
การจัดการเว็บเพจ การออกแบบหน้าด้วยตารางและ Layout
 
ใบความรู้ที่ 6 การสร้างแบบฟอร์ม (Form)อย่างง่าย
ใบความรู้ที่ 6 การสร้างแบบฟอร์ม (Form)อย่างง่ายใบความรู้ที่ 6 การสร้างแบบฟอร์ม (Form)อย่างง่าย
ใบความรู้ที่ 6 การสร้างแบบฟอร์ม (Form)อย่างง่าย
 
งานคอมกลุ่ม6
งานคอมกลุ่ม6งานคอมกลุ่ม6
งานคอมกลุ่ม6
 
MS Access 2010 - Form
MS Access 2010 - FormMS Access 2010 - Form
MS Access 2010 - Form
 
PHP & Dreamweaver ch03
PHP & Dreamweaver  ch03 PHP & Dreamweaver  ch03
PHP & Dreamweaver ch03
 
Power point5
Power point5Power point5
Power point5
 
ตอนที่ 3 การนำเสนอข้อมูล
ตอนที่ 3 การนำเสนอข้อมูลตอนที่ 3 การนำเสนอข้อมูล
ตอนที่ 3 การนำเสนอข้อมูล
 
แนะนำการใช้โปรแกรมสำเร็จรูป Microsoft Access 2010
แนะนำการใช้โปรแกรมสำเร็จรูป Microsoft Access 2010แนะนำการใช้โปรแกรมสำเร็จรูป Microsoft Access 2010
แนะนำการใช้โปรแกรมสำเร็จรูป Microsoft Access 2010
 
ใบความรู้ที่ 4 การเขียนโปรแกรมด้วย visual basic 2010
ใบความรู้ที่ 4 การเขียนโปรแกรมด้วย visual basic 2010ใบความรู้ที่ 4 การเขียนโปรแกรมด้วย visual basic 2010
ใบความรู้ที่ 4 การเขียนโปรแกรมด้วย visual basic 2010
 
lesson1 JSP
lesson1 JSPlesson1 JSP
lesson1 JSP
 
53011213007
5301121300753011213007
53011213007
 
Form
FormForm
Form
 
Common
CommonCommon
Common
 
53011213007
5301121300753011213007
53011213007
 
Pbl2
Pbl2Pbl2
Pbl2
 
ใบความรู้ เรื่อง ส่วนประกอบของโปรแกรม Microsoft excel 2007
ใบความรู้ เรื่อง ส่วนประกอบของโปรแกรม Microsoft excel 2007ใบความรู้ เรื่อง ส่วนประกอบของโปรแกรม Microsoft excel 2007
ใบความรู้ เรื่อง ส่วนประกอบของโปรแกรม Microsoft excel 2007
 

More from Webidea Petchtharat

โครงการอบรม Rpi โดย บริษัท หาดใหญ่โรบ็อท จำกัด
โครงการอบรม Rpi โดย บริษัท หาดใหญ่โรบ็อท จำกัดโครงการอบรม Rpi โดย บริษัท หาดใหญ่โรบ็อท จำกัด
โครงการอบรม Rpi โดย บริษัท หาดใหญ่โรบ็อท จำกัดWebidea Petchtharat
 
Dreamweaver แนะโปรแกรมและวิธีใช้
Dreamweaver แนะโปรแกรมและวิธีใช้Dreamweaver แนะโปรแกรมและวิธีใช้
Dreamweaver แนะโปรแกรมและวิธีใช้Webidea Petchtharat
 
PHP & Dreamweaver ch04 basic_html
PHP & Dreamweaver  ch04 basic_htmlPHP & Dreamweaver  ch04 basic_html
PHP & Dreamweaver ch04 basic_htmlWebidea Petchtharat
 
PHP & Dreamweaver ch02 dw_installation
PHP & Dreamweaver  ch02 dw_installationPHP & Dreamweaver  ch02 dw_installation
PHP & Dreamweaver ch02 dw_installationWebidea Petchtharat
 

