SlideShare a Scribd company logo
1 of 25
Download to read offline
Guide Book
www.tutorferry.com
วงจรแหงความสําเร็จ
Planning
การวางแผนการเรียนรู กําหนดโปรแกรมการเรียนรู
และแนวทางที่ดีที่สุดที่จะบรรลุวัตถุประสงคการเรียน
Implementation
การจัดเตรียมและดําเนินการ การจัดแบบฝกหัดและ
การกําหนดความสัมพันธของแบบฝกหัดซึ่งจะเปน
เครื่องมือที่ทําใหนักเรียนบรรลุวัตถุประสงคการเรียน
Evaluation
การประเมินผล การวัดผลและประเมินผลการเรียนจากแบบฝกหัดทาย
เลมและแบบทดสอบระดับชั้น
Refinement
การแกปญหาและพัฒนา นําขอมูลจากการประเมินผล
มาปรับปรุงและพัฒนาเพื่อใหเปนไปตามโปรแกรมที่วางไว
Planning
การกําหนดเปาหมาย
Implementation
การจัดเตรียม
Refinement
การแกปญหาและพัฒนา
Evaluation
การประเมินผล
www.tutorferry.com
การวางแผนการเรียน ( Planning )
นักเรียนจะไดรับการวางแผนการเรียนใหเหมาะสมกับความสามารถของนักเรียนและพัฒนาไปตาม
ขั้นตอนอยางเปนระดับ ซึ่งการวางแผนโปรแกรมการเรียนนี้มีการกําหนดเปาหมายใหเรียนทันกับระดับชั้นที่
เรียนหรือเรียนลวงหนา 1 เทอม
ทั้งนี้หากนักเรียนมาเรียนทุกสัปดาหก็จะเปนไปตามโปรแกรมที่ตั้งไวแตถาหากขาดเรียนไปอาจจะไม
เปนไปตามโปรแกรมที่ตั้งไวควรจะหาเวลามาเรียนชดเชยเพื่อใหเปนไปตามโปรแกรมที่ตั้งไว
การจัดเตรียมและการดําเนินการสอน ( Implementation )
แบบฝกหัด
เนื้อหาในแบบฝกหัดเปนการฝกทักษะและวิเคราะหโจทยคณิตศาสตรเบื้องตนสําหรับนักเรียน มีเนื้อหา
ตรงตามหลักสูตรกระทรวงศึกษาธิการไทย
ลําดับขั้นของครูผูสอน
1. กอนสอน
2. ระหวางสอน
2.1 ดูแลและใหคําปรึกษาแกนักเรียน
2.2 ดูการทําแบบฝกหัดของนักเรียนใหเปนไปตามโปรแกรมที่ตั้งไวเพื่อใหไปถึงเปาหมายตามที่กําหนด
หากนักเรียนเรียนแลวไมเปนไปตามโปรแกรมในครั้งนั้นใหครูผู ไขตอไปเพื่อที่
จะใหโปรแกรมที่ตั้งไวเปนไปตามเป
สอน วางแนวทางแก
าหมาย
3. หลังสอน
3.1 พูดคุยกับผูปกครอง อีกทั้งรายงานความคืบหนาและวิเคราะหผลการเรียนของนักเรียนใหผูปกครอง
ทราบ
www.tutorferry.com
การประเมินผล ( Evaluation )
การประเมินผลมี 2 แบบไดแก
[1] ประเมินผลความเขาใจในแบบฝกหัดแตละหนวยการเรียน
[2] ประเมินผลความเขาใจในระดับชั้น
การพัฒนาและแนวทางแกไขปญหา ( Refinement )
[1 ] แนวทางการพัฒนาที่ทําใหนักเรียนมีความคิดอยางเปนระบบ ชัดเจนและรัดกุมตลอดจนสรางความ
เชื่อมั่นใหกับนักเรียนและพัฒนาใหนักเรียนมีการเรียนรูอยางตอเนื่องและสูงขึ้น เชน
1.1 สรางความเชื่อมั่นใหกับนักเรียนในขณะที่นักเรียนทําแบบฝกหัด
1.2 เสริมสรางกระบวนการคิด โดยการสอนที่เปนระบบ
1.3 สงเสริมใหนักเรียนเรียนรูในระดับที่สูงขึ้นอยางตอเนื่อง เชน เมื่อนักเรียนฝกทําแบบฝกหัดครบ
แลวแตเวลาในการเรียนยังคงเหลืออยูก็ควรที่จะใหนักเรียนเรียนรูตอไปอยางตอเนื่องโดยไม
หยุดนิ่ง
1.4 ควรที่จะเรียนรูและเขาใจนักเรียนแตละคน เพื่อที่จะไดกระตุนและดึงความสามารถของนักเรียน
ออกมาไดอยางเต็มที่
[ 2 ] แนวทางในการแกไขขอบกพรองและปญหาที่ทําใหนักเรียนเรียนไมเปนไปตามโปรแกรมที่ตั้งไว เชน
1.1 ใหมาเรียนชดเชยในครั้งที่ขาดเรียนไป
1.2 ใหนําแบบฝกหัดที่ทําไมเสร็จกลับไปทําเปนการบานโดยครูผูสอนจะตองอธิบายเนื้อหาที่เหลือให
นักเรียนเขาใจกอนใหนํากลับไป
www.tutorferry.com
หลักสูตรที่สามารถพัฒนาศักยภาพในการเรียนรูอยางตอเนื่อง
การพัฒนาศักยภาพในการเรียนรูของนักเรียนทําไดโดยใหนักเรียนไดรับความรู
พื้นฐานครบถวน ดวยความเขาใจ จากนั้นนักเรียนนําความรูพื้นฐานดังกลาว
มาเชื่อมโยงอยางเปนระบบ เพื่อใชในการเรียนและการแกปญหาอยางเปน
ระบบสามารถพัฒนาศักยภาพในการเรียนรูของนักเรียน โดยมุงเนนในเรื่องต
1. หลักสูตร
มุงเนนที่ตัวนักเรียน ( FOCUS ON STUDENT )
นักเรียนแตละคนมีความสามารถในการเรียนรูไมเทากัน การที่จะพัฒนา
ศักยภาพในการเรียนรูของนักเรียนแตละคน จะตองมุงเนนการจัดหลักสูตร
และเทคนิคการสอน ใหเหมาะสมกับนักเรียนแตละคน
เนื้อหาครบถวนตามหลักสูตรกระทรวงและยืดหยุนได
( COMPREHENSIVE AND FLXIBILITY)
เนื้อหาการเรียนของหลักสูตร ับใหสอดคลองกับเนื้อหาการเรียนที่โรงเรี
วงเวลาสอบเพื่อเนนใหนักเรียนนําเนื้อหาเหลานี้ไปใชไดจริง
มีเนื้อหาครบถวนตามหลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการไทย
ปูพื้นฐานดานโจทยปญหา ( BASIC PROBLEM SOLVING )
โจทยปญหาเปนรูปแบบการเรียนรูทางคณิตศาสตรที่นําเอาเนื้อหาตางๆ ของ
หลักสูตรคณิตศาสตร มาเชื่องโยงกันเพื่อใชในการแกปญหา
2. ระบบการเรียน
การวางโปรแกรมการเรียนรู ( PROGRAM PLANING )
เปนการกําหนดเปาหมายการเรียนของนักเรียนแตละคน และเสมือนหนึ่งเป
ังที่ใหนักเรียนเดินตามเป
างๆ
ปร ยน
ในช
น
แผนผ าหมาย
การวัดผลและปรับปรุงตลอดเวลา
( EVALUATE AND CONTINUOUS DEVELOPMENT )
การวัดผลการเรียนรูของนักเรียน และนําผลนั้นไปปรับปรุงโปรแกรมการเรียนรู
ปรับเทคนิคการสอนและเนื้อหาที่ใชในการสอนของนักเรียนแตละคน เพื่อ
พัฒนาคุณภาพของการเรียนการสอน
www.tutorferry.com
3. การเรียนการสอน
การฝกแบบฝกหัดจากระดับที่งาย ( START ON EASY LEVEL )
เพื่อเพิ่มความมั่นใจในการเรียน ลดความกดดันในการเรียน ซึ่งจะส
นักเรียนสามารถเรียนรูไดอยางเต็มศักยภาพ
การฝกฝนใหเกิดความชํานาญ ถูกตอง แมนยําและรวดเร็ว
( ACCURACY AND SPEED )
เนนความเขาใจในเนื้อหาการทําแบบฝกหัดที่หลากหลายและสม่ําเสมอ
เพื่อเพิ่มความถูกตองแมนยํา และความรวดเร็วในการทําแบบฝกหัด
4. ครูผูสอน
ิคการสอน TEACHING TECHNIQUE )
ครูจะทําหนาที่อธิบายในเนื้อหาที่นักเรียนไมเขาใจเปนครูที่มีความรูในเรื่
เนื้อหาวิชาและเทคนิคการสอน เปนอยางดี
เอาใจใส ดูแลนักเรียน ( STUDENT CARE )
กระตุน เอาใจใสและดูแลนักเรียนอยางใกลชิด ซึ่งครูที่ผ ไดรั
กฝนใหเขาใจในพฤติกรรมของนักเรียน เพื่อที่จะกระตุนและดึ
ักเรียนไดอยางเต็มที่ ซึ่งจะทําใหนักเรียนพัฒนาศักยภาพในการเรียนรูได
อยางไรขีดจํากัด
งผล
ให
องของ
านการอบรม บ
การฝ งความสามารถ
ของน
สิ่งที่นักเรียนได
1. ไดรับการพัฒนาศักยภาพของนักเรียนและสามารถเรียนรูดวยตนเองมากขึ้น
2. มีความเขาใจในทักษะพื้ อยางครบถวน
3. มีความคิดอยางมีระบบ ชัดเจนและรัดกุม
4. มีความเชื่อมั่นในตัวเองมากขึ้น
5. สามารถนําความรู และทักษะที่ได มาเชื่อมโยง เพื่อใชในการเรียนรูสิ่ง
ตางๆ อยางตอเนื่อง
6.สามารถเรียนเกินระดับชั้นเรียนที่โรงเรียนได
รับ
www.tutorferry.com
เทคน
นฐาน
MATH
การสอนคณิตศาสตรเพียงเพื่อใหนักเรียนเกิดความรูความเขาในใจเนื้อหาหลักของคณิตศาสตร
เทานั้นยังไมเพียงพอ แตครูคณิตศาสตรจําเปนตองสอนใหนักเรียนเห็นคุณคาและเกิดทักษะในการคิดคํานวณ
จนสามารนําไปใชในชีวิตประจําวัน
การนําประสบการณไปใชในชีวิตประจําวัน ซึ่งเปนสวนที่เกี่ยวของกับการแกโจทยปญหา
ดังนั้นการเรียนการสอนคณิตศาสตรจึงจําเปนตองเนนการพัฒนาความสามารถของนักเรียนในการแกโจทย
ปญหา การแกปญหาเปนพฤติกรรมพื้นฐานของมนุษย ทุกขณะที่มนุษยมีสติสัมปชัญญะอยูกับตัวจะตอง
เกี่ยวของกับปญหา เพราะวาขณะที่มนุษยรูสึกตัว สมองของมนุษยรูสึกตัว สมองของมนุษยจะคิดอยู
ตลอดเวลา และ การคิดนั้นตองมีเปาหมาย แตการจะไปสูเปาหมายไดมนุษยจะตองมีการแกปญหา
นอกจากนี้สมาคมครูผูสอนคณิตศาสตรแหงชาติ (National Council Teachers of Mathematics) ไดกลาวไว
วา การเรียนการแกโจทยปญหาเปน จุดประสงคหลักของการเรียนวิชาคณิตศาสตร หรือ จุดมุงหมายที่
แทจริงในการสอนคณิตศาสตรก็คือ การทําใหนักเรียนสามารถแกปญหาในชีวิต ประจําวันได
จิตวิทยาที่ควรรูสําหรับครูคณิตศาสตร
ลักษณะเด็กวัยประถมศึกษา (อายุ 6-12 ป)
พัฒนาการทางรางกาย
1. การเจริญเติบโตของรางกายของเด็กวัยประถมศึกษา จะชากวาเด็กวัยอนุบาล โดยทั่วไปเด็กจะมีรูปรางสูง
และ คอนขางจะผอมลงกวาวัยอนุบาล ตอนแรกๆ อายุ 6-7 ปของวัยนี้เด็กชายจะโตกวาเด็กหญิง แตตอนหลัง
ระหวางอายุ 12-13 ปเด็กหญิงจะโต กวาเด็กชายเพราะเด็กหญิงจะเขาสูวัยรุนเร็วกวาเด็กชายราวๆ 2 ป
2. ความแตกตางระหวางบุคคลในความสูง และน้ําหนักจะเห็นไดชัดเจนในวัยนี้ ถาหากครูสอนนักเรียนที่มา
จากฐานะเศรษฐกิจ และ สังคมที่คลายคลึงกันมากแตมีเด็กที่ตัวเล็กผิดปกติครูควรจะสอบถามเรื่องอาหารที่
เด็กรับประทานเพราะอาหารที่ถูกสวนมีความสําคัญในการเจริญเติบโตของเด็กมากจนสังเกตได
3. เด็กหญิงมีความเจริญเติบโตทางดานรางกายเร็วกวาเพื่อนวัยเดียวกัน มักมีปญหาทางดานการปรับตัวจะ
รูสึกวาตนโตกวาเพื่อนและแยกตัวออกจากเพื่อน สําหรับเด็กชายที่มีความเจริญเติบโตเร็วกวาเพื่อนมีการ
ปรับตัวไดดี
4. พัฒนาการของกลามเนื้อกระดูกและประสาทจะเพิ่มขึ้น เด็กชายมีพัฒนาการของกลามเนื้อเร็วกวาเด็กหญิง
การใชทักษะการเคลื่อนไหวเกี่ยวกับกลามเนื้อใหญใชการไดดี อายุประมาณ 7 ป การใชและบังคับกลามเนื้อ
ตางๆ ทั้งกลามเนื้อใหญและกลามเนื้อยอยจะดีขึ้นมาก และสามารถประสานงานกันไดดี เด็กวัยนี้จึงสนุกใน
การลองความสามารถในการกระโดดสูง กระโดดระยะไกลๆ กระโดดเชือก เลนฟุตบอล เด็กวัยนี้จะพยายาม
ฝกทักษะทางการเคลื่อนไหวเพื่อไมใหนอยหนาเพื่อน เด็กบางคนอาจทดลองโดยลืมคิดถึงอันตรายจึงมี
อุบัติเหตุในการเลนบอยครั้ง
www.tutorferry.com
5. การประสานระหวางมือและตาของเด็กวัยนี้จะดีขึ้น เด็กสามารถที่จะอาน เขียนและวาดรูปไดดีขึ้น
กิจกรรมในโรงเรียนควรสนับสนุนใหเด็กไดใชความคิดสรางสรรคในดานศิลปะตางๆ
6. เด็กวัยนี้จะมีบางทีที่ทํากิจกรรมอยางไมเหน็ดเหนื่อย และมักจะประกอบกิจกรรมใดกิจกรรมหนึ่งอยูเสมอ
เด็กวัยนี้มักใชเวลาสวนมากอยูกับเพื่อนทั้งในโรงเรียนและนอกโรงเรียน
พัฒนาการทางเชาวปญญา
พีอาเจต เรียกวัยประถมศึกษาวา Concrete Operation ซึ่งสรุปไดวาวัยนี้เด็กชายจะมีความสามารถคิดเชิง
เหตุผล เชิงตรรกได สามารถที่จะรับรูสิ่งแวดลอมไดตามความเปนจริง สามารถที่จะพิจารณาเปรียบเทียบโดย
ใชเกณฑหลายๆ อยาง โดยเฉพาะในการจัดของเปนกลุม นอกจากนี้เด็กวัยประถมมีความเขาใจเกี่ยวกับความ
คงตัวของสสาร มีความเขาใจวาการเปลี่ยนแปลงรูปรางภายนอกของสสารไมมีผลตอสภาพเดิมตอปริมาณ
น้ําหนักและปริมาตร นอกจากนี้เด็กจะสามารถเปรียบเทียบสิ่งของวามากกวา ใหญกวา ยาวกวา เขมกวา
พัฒนาการทางดานภาษาและการใชสัญลักษณเจริญกาวหนามาก เด็กจะเริ่มเขาใจกฎเกณฑตางๆ
อยางมีเหตุผล และ เขาใจความหมายของบทเรียน ทั้งทางคณิตศาสตร ภาษา การอาน มีความคิดรวบยอด
เกี่ยวกับสิ่งแวดลอม และ สามารถอธิบายได เด็กวัยนี้มักจะสนใจปญหาตางๆ ที่ตองแกดวยความคิด เหตุผล ถา
แกไดเด็กจะเกิดความภูมิใจ
ความแตกตางระหวางบุคคลเกี่ยวกับพัฒนาการทางเชาวปญญา เปนสิ่งที่ครูควรตระหนัก และ ควร
คํานึงถึงความสามารถเฉพาะของเด็ก และ พยายามสงเสริมใหเด็กแตละคนพัฒนาตาม ศักยภาพของตน
นักเรียนบางคนอาจมีความสามารถทางเชาวปญญาแตกตางกัน บางคนอาจจะเกงทางคณิตศาสตร บางคน
อาจจะเกงทางภาษา
พัฒนาการทางบุคลิกภาพ
ทฤษฎีทางการพัฒนาการทางบุคลิกภาพของเด็กในวัยประถมศึกษา คือ ทฤษฎีของฟรอยด และ อีริคสัน ฟรอยด
เรียกเด็กวัยประถมวาขั้นแฝงเปนระยะที่ความตองการทางเพศสงบลง เด็กมักจะรวมกลุมกับเพื่อนเพศเดียวกัน เด็กวัย
นี้จะมีมโนธรรมรูจักวาอะไรผิดอะไรถูกโดยใชมาตรฐานจริยธรรมของผูใหญเปนเกณฑ อีริคสันอธิบายวาความ
ตองการทางเพศของเด็กวัยนี้ยังคงอยู แตเปลี่ยนเปนพลังงานอยางอื่น เด็กวัยนี้จะไมอยูเฉยมีความคลองแคลวที่จะ
ประกอบกิจกรรมตางๆ อยูเสมอ ตองการมีสมรรถภาพที่จะทําอะไรไดสําเร็จ ฉะนั้นผูใหญควรหาทางที่จะสงเสริม
สนับสนุนใหเด็กวัยนี้ไดประสบความสําเร็จ เพื่อสรางมโนทัศนที่ดี และ ความภูมิใจใหแกเด็กถาเด็กวัยนี้ประสบความ
ลมเหลวก็จะเปนปมดอย และ มโนทัศนที่ไมดีไปจนโต
พัฒนาการทางอารมณ และ สังคม
แมวาเด็กวัยประถมศึกษาจะเรียนรูการควบคุมอารมณ แตผูใหญควรคํานึงถึงความแตกตางกันของเด็ก เด็กบางคน
อาจกลัวสัตว กลัวความมืด กลัวที่สูง แตสิ่งที่เด็กวัยนี้กลัวที่สุดก็คือกลัวจะถูกลอเพราะแตกตางจากเพื่อน นอกจากนี้เด็ก
ในวัยนี้ยังมีความวิตกกังวลเกี่ยวกับการเรียน กลัวจะสอบไมได กลัวถูกทําโทษหรือกลัววาเพื่อนจะไมชอบ ถาเด็กมี
www.tutorferry.com
ความวิตกกังวลมากจะแสดง พฤติกรรมที่แตกตางกัน บางคนอาจซึมไมตั้งใจเรียน นอนหลับในหองเรียน บางคน
อาจแสดงออกโดยการไมอยูนิ่งมีอารมณเปลี่ยนแปลงงาย หรือแสดงพฤติกรรมที่แปลกจากคนอื่น เด็กวัยนี้มีอารมณ
โกรธอาจมีการตอสูกันทางดานรางกายหรืออาจกลาววาจาโดยการลอเลียนพูดจาถากถาง หรือบางครั้งอาจทําใหไมพูด
กับคนที่โกรธไปเลย การแสดงอารมณโกรธจะแตกตางกันระหวางเด็กหญิงและเด็กชาย เด็กหญิงอาจจะรองไหเวลา
โกรธ ถาเด็กที่แสดงความโกรธและทํารายผูอื่นควรอธิบายใหเด็กเขาใจวาพฤติกรรมที่แสดงนั้นไมเปนที่ยอมรับของ
สังคม และควรหาตัวอยางของเพื่อนวัยเดียวกันที่มีพฤติกรรมที่ดีที่เด็กสามารถเรียนแบบได นอกจากนี้ครูควรพยายาม
ใหแรงเสริมเวลาเด็กสามารถระงับความโกรธได การลงโทษโดยเฉพาะการตีหรือทําใหเจ็บกายจะเปนการสงเสริมให
เด็กแสดง พฤติกรรมกาวราวมากขึ้น นอกจากอารมณตางๆ เด็กวัยนี้ยังเต็มไปดวยความราเริงสนุกในการเลน พอใจกับ
ความสําเร็จในการกิจกรรม ทั้งในดานการเรียนและการเลนเกมตางๆ เด็กที่ ประสบความสําเร็จจะรูสึกวาตนมี
สมรรถภาพสําหรับพัฒนาการดานสังคมเด็กวัยนี้จะมีสังคมพิเศษเฉพาะของเด็ก เด็กมักรวมกลุมตามเพศเลนเกมตางๆ
เพื่อนมีความสําคัญและอิทธิพลตอพฤติกรรมของเด็กในวัยนี้ เด็กที่สามารถปรับตัวใหเขากับเพื่อนในวัยนี้ไดจะไมมี
ปญหาในการปรับตัวเวลาเปนผูใหญ สําหรับเด็กที่มีปญหาควรไดรับการชวยเหลือจากครู เด็กที่ถูกทุกคนไม ยอมรับ
มักจะมีปญหาดานพฤติกรรมซึ่งจําเปนตองไดรับการแกไขและชวยเหลือจากครู
ความแตกตางระหวางบุคคล
ความแตกตางระหวางบุคคล นักเรียนยอมมีความแตกตางกันทั้งในดานสติปญญา อารมณ จิตใจ และ
ลักษณะนิสัย ดังนั้น ในการจัดการเรียนการสอนครูจะตองคํานึงถึงเรื่องนี้ ในการจัดชั้นเรียนนั้น โดยทั่วไปครู
