SlideShare a Scribd company logo
1 of 8
Download to read offline
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6
ปีการศึกษา 2557
ชื่อโครงงาน การพัฒนาแอปพลิเคชันบนระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์
เรื่องการหาค่า pH ของสารละลาย
(Application on Android for calculate pH of the solution)
ชื่อผู้ทาโครงงาน
1. นางสาว วราพร โตวิรัตน์กิจ เลขที่ 18 ชั้น ม.6 ห้อง 8
2. นางสาว ชาลียา นุสเพิล เลขที่ 34 ชั้น ม.6 ห้อง 8
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2557
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม .……
1.นางสาว วราพร โตวิรัตน์กิจ เลขที่ 18
2.นางสาว ชาลียา นุสเพิล เลขที่ 34
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) การพัฒนาแอปพลิเคชันบนระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ เรื่องการหา
ค่า pH ของสารละลาย
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
(Application on Android for calculate pH of the solution)
ประเภทโครงงาน โครงงานประเภทการพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาววราพร โตวิรัตน์กิจ
นาสาวชาลียา นุสเพิล
ชื่อที่ปรึกษา นางเขื่อนทอง มูลวรรณ
ระยะเวลาดาเนินงาน เดือนพฤศจิกายน 2557 –เดือนกุมภาพันธ์ 2558
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน)
ในชีวิตประจาวันของเราต้องพบเจอกับสารมากมาย ทั้งในอาหาร เครื่องดื่ม และผลิตภัณฑ์อานวย
ความสะดวกต่างๆโดยที่เราไม่ทราบค่าความเป็นกรด-เบสของสารนั้นๆเลยว่ามีความเข้มข้นมากน้อย
เพียงใด และมีอันตรายต่อตัวเราหรือไม่ รวมทั้งในทางอุตสาหกรรม หรือการเกษตรจาเป็นต้องใช้ค่า
pH ในการวัดความเข้มข้นของสารที่จะต้องใช้เพื่อที่จะให้ได้ผลิตภัณฑ์ออกมาตามที่ต้องการ หาก
สิ่งมีชีวิตได้รับสารที่มีความเข้มข้นของกรด-เบสมากเกินไปจะสามารถเป็นอันตรายต่อเนื้อเยื่อของ
สิ่งมีชีวิตนั้นจนอาจถึงแก่ชีวิตได้
นอกเหนือจากนั้นการคานวณค่า pH ของสารละลายยังเป็นส่วนหนึ่งของสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์ สาขาเคมีเรื่องกรดเบส ซึ่งจาเป็นต้องคานวณหาค่าpHไว้ในการแก้โจทย์ปัญหา
เรื่องกรด-เบส และทาให้เราได้ทราบค่า pH ของสารเพื่อใช้วิเคราะห์สารนั้นๆในการเรียนเรื่องกรดเบส
ผู้จัดทาจึงมีแนวคิดในการพัฒนาแอปพลิเคชันบนระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ เรื่องการหาค่า
pH ของสารละลาย เพื่อใช้คานวณหาค่าpHและค่าความเข้มข้นของสารละลาย รวมทั้งให้ความรู้แก่
ผู้ใช้เกี่ยวกับค่า pH ของสาระละลาย และตารางธาตุที่สามารถใช้งานได้บนสมาร์ทโฟนเพื่อช่วยให้
ผู้เรียนหรือผู้ที่สนใจเกี่ยวกับเรื่องการคานวณหาค่า pH ของสารละลายได้ใช้ประโยชน์โดยไม่เสีย
ค่าใช้จ่ายใดๆ
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
เพื่อพัฒนาแอปพลิเคชันบนระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ เรื่องการหาค่า pH ของสารละลาย
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