More from Webidea Petchtharat (10)

โครงการอบรม Rpi โดย บริษัท หาดใหญ่โรบ็อท จำกัด
โครงการอบรม Rpi โดย บริษัท หาดใหญ่โรบ็อท จำกัดโครงการอบรม Rpi โดย บริษัท หาดใหญ่โรบ็อท จำกัด
โครงการอบรม Rpi โดย บริษัท หาดใหญ่โรบ็อท จำกัด
 
Socialnetwork
SocialnetworkSocialnetwork
Socialnetwork
 
Dreamweaver แนะโปรแกรมและวิธีใช้
Dreamweaver แนะโปรแกรมและวิธีใช้Dreamweaver แนะโปรแกรมและวิธีใช้
Dreamweaver แนะโปรแกรมและวิธีใช้
 
Dw ch09 display_multiplepages
Dw ch09 display_multiplepagesDw ch09 display_multiplepages
Dw ch09 display_multiplepages
 
Dw ch05 basic_php
Dw ch05 basic_phpDw ch05 basic_php
Dw ch05 basic_php
 
PHP & Dreamweaver ch04 basic_html
PHP & Dreamweaver  ch04 basic_htmlPHP & Dreamweaver  ch04 basic_html
PHP & Dreamweaver ch04 basic_html
 
PHP & Dreamweaver ch02 dw_installation
PHP & Dreamweaver  ch02 dw_installationPHP & Dreamweaver  ch02 dw_installation
PHP & Dreamweaver ch02 dw_installation
 
PHP&Dreamweaver 1-4
PHP&Dreamweaver 1-4PHP&Dreamweaver 1-4
PHP&Dreamweaver 1-4
 
PHP & Dreamweaver 1-3
PHP & Dreamweaver 1-3PHP & Dreamweaver 1-3
PHP & Dreamweaver 1-3
 