มักจะจัดชั้นเรียนโดยมีนักเรียนซึ่งมีความสามารถคละกันไป โดยมิไดคํานึงถึงวานักเรียนนั้นมีความแตกตาง
กัน ซึ่งจะทําใหผลการสอนไมดีเทาที่ควร ดังนั้นในการจัดชั้นเรียนครูควรจะไดคํานึงถึง
1. ความแตกตางของนักเรียนภายในกลุมเดียวกัน
2. ความแตกตางระหวางกลุมของนักเรียน
การสอนนั้นนอกจากคํานึงถึงความแตกตางระหวางกลุมแลวตัวครูเองจะตองพยายามที่จะสอนบุคคลเหลานี้
เพราะนักเรียนแตละคนไมเหมือนกัน นักเรียนที่เรียนเกงจะทําโจทยคณิตศาสตรไดคลอง แตนักเรียนที่เรียน
ออนจะทําไมทันเพื่อนซึ่งอาจทําให นักเรียนทอถอย ครูตองคอยใหกําลังใจแกเขา การสอนนั้นครูตอง
พยายามดังนี้ ศึกษา นักเรียนแตละคนดูความแตกตางและวางแผนการสอนใหสอดคลองกับความแตกตาง
ของนักเรียน ถาเด็กเกงก็สงเสริมใหกาวหนา สวนเด็กออนก็พยายามชวยเหลือโดยการสอนเสริม ทํา
แบบฝกหัดที่สนุกไมนาเบื่อ การสอนเด็กที่แตกตางกันนั้น สิ่งสําคัญครูตองมีความอดทน เสียสละ จึงสามารถ
สอนนักเรียนที่แตกตางกันไดอยางมีประสิทธิภาพ
การสอนเด็กที่เรียนชาใหไดผลดีครูอาจใชหลักการสอนดังตอไปนี้
1. กอนอื่นครูตองแสดงใหนักเรียนทราบวาครูเต็มใจที่จะชวยใหนักเรียนเกิดการเรียนรู
2. พยายามหลีกเลี่ยงสภาพที่จะกอใหนักเรียนที่เรียนชา เกิดความคับของใจ โดยอาจจัดบทเรียนใหเหมาะสม
กับความสามารถ เชน ลดจํานวนงานใหนอยลงกวานักเรียนปกติ
www.tutorferry.com
3. ในเวลาถามคําถาม ครูควรเลือกคําถามที่นักเรียนเรียนชาจะตอบได และใหเวลาในการตอบโดยครูอาจถาม
ซ้ําหรืออธิบายคําถามใหนักเรียนที่เรียนชาเขาใจ
4. พยายามจัดหนวยการเรียนใหสั้นและจบในตัวโดยคํานึงถึงความสามารถของ นักเรียนที่เรียนชาดวย
5. ทุกครั้งที่เริ่มบทเรียนใหมครูควรจะทบทวนบทเรียนที่เรียนมาแลว โดยใชวิธีการใหนักเรียนที่เรียนชาได
แสดงออกและรูสึกวาตนทําได
จิตวิทยาในการฝก
การฝกเปนเรื่องที่จําเปนสําหรับนักเรียน การใหนักเรียนฝกซ้ําๆ บางครั้งก็ทําใหนักเรียนเกิดการเบื่อหนาย
ครูจะตองดูใหเหมาะสมโดยพิจารณาดังนี้
1. การฝกจะใหไดผลดีตองฝกเปนรายบุคคล เพราะคํานึงถึงความแตกตางระหวางบุคคลได
2. ควรจะฝกไปทีละเรื่องเมื่อจบบทเรียนหนึ่งๆ และเมื่อเรียนไดหลายบทก็ควรฝกรวบยอดอีกครั้ง
3. ควรมีการตรวจแบบฝกหัดแตละครั้งที่นักเรียนทําเพื่อเปนการประเมินผลนักเรียน ตลอดจนประเมินผล
การสอนของครูดวย
4. เลือกแบบฝกหัดใหสอดคลองกับบทเรียนและใหแบบฝกหัดพอเหมาะไมมากเกินไป
5. แบบฝกหัดนั้นควรจะฝกหลายๆ ดาน คํานึงถึงความยากงายเพื่อใหนักเรียนเขาใจและทําได
6. พึงตระหนักอยูเสมอวากอนที่นักเรียนจะทําโจทยนั้นไดนักเรียนจะตองเขาใจวิธีการทําโจทยนั้น โดยถอง
แทเสียกอน
การเรียนโดยการกระทํา
ทฤษฎีนี้ จอหน ดิวอี้ (John Dewey) กลาววาในการสอนคณิตศาสตรนั้นปจจุบันมีสื่อการสอนรูปธรรม
ชวยมากมาย ครูจะตองใหนักเรียนไดลองกระทําหรือปฏิบัติจริงแลวจึงใหสรุปมโนคติ (Concept) ครูไมควร
เปนผูบอก เพราะถานักเรียนไดพบดวยตัวเขาเอง แลวเขาจะจดจําไปไดนาน อยางไรก็ตามเนื้อหาบางอยางก็
ไมมีสื่อการเรียนการสอนเปนรูปแบบ ครูก็จะตองใหนักเรียนฝกทําโจทยดวยตัวเขาเองจนเขาใจและสามารถ
ทําได
การเรียนเพื่อรู
การเรียนเพื่อรูเปนการเรียนรูจริงทําใหไดจริง นักเรียนนั้นเมื่อมาเรียนคณิตศาสตรบางคนก็ทําไดตาม
จุดประสงคที่ครูกําหนดไว แตบางคนก็ไมสามารถทําได นักเรียนประเภทหลังนี้ควรไดรับการสอนซอมเสริมใหเขา
เกิดการเรียนรูเหมือนคนอื่น แตเขาอาจตองเสียเวลาและใชเวลานานกวาคนอื่น ในการที่จะเรียนเนื้อหาเดียวกัน
ครูผูสอนจะตองพิจารณาเรื่องนี้ทําอยางไรจึงจะสนองความแตกตางระหวางบุคคลไดใหนักเรียนทุกคนไดเรียนรู
จนครบจุดประสงคที่กําหนดไว เมื่อนักเรียนเกิดการเรียนรูและสําเร็จตามความประสงคเขาจะเกิดความพอใจมี
กําลังใจ และเกิดแรงจูงใจอยากจะเรียนตอไป
www.tutorferry.com
ความพรอม
เรื่องนี้เปนเรื่องสําคัญเพราะถานักเรียนไมมีความพรอม เขาก็ไมสามารถจะเรียนตอไปได ครูจะตองสํารวจ
ความพรอมของนักเรียนกอน นักเรียนที่มีวัยตางกัน ความพรอมยอมไมเหมือนกัน ในการสอนคณิตศาสตรครู
จึงตองสํารวจความพรอมของนักเรียนอยูเสมอ ครูจะตองดูความรูพื้นฐานของนักเรียนวาพรอมที่จะเรียน
ตอไปหรือเปลา ถานักเรียนยังไมพรอมครูจะตองทบทวนเสียกอนเพื่อใชความรูพื้นฐานในการอางอิงใน
บทเรียนตอไป นักเรียนที่มีความพรอมก็จะทําใหนักเรียนเรียนไดดี
แรงจูงใจ
แรงจูงใจเปนเรื่องที่ครูควรเอาใจใสอยางยิ่ง เพราะธรรมชาติของวิชาคณิตศาสตรนั้นเปนเรื่องยากอยู
แลว ในการใหนักเรียนทํางานหรือโจทยปญหาครูตองคํานึงถึงความสําเร็จดวย การที่ครูคอยๆ ทําใหนักเรียน
เกิดความสําเร็จเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ซึ่งตองคํานึงถึงความแตกตางระหวางบุคคลจะทําใหเกิดการแขงขันหรือการ
เสริมกําลังใจเปนกลุมเปนการสรางแรงจูงใจใหแกนักเรียน
การสรางแรงจูงใจในการเรียนการสอน
หนาที่สําคัญอันเปนบทบาทที่ครูผูสอนพึงปฏิบัติและไมอาจหลีกเลี่ยงไดคือ การกระตุนใหผูเรียนมี
แรงจูงใจในการเรียนเกิดขึ้น ครูผูสอนจึงควรปฏิบัติเพื่อสรางแรงจูงใจใหกับผูเรียนดังนี้
1. กระตุนใหผูเรียนเกิดความสนใจและมีความอยากรูอยากเห็นเกิดขึ้น โดยใหผูเรียนไดคนหา
คําตอบใหมากที่สุดดวยตนเอง
2. สรางความเชื่อมั่นใหตนเองใหกับผูเรียนในความสามารถที่เขามี เพื่อใหผูเรียนนําความรู
ความสามารถที่มีอยูทั้งหมด ไปใชในการเรียนรูใหมีประสิทธิภาพ อาจทําไดโดย
2.1ใหผูเรียนไดเรียนหรือไดทํางานที่เหมาะสมกับระดับความ สามารถ เพื่อใหผูเรียนไดพบกับ
ความสําเร็จในชั้นตนเสียกอนเพื่อชวยใหเขามีความเชื่อมั่นในตนเองเกิดขึ้น ตอจากนั้นคอย ๆ
เพิ่มระดับความยากหรือความสลับซับซอนของงานหรือสิ่งที่เรียนขึ้นไปเรื่อย ๆ
2.2 แบงจุดประสงคการเรียนรูออกเปนชวงสั้น ๆ เพื่อใหผูเรียนประสบความสําเร็จในการเรียน
ในชวงระยะเวลาไมนานนัก และ ทําใหผูเรียนไดทราบถึงความกาวหนาในการเรียนของตนเอง
3. สรางเจตคติที่ดีตอการเรียนและใหผูเรียนเห็นความสําคัญของสิ่งที่เรียน ทั้งที่เปนประโยชนใน
ปจจุบัน และประโยชนในอนาคต อาจทําไดโดย
3.1 ทําใหการเรียนสนุกสนาน บางบทเรียนอาจจัดการเรียนการสอนในรูปของเกม ซึ่งผู
เรียนจะไดทั้งความรูและความสนุกสนานควบคูกันไปดวย
3.2 สอนใหคลายคลึงกับสถานการณในชีวิตจริง และ อธิบายใหเห็นความสําพันธ ระหวางสิ่งที่
เรียนในปจจุบัน กับ ชีวิตจริงในสังคม
3.3 ใชเครื่องลอ หรือ สิ่งลอใจที่เหมาะสม คุมคากับเวลาและความพยายามของผูเรียน
4. สนองความตองการเบื้องตนของผูเรียนอาจทําไดโดย
www.tutorferry.com
4.1 สรางบรรยากาศในหองเรียนใหเกิดความอบอุน ไมทําใหผูเรียนแบงพรรคแบงพวกกัน
ครูผูสอนใหความสนใจและใหความสําคัญแกผูเรียนในหองเรียนอยางทั่วถึงมวาผูเรียนจะมี
ความสามารถสูงหรือมีความสามารถต่ํา
4.2 มอบหมายใหกับผูเรียนทํางานที่ทาทายความสามารถ โดยงานนั้นจะตองไมยากหรืองาย
จนเกินไป
5. ใหผูเรียนไดเห็นตัวแบบที่ประสบความสําเร็จ โดยใชตัวแบบที่มีความสามารถระดับใกลเคียงกับ
ผูเรียน ตัวแบบดังกลาวจะชวยใหผูเรียนไดเห็นวา ถาเขามีความพยายามก็มีโอกาสประสบความสําเร็จไดดวย
การเสริมกําลังใจ
การใหแรงเสริมเปนสิ่งหนึ่งที่ครูควรใชอยางรอบคอบ ควรเลือกวาควรใชแรงเสริมอะไรจะเหมาะสมกับ
ผูเรียนแตละคน จากการวิจัยพบวาครูอาจใหแรงเสริมได 3 ประเภท ดังนี้
1. การใหความสนใจและคําชมเปนแรงเสริม ครูทุกคนควรสนใจใหคําชมแกนักเรียนเพราะ
เปนสิ่งที่ครูใชไดทุกโอกาส และใชไดทันทีที่เด็กเปลี่ยนพฤติกรรมตามวัตถุประสงคที่ตั้งไว ขอสําคัญครูควร
ระลึกอยูเสมอวาการใหความสนใจหรือคําชมนั้นเปนสิ่งที่ทุกคนปรารถนาทั้งนักเรียนที่เกงและออน
2. การใชกิจกรรมที่ผูเรียนชอบทําเปนแรงเสริม
3. การใหแรงเสริมที่เปนสิ่งของ เชน ดาวหรือเบี้ย
วิธีการที่จะใชการใหแรงเสริมแบบนี้มีประสิทธิภาพสูงขึ้นมีดังนี้
1. กอนจะใชควรแนใจวาสามารถที่จะมีของที่จะแลกกับเบี้ยตามที่สัญญากับนักเรียน
2. เวลาใชเบี้ยเปนแรงเสริมควรใชคูกับคําชม
3. ควรจะระวังในการใชอยาใหถึงขั้นอิ่มตัว
4. ควรจะพยายามลดการใชเบี้ยและเปลี่ยนมาใชคําชมแทน
ทักษะการเราความสนใจ
ทักษะการเราความสนใจ หมายถึง การกระตุนใหนักเรียนเกิดความสนใจที่จะเรียนและติดตามกิจกรรม
โดยตลอด มีการเปลี่ยนเทคนิคการสอนแบบตางๆ อยูเสมอกอนที่นักเรียนจะเบื่อหนาย ทักษะนี้จึงเปนสิ่ง
สําคัญสําหรับครูที่จะปรับปรุงวิธีการสอนใหมีประสิทธิภาพมากขึ้นเปนการชวยใหนักเรียนไมเบื่อหนายการ
เรียน มีความกระตือรือรนและมีความสนใจอยูตลอดเวลาตั้งแตเริ่มตนจนกระทั้งการสอนสิ้นสุดลง
เทคนิคการเราความสนใจมีหลายวิธีครูจะตองพิจารณาเลือกเทคนิควิธีการที่เหมาะสมกับจุดมุงหมาย
ในการสอน ในการสอนแตละครั้ง ครูอาจใชกี่วิธีก็ได แตจะตองใหสัมพันธสอดคลองและเหมาะสมกับ
บทเรียน จึงจะเกิดประโยชนตอนักเรียน การเราความสนใจมีดังนี้
1.1.1 การใชสื่อการเรียนการสอน
www.tutorferry.com
1.1.4 การเลาเรื่องสั้น
1.1.5 การตั้งปญหา
1.1.6 การแสดงบทบาทสมมติ
1.1.7 การเลนเกม
1.1.8 การสาธิต
1.1.9 การใชเหตุการณปจจุบัน
1.1.10 การเลนคําสัมผัส
ทักษะการเสริมกําลังใจ
การเสริมกําลังใจ หมายถึง การใหรางวัลหรือคําพูดชมเชยหลังจากที่นักเรียนแสดงพฤติกรรมที่ครูตองการ
เชน ใหนักเรียนทําการบาน ตอบคําถาม ครูควรจะเลือกการเสริมกําลังใจมาใชใหเหมาะกับแตละสถานการณ
วัยและระดับชั้นของนักเรียนการเสริมกําลังใจที่ครูควรนํามาใช มีดังนี้
1. การเสริมกําลังใจดวยวาจา
2. การเสริมกําลังใจดวยทาทาง เปนการแสดงออกทางสีหนาทาทาง
3. การเสริมกําลังใจดวยการใหรางวัลและสัญลักษณตางๆ
4. การเสริมกําลังใจดวยการใหผูเรียนเห็นความกาวหนาของตนเอง
หลักเกณฑในการนําไปใช
1. เสริมกําลังใจในจังหวะที่เหมาะสม
2. เสริมกําลังใจยอนหลัง
3. ไมพูดเกินความจริง
4. ไมใชคําพูดที่จํากัดอยูในวงแคบ
5. ไมควรใชการเสริมกําลังใจบางประเภทบอยเกินไป
6. พยายามหาโอกาสเสริมกําลังใจใหทั่วถึงกัน
7. การเสริมกําลังใจในทางบวก จะไดผลดีกวาทางลบ
8. การเสริมกําลังใจไมควรมาจากครูฝายเดียว ควรใชวิธีเสริมกําลังใจดวยสิ่งแวดลอม
9. เสริมกําลังใจโดยใชคําพูดใหเหมาะกับวัยและระดับชั้นของนักเรียน
10. หาวิธีเสริมกําลังใจใหเหมาะกับลักษณะของนักเรียน
11. ควรเสริมกําลังใจโดยใชวาจาและทาทางประกอบกันและแสดงทาทางที่จริงจัง
12. ใชปายนิเทศ คําพังเพย หรือผลงานของนักเรียนเพื่อกระตุนใหนักเรียนอยากเรียน
การลงโทษ ( Punishment )
การลงโทษเปนการใหสิ่งที่ไมพึงประสงคแกบุคคล หรือ การนําเอาสิ่งที่พึงประสงคออกไปจากตัวบุคคล
หลังจากที่บุคคลมีพฤติกรรมไมดี ไมเปนที่ตองการของสังคม การลงโทษจึงเปนการยับยั้ง การลดความถี่ หรือ
ขจัดพฤติกรรมที่ไมพึงปรารถนาใหหมดไป ( Kazdin, 1975:33-34)
1.1.2 การแสดงทาทางประกอบ
1.1.3 การรองเพลง
www.tutorferry.com
ในอดีตครูผูสอนจะนิยมใชการลงโทษกับผูเรียนที่มีพฤติกรรมไมตองการ เชน ลงโทษเมื่อผูเรียนไม
สนใจเรียน ไมทําการบาน หรือ ไมทํางานตามที่ไดรับ มอบหมายสงครูผูสอนตามกําหนด เปนตน ตอมาเมื่อ
ครูผูสอนมีความรูความเขาใจจิตวิทยาที่เกี่ยวของกับการจูงใจมากขึ้น จึงเห็นวาการลงโทษนั้นเปนการใช
จิตวิทยาที่ผิดหลักจิตวิทยา และถาจําเปนจะตองใชก็ควรเลือกเปนโอกาสสุดทาย เมื่อหาวิธีการอื่นไมไดแลว
วิธีการลงโทษโดยทั่ว ๆ ไป มีอยู 3 วิธีดังนี้
1.การลงโทษทางรางกาย หมายถึงการทําใหผูถูกลงโทษเหน็ดเหนื่อยเมื่อยลา เจ็บปวด เชน การหยิก เฆี่ยนตี
เขกโตะ วิดพื้น หรือวิ่งรอบสนาม เปนตน
2.การลงโทษทางวาจา หมายถึง การใชวาจาลงโทษ โดยมุงหวังใหยุติการกระทํา หรือ พฤติกรรมที่ไมพึง
ปรารถนา เชน การดุ การขมขู การวาราย หรือการตําหนิ เปนตน ( การตําหนิเปนการใหขอสังเกตของ
ตนเองแกผูอื่น เปนการใหขอมูลที่สะทอนใหเห็นจุดบกพรอง หรือ จุดออนของผูนั้น )
3.การลงโทษทางจิต เปนการลงโทษทางสังคมอยางหนึ่ง เปนการใชสังคมเปนเครื่องมือในการยับยั้ง
พฤติกรรมที่ไมพึงปรารถนาของบุคคล เชน การทําใหอับอายหรือทําใหเสียหนา ทําทัณฑบน เพิกถอนสิทธิ
บางอยาง ใหพักการเรียน ตลอดจนการเพิกเฉย
สมพร สุทัศนีย ( 2523 : 69 ) ไดสรุปถึงวิธีการลงโทษที่ครูผูสอนสามารถนํามาใชปฏิบัติกับนักเรียนใน
ชั้นเรียนใหมีประสิทธิภาพดังนี้
1. วิธีการแยกตัว ( Time out ) คือ การนําผูเรียนออกไปจากสิ่งแวดลอมที่นาพึงพอใจ หรือ เปนการนําเอา
ผูเรียนออกไปจากกิจกรรมที่ผูเรียนชอบ
2. ใชวิธีการปรับสินไหม หรือ เรียกแรงเสริมคืน ( Respond Cost ) ซึ่งเปนวิธีหนึ่งของการลงโทษ โดย
ครูผูสอนใหการเสริมแรงทุกครั้งเมื่อผูเรียนมีพฤติกรรมที่พึงประสงค แตถาผูเรียนมีพฤติกรรมที่ไมพึง
ประสงค ก็จะเรียกเอาสิ่งที่เคยใหการเสริมแรงแกผูเรียนกลับคืนมา
3. การตําหนิติเตียน ( Reprimand ) เปนการใชคําพูดตําหนิติเตียนเมื่อผูเรียนมี พฤติกรรมที่ไมเหมาะสม
สรุปหลักการปฏิบัติในการลงโทษไดดังนี้
1. ใชการลงโทษเปนวิธีสุดทาย เมื่อแกไขดวยวิธีการอื่นใดไมไดแลว
2. ใชการลงโทษเปนการแกไข มิใชเพื่อการขูขวัญผูเรียน
3. ใชการลงโทษใหเหมาะสมกับผูเรียนและลงโทษใหเหมาะสมกับความผิด
4. กอนการลงโทษทุกครั้ง ควรใหผูเรียนรับทราบ และยอมรับความผิดของตนดวย
5. ใชการลงทาใหเปนการลงโทษจริง ๆ
6. ควรลงโทษในกรณีที่จงใจทําความผิดเทานั้น
7. ควรลงโทษทันที และลงโทษใหเสร็จสิ้นไปในระยะเวลาอันรวดเร็ว
8. ไมควรลงโทษในลักษณะการประจานผูถูกลงโทษ
9. ในการลงโทษแตละครั้งไมควรพูดถึงความผิดในครั้งกอน ๆ
10. ไมควรลงโทษในขณะที่ผูลงโทษกําลังอยูในอารมณโกรธ
www.tutorferry.com
ขอควรระมัดระวังในการลงโทษมีดังนี้
1. การลงโทษเปนการกระตุนใหเกิดแรงจูงใจที่ผิดหลักจิตวิทยา เพราะวาบุคคลจําใจกระทําในภาวะจํายอม
ไมไดเกิดจากความสมัครใจ
2. การลงโทษทําใหเกิดเจตคติที่ไมดีตอครูผูสอนและวิชาที่เรียน ทําใหการเรียนไมเกิดผลดีเทาที่ควรได
3. การลงโทษเปนการทําลายสัมพันธภาพอันดีระหวางบานกับสถานศึกษา
4. การลงโทษไมเปนการเสริมสรางเสรีภาพทางดานจิตใจ ผูเรียนที่กลัวการลงโทษมาก ๆ จะขาดความ