PHP&Dreamweaver 1-1
PHP&Dreamweaver 1-1PHP&Dreamweaver 1-1
PHP&Dreamweaver 1-1
 

Dw ch06 form_and_php

  • 1. บทที่ 6 การใช้งานฟอร์มกับ PHP ฟอร์มทำหน้าที่ในการติดต่อสื่อสารหรือโต้ตอบกับผู้ใช้เว็บไซต์ในลักษณะการรับส่งข้อมูล เมื่อ ผู้ใช้กรอกข้อมูลในฟอร์มและคลิกปุ่มส่งข้อมูล ข้อมูลเหล่านั้นก็จะถูกส่งไปประมวลผลที่เซิร์ฟเวอร์ ฟอร์มจะประกอบไป ด้วยอ็อบเจ็คต์ต่างๆ ซึ่งแต่ละอ็อบเจ็คต์ก็มีลักษณะการโต้ตอบกับผู้ใช้แตกต่างกันไป รายละเอียดการทำงานแต่ละอ็อบเจ็คต์จะ กล่าวถึงในลำดับต่อไป นอกจากนั้นภายในแท็กฟอร์มยังมีพารามิเตอร์ที่เราสามารถกำหนดค่าเป็นการระบุให้ส่งค่าไปยังไฟล์ สคริปต์บนเซิร์ฟเวอร์หรือโปรแกรมอื่นๆ เพื่อทำหน้าที่ประมวลผลข้อมูลที่ถูกส่งมากับฟอร์มได้อีกด้วย รูปแสดงการทำงานของฟอร์ม วิธีการทำงานของฟอร์ม จากรูปด้านบน แสดงวิธีการทำงานของฟอร์มดังนี้ 1) เริ่มต้นเมื่อผู้ใช้กรอกแบบฟอร์มบนเว็บเพจและคลิกปุ่มส่งข้อมูลมาที่เว็บเซิร์ฟเวอร์ 2) ข้อมูลจากฟอร์มจะถูกประมวลผลที่ไฟล์ PHP, ASP หรือไฟล์ CGI อื่นๆบนเว็บเซิร์ฟเวอร์ 3) เมื่อประมวลผลเสร็จแล้ว ผลลัพธ์จะถูกส่งกลับไปให้ผู้ใช้ในรูปแบบเอกสาร HTML เพื่อให้เว็บเบราเซอร์แสดงผล dulyawat@hotmail.com การใช้งานฟอร์มกับ PHP 33
  • 2. การสร้างและใช้งานฟอร์มกับ PHP ขั้นตอนการสร้างฟอร์ม: 1. เปิดโปรแกรม Dreamweaver คลิกเมนู File > New จะปรากฏไดอะล็อก New Document ขึ้นมา ให้คลิกแท็บ General เลือก Dynamic Page > PHP หลังจากนั้นคลิกปุ่ม Create บันทึกเป็นไฟล์ form.php 2. ที่หน้าจอของเว็บเพจ ให้คลิกเพื่อวางเคอร์เซอร์ในตำแหน่งที่ต้องการสร้างฟอร์ม หลังจากนั้นคลิกที่เมนู Insert > Form > Form ฟอร์มจะถูกแทรกลงในเว็บเพจ หากอยู่ใน Design View จะเห็นขอบเขตของฟอร์มแสดงเป็น เส้นประสีแดง (หากไม่มีเส้นประสีแสดงขึ้นมา ให้คลิกที่เมนู View > Visual Aids > Invisible Elements) รูปแสดงเว็บเพจที่แทรกฟอร์ม 3. คลิกวางตำแหน่งเคอร์เซอร์ลงภายในขอบเขตของฟอร์ม หลังจากนั้นให้คลิกเลือกแท็ก <form> จาก Tag Selector บริเวณ ขอบล่างซ้ายของเว็บเพจ เมื่อปรากฏไดอะล็อก Properties ช่อง Form Name ให้กำหนดชื่อของฟอร์ม เท่ากับ fmProcess ชื่อของฟอร์มนี้จะถูกใช้เพื่ออ้างอิงในสคริปต์ PHP รูปแสดง Property ของฟอร์ม 4. ไดอะล็อก Properties ช่อง Action ให้กำหนดชื่อไฟล์ หรือ URL ของสคริปต์ที่จะใช้ในการประมวลผลฟอร์ม เท่ากับ formprocess.php (หากต้องการระบุเป็น URL ให้พิมพ์เป็น http://localhost/phpweb/formprocess.php) dulyawat@hotmail.com การใช้งานฟอร์มกับ PHP 34