เชื่อมั่นในตนเองจนไมกลาคิดกลาทําอะไรเลย
การแขงขัน
มีผูไมเห็นดวยกับการสรางแรงจูงใจในการเรียนดวยการแขงขันอยูบาง โดยใหเหตุผลวามีขอเสีย คือ
กอใหเกิดความตึงเครียดทางดานอารมณ มีผลดีตอผูเรียนเปนสวนนอย กลาวคือ ผูเรียนที่คิดวาตนเองมีโอกาส
ชนะเทานั้นที่รูสึกสนุกกับการแขงขัน ซึ่งมีอยูไมมากนัก สวนใหญจะรูสึกทอถอยเพราะโอกาสชนะมีนอย
สําหรับผูที่สนับสนุนการสรางแรงจูงใจในการเรียนดวยวิธีการแขงขันกลับคิดวา ถาการแขงขันดําเนินการไป
ถูกวิธีแลว จะสามารถกระตุนใหเกิดแรงจูงใจในการเรียนไดดีวิธีหนึ่ง กลาวคือ ควรเปดโอกาสใหแตละคนได
แขงขันตามความเหมาะสม
ชนิดของการแขงขัน
การแขงขันมีไดใน 3 ชนิดดังนี้
1. การแขงขันกันทั้งชั้น หรือ เรียกวาใครดีใครได การแขงขันชนิดนี้ทุกคนเปนคูแขงขันกันหมด และมัก
มีการเอารัดเอาเปรียบทุกวิถีทางเพื่อเอาชนะใหได นักจิตวิทยาจึงไมสนับสนุนการแขงขันวิธีนี้ ถาจะแขงขัน
กันดวยวิธีนี้ใหเกิดผลดีก็ตองใหผูเขาแขงขันทุกคนมีความสามารถใกลเคียงกัน
2. การแขงขันกันเปนกลุม การแขนขันชนิดนี้ตองอาศัยความรวมมือของผูที่เปนสมาชิกภายในกลุมทุกคน
เปนสําคัญ วิธีนี้จะเปนการกระตุนใหผูเรียนเกิดแรงจูงใจในการเรียนไดดีมาก อาจเกิดผลเสียบาง ถาแตละ
กลุมตั้งหนาตั้งตาที่จะแขงขันกันเพียงอยางเดียว
เพื่อใหผลเสียในการแขงกันเปนกลุมมีนอยที่สุด จึงควรเปลี่ยนแปลงสมาชิกภายในกลุมอยูเสมอ ทั้งนี้เพื่อ
ปองกันไมใหสมาชิกภายในกลุมมีความผูกพันธกันมากจนเกินไป เพราะจะกอใหเกิดความขัดแยงขึ้นมาได
เมื่อกลุมของตนตองแพ และยังเปนการเปดโอกาสใหผูที่มีความรูความสามารถต่ําหรือประสบแตความ
ลมเหลวไดพบความสําเร็จ เมื่อไปรวมกลุมกับผูที่มีความสามารถสูงอีกดวย
3. การแขงขันกับตนเอง เปนวิธีการแขงขันที่ดีที่สุดสําหรับผูเรียนที่มีความตองการผลสัมฤทธิ์สูงเพราะ
เปนวิธีการจูงใจภายใน การแขงขันแบบนี้ผูเรียนจะไดมีโอกาสเปรียบเทียบผลงานหรือความสามารถของ
ตนเองวามีพัฒนาการสูงขึ้นหรือไม พัฒนาการที่เพิ่มขึ้นจะทําใหผูเรียนเกิดความภาคภูมิใจ มีความเชื่อมั่นใน
ตนเองเพิ่มขึ้นดวย
www.tutorferry.com
สาเหตุที่ทําใหเด็กไมชอบเรียนคณิตศาสตร
เด็กแตละคนมีความสามารถในการเรียนรูที่แตกตางกัน ดังนั้นเด็กจึงควรมี
แนวทางในการเรียนรูที่เหมาะสมกับแตละคน ในทางตรงกันขามสภาพที่เรา
พบคือ การเรียนทั่วๆไปที่มีนักเรียนจํานวนมากๆในหอง แตกลับมีครูเพียง
คนเดียว ซึ่งวิธีนี้ไมสามารถทําใหนักเรียนทุกคนในหองเขาใจเนื้อหาที่สอนได
แมวาคุณครูผูสอนจะเกงเพียงใดก็ตาม ผลคือ นักเรียนที่สามารถเขาใจ
เนื้อหาไดทันก็จะสนุกกับการเรียนในชั้นเรียน สวนนักเรียนที่เรียนไมรูเรื่องก็
จะเริ่มเบื่อขึ้นเรื่อยๆ จนทําใหไมชอบเรียนคณิตศาสตร หรืออาจถึงขั้น
เกลียดเลยก็ได เมื่อเด็กมีปญหา ผูปกครองจําเปนตองหาทางใหเด็กไดเรียน
เสริมนอกเวลาเรียน เพื่อแกปญหาดังกลาว แตในหลายๆกรณีคงตองเจอ
กับปญหาใหมๆขึ้นมาอีก เชน
1. เด็กไดเรียนเนื้อหาที่เหมาะกับความสามารถของตัวเอง แตเนื้อหาที่
กําลังเรียนไมสอดคลองกับเนื้อหาที่จะใชสอบ ซึ่งเราปฏิเสธไมไดวาการ
สอบไดคะแนนดี ทําใหเด็กมีกําลังใจเรียน
2. เด็กไดเรียนเนื้อหาที่ตองนําไปสอบ แตไมมีความเขาใจในเนื้อหานั้น
เพราะมีพื้นฐานไมเพียงพอ
3. เด็กไดเรียนเนื้อหาที่เหมาะกับตัวเอง แตเนื้อหาที่เรียนไมครบตาม
หลักสูตรที่กระทรวงกําหนด การแกปญหาดังกลาวตองการความ
รวมมือทั้งผูเรียน ผูสอนและแบบฝกหัดทางคณิตศาสตร
www.tutorferry.com
ลักษณะสําคัญของวิชาคณิตศาสตร
เมื่อมนุษยเริ่มมีการสังเกตสิ่งตางๆรอบตัว พวกเขาเกิดความสงสัยในสิ่งรอบตัวเขา ปรากฏการณตางๆที่
เกิดขึ้น พวกเขาจึงพยายามหาเหตุผลที่จะอธิบายสิ่งเหลานั้นอยางเปนขั้นตอนและเปนระบบ จากนั้นพยายาม
สรางสัญลักษณเพื่อทําใหคําอธิบายเปนรูปธรรมและสื่อสารใหพวกเขาเขาใจตรงกัน สิ่งเหลานี้เปนตนกําเนิด
ของวิชาคณิตศาสตร ดังนั้นจึงสามารถสรุปลักษณะสําคัญของวิชาคณิตศาสตรไดดังนี้
1. วิชาคณิตศาสตรเปนวิชาที่เกี่ยวกับการใชเหตุผลเราใชคณิตศาสตรพิสูจนอยางมีเหตุผลวาสิ่งที่เรา
คิดขึ้นนั้น เปนจริงหรือไม คณิตศาสตรชวยใหคนเปนผูมีเหตุผล เปนคนใฝหาความรู ตลอดจนพยายามคิดคน
สิ่งที่แปลกและใหม ฉะนั้นคณิตศาสตรจึงเปนพื้นฐานแหงความเจริญของเทคโนโลยีดานตางๆ
2. วิชาคณิตศาสตรเปนวิชาที่เกี่ยวกับความคิดของมนุษยมนุษยสรางสัญลักษณแทนความคิดนั้นๆ
และสรางกฎในการนําสัญลักษณมาใช เพื่อสื่อความหมายใหเขาใจตรงกัน คณิตศาสตรจึงมีภาษาเฉพาะของตัว
มันเอง เปนภาษาที่กําหนดขึ้นดวยสัญลักษณที่รัดกุมและสื่อความหมายไดถูกตอง เปนภาษาที่มีตัวอักษร
ตัวเลข และสัญลักษณแบบความคิด เปนภาษาที่ทุกชาติที่เรียนคณิตศาสตรจะเขาใจตรงกัน เชน a + 3 = 15 ทุก
คนที่เขาใจคณิตศาสตรจะอานประโยคสัญลักษณนี้ไดและเขาใจความหมายตรงกัน
3. คณิตศาสตรเปนวิชาที่มีรูปแบบ เราจะเห็นวาการคิดทางคณิตศาสตรนั้นจะตองมีแบบแผน มีรูปแบบ
ไมวาจะเปนเรื่องใดก็ตาม ทุกขั้นตอนจะตอบไดและจําแนกออกมาใหเห็นไดจริง
4. คณิตศาสตรเปนวิชาที่มีโครงสราง คณิตศาสตรจะเริ่มตนดวยเรื่องงายกอน เชน เริ่มตนดวยการบวก
การลบ การคูณ การหาร เรื่องงายๆ นี้จะเปนพื้นฐานนําไปสูเรื่องอื่นๆ ตอไป เชน เรื่องเศษสวน ทศนิยม รอย
ละ เปนตน
5. คณิตศาสตรเปนศิลปะอยางหนึ่งเชน เดียวกับศิลปะอื่นๆ ความงามของคณิตศาสตร ก็คือ ความมี
ระเบียบและความกลมกลืน นักคณิตศาสตรไดพยายามแสดงความคิด มีความคิดสรางสรรค มีจินตนาการ มี
ความคิดริเริ่มที่จะแสดงความคิดใหมๆ และแสดงโครงสรางใหมๆ ทางคณิตศาสตรออกมา
ความสําคัญในการพัฒนาทักษะคณิตศาสตร
วิชาคณิตศาสตรเปนวิชาหนึ่งในกลุมทักษะที่เปนเครื่องมือในการเรียนรู คือ เปนวิชาที่จะนําไปสูการ
เรียนรูในกลุมประสบการณอื่นๆ และการเรียนในระดับสูง เปนวิชาที่ชวยพัฒนาคนใหรูจักคิด และ คิดเปน
คือ คิดอยางมีเหตุผล มีระเบียบขั้นตอนในการคิด นอกจากนั้นยังชวยสรางเสริมคุณลักษณะที่จําเปนตอการ
ดํารงชีวิตอื่นๆ เชน การสังเกต ความละเอียด ถี่ถวน แมนยํา มีสมาธิและรูจักแกปญหา และโดยเฉพาะ
อยางยิ่งในชีวิตประจําวัน เราตองใชความรู และ ทักษะทางคณิตศาสตรเกือบตลอดเวลา เชน การประมาณ
คา การซื้อขาย การดูเวลา การชั่ง การตวง การวัด และ อื่นๆ อีกมากที่เกี่ยวกับจํานวน และ ตัวเลข อาจ
กลาวไดวา คณิตศาสตรเปนวิชาทักษะที่สําคัญ และสัมพันธกับชีวิตประจําวันอยางแยกกันไมได ดวย
ความสําคัญดังกลาวมาแลวขางตน
www.tutorferry.com
การสอนการแกโจทยปญหาทางคณิตศาสตร
องคประกอบที่มีอิทธิพลตอการแกโจทยปญหา
1. องคประกอบเกี่ยวกับภาษา ไดแก คําและความหมายตางๆ ในโจทยปญหาแตละขอวามีความหมาย
อยางไร คําคําเดียวกันอยูตางสถานการณกันอาจมีความหมายตางกัน ซึ่งนักเรียนตองเขาใจเรื่องราวและ
สถานการณของโจทยปญหาแตละขอเปนอยางดี ฉะนั้นเทคนิควิธีการสอนแกโจทยปญหา ครูผูสอนจําเปน
อยางยิ่งที่จะฝกใหนักเรียนคุนเคยกับคําตางๆ และ ความหมายของคําทุกคําในโจทยปญหา เปดโอกาสให
นักเรียนอานโจทยหลายๆ ครั้ง และ วิเคราะหโจทยปญหาทั้งหมดวามีกี่ตอน ตอนใดเปนตอนที่โจทย
กําหนด ตอนไหนเปนสิ่งที่โจทยตองการทราบ และ สิ่งที่โจทยกําหนดใหมาทั้งหมดมีความเกี่ยวพันธ
เชื่อมโยง หรือสัมพันธกันอยางไร จะตองแปลความ ตีความ เพื่อหาคําตอบของปญหาไดดวยวิธีใด ซึ่ง
ครูผูสอนตองฝกให นักเรียนคิดไดดวยตนเอง
2. องคประกอบเกี่ยวกับความเขาใจ เปนขั้นตีความและแปลความจากขอความทั้งหมดของโจทยปญหา
มาเปนประโยคสัญลักษณที่นําไปสูการหาคําตอบดวยวิธีใด ซึ่งนักเรียนตองคิดไดดวยตนเอง ถานักเรียน
สามารถแปลความจากโจทยปญหาเปนประโยคสัญญลักษณไดถูกตอง แสดงวามีความเขาใจและแกโจทย
ปญหาไดอยางแนนอน
3. องคประกอบเกี่ยวกับการคิดคํานวณ ขั้นนี้นักเรียนตองมีทักษะ บวก ลบ คูณ หาร จํานวนตางๆ
ไดอยางรวดเร็วและแมนยํา
4. องคประกอบเกี่ยวกับการแสดงวิธีทํา ครูผูสอนตองฝกใหนักเรียนสรุปความจากสิ่งที่โจทยกําหนดให
ทั้งหมดมาเปนความรูใหม
5. องคประกอบในการฝกทักษะการแกโจทยปญหา ผูสอนตองเริ่มฝกทักษะการแกโจทยปญหา ใหแก
นักเรียนจากงายไปหายาก คือ เริ่มฝกตามตัวอยางหรือ เลียนแบบตัวอยาง ฝกทักษะจากการแปลความ และ
ฝกทักษะจากหนังสือเรียน
ปญหาอุปสรรคและสาเหตุที่นักเรียนทําโจทยปญหาไมได
บรุคเนอร และครอสสนิกเกิล ไดกลาวถึงอุปสรรคในการทําโจทยปญหาของนักเรียนดังนี้
1. นักเรียนไมสามารถเขาใจโจทยปญหาทั้งหมดหรือบางสวนเนื่องจากขาดประสบการณและขาดความเขาใจ
ในโจทยปญหาคณิตศาสตร
2. นักเรียนบกพรองในการอานและทําความเขาใจโจทย
3. นักเรียนไมสามารถคิดคํานวณไดซึ่งมีสาเหตุมาจากนักเรียนลืมวิธีทําหรือไมเคยเรียนมากอน
4. นักเรียนขาดความเขาใจกระบวนการและวิธีการจึงทําใหหาคําตอบโดยการเดาสุม
5. นักเรียนขาดความรูในเรื่องกฎเกณฑและสูตร
6. นักเรียนขาดความเปนระเบียบเรียบรอยในการเขียนอธิบาย
www.tutorferry.com
7. นักเรียนไมทราบความสัมพันธเชิงปริมาณวิเคราะหอาจมีสาเหตุมาจากการเรียนรูศัพทเพียงจํานวนจํากัด
หรือ ขาดความเขาใจหลักเกณฑตางๆ
8. นักเรียนขาดความสนใจ
9. ระดับสติปญญาของนักเรียนต่ําเกินไป
10.ขาดการฝกฝนในการทําโจทยปญหา
แนวทางในการแกปญหาการเรียนการสอนโจทยปญหาคณิตศาสตร
1. ความเขาใจ ( Understanding ) หมายถึงความเขาใจแจมแจง อันไดแก ความสามารถในการนิยาม
ปญหา คือ อะไรที่ไมรู หรือ อะไรคือสิ่งที่โจทยตองการ ซึ่งจะชวยในการตัดสินใจวาขอมูลอะไรจําเปน
หรือไมจําเปนตอการแกปญหา วิธีการอะไรเหมาะสมและไมเหมาะสมในการแกปญหา
2. ทักษะในการแกปญหา ( Problem solving skills ) เมื่อเผชิญกับโจทยที่ไมคุนเคยสิ่งที่จะชวยใน
การวิเคราะหปญหาไดดีขึ้นก็ คือ การวาดภาพ แผนผัง หรือแผนภูมิ โดยจะชวยใหนักเรียนสามารถนิยาม
ปญหา ตัดสินใจเลือกวิธีแกปญหาไดอยางถูกตอง
3. แรงขับ ( Drive ) ในการแกปญหาแปลก ๆ ใหม ๆ นักเรียนจะตองมีศักยภาพในการเขาใจและทักษะ
ในการวิเคราะหมากขึ้น นั่นคือนักเรียนตองมีแรงขับและความพยายามตั้งใจที่จะแกโจทยนั้น
4. ความยืดหยุน ( Flexibility ) หัวใจของการแกโจทยปญหาก็คือ ความยืดหยุนในการปรับเอาความรู
มาใชในการแกโจทยปญหาใหม ๆ ได
หลักการสอน
ในการเรียนการสอนคณิตศาสตรนักเรียนสวนมากมีปญหาในการทําโจทยมากกวาการฝกทักษะ การ
บวก ลบ คูณ หาร ดังนั้น การสอนการแกโจทยปญหาใหไดผลดีควรคํานึงถึงหลักสําคัญ ดังนี้คือ
1. การวิเคราะหปญหา ครูควรสอนใหนักเรียนสามารถแยกแยะปญหาไดวาโจทยปญหาแตละขอนั้น
กําหนดสิ่งใดใหบาง และ โจทยตองการทราบอะไร สิ่งที่โจทยใหนั้นมีความสัมพันธกันอยางไร
2. การเขียนประโยคสัญลักษณ เมื่อนักเรียนสามารถวิเคราะหโจทยปญหาไดแลว ขั้นตอไปนักเรียน
ควรมีความสามารถในการเขียนประโยคสัญลักษณ ประโยคสัญลักษณหมายถึง ประโยคที่ใชสัญลักษณซึ่ง
ประกอบดวยตัวเลขและเครื่องหมายแทนขอความและจํานวน
3. การใชสื่อการสอน สื่อการสอนเปนสิ่งจําเปนที่ครูควรใชประกอบในการสอนการแกโจทยปญหา การ
ใชสื่อจะชวยใหนักเรียนเขาใจสิ่งที่เปนนามธรรมในโจทยปญหามากขึ้น สื่อการสอนอาจเปนของจริง
รูปภาพ หรือแผนภูมิได สื่อเหลานี้เปนเครื่องชวยในการจิตนาการและคิดคนหาคําตอบ สื่อการสอนที่เปน
ประโยชนในการสอนการแกโจทยปญหาอยางมาก คือ เสนจํานวน
www.tutorferry.com
4. ความสามารถในการอาน สาเหตุหนึ่งที่นักเรียนไมสามารถทําโจทยปญหาคณิตศาสตรได คือ
นักเรียนขาดทักษะในการอาน เนื่องจากโจทยคณิตศาสตรประกอบดวยตัวเลข และ ขอความ ดังนั้นนักเรียน
จําเปนตองมีทักษะในการอานสามารถเขาใจความหมายของคําศัพทตางๆ และสามารถตีความวาโจทย
กําหนดสิ่งใดใหและตองการทราบอะไร ซึ่งตางจากการอานทั่วๆ ไป
5. ทักษะในการคํานวณ ในการแกโจทยปญหาคณิตศาสตร นอกจากนักเรียนจะตองมีความสามารถใน
การอานโจทย เขาใจสิ่งที่โจทยสามารถกําหนดใหและสิ่งที่โจทยตองการทราบแลว การมีทักษะในการ
คํานวณคือ การที่นักเรียนสามารถบวก ลบ คูณ และหารไดถูกตองแมนยําและรวดเร็ว ดังนั้นเมื่อนักเรียน
ทราบประโยคสัญลักษณของโจทยปญหาแลว นักเรียนที่มีทักษะในการคํานวณจะสามารถหา คําตอบของ
ปญหานั้นไดถูกตองและรวดเร็วกวาผูที่ไมมีทักษะ
การจัดและดําเนินการในหองเรียน
พฤติกรรมของครูและบรรยากาศของหองเรียน
การศึกษาเกี่ยวกับบรรยากาศของหองเรียนที่เอื้อการเรียนรู พบวาพฤติกรรมของครูสําคัญมาก ใน
หองเรียนที่มีบรรยากาศเอื้อการเรียนรูมักจะมีครูที่มีความสามารถและพฤติกรรมดังตอไปนี้
1. ครูจะตองเปนผูที่ทราบความเคลื่อนไหวของหองเรียนอยูตลอดเวลา
2. ครูเปนผูที่มีความสามารถที่จะดูแลชั้นเรียนไดทั่วถึง
3. ครูเปนผูมีความสามารถที่จะรักษาระดับความสนใจ และความใสใจในบทเรียนที่ครูกําลังสอนอยาง
ราบรื่น (Smoothness) โดยสามารถที่จะเปลี่ยนกิจกรรมตางๆ ที่ครูสอนโดยไมรบกวนหรือทําลายความสนใจ
ของนักเรียน
4. ครูเปนผูที่สามารถเปลี่ยนแปลงเทคนิคของการสอนใหเหมาะสมกับความตองการของนักเรียนและวิชาที่
เรียน (Variety) มีความกระตือรือรนในเรื่องที่ตนสอน และพยายามเปลี่ยนพฤติกรรมของตนเองเพื่อไมใหพูด
สิ่งที่ซ้ําๆ เปนประจํา
5. ครูพยายามที่จะหลีกเลี่ยงการพูดซ้ําซาก และหยุมหยิมเกี่ยวกับการสั่งงานให นักเรียนทํา หรือ ให
นักเรียนประกอบกิจกรรมที่ไมจําเปนตอสิ่งที่นักเรียนตองการ หรือคาดหวังที่จะทําใหเกิดขึ้นเร็วๆ
6. ครูจะตองระวังที่จะไมทําโทษ หรือ คาดโทษนักเรียนคนใดคนหนึ่ง อยางไมมีเหตุผล แลวเปนผล
กระทบกระเทือนตอนักเรียนทั้งชั้น ทําใหนักเรียนทั้งชั้นไมมีความสุขจนทํางานไมได
7. ครูควรจะเปนผูสงเสริมระเบียบขอบังคับของหองเรียนดวยความยุติธรรมสม่ําเสมอ ถาหากครูแสดงให
นักเรียนเห็นวาครูมีความหวังดีตอนักเรียน ตองการใหนักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ในการเรียนและมีพัฒนาการทาง
บุคลิกภาพพรอมที่จะเปนสมาชิกที่ดีของสังคมในอนาคต นักเรียนก็จะใหความรวมมือกับครู และมีปฎิ
สัมพันธที่ดีตอครู
www.tutorferry.com
Tutor ferry guide book
Tutor ferry guide book
Tutor ferry guide book