  • 3. 5. ไดอะล็อก Properties ช่อง Method ให้เลือกรูปแบบการส่งข้อมูลจากฟอร์มไปที่เว็บเซิร์ฟเวอร์ ซึ่งมีให้เลือก 3 รูปแบบ คือ การทำงานของ METHOD: • POST ส่งข้อมูลโดยส่งข้อมูลส่งไปกับ HTTP Request • GET ส่งข้อมูลโดยการแปะค่าเป็น URL Parameter (Query String) ไปกับ URL (ข้อมูลที่ส่งจะแสดงอยู่ บน URL ของเว็บเบราเซอร์) • DEFAULT ส่งข้อมูลโดยขึ้นอยู่กับค่า default ของเว็บเบราเซอร์ โดยปกติจะเป็นแบบ GET NOTE: วิธีการส่งข้อมูลแบบ GET ไม่ควรใช้กับฟอร์มที่มีการส่งข้อมูลจำนวนมาก รวมทั้งไม่ควรใช้ในการส่งข้อมูลที่ เป็นความลับ เช่น username, password หรือเลขที่บัตรเครดิต เป็นต้น เนื่องจากวิธีการส่งแบบ GET นี้ ข้อมูลที่เราส่งจะ ถูกแสดงบน URL เช่น http://localhost/phpweb/detail.php?empid=01020489 6. ไดอะล็อก Properties ช่อง Enctype ให้ระบุชนิดของการเข้ารหัสข้อมูล โดยค่า default ของ Enctype จะเป็น application/x-www-form-urlencode ซึ่งจะถูกใช้ร่วมกับ method แบบ POST หากใช้ฟอร์มในการอัปโหลดไฟล์ ให้เลือก Enctype เป็นแบบ multipart/form-data 7. ไดอะล็อก Properties ช่อง Target ให้พิมพ์ชื่อหน้าจอของเว็บเบราเซอร์ที่ต้องการแสดงผลลัพธ์ของฟอร์มหรือเลือกจาก รายการที่กำหนดไว้ให้ หากเว็บเบราเซอร์ยังไม่มีชื่อหน้าจอที่ระบุ เว็บเบราเซอร์จะสร้างหน้าจอชื่อที่ระบุขึ้นมาใหม่ ตัวเลือกที่กำหนดไว้ให้ในช่อง Target การทำงานของ TARGET: • _blank ผลลัพธ์ของฟอร์มจะแสดงที่หน้าจอเว็บเบราเซอร์ที่สร้างขึ้นมาใหม่ • _parent ผลลัพธ์ของฟอร์มจะแสดงที่หน้าจอหลัก (parent) ของหน้าจอเว็บเบราเซอร์ขณะนั้น • _self ผลลัพธ์จะแสดงที่หน้าจอเว็บเบราเซอร์เดียวกับฟอร์ม • _top ผลลัพธ์ของฟอร์มจะแสดงที่หน้าจอหลัก ในกรณีที่หน้าจอเว็บเบราเซอร์แบ่งเป็นหลายเฟรม 8. คลิกปุ่ม Code View เพื่อเขียนโค้ด HTML ดังรูปด้านล่าง หลังจากนั้นบันทึกไฟล์ form.php <html> <body> <form action="formprocess.php" method="POST" name="fmProcess"> ชื่อ: <input name="firstname" type="text" size="32" maxlength="30"> <br> นามสกุล: <input name="lastname" type="text" size="32" maxlength="30"> <br> <input name="btnSubmit" type="submit" value="บันทึก"> <input name="btnReset" type="reset" value="ยกเลิก"> </form> </body> </html> รูปแสดงโค้ดไฟล์ form.php dulyawat@hotmail.com การใช้งานฟอร์มกับ PHP 35
  • 4. 9. เปิดโปรแกรม Dreamweaver คลิกเมนู File > New จะปรากฏไดอะล็อก New Document ขึ้นมา ให้คลิกแท็บ General เลือก Dynamic Page > PHP คลิกปุ่ม Create หลังจากนั้นให้เพื่อเขียนโค้ด PHP ดังรูปด้านล่าง บันทึกเป็นไฟล์ formprocess.php <html> <body> <?php echo "ชื่อ: " . $_POST['firstname'] . "<br>"; echo "นามสกุล: " . $_POST['lastname'] . "<br>"; ?