More Related Content

What's hot

มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
Fern's Supakyada
 
ภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วยภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วย
Blade HurthurtHurt
 
รูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอนรูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอน
wannaphakdee
 
รายงานการวิจัยบทเรียนแก้ไข
รายงานการวิจัยบทเรียนแก้ไข รายงานการวิจัยบทเรียนแก้ไข
รายงานการวิจัยบทเรียนแก้ไข
krurutsamee
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
Noppasorn Boonsena
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
Piyatida Prayoonprom
 

What's hot (19)

เอกสารคู่มือประเมินตามสภาพจริง
เอกสารคู่มือประเมินตามสภาพจริงเอกสารคู่มือประเมินตามสภาพจริง
เอกสารคู่มือประเมินตามสภาพจริง
 
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
 
ภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วยภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วย
 
Inspiring science train the trainers 2013 (thai)
Inspiring science train the trainers 2013 (thai)Inspiring science train the trainers 2013 (thai)
Inspiring science train the trainers 2013 (thai)
 
วิธีสอนแบบวรรณี
วิธีสอนแบบวรรณีวิธีสอนแบบวรรณี
วิธีสอนแบบวรรณี
 
Add m2-2-link
Add m2-2-linkAdd m2-2-link
Add m2-2-link
 
01 ตอนที่ 1 word
01 ตอนที่ 1 word01 ตอนที่ 1 word
01 ตอนที่ 1 word
 
Rung aroon
Rung aroonRung aroon
Rung aroon
 
รูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอนรูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอน
 
รายงานการวิจัยบทเรียนแก้ไข
รายงานการวิจัยบทเรียนแก้ไข รายงานการวิจัยบทเรียนแก้ไข
รายงานการวิจัยบทเรียนแก้ไข
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
วิธีสอนการสร้างความคิดรวบยอด
วิธีสอนการสร้างความคิดรวบยอดวิธีสอนการสร้างความคิดรวบยอด
วิธีสอนการสร้างความคิดรวบยอด
 
แนวทางลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้
แนวทางลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้แนวทางลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้
แนวทางลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
กิจกรรมที่ 2.1 การวิเคราะห์หลักสูตรสู่การออกแบบการจัดการเรีย
กิจกรรมที่ 2.1 การวิเคราะห์หลักสูตรสู่การออกแบบการจัดการเรียกิจกรรมที่ 2.1 การวิเคราะห์หลักสูตรสู่การออกแบบการจัดการเรีย
กิจกรรมที่ 2.1 การวิเคราะห์หลักสูตรสู่การออกแบบการจัดการเรีย
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
17
1717
17
 
แบบฝึกปฏิ..
แบบฝึกปฏิ..แบบฝึกปฏิ..
แบบฝึกปฏิ..
 

Viewers also liked

Water Supply Assessments in Arid Environments, A GIS Solution
Water Supply Assessments in Arid Environments, A GIS SolutionWater Supply Assessments in Arid Environments, A GIS Solution
Water Supply Assessments in Arid Environments, A GIS Solution
Joe Zilles
 

Viewers also liked (12)

Brochure.2
Brochure.2Brochure.2
Brochure.2
 
La mente 1[1]
La mente 1[1]La mente 1[1]
La mente 1[1]
 
КМК_юр_2006
КМК_юр_2006КМК_юр_2006
КМК_юр_2006
 
R. VILLANO - CAT & DOG (cd rom vol. 2 parte 3)
R. VILLANO - CAT & DOG (cd rom vol. 2 parte 3)R. VILLANO - CAT & DOG (cd rom vol. 2 parte 3)
R. VILLANO - CAT & DOG (cd rom vol. 2 parte 3)
 
Hydrochemical Characteristics and Shallow Groundwater Quality in Kirkuk Urban...
Hydrochemical Characteristics and Shallow Groundwater Quality in Kirkuk Urban...Hydrochemical Characteristics and Shallow Groundwater Quality in Kirkuk Urban...
Hydrochemical Characteristics and Shallow Groundwater Quality in Kirkuk Urban...
 
I prezzi degli impianti di allarme per la casa - piccolo vademecum
I prezzi degli impianti di allarme per la casa - piccolo vademecum I prezzi degli impianti di allarme per la casa - piccolo vademecum
I prezzi degli impianti di allarme per la casa - piccolo vademecum
 
ÜNİVERSİTE-İŞ DÜNYASI SALI SEMİNERLERİ
ÜNİVERSİTE-İŞ DÜNYASI SALI SEMİNERLERİÜNİVERSİTE-İŞ DÜNYASI SALI SEMİNERLERİ
ÜNİVERSİTE-İŞ DÜNYASI SALI SEMİNERLERİ
 
Water Supply Assessments in Arid Environments, A GIS Solution
Water Supply Assessments in Arid Environments, A GIS SolutionWater Supply Assessments in Arid Environments, A GIS Solution
Water Supply Assessments in Arid Environments, A GIS Solution
 
Horton Machine - GIS spatial Analysis Tool - In Italian
Horton Machine - GIS spatial Analysis Tool - In ItalianHorton Machine - GIS spatial Analysis Tool - In Italian
Horton Machine - GIS spatial Analysis Tool - In Italian
 
EPANET in gvSIG
EPANET in gvSIGEPANET in gvSIG
EPANET in gvSIG
 
Thyroid gland - disordesa , symptomes and treatment
Thyroid gland - disordesa , symptomes and treatment Thyroid gland - disordesa , symptomes and treatment
Thyroid gland - disordesa , symptomes and treatment
 
Groundwater Quality Modelling using Coupled Galerkin Finite Element and Modif...
Groundwater Quality Modelling using Coupled Galerkin Finite Element and Modif...Groundwater Quality Modelling using Coupled Galerkin Finite Element and Modif...
Groundwater Quality Modelling using Coupled Galerkin Finite Element and Modif...
 

Similar to Tutor ferry guide book

การนิเทศแบบสอนแนะิ Coaching
การนิเทศแบบสอนแนะิ Coachingการนิเทศแบบสอนแนะิ Coaching
การนิเทศแบบสอนแนะิ Coaching
Proud N. Boonrak
 
ภารกิจระดับครูปฏิบัติการ
ภารกิจระดับครูปฏิบัติการภารกิจระดับครูปฏิบัติการ
ภารกิจระดับครูปฏิบัติการ
Arpaporn Mapun
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
benty2443
 
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
Kobwit Piriyawat
 
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต 15 มาตรฐาน
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต  15 มาตรฐานมาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต  15 มาตรฐาน
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต 15 มาตรฐาน
tassanee chaicharoen
 

Similar to Tutor ferry guide book (20)

การนิเทศแบบสอนแนะิ Coaching
การนิเทศแบบสอนแนะิ Coachingการนิเทศแบบสอนแนะิ Coaching
การนิเทศแบบสอนแนะิ Coaching
 
ภารกิจระดับครูปฏิบัติการ
ภารกิจระดับครูปฏิบัติการภารกิจระดับครูปฏิบัติการ
ภารกิจระดับครูปฏิบัติการ
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
Ea5103
Ea5103Ea5103
Ea5103
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 7
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 7ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 7
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 7
 
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต 15 มาตรฐาน
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต  15 มาตรฐานมาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต  15 มาตรฐาน
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต 15 มาตรฐาน
 
ส่วนที่ ๒
ส่วนที่  ๒ส่วนที่  ๒
ส่วนที่ ๒
 

Tutor ferry guide book

  • 3. วงจรแหงความสําเร็จ Planning การวางแผนการเรียนรู กําหนดโปรแกรมการเรียนรู และแนวทางที่ดีที่สุดที่จะบรรลุวัตถุประสงคการเรียน Implementation การจัดเตรียมและดําเนินการ การจัดแบบฝกหัดและ การกําหนดความสัมพันธของแบบฝกหัดซึ่งจะเปน เครื่องมือที่ทําใหนักเรียนบรรลุวัตถุประสงคการเรียน Evaluation การประเมินผล การวัดผลและประเมินผลการเรียนจากแบบฝกหัดทาย เลมและแบบทดสอบระดับชั้น Refinement การแกปญหาและพัฒนา นําขอมูลจากการประเมินผล มาปรับปรุงและพัฒนาเพื่อใหเปนไปตามโปรแกรมที่วางไว Planning การกําหนดเปาหมาย Implementation การจัดเตรียม Refinement การแกปญหาและพัฒนา Evaluation การประเมินผล www.tutorferry.com
  • 4. การวางแผนการเรียน ( Planning ) นักเรียนจะไดรับการวางแผนการเรียนใหเหมาะสมกับความสามารถของนักเรียนและพัฒนาไปตาม ขั้นตอนอยางเปนระดับ ซึ่งการวางแผนโปรแกรมการเรียนนี้มีการกําหนดเปาหมายใหเรียนทันกับระดับชั้นที่ เรียนหรือเรียนลวงหนา 1 เทอม ทั้งนี้หากนักเรียนมาเรียนทุกสัปดาหก็จะเปนไปตามโปรแกรมที่ตั้งไวแตถาหากขาดเรียนไปอาจจะไม เปนไปตามโปรแกรมที่ตั้งไวควรจะหาเวลามาเรียนชดเชยเพื่อใหเปนไปตามโปรแกรมที่ตั้งไว การจัดเตรียมและการดําเนินการสอน ( Implementation ) แบบฝกหัด เนื้อหาในแบบฝกหัดเปนการฝกทักษะและวิเคราะหโจทยคณิตศาสตรเบื้องตนสําหรับนักเรียน มีเนื้อหา ตรงตามหลักสูตรกระทรวงศึกษาธิการไทย ลําดับขั้นของครูผูสอน 1. กอนสอน 2. ระหวางสอน 2.1 ดูแลและใหคําปรึกษาแกนักเรียน 2.2 ดูการทําแบบฝกหัดของนักเรียนใหเปนไปตามโปรแกรมที่ตั้งไวเพื่อใหไปถึงเปาหมายตามที่กําหนด หากนักเรียนเรียนแลวไมเปนไปตามโปรแกรมในครั้งนั้นใหครูผู ไขตอไปเพื่อที่ จะใหโปรแกรมที่ตั้งไวเปนไปตามเป สอน วางแนวทางแก าหมาย 3. หลังสอน 3.1 พูดคุยกับผูปกครอง อีกทั้งรายงานความคืบหนาและวิเคราะหผลการเรียนของนักเรียนใหผูปกครอง ทราบ www.tutorferry.com
  • 5. การประเมินผล ( Evaluation ) การประเมินผลมี 2 แบบไดแก [1] ประเมินผลความเขาใจในแบบฝกหัดแตละหนวยการเรียน [2] ประเมินผลความเขาใจในระดับชั้น การพัฒนาและแนวทางแกไขปญหา ( Refinement ) [1 ] แนวทางการพัฒนาที่ทําใหนักเรียนมีความคิดอยางเปนระบบ ชัดเจนและรัดกุมตลอดจนสรางความ เชื่อมั่นใหกับนักเรียนและพัฒนาใหนักเรียนมีการเรียนรูอยางตอเนื่องและสูงขึ้น เชน 1.1 สรางความเชื่อมั่นใหกับนักเรียนในขณะที่นักเรียนทําแบบฝกหัด 1.2 เสริมสรางกระบวนการคิด โดยการสอนที่เปนระบบ 1.3 สงเสริมใหนักเรียนเรียนรูในระดับที่สูงขึ้นอยางตอเนื่อง เชน เมื่อนักเรียนฝกทําแบบฝกหัดครบ แลวแตเวลาในการเรียนยังคงเหลืออยูก็ควรที่จะใหนักเรียนเรียนรูตอไปอยางตอเนื่องโดยไม หยุดนิ่ง 1.4 ควรที่จะเรียนรูและเขาใจนักเรียนแตละคน เพื่อที่จะไดกระตุนและดึงความสามารถของนักเรียน ออกมาไดอยางเต็มที่ [ 2 ] แนวทางในการแกไขขอบกพรองและปญหาที่ทําใหนักเรียนเรียนไมเปนไปตามโปรแกรมที่ตั้งไว เชน 1.1 ใหมาเรียนชดเชยในครั้งที่ขาดเรียนไป 1.2 ใหนําแบบฝกหัดที่ทําไมเสร็จกลับไปทําเปนการบานโดยครูผูสอนจะตองอธิบายเนื้อหาที่เหลือให นักเรียนเขาใจกอนใหนํากลับไป www.tutorferry.com
  • 6. หลักสูตรที่สามารถพัฒนาศักยภาพในการเรียนรูอยางตอเนื่อง การพัฒนาศักยภาพในการเรียนรูของนักเรียนทําไดโดยใหนักเรียนไดรับความรู พื้นฐานครบถวน ดวยความเขาใจ จากนั้นนักเรียนนําความรูพื้นฐานดังกลาว มาเชื่อมโยงอยางเปนระบบ เพื่อใชในการเรียนและการแกปญหาอยางเปน ระบบสามารถพัฒนาศักยภาพในการเรียนรูของนักเรียน โดยมุงเนนในเรื่องต 1. หลักสูตร มุงเนนที่ตัวนักเรียน ( FOCUS ON STUDENT ) นักเรียนแตละคนมีความสามารถในการเรียนรูไมเทากัน การที่จะพัฒนา ศักยภาพในการเรียนรูของนักเรียนแตละคน จะตองมุงเนนการจัดหลักสูตร และเทคนิคการสอน ใหเหมาะสมกับนักเรียนแตละคน เนื้อหาครบถวนตามหลักสูตรกระทรวงและยืดหยุนได ( COMPREHENSIVE AND FLXIBILITY) เนื้อหาการเรียนของหลักสูตร ับใหสอดคลองกับเนื้อหาการเรียนที่โรงเรี วงเวลาสอบเพื่อเนนใหนักเรียนนําเนื้อหาเหลานี้ไปใชไดจริง มีเนื้อหาครบถวนตามหลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการไทย ปูพื้นฐานดานโจทยปญหา ( BASIC PROBLEM SOLVING ) โจทยปญหาเปนรูปแบบการเรียนรูทางคณิตศาสตรที่นําเอาเนื้อหาตางๆ ของ หลักสูตรคณิตศาสตร มาเชื่องโยงกันเพื่อใชในการแกปญหา 2. ระบบการเรียน การวางโปรแกรมการเรียนรู ( PROGRAM PLANING ) เปนการกําหนดเปาหมายการเรียนของนักเรียนแตละคน และเสมือนหนึ่งเป ังที่ใหนักเรียนเดินตามเป างๆ ปร ยน ในช น แผนผ าหมาย การวัดผลและปรับปรุงตลอดเวลา ( EVALUATE AND CONTINUOUS DEVELOPMENT ) การวัดผลการเรียนรูของนักเรียน และนําผลนั้นไปปรับปรุงโปรแกรมการเรียนรู ปรับเทคนิคการสอนและเนื้อหาที่ใชในการสอนของนักเรียนแตละคน เพื่อ พัฒนาคุณภาพของการเรียนการสอน www.tutorferry.com
  • 7. 3. การเรียนการสอน การฝกแบบฝกหัดจากระดับที่งาย ( START ON EASY LEVEL ) เพื่อเพิ่มความมั่นใจในการเรียน ลดความกดดันในการเรียน ซึ่งจะส นักเรียนสามารถเรียนรูไดอยางเต็มศักยภาพ การฝกฝนใหเกิดความชํานาญ ถูกตอง แมนยําและรวดเร็ว ( ACCURACY AND SPEED ) เนนความเขาใจในเนื้อหาการทําแบบฝกหัดที่หลากหลายและสม่ําเสมอ เพื่อเพิ่มความถูกตองแมนยํา และความรวดเร็วในการทําแบบฝกหัด 4. ครูผูสอน ิคการสอน TEACHING TECHNIQUE ) ครูจะทําหนาที่อธิบายในเนื้อหาที่นักเรียนไมเขาใจเปนครูที่มีความรูในเรื่ เนื้อหาวิชาและเทคนิคการสอน เปนอยางดี เอาใจใส ดูแลนักเรียน ( STUDENT CARE ) กระตุน เอาใจใสและดูแลนักเรียนอยางใกลชิด ซึ่งครูที่ผ ไดรั กฝนใหเขาใจในพฤติกรรมของนักเรียน เพื่อที่จะกระตุนและดึ ักเรียนไดอยางเต็มที่ ซึ่งจะทําใหนักเรียนพัฒนาศักยภาพในการเรียนรูได อยางไรขีดจํากัด งผล ให องของ านการอบรม บ การฝ งความสามารถ ของน สิ่งที่นักเรียนได 1. ไดรับการพัฒนาศักยภาพของนักเรียนและสามารถเรียนรูดวยตนเองมากขึ้น 2. มีความเขาใจในทักษะพื้ อยางครบถวน 3. มีความคิดอยางมีระบบ ชัดเจนและรัดกุม 4. มีความเชื่อมั่นในตัวเองมากขึ้น 5. สามารถนําความรู และทักษะที่ได มาเชื่อมโยง เพื่อใชในการเรียนรูสิ่ง ตางๆ อยางตอเนื่อง 6.สามารถเรียนเกินระดับชั้นเรียนที่โรงเรียนได รับ www.tutorferry.com เทคน นฐาน
  • 9. การสอนคณิตศาสตรเพียงเพื่อใหนักเรียนเกิดความรูความเขาในใจเนื้อหาหลักของคณิตศาสตร เทานั้นยังไมเพียงพอ แตครูคณิตศาสตรจําเปนตองสอนใหนักเรียนเห็นคุณคาและเกิดทักษะในการคิดคํานวณ จนสามารนําไปใชในชีวิตประจําวัน การนําประสบการณไปใชในชีวิตประจําวัน ซึ่งเปนสวนที่เกี่ยวของกับการแกโจทยปญหา ดังนั้นการเรียนการสอนคณิตศาสตรจึงจําเปนตองเนนการพัฒนาความสามารถของนักเรียนในการแกโจทย ปญหา การแกปญหาเปนพฤติกรรมพื้นฐานของมนุษย ทุกขณะที่มนุษยมีสติสัมปชัญญะอยูกับตัวจะตอง เกี่ยวของกับปญหา เพราะวาขณะที่มนุษยรูสึกตัว สมองของมนุษยรูสึกตัว สมองของมนุษยจะคิดอยู ตลอดเวลา และ การคิดนั้นตองมีเปาหมาย แตการจะไปสูเปาหมายไดมนุษยจะตองมีการแกปญหา นอกจากนี้สมาคมครูผูสอนคณิตศาสตรแหงชาติ (National Council Teachers of Mathematics) ไดกลาวไว วา การเรียนการแกโจทยปญหาเปน จุดประสงคหลักของการเรียนวิชาคณิตศาสตร หรือ จุดมุงหมายที่ แทจริงในการสอนคณิตศาสตรก็คือ การทําใหนักเรียนสามารถแกปญหาในชีวิต ประจําวันได จิตวิทยาที่ควรรูสําหรับครูคณิตศาสตร ลักษณะเด็กวัยประถมศึกษา (อายุ 6-12 ป) พัฒนาการทางรางกาย 1. การเจริญเติบโตของรางกายของเด็กวัยประถมศึกษา จะชากวาเด็กวัยอนุบาล โดยทั่วไปเด็กจะมีรูปรางสูง และ คอนขางจะผอมลงกวาวัยอนุบาล ตอนแรกๆ อายุ 6-7 ปของวัยนี้เด็กชายจะโตกวาเด็กหญิง แตตอนหลัง ระหวางอายุ 12-13 ปเด็กหญิงจะโต กวาเด็กชายเพราะเด็กหญิงจะเขาสูวัยรุนเร็วกวาเด็กชายราวๆ 2 ป 2. ความแตกตางระหวางบุคคลในความสูง และน้ําหนักจะเห็นไดชัดเจนในวัยนี้ ถาหากครูสอนนักเรียนที่มา จากฐานะเศรษฐกิจ และ สังคมที่คลายคลึงกันมากแตมีเด็กที่ตัวเล็กผิดปกติครูควรจะสอบถามเรื่องอาหารที่ เด็กรับประทานเพราะอาหารที่ถูกสวนมีความสําคัญในการเจริญเติบโตของเด็กมากจนสังเกตได 3. เด็กหญิงมีความเจริญเติบโตทางดานรางกายเร็วกวาเพื่อนวัยเดียวกัน มักมีปญหาทางดานการปรับตัวจะ รูสึกวาตนโตกวาเพื่อนและแยกตัวออกจากเพื่อน สําหรับเด็กชายที่มีความเจริญเติบโตเร็วกวาเพื่อนมีการ ปรับตัวไดดี 4. พัฒนาการของกลามเนื้อกระดูกและประสาทจะเพิ่มขึ้น เด็กชายมีพัฒนาการของกลามเนื้อเร็วกวาเด็กหญิง การใชทักษะการเคลื่อนไหวเกี่ยวกับกลามเนื้อใหญใชการไดดี อายุประมาณ 7 ป การใชและบังคับกลามเนื้อ ตางๆ ทั้งกลามเนื้อใหญและกลามเนื้อยอยจะดีขึ้นมาก และสามารถประสานงานกันไดดี เด็กวัยนี้จึงสนุกใน การลองความสามารถในการกระโดดสูง กระโดดระยะไกลๆ กระโดดเชือก เลนฟุตบอล เด็กวัยนี้จะพยายาม ฝกทักษะทางการเคลื่อนไหวเพื่อไมใหนอยหนาเพื่อน เด็กบางคนอาจทดลองโดยลืมคิดถึงอันตรายจึงมี อุบัติเหตุในการเลนบอยครั้ง www.tutorferry.com
  • 10. 5. การประสานระหวางมือและตาของเด็กวัยนี้จะดีขึ้น เด็กสามารถที่จะอาน เขียนและวาดรูปไดดีขึ้น กิจกรรมในโรงเรียนควรสนับสนุนใหเด็กไดใชความคิดสรางสรรคในดานศิลปะตางๆ 6. เด็กวัยนี้จะมีบางทีที่ทํากิจกรรมอยางไมเหน็ดเหนื่อย และมักจะประกอบกิจกรรมใดกิจกรรมหนึ่งอยูเสมอ เด็กวัยนี้มักใชเวลาสวนมากอยูกับเพื่อนทั้งในโรงเรียนและนอกโรงเรียน พัฒนาการทางเชาวปญญา พีอาเจต เรียกวัยประถมศึกษาวา Concrete Operation ซึ่งสรุปไดวาวัยนี้เด็กชายจะมีความสามารถคิดเชิง เหตุผล เชิงตรรกได สามารถที่จะรับรูสิ่งแวดลอมไดตามความเปนจริง สามารถที่จะพิจารณาเปรียบเทียบโดย ใชเกณฑหลายๆ อยาง โดยเฉพาะในการจัดของเปนกลุม นอกจากนี้เด็กวัยประถมมีความเขาใจเกี่ยวกับความ คงตัวของสสาร มีความเขาใจวาการเปลี่ยนแปลงรูปรางภายนอกของสสารไมมีผลตอสภาพเดิมตอปริมาณ น้ําหนักและปริมาตร นอกจากนี้เด็กจะสามารถเปรียบเทียบสิ่งของวามากกวา ใหญกวา ยาวกวา เขมกวา พัฒนาการทางดานภาษาและการใชสัญลักษณเจริญกาวหนามาก เด็กจะเริ่มเขาใจกฎเกณฑตางๆ อยางมีเหตุผล และ เขาใจความหมายของบทเรียน ทั้งทางคณิตศาสตร ภาษา การอาน มีความคิดรวบยอด เกี่ยวกับสิ่งแวดลอม และ สามารถอธิบายได เด็กวัยนี้มักจะสนใจปญหาตางๆ ที่ตองแกดวยความคิด เหตุผล ถา แกไดเด็กจะเกิดความภูมิใจ ความแตกตางระหวางบุคคลเกี่ยวกับพัฒนาการทางเชาวปญญา เปนสิ่งที่ครูควรตระหนัก และ ควร คํานึงถึงความสามารถเฉพาะของเด็ก และ พยายามสงเสริมใหเด็กแตละคนพัฒนาตาม ศักยภาพของตน นักเรียนบางคนอาจมีความสามารถทางเชาวปญญาแตกตางกัน บางคนอาจจะเกงทางคณิตศาสตร บางคน อาจจะเกงทางภาษา พัฒนาการทางบุคลิกภาพ ทฤษฎีทางการพัฒนาการทางบุคลิกภาพของเด็กในวัยประถมศึกษา คือ ทฤษฎีของฟรอยด และ อีริคสัน ฟรอยด เรียกเด็กวัยประถมวาขั้นแฝงเปนระยะที่ความตองการทางเพศสงบลง เด็กมักจะรวมกลุมกับเพื่อนเพศเดียวกัน เด็กวัย นี้จะมีมโนธรรมรูจักวาอะไรผิดอะไรถูกโดยใชมาตรฐานจริยธรรมของผูใหญเปนเกณฑ อีริคสันอธิบายวาความ ตองการทางเพศของเด็กวัยนี้ยังคงอยู แตเปลี่ยนเปนพลังงานอยางอื่น เด็กวัยนี้จะไมอยูเฉยมีความคลองแคลวที่จะ ประกอบกิจกรรมตางๆ อยูเสมอ ตองการมีสมรรถภาพที่จะทําอะไรไดสําเร็จ ฉะนั้นผูใหญควรหาทางที่จะสงเสริม สนับสนุนใหเด็กวัยนี้ไดประสบความสําเร็จ เพื่อสรางมโนทัศนที่ดี และ ความภูมิใจใหแกเด็กถาเด็กวัยนี้ประสบความ ลมเหลวก็จะเปนปมดอย และ มโนทัศนที่ไมดีไปจนโต พัฒนาการทางอารมณ และ สังคม แมวาเด็กวัยประถมศึกษาจะเรียนรูการควบคุมอารมณ แตผูใหญควรคํานึงถึงความแตกตางกันของเด็ก เด็กบางคน อาจกลัวสัตว กลัวความมืด กลัวที่สูง แตสิ่งที่เด็กวัยนี้กลัวที่สุดก็คือกลัวจะถูกลอเพราะแตกตางจากเพื่อน นอกจากนี้เด็ก ในวัยนี้ยังมีความวิตกกังวลเกี่ยวกับการเรียน กลัวจะสอบไมได กลัวถูกทําโทษหรือกลัววาเพื่อนจะไมชอบ ถาเด็กมี www.tutorferry.com
  • 11. ความวิตกกังวลมากจะแสดง พฤติกรรมที่แตกตางกัน บางคนอาจซึมไมตั้งใจเรียน นอนหลับในหองเรียน บางคน อาจแสดงออกโดยการไมอยูนิ่งมีอารมณเปลี่ยนแปลงงาย หรือแสดงพฤติกรรมที่แปลกจากคนอื่น เด็กวัยนี้มีอารมณ โกรธอาจมีการตอสูกันทางดานรางกายหรืออาจกลาววาจาโดยการลอเลียนพูดจาถากถาง หรือบางครั้งอาจทําใหไมพูด กับคนที่โกรธไปเลย การแสดงอารมณโกรธจะแตกตางกันระหวางเด็กหญิงและเด็กชาย เด็กหญิงอาจจะรองไหเวลา โกรธ ถาเด็กที่แสดงความโกรธและทํารายผูอื่นควรอธิบายใหเด็กเขาใจวาพฤติกรรมที่แสดงนั้นไมเปนที่ยอมรับของ สังคม และควรหาตัวอยางของเพื่อนวัยเดียวกันที่มีพฤติกรรมที่ดีที่เด็กสามารถเรียนแบบได นอกจากนี้ครูควรพยายาม ใหแรงเสริมเวลาเด็กสามารถระงับความโกรธได การลงโทษโดยเฉพาะการตีหรือทําใหเจ็บกายจะเปนการสงเสริมให เด็กแสดง พฤติกรรมกาวราวมากขึ้น นอกจากอารมณตางๆ เด็กวัยนี้ยังเต็มไปดวยความราเริงสนุกในการเลน พอใจกับ ความสําเร็จในการกิจกรรม ทั้งในดานการเรียนและการเลนเกมตางๆ เด็กที่ ประสบความสําเร็จจะรูสึกวาตนมี สมรรถภาพสําหรับพัฒนาการดานสังคมเด็กวัยนี้จะมีสังคมพิเศษเฉพาะของเด็ก เด็กมักรวมกลุมตามเพศเลนเกมตางๆ เพื่อนมีความสําคัญและอิทธิพลตอพฤติกรรมของเด็กในวัยนี้ เด็กที่สามารถปรับตัวใหเขากับเพื่อนในวัยนี้ไดจะไมมี ปญหาในการปรับตัวเวลาเปนผูใหญ สําหรับเด็กที่มีปญหาควรไดรับการชวยเหลือจากครู เด็กที่ถูกทุกคนไม ยอมรับ มักจะมีปญหาดานพฤติกรรมซึ่งจําเปนตองไดรับการแกไขและชวยเหลือจากครู ความแตกตางระหวางบุคคล ความแตกตางระหวางบุคคล นักเรียนยอมมีความแตกตางกันทั้งในดานสติปญญา อารมณ จิตใจ และ ลักษณะนิสัย ดังนั้น ในการจัดการเรียนการสอนครูจะตองคํานึงถึงเรื่องนี้ ในการจัดชั้นเรียนนั้น โดยทั่วไปครู มักจะจัดชั้นเรียนโดยมีนักเรียนซึ่งมีความสามารถคละกันไป โดยมิไดคํานึงถึงวานักเรียนนั้นมีความแตกตาง กัน ซึ่งจะทําใหผลการสอนไมดีเทาที่ควร ดังนั้นในการจัดชั้นเรียนครูควรจะไดคํานึงถึง 1. ความแตกตางของนักเรียนภายในกลุมเดียวกัน 2. ความแตกตางระหวางกลุมของนักเรียน การสอนนั้นนอกจากคํานึงถึงความแตกตางระหวางกลุมแลวตัวครูเองจะตองพยายามที่จะสอนบุคคลเหลานี้ เพราะนักเรียนแตละคนไมเหมือนกัน นักเรียนที่เรียนเกงจะทําโจทยคณิตศาสตรไดคลอง แตนักเรียนที่เรียน ออนจะทําไมทันเพื่อนซึ่งอาจทําให นักเรียนทอถอย ครูตองคอยใหกําลังใจแกเขา การสอนนั้นครูตอง พยายามดังนี้ ศึกษา นักเรียนแตละคนดูความแตกตางและวางแผนการสอนใหสอดคลองกับความแตกตาง ของนักเรียน ถาเด็กเกงก็สงเสริมใหกาวหนา สวนเด็กออนก็พยายามชวยเหลือโดยการสอนเสริม ทํา แบบฝกหัดที่สนุกไมนาเบื่อ การสอนเด็กที่แตกตางกันนั้น สิ่งสําคัญครูตองมีความอดทน เสียสละ จึงสามารถ สอนนักเรียนที่แตกตางกันไดอยางมีประสิทธิภาพ การสอนเด็กที่เรียนชาใหไดผลดีครูอาจใชหลักการสอนดังตอไปนี้ 1. กอนอื่นครูตองแสดงใหนักเรียนทราบวาครูเต็มใจที่จะชวยใหนักเรียนเกิดการเรียนรู 2. พยายามหลีกเลี่ยงสภาพที่จะกอใหนักเรียนที่เรียนชา เกิดความคับของใจ โดยอาจจัดบทเรียนใหเหมาะสม กับความสามารถ เชน ลดจํานวนงานใหนอยลงกวานักเรียนปกติ www.tutorferry.com