> </body> </html> รูปแสดงโค้ดไฟล์ formprocess.php 10. ทดสอบการทำงานของฟอร์ม โดยเปิด Dreamweaver ไปที่หน้าจอไฟล์ form.php หลังจากนั้นกดปุ่ม F12 จะปรากฏ หน้าจอ Internet Explorer เป็นแบบฟอร์มกรอกข้อมูล ให้กรอกข้อมูล แล้วคลิกปุ่ม "บันทึก" ให้สังเกตผลลัพธ์การทำงาน ของเว็บเพจ รูปแสดงการทำงานของไฟล์ form.php รูปแสดงการทำงานของไฟล์ formprocess.php 11. เปลี่ยน METHOD ของฟอร์มในไฟล์ form.php จาก METHOD="POST" เป็น METHOD="GET" 12. เปลี่ยนชื่อตัวแปรในไฟล์ formprocess.php จาก $_POST['firstname’] เป็น $_GET['firstname'] และ $_POST['lastname'] เป็น $_GET['lastname'] 13. ทดสอบการทำงานของฟอร์มใหม่อีกครั้ง ให้สังเกตผลลัพธ์การทำงานของเว็บเพจ dulyawat@hotmail.com การใช้งานฟอร์มกับ PHP 36
  • 5. อ็อบเจ็คต์ คือส่วนของฟอร์มที่ใช้ในการรับข้อมูลจากผู้ใช้ ก่อนที่จะแทรกอ็อบเจ็คต์ลงบนเว็บเพจ ต้องมีการสร้าง หรือแทรกฟอร์มลงในเว็บเพจก่อนเสมอ หากมีการแทรกอ็อบเจ็คต์ลงในส่วนที่ไม่มีฟอร์ม Dreamweaver จะถามโดย ปรากฏไดอะล็อก “Add form tags?” ให้เลือก Yes เพื่อให้ Dreamweaver สร้างแท็กฟอร์มสำหรับอ็อบเจ็คต์นั้น รูปแสดงฟอร์มและอ็อบเจ็คต์บน Insert Bar การใช้งานอ็อบเจ็คต์ Text Field อ็อบเจ็คต์ชนิด Text Field จะมีหน้าที่ในการรับค่าข้อมูล เพื่อใช้ในการจัดเก็บข้อมูลหรือส่งค่าบางอย่างที่ต้องการ ค้นหา เช่น ใช้ในการค้นหาข้อมูล (Search Engine) เป็นต้น วิธีการสร้าง Text Field ทำได้โดยการคลิกเมนู Insert > Form > Text Field เสร็จแล้วให้กำหนดคุณสมบัติของ Text Field โดยให้คลิกเลือกที่ Text Field ในเว็บเพจ หลังจากนั้นให้ไปที่เมนู Window > Properties จะปรากฏคุณสมบัติของ Text Field แสดงในไดอะล็อก Properties รูปแสดง Property ของอ็อบเจ็คต์ Text Field แบบ Single line คุณสมบัติของอ็อบเจ็คต์ Text Field: • TextField กำหนดชื่อของอ็อบเจ็คต์ Text Field • Char Width กำหนดความกว้างของ Text Field • Max Chars กำหนดจำนวนตัวอักษรสูงสุดที่กรอกข้อมูลได้ของ Text Field • Type กำหนดชนิดของ Text Field มี 3 ลักษณะ คือ การใช้งานอ็อบเจ็คต์ของฟอร์มชนิดต่างๆ dulyawat@hotmail.com การใช้งานฟอร์มกับ PHP 37
  • 6. o Single Line กำหนดให้แสดงเป็นแบบบรรทัด (Textarea) o Multi Line กำหนดให้แสดงเป็นแบบหลายบรรทัด o Password กำหนดให้แสดงแบบรหัสผ่าน • Init Val กำหนดค่าเริ่มต้น รูปแสดงการใช้งานอ็อบเจ็คต์ Text Field การใช้งานอ็อบเจ็คต์ Textarea อ็อบเจ็คต์ชนิด Textarea จะมีหน้าที่ในการรับค่าข้อมูลที่มีขนาดใหญ่ เช่น ที่อยู่ เป็นต้น วิธีการสร้าง Text Field ทำได้โดยการคลิกเมนู Insert > Form > Textarea เสร็จแล้วให้กำหนดคุณสมบัติของ Textarea โดยให้คลิกเลือกที่ Textarea ในเว็บเพจ หลังจากนั้นให้ไปที่เมนู Window > Properties จะปรากฏคุณสมบัติของ Textarea แสดงในไดอะล็อก Properties รูปแสดง Property ของอ็อบเจ็คต์ Textarea คุณสมบัติของอ็อบเจ็คต์ Textarea: • TextField กำหนดชื่อของอ็อบเจ็คต์ Textarea • Char Width กำหนดความกว้างของ Textarea • Max Chars กำหนดจำนวนตัวอักษรสูงสุดที่กรอกข้อมูลได้ของ Textarea • Type กำหนดชนิดของ Textarea คือ Multi Line • Init Val กำหนดค่าเริ่มต้น dulyawat@hotmail.com การใช้งานฟอร์มกับ PHP 38
  • 7. รูปแสดงการใช้งานอ็อบเจ็คต์ Textarea การใช้งานอ็อบเจ็คต์ Button อ็อบเจ็คต์ชนิด Button มักถูกนำมาใช้เพื่อทำหน้าที่ในการยืนยันการเพิ่มข้อมูล แก้ไขข้อมูล การลบข้อมูล หรือยกเลิก การใช้งาน วิธีการสร้าง Button ทำได้โดยการคลิกเมนู Insert > Form > Button เสร็จแล้วให้กำหนดคุณสมบัติของ Button โดยให้คลิกเลือกที่ Button ในเว็บเพจ หลังจากนั้นให้ไปที่เมนู Window > Properties จะปรากฏคุณสมบัติของ Button แสดง ในไดอะล็อก Properties รูปแสดง Property ของอ็อบเจ็คต์ Button คุณสมบัติของอ็อบเจ็คต์ Button: • Button name กำหนดชื่อของอ็อบเจ็คต์ Button • Label กำหนดข้อความที่จะแสดงบนปุ่ม Button • Action กำหนดชนิดของ Action มี 3 ลักษณะ คือ o Submit Form กำหนดให้ใช้สำหรับส่งฟอร์มไปประมวลผล o Reset Form กำหนดให้ใช้สำหรับยกเลิกการกรอกข้อมูลในฟอร์ม o None กำหนดให้เป็นปุ่มที่คลิกแล้วไม่ทำงานใดๆ dulyawat@hotmail.com การใช้งานฟอร์มกับ PHP 39
  • 8. รูปแสดงการใช้งานอ็อบเจ็คต์ Button การใช้งานอ็อบเจ็คต์ Check Box อ็อบเจ็คต์ชนิด Check Box ทำหน้าที่เพื่อแสดงตัวเลือกให้ผู้ใช้ได้เลือกตัวเลือกที่กำหนดให้ ซึ่งสามารถเลือกได้ มากกว่า 1 ตัวเลือก วิธีการสร้าง Check Box ทำได้โดยการคลิกเมนู Insert > Form > Check Box เสร็จแล้วให้กำหนดคุณสมบัติของ Check Box โดยให้คลิกเลือกที่ Check Box ในเว็บเพจ หลังจากนั้นให้ไปที่เมนู Window > Properties จะปรากฏคุณสมบัติ ของ Check Box แสดงในไดอะล็อก Properties รูปแสดง Property ของอ็อบเจ็คต์ Check Box คุณสมบัติของอ็อบเจ็คต์ Check Box: • CheckBox กำหนดชื่อของอ็อบเจ็คต์ Check Box • Checked Value กำหนดค่าให้ Check Box • Initial State กำหนดสถานะเริ่มต้นเมื่อแสดงบนเว็บเพจ มี 2 ลักษณะ คือ o Checked กำหนดให้เริ่มต้นโดยให้สถานะเป็นถูกเลือกไว้ o Unchecked กำหนดให้เริ่มต้นโดยสถานะไม่ให้ถูกเลือก รูปแสดงการใช้งานอ็อบเจ็คต์ Check Box dulyawat@hotmail.com การใช้งานฟอร์มกับ PHP 40