  • 12. 3. ในเวลาถามคําถาม ครูควรเลือกคําถามที่นักเรียนเรียนชาจะตอบได และใหเวลาในการตอบโดยครูอาจถาม ซ้ําหรืออธิบายคําถามใหนักเรียนที่เรียนชาเขาใจ 4. พยายามจัดหนวยการเรียนใหสั้นและจบในตัวโดยคํานึงถึงความสามารถของ นักเรียนที่เรียนชาดวย 5. ทุกครั้งที่เริ่มบทเรียนใหมครูควรจะทบทวนบทเรียนที่เรียนมาแลว โดยใชวิธีการใหนักเรียนที่เรียนชาได แสดงออกและรูสึกวาตนทําได จิตวิทยาในการฝก การฝกเปนเรื่องที่จําเปนสําหรับนักเรียน การใหนักเรียนฝกซ้ําๆ บางครั้งก็ทําใหนักเรียนเกิดการเบื่อหนาย ครูจะตองดูใหเหมาะสมโดยพิจารณาดังนี้ 1. การฝกจะใหไดผลดีตองฝกเปนรายบุคคล เพราะคํานึงถึงความแตกตางระหวางบุคคลได 2. ควรจะฝกไปทีละเรื่องเมื่อจบบทเรียนหนึ่งๆ และเมื่อเรียนไดหลายบทก็ควรฝกรวบยอดอีกครั้ง 3. ควรมีการตรวจแบบฝกหัดแตละครั้งที่นักเรียนทําเพื่อเปนการประเมินผลนักเรียน ตลอดจนประเมินผล การสอนของครูดวย 4. เลือกแบบฝกหัดใหสอดคลองกับบทเรียนและใหแบบฝกหัดพอเหมาะไมมากเกินไป 5. แบบฝกหัดนั้นควรจะฝกหลายๆ ดาน คํานึงถึงความยากงายเพื่อใหนักเรียนเขาใจและทําได 6. พึงตระหนักอยูเสมอวากอนที่นักเรียนจะทําโจทยนั้นไดนักเรียนจะตองเขาใจวิธีการทําโจทยนั้น โดยถอง แทเสียกอน การเรียนโดยการกระทํา ทฤษฎีนี้ จอหน ดิวอี้ (John Dewey) กลาววาในการสอนคณิตศาสตรนั้นปจจุบันมีสื่อการสอนรูปธรรม ชวยมากมาย ครูจะตองใหนักเรียนไดลองกระทําหรือปฏิบัติจริงแลวจึงใหสรุปมโนคติ (Concept) ครูไมควร เปนผูบอก เพราะถานักเรียนไดพบดวยตัวเขาเอง แลวเขาจะจดจําไปไดนาน อยางไรก็ตามเนื้อหาบางอยางก็ ไมมีสื่อการเรียนการสอนเปนรูปแบบ ครูก็จะตองใหนักเรียนฝกทําโจทยดวยตัวเขาเองจนเขาใจและสามารถ ทําได การเรียนเพื่อรู การเรียนเพื่อรูเปนการเรียนรูจริงทําใหไดจริง นักเรียนนั้นเมื่อมาเรียนคณิตศาสตรบางคนก็ทําไดตาม จุดประสงคที่ครูกําหนดไว แตบางคนก็ไมสามารถทําได นักเรียนประเภทหลังนี้ควรไดรับการสอนซอมเสริมใหเขา เกิดการเรียนรูเหมือนคนอื่น แตเขาอาจตองเสียเวลาและใชเวลานานกวาคนอื่น ในการที่จะเรียนเนื้อหาเดียวกัน ครูผูสอนจะตองพิจารณาเรื่องนี้ทําอยางไรจึงจะสนองความแตกตางระหวางบุคคลไดใหนักเรียนทุกคนไดเรียนรู จนครบจุดประสงคที่กําหนดไว เมื่อนักเรียนเกิดการเรียนรูและสําเร็จตามความประสงคเขาจะเกิดความพอใจมี กําลังใจ และเกิดแรงจูงใจอยากจะเรียนตอไป www.tutorferry.com
  • 13. ความพรอม เรื่องนี้เปนเรื่องสําคัญเพราะถานักเรียนไมมีความพรอม เขาก็ไมสามารถจะเรียนตอไปได ครูจะตองสํารวจ ความพรอมของนักเรียนกอน นักเรียนที่มีวัยตางกัน ความพรอมยอมไมเหมือนกัน ในการสอนคณิตศาสตรครู จึงตองสํารวจความพรอมของนักเรียนอยูเสมอ ครูจะตองดูความรูพื้นฐานของนักเรียนวาพรอมที่จะเรียน ตอไปหรือเปลา ถานักเรียนยังไมพรอมครูจะตองทบทวนเสียกอนเพื่อใชความรูพื้นฐานในการอางอิงใน บทเรียนตอไป นักเรียนที่มีความพรอมก็จะทําใหนักเรียนเรียนไดดี แรงจูงใจ แรงจูงใจเปนเรื่องที่ครูควรเอาใจใสอยางยิ่ง เพราะธรรมชาติของวิชาคณิตศาสตรนั้นเปนเรื่องยากอยู แลว ในการใหนักเรียนทํางานหรือโจทยปญหาครูตองคํานึงถึงความสําเร็จดวย การที่ครูคอยๆ ทําใหนักเรียน เกิดความสําเร็จเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ซึ่งตองคํานึงถึงความแตกตางระหวางบุคคลจะทําใหเกิดการแขงขันหรือการ เสริมกําลังใจเปนกลุมเปนการสรางแรงจูงใจใหแกนักเรียน การสรางแรงจูงใจในการเรียนการสอน หนาที่สําคัญอันเปนบทบาทที่ครูผูสอนพึงปฏิบัติและไมอาจหลีกเลี่ยงไดคือ การกระตุนใหผูเรียนมี แรงจูงใจในการเรียนเกิดขึ้น ครูผูสอนจึงควรปฏิบัติเพื่อสรางแรงจูงใจใหกับผูเรียนดังนี้ 1. กระตุนใหผูเรียนเกิดความสนใจและมีความอยากรูอยากเห็นเกิดขึ้น โดยใหผูเรียนไดคนหา คําตอบใหมากที่สุดดวยตนเอง 2. สรางความเชื่อมั่นใหตนเองใหกับผูเรียนในความสามารถที่เขามี เพื่อใหผูเรียนนําความรู ความสามารถที่มีอยูทั้งหมด ไปใชในการเรียนรูใหมีประสิทธิภาพ อาจทําไดโดย 2.1ใหผูเรียนไดเรียนหรือไดทํางานที่เหมาะสมกับระดับความ สามารถ เพื่อใหผูเรียนไดพบกับ ความสําเร็จในชั้นตนเสียกอนเพื่อชวยใหเขามีความเชื่อมั่นในตนเองเกิดขึ้น ตอจากนั้นคอย ๆ เพิ่มระดับความยากหรือความสลับซับซอนของงานหรือสิ่งที่เรียนขึ้นไปเรื่อย ๆ 2.2 แบงจุดประสงคการเรียนรูออกเปนชวงสั้น ๆ เพื่อใหผูเรียนประสบความสําเร็จในการเรียน ในชวงระยะเวลาไมนานนัก และ ทําใหผูเรียนไดทราบถึงความกาวหนาในการเรียนของตนเอง 3. สรางเจตคติที่ดีตอการเรียนและใหผูเรียนเห็นความสําคัญของสิ่งที่เรียน ทั้งที่เปนประโยชนใน ปจจุบัน และประโยชนในอนาคต อาจทําไดโดย 3.1 ทําใหการเรียนสนุกสนาน บางบทเรียนอาจจัดการเรียนการสอนในรูปของเกม ซึ่งผู เรียนจะไดทั้งความรูและความสนุกสนานควบคูกันไปดวย 3.2 สอนใหคลายคลึงกับสถานการณในชีวิตจริง และ อธิบายใหเห็นความสําพันธ ระหวางสิ่งที่ เรียนในปจจุบัน กับ ชีวิตจริงในสังคม 3.3 ใชเครื่องลอ หรือ สิ่งลอใจที่เหมาะสม คุมคากับเวลาและความพยายามของผูเรียน 4. สนองความตองการเบื้องตนของผูเรียนอาจทําไดโดย www.tutorferry.com
  • 14. 4.1 สรางบรรยากาศในหองเรียนใหเกิดความอบอุน ไมทําใหผูเรียนแบงพรรคแบงพวกกัน ครูผูสอนใหความสนใจและใหความสําคัญแกผูเรียนในหองเรียนอยางทั่วถึงมวาผูเรียนจะมี ความสามารถสูงหรือมีความสามารถต่ํา 4.2 มอบหมายใหกับผูเรียนทํางานที่ทาทายความสามารถ โดยงานนั้นจะตองไมยากหรืองาย จนเกินไป 5. ใหผูเรียนไดเห็นตัวแบบที่ประสบความสําเร็จ โดยใชตัวแบบที่มีความสามารถระดับใกลเคียงกับ ผูเรียน ตัวแบบดังกลาวจะชวยใหผูเรียนไดเห็นวา ถาเขามีความพยายามก็มีโอกาสประสบความสําเร็จไดดวย การเสริมกําลังใจ การใหแรงเสริมเปนสิ่งหนึ่งที่ครูควรใชอยางรอบคอบ ควรเลือกวาควรใชแรงเสริมอะไรจะเหมาะสมกับ ผูเรียนแตละคน จากการวิจัยพบวาครูอาจใหแรงเสริมได 3 ประเภท ดังนี้ 1. การใหความสนใจและคําชมเปนแรงเสริม ครูทุกคนควรสนใจใหคําชมแกนักเรียนเพราะ เปนสิ่งที่ครูใชไดทุกโอกาส และใชไดทันทีที่เด็กเปลี่ยนพฤติกรรมตามวัตถุประสงคที่ตั้งไว ขอสําคัญครูควร ระลึกอยูเสมอวาการใหความสนใจหรือคําชมนั้นเปนสิ่งที่ทุกคนปรารถนาทั้งนักเรียนที่เกงและออน 2. การใชกิจกรรมที่ผูเรียนชอบทําเปนแรงเสริม 3. การใหแรงเสริมที่เปนสิ่งของ เชน ดาวหรือเบี้ย วิธีการที่จะใชการใหแรงเสริมแบบนี้มีประสิทธิภาพสูงขึ้นมีดังนี้ 1. กอนจะใชควรแนใจวาสามารถที่จะมีของที่จะแลกกับเบี้ยตามที่สัญญากับนักเรียน 2. เวลาใชเบี้ยเปนแรงเสริมควรใชคูกับคําชม 3. ควรจะระวังในการใชอยาใหถึงขั้นอิ่มตัว 4. ควรจะพยายามลดการใชเบี้ยและเปลี่ยนมาใชคําชมแทน ทักษะการเราความสนใจ ทักษะการเราความสนใจ หมายถึง การกระตุนใหนักเรียนเกิดความสนใจที่จะเรียนและติดตามกิจกรรม โดยตลอด มีการเปลี่ยนเทคนิคการสอนแบบตางๆ อยูเสมอกอนที่นักเรียนจะเบื่อหนาย ทักษะนี้จึงเปนสิ่ง สําคัญสําหรับครูที่จะปรับปรุงวิธีการสอนใหมีประสิทธิภาพมากขึ้นเปนการชวยใหนักเรียนไมเบื่อหนายการ เรียน มีความกระตือรือรนและมีความสนใจอยูตลอดเวลาตั้งแตเริ่มตนจนกระทั้งการสอนสิ้นสุดลง เทคนิคการเราความสนใจมีหลายวิธีครูจะตองพิจารณาเลือกเทคนิควิธีการที่เหมาะสมกับจุดมุงหมาย ในการสอน ในการสอนแตละครั้ง ครูอาจใชกี่วิธีก็ได แตจะตองใหสัมพันธสอดคลองและเหมาะสมกับ บทเรียน จึงจะเกิดประโยชนตอนักเรียน การเราความสนใจมีดังนี้ 1.1.1 การใชสื่อการเรียนการสอน www.tutorferry.com
  • 15. 1.1.4 การเลาเรื่องสั้น 1.1.5 การตั้งปญหา 1.1.6 การแสดงบทบาทสมมติ 1.1.7 การเลนเกม 1.1.8 การสาธิต 1.1.9 การใชเหตุการณปจจุบัน 1.1.10 การเลนคําสัมผัส ทักษะการเสริมกําลังใจ การเสริมกําลังใจ หมายถึง การใหรางวัลหรือคําพูดชมเชยหลังจากที่นักเรียนแสดงพฤติกรรมที่ครูตองการ เชน ใหนักเรียนทําการบาน ตอบคําถาม ครูควรจะเลือกการเสริมกําลังใจมาใชใหเหมาะกับแตละสถานการณ วัยและระดับชั้นของนักเรียนการเสริมกําลังใจที่ครูควรนํามาใช มีดังนี้ 1. การเสริมกําลังใจดวยวาจา 2. การเสริมกําลังใจดวยทาทาง เปนการแสดงออกทางสีหนาทาทาง 3. การเสริมกําลังใจดวยการใหรางวัลและสัญลักษณตางๆ 4. การเสริมกําลังใจดวยการใหผูเรียนเห็นความกาวหนาของตนเอง หลักเกณฑในการนําไปใช 1. เสริมกําลังใจในจังหวะที่เหมาะสม 2. เสริมกําลังใจยอนหลัง 3. ไมพูดเกินความจริง 4. ไมใชคําพูดที่จํากัดอยูในวงแคบ 5. ไมควรใชการเสริมกําลังใจบางประเภทบอยเกินไป 6. พยายามหาโอกาสเสริมกําลังใจใหทั่วถึงกัน 7. การเสริมกําลังใจในทางบวก จะไดผลดีกวาทางลบ 8. การเสริมกําลังใจไมควรมาจากครูฝายเดียว ควรใชวิธีเสริมกําลังใจดวยสิ่งแวดลอม 9. เสริมกําลังใจโดยใชคําพูดใหเหมาะกับวัยและระดับชั้นของนักเรียน 10. หาวิธีเสริมกําลังใจใหเหมาะกับลักษณะของนักเรียน 11. ควรเสริมกําลังใจโดยใชวาจาและทาทางประกอบกันและแสดงทาทางที่จริงจัง 12. ใชปายนิเทศ คําพังเพย หรือผลงานของนักเรียนเพื่อกระตุนใหนักเรียนอยากเรียน การลงโทษ ( Punishment ) การลงโทษเปนการใหสิ่งที่ไมพึงประสงคแกบุคคล หรือ การนําเอาสิ่งที่พึงประสงคออกไปจากตัวบุคคล หลังจากที่บุคคลมีพฤติกรรมไมดี ไมเปนที่ตองการของสังคม การลงโทษจึงเปนการยับยั้ง การลดความถี่ หรือ ขจัดพฤติกรรมที่ไมพึงปรารถนาใหหมดไป ( Kazdin, 1975:33-34) 1.1.2 การแสดงทาทางประกอบ 1.1.3 การรองเพลง www.tutorferry.com
  • 16. ในอดีตครูผูสอนจะนิยมใชการลงโทษกับผูเรียนที่มีพฤติกรรมไมตองการ เชน ลงโทษเมื่อผูเรียนไม สนใจเรียน ไมทําการบาน หรือ ไมทํางานตามที่ไดรับ มอบหมายสงครูผูสอนตามกําหนด เปนตน ตอมาเมื่อ ครูผูสอนมีความรูความเขาใจจิตวิทยาที่เกี่ยวของกับการจูงใจมากขึ้น จึงเห็นวาการลงโทษนั้นเปนการใช จิตวิทยาที่ผิดหลักจิตวิทยา และถาจําเปนจะตองใชก็ควรเลือกเปนโอกาสสุดทาย เมื่อหาวิธีการอื่นไมไดแลว วิธีการลงโทษโดยทั่ว ๆ ไป มีอยู 3 วิธีดังนี้ 1.การลงโทษทางรางกาย หมายถึงการทําใหผูถูกลงโทษเหน็ดเหนื่อยเมื่อยลา เจ็บปวด เชน การหยิก เฆี่ยนตี เขกโตะ วิดพื้น หรือวิ่งรอบสนาม เปนตน 2.การลงโทษทางวาจา หมายถึง การใชวาจาลงโทษ โดยมุงหวังใหยุติการกระทํา หรือ พฤติกรรมที่ไมพึง ปรารถนา เชน การดุ การขมขู การวาราย หรือการตําหนิ เปนตน ( การตําหนิเปนการใหขอสังเกตของ ตนเองแกผูอื่น เปนการใหขอมูลที่สะทอนใหเห็นจุดบกพรอง หรือ จุดออนของผูนั้น ) 3.การลงโทษทางจิต เปนการลงโทษทางสังคมอยางหนึ่ง เปนการใชสังคมเปนเครื่องมือในการยับยั้ง พฤติกรรมที่ไมพึงปรารถนาของบุคคล เชน การทําใหอับอายหรือทําใหเสียหนา ทําทัณฑบน เพิกถอนสิทธิ บางอยาง ใหพักการเรียน ตลอดจนการเพิกเฉย สมพร สุทัศนีย ( 2523 : 69 ) ไดสรุปถึงวิธีการลงโทษที่ครูผูสอนสามารถนํามาใชปฏิบัติกับนักเรียนใน ชั้นเรียนใหมีประสิทธิภาพดังนี้ 1. วิธีการแยกตัว ( Time out ) คือ การนําผูเรียนออกไปจากสิ่งแวดลอมที่นาพึงพอใจ หรือ เปนการนําเอา ผูเรียนออกไปจากกิจกรรมที่ผูเรียนชอบ 2. ใชวิธีการปรับสินไหม หรือ เรียกแรงเสริมคืน ( Respond Cost ) ซึ่งเปนวิธีหนึ่งของการลงโทษ โดย ครูผูสอนใหการเสริมแรงทุกครั้งเมื่อผูเรียนมีพฤติกรรมที่พึงประสงค แตถาผูเรียนมีพฤติกรรมที่ไมพึง ประสงค ก็จะเรียกเอาสิ่งที่เคยใหการเสริมแรงแกผูเรียนกลับคืนมา 3. การตําหนิติเตียน ( Reprimand ) เปนการใชคําพูดตําหนิติเตียนเมื่อผูเรียนมี พฤติกรรมที่ไมเหมาะสม สรุปหลักการปฏิบัติในการลงโทษไดดังนี้ 1. ใชการลงโทษเปนวิธีสุดทาย เมื่อแกไขดวยวิธีการอื่นใดไมไดแลว 2. ใชการลงโทษเปนการแกไข มิใชเพื่อการขูขวัญผูเรียน 3. ใชการลงโทษใหเหมาะสมกับผูเรียนและลงโทษใหเหมาะสมกับความผิด 4. กอนการลงโทษทุกครั้ง ควรใหผูเรียนรับทราบ และยอมรับความผิดของตนดวย 5. ใชการลงทาใหเปนการลงโทษจริง ๆ 6. ควรลงโทษในกรณีที่จงใจทําความผิดเทานั้น 7. ควรลงโทษทันที และลงโทษใหเสร็จสิ้นไปในระยะเวลาอันรวดเร็ว 8. ไมควรลงโทษในลักษณะการประจานผูถูกลงโทษ 9. ในการลงโทษแตละครั้งไมควรพูดถึงความผิดในครั้งกอน ๆ 10. ไมควรลงโทษในขณะที่ผูลงโทษกําลังอยูในอารมณโกรธ www.tutorferry.com
  • 17. ขอควรระมัดระวังในการลงโทษมีดังนี้ 1. การลงโทษเปนการกระตุนใหเกิดแรงจูงใจที่ผิดหลักจิตวิทยา เพราะวาบุคคลจําใจกระทําในภาวะจํายอม ไมไดเกิดจากความสมัครใจ 2. การลงโทษทําใหเกิดเจตคติที่ไมดีตอครูผูสอนและวิชาที่เรียน ทําใหการเรียนไมเกิดผลดีเทาที่ควรได 3. การลงโทษเปนการทําลายสัมพันธภาพอันดีระหวางบานกับสถานศึกษา 4. การลงโทษไมเปนการเสริมสรางเสรีภาพทางดานจิตใจ ผูเรียนที่กลัวการลงโทษมาก ๆ จะขาดความ เชื่อมั่นในตนเองจนไมกลาคิดกลาทําอะไรเลย การแขงขัน มีผูไมเห็นดวยกับการสรางแรงจูงใจในการเรียนดวยการแขงขันอยูบาง โดยใหเหตุผลวามีขอเสีย คือ กอใหเกิดความตึงเครียดทางดานอารมณ มีผลดีตอผูเรียนเปนสวนนอย กลาวคือ ผูเรียนที่คิดวาตนเองมีโอกาส ชนะเทานั้นที่รูสึกสนุกกับการแขงขัน ซึ่งมีอยูไมมากนัก สวนใหญจะรูสึกทอถอยเพราะโอกาสชนะมีนอย สําหรับผูที่สนับสนุนการสรางแรงจูงใจในการเรียนดวยวิธีการแขงขันกลับคิดวา ถาการแขงขันดําเนินการไป ถูกวิธีแลว จะสามารถกระตุนใหเกิดแรงจูงใจในการเรียนไดดีวิธีหนึ่ง กลาวคือ ควรเปดโอกาสใหแตละคนได แขงขันตามความเหมาะสม ชนิดของการแขงขัน การแขงขันมีไดใน 3 ชนิดดังนี้ 1. การแขงขันกันทั้งชั้น หรือ เรียกวาใครดีใครได การแขงขันชนิดนี้ทุกคนเปนคูแขงขันกันหมด และมัก มีการเอารัดเอาเปรียบทุกวิถีทางเพื่อเอาชนะใหได นักจิตวิทยาจึงไมสนับสนุนการแขงขันวิธีนี้ ถาจะแขงขัน กันดวยวิธีนี้ใหเกิดผลดีก็ตองใหผูเขาแขงขันทุกคนมีความสามารถใกลเคียงกัน 2. การแขงขันกันเปนกลุม การแขนขันชนิดนี้ตองอาศัยความรวมมือของผูที่เปนสมาชิกภายในกลุมทุกคน เปนสําคัญ วิธีนี้จะเปนการกระตุนใหผูเรียนเกิดแรงจูงใจในการเรียนไดดีมาก อาจเกิดผลเสียบาง ถาแตละ กลุมตั้งหนาตั้งตาที่จะแขงขันกันเพียงอยางเดียว เพื่อใหผลเสียในการแขงกันเปนกลุมมีนอยที่สุด จึงควรเปลี่ยนแปลงสมาชิกภายในกลุมอยูเสมอ ทั้งนี้เพื่อ ปองกันไมใหสมาชิกภายในกลุมมีความผูกพันธกันมากจนเกินไป เพราะจะกอใหเกิดความขัดแยงขึ้นมาได เมื่อกลุมของตนตองแพ และยังเปนการเปดโอกาสใหผูที่มีความรูความสามารถต่ําหรือประสบแตความ ลมเหลวไดพบความสําเร็จ เมื่อไปรวมกลุมกับผูที่มีความสามารถสูงอีกดวย 3. การแขงขันกับตนเอง เปนวิธีการแขงขันที่ดีที่สุดสําหรับผูเรียนที่มีความตองการผลสัมฤทธิ์สูงเพราะ เปนวิธีการจูงใจภายใน การแขงขันแบบนี้ผูเรียนจะไดมีโอกาสเปรียบเทียบผลงานหรือความสามารถของ ตนเองวามีพัฒนาการสูงขึ้นหรือไม พัฒนาการที่เพิ่มขึ้นจะทําใหผูเรียนเกิดความภาคภูมิใจ มีความเชื่อมั่นใน ตนเองเพิ่มขึ้นดวย www.tutorferry.com
  • 18. สาเหตุที่ทําใหเด็กไมชอบเรียนคณิตศาสตร เด็กแตละคนมีความสามารถในการเรียนรูที่แตกตางกัน ดังนั้นเด็กจึงควรมี แนวทางในการเรียนรูที่เหมาะสมกับแตละคน ในทางตรงกันขามสภาพที่เรา พบคือ การเรียนทั่วๆไปที่มีนักเรียนจํานวนมากๆในหอง แตกลับมีครูเพียง คนเดียว ซึ่งวิธีนี้ไมสามารถทําใหนักเรียนทุกคนในหองเขาใจเนื้อหาที่สอนได แมวาคุณครูผูสอนจะเกงเพียงใดก็ตาม ผลคือ นักเรียนที่สามารถเขาใจ เนื้อหาไดทันก็จะสนุกกับการเรียนในชั้นเรียน สวนนักเรียนที่เรียนไมรูเรื่องก็ จะเริ่มเบื่อขึ้นเรื่อยๆ จนทําใหไมชอบเรียนคณิตศาสตร หรืออาจถึงขั้น เกลียดเลยก็ได เมื่อเด็กมีปญหา ผูปกครองจําเปนตองหาทางใหเด็กไดเรียน เสริมนอกเวลาเรียน เพื่อแกปญหาดังกลาว แตในหลายๆกรณีคงตองเจอ กับปญหาใหมๆขึ้นมาอีก เชน 1. เด็กไดเรียนเนื้อหาที่เหมาะกับความสามารถของตัวเอง แตเนื้อหาที่ กําลังเรียนไมสอดคลองกับเนื้อหาที่จะใชสอบ ซึ่งเราปฏิเสธไมไดวาการ สอบไดคะแนนดี ทําใหเด็กมีกําลังใจเรียน 2. เด็กไดเรียนเนื้อหาที่ตองนําไปสอบ แตไมมีความเขาใจในเนื้อหานั้น เพราะมีพื้นฐานไมเพียงพอ 3. เด็กไดเรียนเนื้อหาที่เหมาะกับตัวเอง แตเนื้อหาที่เรียนไมครบตาม หลักสูตรที่กระทรวงกําหนด การแกปญหาดังกลาวตองการความ รวมมือทั้งผูเรียน ผูสอนและแบบฝกหัดทางคณิตศาสตร www.tutorferry.com
  • 19. ลักษณะสําคัญของวิชาคณิตศาสตร เมื่อมนุษยเริ่มมีการสังเกตสิ่งตางๆรอบตัว พวกเขาเกิดความสงสัยในสิ่งรอบตัวเขา ปรากฏการณตางๆที่ เกิดขึ้น พวกเขาจึงพยายามหาเหตุผลที่จะอธิบายสิ่งเหลานั้นอยางเปนขั้นตอนและเปนระบบ จากนั้นพยายาม สรางสัญลักษณเพื่อทําใหคําอธิบายเปนรูปธรรมและสื่อสารใหพวกเขาเขาใจตรงกัน สิ่งเหลานี้เปนตนกําเนิด ของวิชาคณิตศาสตร ดังนั้นจึงสามารถสรุปลักษณะสําคัญของวิชาคณิตศาสตรไดดังนี้ 1. วิชาคณิตศาสตรเปนวิชาที่เกี่ยวกับการใชเหตุผลเราใชคณิตศาสตรพิสูจนอยางมีเหตุผลวาสิ่งที่เรา คิดขึ้นนั้น เปนจริงหรือไม คณิตศาสตรชวยใหคนเปนผูมีเหตุผล เปนคนใฝหาความรู ตลอดจนพยายามคิดคน สิ่งที่แปลกและใหม ฉะนั้นคณิตศาสตรจึงเปนพื้นฐานแหงความเจริญของเทคโนโลยีดานตางๆ 2. วิชาคณิตศาสตรเปนวิชาที่เกี่ยวกับความคิดของมนุษยมนุษยสรางสัญลักษณแทนความคิดนั้นๆ และสรางกฎในการนําสัญลักษณมาใช เพื่อสื่อความหมายใหเขาใจตรงกัน คณิตศาสตรจึงมีภาษาเฉพาะของตัว มันเอง เปนภาษาที่กําหนดขึ้นดวยสัญลักษณที่รัดกุมและสื่อความหมายไดถูกตอง เปนภาษาที่มีตัวอักษร ตัวเลข และสัญลักษณแบบความคิด เปนภาษาที่ทุกชาติที่เรียนคณิตศาสตรจะเขาใจตรงกัน เชน a + 3 = 15 ทุก คนที่เขาใจคณิตศาสตรจะอานประโยคสัญลักษณนี้ไดและเขาใจความหมายตรงกัน 3. คณิตศาสตรเปนวิชาที่มีรูปแบบ เราจะเห็นวาการคิดทางคณิตศาสตรนั้นจะตองมีแบบแผน มีรูปแบบ ไมวาจะเปนเรื่องใดก็ตาม ทุกขั้นตอนจะตอบไดและจําแนกออกมาใหเห็นไดจริง 4. คณิตศาสตรเปนวิชาที่มีโครงสราง คณิตศาสตรจะเริ่มตนดวยเรื่องงายกอน เชน เริ่มตนดวยการบวก การลบ การคูณ การหาร เรื่องงายๆ นี้จะเปนพื้นฐานนําไปสูเรื่องอื่นๆ ตอไป เชน เรื่องเศษสวน ทศนิยม รอย ละ เปนตน 5. คณิตศาสตรเปนศิลปะอยางหนึ่งเชน เดียวกับศิลปะอื่นๆ ความงามของคณิตศาสตร ก็คือ ความมี ระเบียบและความกลมกลืน นักคณิตศาสตรไดพยายามแสดงความคิด มีความคิดสรางสรรค มีจินตนาการ มี ความคิดริเริ่มที่จะแสดงความคิดใหมๆ และแสดงโครงสรางใหมๆ ทางคณิตศาสตรออกมา ความสําคัญในการพัฒนาทักษะคณิตศาสตร วิชาคณิตศาสตรเปนวิชาหนึ่งในกลุมทักษะที่เปนเครื่องมือในการเรียนรู คือ เปนวิชาที่จะนําไปสูการ เรียนรูในกลุมประสบการณอื่นๆ และการเรียนในระดับสูง เปนวิชาที่ชวยพัฒนาคนใหรูจักคิด และ คิดเปน คือ คิดอยางมีเหตุผล มีระเบียบขั้นตอนในการคิด นอกจากนั้นยังชวยสรางเสริมคุณลักษณะที่จําเปนตอการ ดํารงชีวิตอื่นๆ เชน การสังเกต ความละเอียด ถี่ถวน แมนยํา มีสมาธิและรูจักแกปญหา และโดยเฉพาะ อยางยิ่งในชีวิตประจําวัน เราตองใชความรู และ ทักษะทางคณิตศาสตรเกือบตลอดเวลา เชน การประมาณ คา การซื้อขาย การดูเวลา การชั่ง การตวง การวัด และ อื่นๆ อีกมากที่เกี่ยวกับจํานวน และ ตัวเลข อาจ กลาวไดวา คณิตศาสตรเปนวิชาทักษะที่สําคัญ และสัมพันธกับชีวิตประจําวันอยางแยกกันไมได ดวย ความสําคัญดังกลาวมาแลวขางตน www.tutorferry.com
  • 20. การสอนการแกโจทยปญหาทางคณิตศาสตร องคประกอบที่มีอิทธิพลตอการแกโจทยปญหา 1. องคประกอบเกี่ยวกับภาษา ไดแก คําและความหมายตางๆ ในโจทยปญหาแตละขอวามีความหมาย อยางไร คําคําเดียวกันอยูตางสถานการณกันอาจมีความหมายตางกัน ซึ่งนักเรียนตองเขาใจเรื่องราวและ สถานการณของโจทยปญหาแตละขอเปนอยางดี ฉะนั้นเทคนิควิธีการสอนแกโจทยปญหา ครูผูสอนจําเปน อยางยิ่งที่จะฝกใหนักเรียนคุนเคยกับคําตางๆ และ ความหมายของคําทุกคําในโจทยปญหา เปดโอกาสให นักเรียนอานโจทยหลายๆ ครั้ง และ วิเคราะหโจทยปญหาทั้งหมดวามีกี่ตอน ตอนใดเปนตอนที่โจทย กําหนด ตอนไหนเปนสิ่งที่โจทยตองการทราบ และ สิ่งที่โจทยกําหนดใหมาทั้งหมดมีความเกี่ยวพันธ เชื่อมโยง หรือสัมพันธกันอยางไร จะตองแปลความ ตีความ เพื่อหาคําตอบของปญหาไดดวยวิธีใด ซึ่ง ครูผูสอนตองฝกให นักเรียนคิดไดดวยตนเอง 2. องคประกอบเกี่ยวกับความเขาใจ เปนขั้นตีความและแปลความจากขอความทั้งหมดของโจทยปญหา มาเปนประโยคสัญลักษณที่นําไปสูการหาคําตอบดวยวิธีใด ซึ่งนักเรียนตองคิดไดดวยตนเอง ถานักเรียน สามารถแปลความจากโจทยปญหาเปนประโยคสัญญลักษณไดถูกตอง แสดงวามีความเขาใจและแกโจทย ปญหาไดอยางแนนอน 3. องคประกอบเกี่ยวกับการคิดคํานวณ ขั้นนี้นักเรียนตองมีทักษะ บวก ลบ คูณ หาร จํานวนตางๆ ไดอยางรวดเร็วและแมนยํา 4. องคประกอบเกี่ยวกับการแสดงวิธีทํา ครูผูสอนตองฝกใหนักเรียนสรุปความจากสิ่งที่โจทยกําหนดให ทั้งหมดมาเปนความรูใหม 5. องคประกอบในการฝกทักษะการแกโจทยปญหา ผูสอนตองเริ่มฝกทักษะการแกโจทยปญหา ใหแก นักเรียนจากงายไปหายาก คือ เริ่มฝกตามตัวอยางหรือ เลียนแบบตัวอยาง ฝกทักษะจากการแปลความ และ ฝกทักษะจากหนังสือเรียน ปญหาอุปสรรคและสาเหตุที่นักเรียนทําโจทยปญหาไมได บรุคเนอร และครอสสนิกเกิล ไดกลาวถึงอุปสรรคในการทําโจทยปญหาของนักเรียนดังนี้ 1. นักเรียนไมสามารถเขาใจโจทยปญหาทั้งหมดหรือบางสวนเนื่องจากขาดประสบการณและขาดความเขาใจ ในโจทยปญหาคณิตศาสตร 2. นักเรียนบกพรองในการอานและทําความเขาใจโจทย 3. นักเรียนไมสามารถคิดคํานวณไดซึ่งมีสาเหตุมาจากนักเรียนลืมวิธีทําหรือไมเคยเรียนมากอน 4. นักเรียนขาดความเขาใจกระบวนการและวิธีการจึงทําใหหาคําตอบโดยการเดาสุม 5. นักเรียนขาดความรูในเรื่องกฎเกณฑและสูตร 6. นักเรียนขาดความเปนระเบียบเรียบรอยในการเขียนอธิบาย www.tutorferry.com
  • 21. 7. นักเรียนไมทราบความสัมพันธเชิงปริมาณวิเคราะหอาจมีสาเหตุมาจากการเรียนรูศัพทเพียงจํานวนจํากัด หรือ ขาดความเขาใจหลักเกณฑตางๆ 8. นักเรียนขาดความสนใจ 9. ระดับสติปญญาของนักเรียนต่ําเกินไป 10.ขาดการฝกฝนในการทําโจทยปญหา แนวทางในการแกปญหาการเรียนการสอนโจทยปญหาคณิตศาสตร 1. ความเขาใจ ( Understanding ) หมายถึงความเขาใจแจมแจง อันไดแก ความสามารถในการนิยาม ปญหา คือ อะไรที่ไมรู หรือ อะไรคือสิ่งที่โจทยตองการ ซึ่งจะชวยในการตัดสินใจวาขอมูลอะไรจําเปน หรือไมจําเปนตอการแกปญหา วิธีการอะไรเหมาะสมและไมเหมาะสมในการแกปญหา 2. ทักษะในการแกปญหา ( Problem solving skills ) เมื่อเผชิญกับโจทยที่ไมคุนเคยสิ่งที่จะชวยใน การวิเคราะหปญหาไดดีขึ้นก็ คือ การวาดภาพ แผนผัง หรือแผนภูมิ โดยจะชวยใหนักเรียนสามารถนิยาม ปญหา ตัดสินใจเลือกวิธีแกปญหาไดอยางถูกตอง 3. แรงขับ ( Drive ) ในการแกปญหาแปลก ๆ ใหม ๆ นักเรียนจะตองมีศักยภาพในการเขาใจและทักษะ ในการวิเคราะหมากขึ้น นั่นคือนักเรียนตองมีแรงขับและความพยายามตั้งใจที่จะแกโจทยนั้น 4. ความยืดหยุน ( Flexibility ) หัวใจของการแกโจทยปญหาก็คือ ความยืดหยุนในการปรับเอาความรู มาใชในการแกโจทยปญหาใหม ๆ ได หลักการสอน ในการเรียนการสอนคณิตศาสตรนักเรียนสวนมากมีปญหาในการทําโจทยมากกวาการฝกทักษะ การ บวก ลบ คูณ หาร ดังนั้น การสอนการแกโจทยปญหาใหไดผลดีควรคํานึงถึงหลักสําคัญ ดังนี้คือ 1. การวิเคราะหปญหา ครูควรสอนใหนักเรียนสามารถแยกแยะปญหาไดวาโจทยปญหาแตละขอนั้น กําหนดสิ่งใดใหบาง และ โจทยตองการทราบอะไร สิ่งที่โจทยใหนั้นมีความสัมพันธกันอยางไร 2. การเขียนประโยคสัญลักษณ เมื่อนักเรียนสามารถวิเคราะหโจทยปญหาไดแลว ขั้นตอไปนักเรียน ควรมีความสามารถในการเขียนประโยคสัญลักษณ ประโยคสัญลักษณหมายถึง ประโยคที่ใชสัญลักษณซึ่ง ประกอบดวยตัวเลขและเครื่องหมายแทนขอความและจํานวน 3. การใชสื่อการสอน สื่อการสอนเปนสิ่งจําเปนที่ครูควรใชประกอบในการสอนการแกโจทยปญหา การ ใชสื่อจะชวยใหนักเรียนเขาใจสิ่งที่เปนนามธรรมในโจทยปญหามากขึ้น สื่อการสอนอาจเปนของจริง รูปภาพ หรือแผนภูมิได สื่อเหลานี้เปนเครื่องชวยในการจิตนาการและคิดคนหาคําตอบ สื่อการสอนที่เปน ประโยชนในการสอนการแกโจทยปญหาอยางมาก คือ เสนจํานวน www.tutorferry.com
  • 22. 4. ความสามารถในการอาน สาเหตุหนึ่งที่นักเรียนไมสามารถทําโจทยปญหาคณิตศาสตรได คือ นักเรียนขาดทักษะในการอาน เนื่องจากโจทยคณิตศาสตรประกอบดวยตัวเลข และ ขอความ ดังนั้นนักเรียน จําเปนตองมีทักษะในการอานสามารถเขาใจความหมายของคําศัพทตางๆ และสามารถตีความวาโจทย กําหนดสิ่งใดใหและตองการทราบอะไร ซึ่งตางจากการอานทั่วๆ ไป 5. ทักษะในการคํานวณ ในการแกโจทยปญหาคณิตศาสตร นอกจากนักเรียนจะตองมีความสามารถใน การอานโจทย เขาใจสิ่งที่โจทยสามารถกําหนดใหและสิ่งที่โจทยตองการทราบแลว การมีทักษะในการ คํานวณคือ การที่นักเรียนสามารถบวก ลบ คูณ และหารไดถูกตองแมนยําและรวดเร็ว ดังนั้นเมื่อนักเรียน ทราบประโยคสัญลักษณของโจทยปญหาแลว นักเรียนที่มีทักษะในการคํานวณจะสามารถหา คําตอบของ ปญหานั้นไดถูกตองและรวดเร็วกวาผูที่ไมมีทักษะ การจัดและดําเนินการในหองเรียน พฤติกรรมของครูและบรรยากาศของหองเรียน การศึกษาเกี่ยวกับบรรยากาศของหองเรียนที่เอื้อการเรียนรู พบวาพฤติกรรมของครูสําคัญมาก ใน หองเรียนที่มีบรรยากาศเอื้อการเรียนรูมักจะมีครูที่มีความสามารถและพฤติกรรมดังตอไปนี้ 1. ครูจะตองเปนผูที่ทราบความเคลื่อนไหวของหองเรียนอยูตลอดเวลา 2. ครูเปนผูที่มีความสามารถที่จะดูแลชั้นเรียนไดทั่วถึง 3. ครูเปนผูมีความสามารถที่จะรักษาระดับความสนใจ และความใสใจในบทเรียนที่ครูกําลังสอนอยาง ราบรื่น (Smoothness) โดยสามารถที่จะเปลี่ยนกิจกรรมตางๆ ที่ครูสอนโดยไมรบกวนหรือทําลายความสนใจ ของนักเรียน 4. ครูเปนผูที่สามารถเปลี่ยนแปลงเทคนิคของการสอนใหเหมาะสมกับความตองการของนักเรียนและวิชาที่ เรียน (Variety) มีความกระตือรือรนในเรื่องที่ตนสอน และพยายามเปลี่ยนพฤติกรรมของตนเองเพื่อไมใหพูด สิ่งที่ซ้ําๆ เปนประจํา 5. ครูพยายามที่จะหลีกเลี่ยงการพูดซ้ําซาก และหยุมหยิมเกี่ยวกับการสั่งงานให นักเรียนทํา หรือ ให นักเรียนประกอบกิจกรรมที่ไมจําเปนตอสิ่งที่นักเรียนตองการ หรือคาดหวังที่จะทําใหเกิดขึ้นเร็วๆ 6. ครูจะตองระวังที่จะไมทําโทษ หรือ คาดโทษนักเรียนคนใดคนหนึ่ง อยางไมมีเหตุผล แลวเปนผล กระทบกระเทือนตอนักเรียนทั้งชั้น ทําใหนักเรียนทั้งชั้นไมมีความสุขจนทํางานไมได 7. ครูควรจะเปนผูสงเสริมระเบียบขอบังคับของหองเรียนดวยความยุติธรรมสม่ําเสมอ ถาหากครูแสดงให นักเรียนเห็นวาครูมีความหวังดีตอนักเรียน ตองการใหนักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ในการเรียนและมีพัฒนาการทาง บุคลิกภาพพรอมที่จะเปนสมาชิกที่ดีของสังคมในอนาคต นักเรียนก็จะใหความรวมมือกับครู และมีปฎิ สัมพันธที่ดีตอครู www.tutorferry.com