  • 9. การใช้งานอ็อบเจ็คต์ Radio Button อ็อบเจ็คต์ชนิด Radio Button ทำหน้าที่เพื่อแสดงตัวเลือกให้ผู้ใช้ได้เลือกตัวเลือกที่กำหนดให้ ซึ่งสามารถเลือกได้เพียง 1 ตัวเลือกเท่านั้น เช่น การเลือกระบุเพศ ชาย หรือ หญิง จะเป็นการเลือกเพศใดเพศหนึ่งเพียงเพศเดียวเท่านั้น วิธีการสร้าง Radio Button ทำได้โดยการคลิกเมนู Insert > Form > Radio Button เสร็จแล้วให้กำหนดคุณสมบัติ ของ Radio Button โดยให้คลิกเลือกที่ Radio Button ในเว็บเพจ หลังจากนั้นให้ไปที่เมนู Window > Properties จะปรากฏ คุณสมบัติของ Radio Button แสดงในไดอะล็อก Properties รูปแสดง Property ของอ็อบเจ็คต์ Radio button คุณสมบัติของอ็อบเจ็คต์ Radio Button: • RadioButton กำหนดชื่อของอ็อบเจ็คต์ Radio Button หากเป็นการเลือกอย่างใดอย่างหนึ่ง จากตัวเลือกตั้งแต่ 2 ตัวขึ้นไป จะต้องกำหนดชื่อของ Radio Button ทุกตัวให้ชื่อเหมือนกัน มิฉะนั้น การทำงานของ Radio Button จะไม่ ถูกต้อง • Checked Value กำหนดค่าให้ Radio Button • Initial State กำหนดสถานะเริ่มต้นเมื่อแสดงบนเว็บเพจ มี 2 ลักษณะ คือ o Checked กำหนดให้เริ่มต้นโดยให้สถานะเป็นถูกเลือกไว้ o Unchecked กำหนดให้เริ่มต้นโดยสถานะไม่ให้ถูกเลือก รูปแสดงการใช้งานอ็อบเจ็คต์ Radio Button การใช้งานอ็อบเจ็คต์ List/Menu อ็อบเจ็คต์ชนิด List/Menu ทำหน้าที่เพื่อกำหนดค่าโดยที่ใช้ไม่ต้องพิมพ์ตัวเลือกที่ต้องการลงไป เพียงแค่คลิกเลือก รายการต่างๆ ที่ไดกำหนดไว้ให้แล้วเท่านั้น สามารถเลือกได้เพียง 1 ตัวเท่านั้น วิธีการสร้าง List/Menu ทำได้โดยการคลิกเมนู Insert > Form > List/Menu เสร็จแล้วให้กำหนดคุณสมบัติของ List/Menu โดยให้คลิกเลือกที่ List/Menu ในเว็บเพจ หลังจากนั้นให้ไปที่เมนู Window > Properties จะปรากฏคุณสมบัติ ของ List/Menu แสดงในไดอะล็อก Properties dulyawat@hotmail.com การใช้งานฟอร์มกับ PHP 41
  • 10. รูปแสดงการกำหนด Property ของอ็อบเจ็คต์ List/Menu คุณสมบัติของอ็อบเจ็คต์ List/Menu: • List/Menu กำหนดชื่อของอ็อบเจ็คต์ List/Menu • Type เลือกการทำงานเป็นแบบ Menu หรือ List • Initially Selected แสดงค่าตัวเลือกที่กำหนดมาจาก List Values รูปแสดงการใช้งานอ็อบเจ็คต์ List/Menu การใช้งานอ็อบเจ็คต์ File Field อ็อบเจ็คต์ชนิด File Field นี้ ทำหน้าที่ในการแสดงรายชื่อไฟล์ต่างๆ เพื่อให้ผู้ใช้เว็บไซต์สามารถเลือกไฟล์เหล่านั้น ขึ้นมาใช้งาน เช่น การอัปโหลดไฟล์ เป็นต้น วิธีการสร้าง File Field ทำได้โดยการคลิกเมนู Insert > Form > File Field เสร็จแล้วให้กำหนดคุณสมบัติของ File Field โดยให้คลิกเลือกที่ File Field ในเว็บเพจ หลังจากนั้นให้ไปที่เมนู Window > Properties จะปรากฏคุณสมบัติของ File Field แสดงในไดอะล็อก Properties รูปแสดง Property ของอ็อบเจ็คต์ File Field dulyawat@hotmail.com การใช้งานฟอร์มกับ PHP 42
  • 11. คุณสมบัติของอ็อบเจ็คต์ File Field: • FileField กำหนดชื่อของอ็อบเจ็คต์ File Field • Char Width กำหนดความกว้างของ File Field • Max Chars กำหนดจำนวนตัวอักษรสูงสุด รูปแสดงการใช้งานอ็อบเจ็คต์ File Field การใช้งานอ็อบเจ็คต์ Hidden Field อ็อบเจ็คต์ชนิด Hidden Field นี้ จะทำงานในลักษณะล่องหน กล่าวคือ มีจุดประสงค์เพื่อใช้ในการประมวลผลข้อมูล ที่ได้รับจากการใช้งานฟอร์มต่างๆ ซึ่งฟิลด์แบบ Hidden Field นี้ จะไม่มีการติดต่อสื่อสารกับผู้ใช้งานฟอร์ม แต่อย่างใด รวมทั้ง ไม่มีการแสดงผลบนหน้าเว็บเพจด้วย วิธีการสร้าง Hidden Field ทำได้โดยการคลิกเมนู Insert > Form > Hidden Field เสร็จแล้วให้กำหนดคุณสมบัติ ของ Hidden Field โดยให้คลิกเลือกที่ Hidden Field ในเว็บเพจ หลังจากนั้นให้ไปที่เมนู Window > Properties จะปรากฏ คุณสมบัติของ Hidden Field แสดงในไดอะล็อก Hidden Field รูปแสดง Property ของอ็อบเจ็คต์ Hidden Field คุณสมบัติของอ็อบเจ็คต์ Hidden Field: • HiddenField กำหนดชื่อของอ็อบเจ็คต์ Hidden Field • Value กำหนดค่าเริ่มต้นสำหรับ Hidden Field dulyawat@hotmail.com การใช้งานฟอร์มกับ PHP 43
  • 12. รูปแสดงการใช้งานอ็อบเจ็คต์ Hidden Field การใช้งานอ็อบเจ็คต์ Image Field อ็อบเจ็คต์ชนิด Image Field นี้ เราสามารถใส่รูปลงในฟอร์มเพื่อทำให้เว็บเพจนั้นดูมีสีสันดูสวยงามขึ้นยิ่งขึ้น หรืออาจ ใช้ประโยชน์ในการใช้แทนปุ่ม Button ก็ได้ วิธีการสร้าง Image Field ทำได้โดยการคลิกเมนู Insert > Form > Image Field เสร็จแล้วให้กำหนดคุณสมบัติของ List/Menu โดยให้คลิกเลือกที่ Image Field ในเว็บเพจ หลังจากนั้นให้ไปที่เมนู Window > Properties จะปรากฏคุณสมบัติ ของ Image Field แสดงในไดอะล็อก Image Field รูปแสดง Property ของอ็อบเจ็คต์ Image Field คุณสมบัติของอ็อบเจ็คต์ Image Field: • ImageField กำหนดชื่อของอ็อบเจ็คต์ Image Field • W กำหนดค่าความกว้างของ Image Field ที่แสดง • H กำหนดค่าความสูงของ Image Field ที่แสดง • Src ชื่อไฟล์รูปภาพของ Image Field ที่แสดง • Alt กำหนดข้อควาที่จะใช้แสดงแทน ในกรณีที่ไม่พบไฟล์รูปภาพ • Align กำหนดตำแหน่งการแสดง Image Field รูปแสดงการใช้งานอ็อบเจ็คต์ Image Field dulyawat@hotmail.com การใช้งานฟอร์มกับ PHP 44
  • 13. dulyawat@hotmail.com การใช้งานฟอร์มกับ PHP 45 Exercise: 1. สร้างฟอร์มสำหรับกรอกข้อมูลพนักงาน บันทึกเป็นไฟล์ htmlform.htm ดังรูปด้านล่าง Hint: - ประยุกต์การใช้งานแท็ก <TABLE> <IMG> <A> และ <FORM> - Backgroung Image ใช้ไฟล์ PHPWEBimagesbkg_insert.gif - Title ใช้ไฟล์ PHPWEBimagestitle_insert.gif firstname Document Title Imagestitle_insert.gif extension phone deptid startdate birthdate lastname photo email notes