1. ให้ข้อมูลเกี่ยวกับค่า pH ของสารละลาย
2. คานวณค่า pH ของสารละลายกรด และคานวณค่า pOH ของสารละลายเบส
3. คานวณค่าความเข้มข้นของสารในหน่วยโมล
4. ให้ข้อมูลตารางธาตุ
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
1.ข้อมูลเรื่องกรดเบส เบื้องต้น
สมบัติทั่วไปของสารละลายกรด-เบส
1) สารละลายอิเล็กโทรไลต์ (Electrolyte) : สารละลายที่ตัวถูกทาละลาย นาไฟฟ้าได้
(สารละลายของสารประกอบไอออนิก) ถ้าแตกตัว 100% เรียกว่า อิเล็กโทรไลต์แก่ (Strong
Electrolyte) แต่ถ้าแตกตัวไม่ 100% เรียกอิเล็กโทรไลต์อ่อน (Weak Electrolyte) เช่น
NaCl, KOH เป็นต้น
2) สารละลายนอนอิเล็กโทรไลต์ (Non-Electrolyte) : สารละลายที่ตัวถูกละลายไม่แตกตัว ไม่
นาไฟฟ้า (สารละลายของสารประกอบโคเวนเลนต์) เช่น น้าเชื่อม, แอลกอฮอล์ เป็นต้น
*** กรดและเบสเป็นสารละลายอิเล็กโทรไลต์
4
3) สมบัติของสารละลายกรด-เบส
ตารางที่ 2.1 แสดงสมบัติของสารละลายกรด-เบส
สมบัติ สาระละลายกรด สารละลายเบส
การนาไฟฟ้า นาไฟฟ้า (แตกตัวเมื่อละลาย
น้า)
นาไฟฟ้า (แตกตัวเมื่อละลาย
น้า)
การเปลี่ยนสีกระดาษ
ลิตมัส
จากสีน้าเงินแดง จากสีแดงน้าเงิน
การทาปฏิกิริยา ทาปฏิกิริยากับโลหะได้แก๊ส
H2
ทาปฏิกิริยากับกรดได้เกลือและ
น้า
ค่า pH ต่ากว่า 7 สูงกว่า 7
รส เปรี้ยว ฝาด
สมบัติการกัดกร่อน กัดกร่อยโลหะ ไม่กัดกร่อนโลหะ
ตัวอย่าง HCl, H2SO4, H2CO3 NaOH, Mg(OH)2
4) ทฤษฎีกรด-เบส
ตารางที่ 2.2 แสดงทฤษฎีกรด-เบส
ผู้คิดค้น กรด เบส ข้อจากัดทฤษฎี
อารีเนียส
(Svante
Arrhenius)
สารที่ละลายน้าแล้ว
แตกตัวให้ H+
สารที่ละลายน้าแล้ว
แตกตัวให้ OH
สารที่ไม่ละลายน้า
หรือไม่มี H หรือ OH
เป็นองค์ประกอบไม่
สามารถบอกได้ว่า
เป็นกรด หรือเบส
ตัวอย่าง :
HCl H+
+ Cr
ตัวอย่าง :
NaOH Na+
+
OH-
5
ผู้คิดค้น กรด เบส ข้อจากัดทฤษฎี
เบรินสเตดและลาวรี
(Johannes
Nicolaus
Bronsted และ
Thomas Martin
Lowry)
สารที่ให้โปรตอน
(H+
) แก่สารอื่น
สารที่รับโปรตอน
(H+
) จากสารอื่น
สารที่ไม่แตกตัวเป็น
ไอออน หรือไม่มี H
เป็นองค์ประกอบ ไม่
สามารถบอกได้ว่า
เป็นกรด หรือ เบส
ตัวอย่าง :
HCl + H2O
H3O+
+ Cl-
ตัวอย่าง :
NH3 + H2O
NH4
+
+ OH-
ลิวอิส
(Lewis)
สารที่รัยอิเล็กตรอนคู่
โดดเดี่ยวจากสารอื่น
สารที่ให้อิเล็กตรอน
คู่โดดเดี่ยวแก่สาร
อื่น
-
ตัวอย่าง : H+
+ NH3
NH4
+
ตัวอย่าง : BF3 +
NH3
BF3 NH3
5) คู่กรด-เบส
- เกิดจากปฏิกิริยาผันกลับได้มีการถ่ายเทโปรตอนระหว่างกรดไปยังเบส
- ข้อสังเกต : 1. คู่กรดเบส จะมีสูตรเคมีต่างกันเพียง H+
ตัวเดียว
2. คู่กรดเบสจะอยู่คนละฝั่งของสมการเสมอ
3. ตัวที่มี H มากกว่าทาหน้าที่เป็นกรด ตัวที่มี H น้อยกว่าเป็นเบส
- ตัวอย่าง HCl + H2O Cl-
+ H3O
6) ชนิดของกรดเบส
- กรดแบ่งเป็น 3 ชนิดได้แก่ 1. กรดโมโนโปรติก แตกตัวได้ 1 ครั้ง
2. กรดไดโปรติก แตกตัวได้ 2 ครั้ง
3. กรดไตรโปรติก แตกตัวได้ 3 ครั้ง
** กรดไดโปรติก และ ไตรโปรติกเรียกรวมกันว่า “โพลีโปรติก”
6
- เบสแบ่งเป็น 3 ชนิดได้แก่ 1. เบสที่มี OH-
1 หมู่
2. เบสที่มี OH-
2 หมู่
3. เบสที่มี OH-
3 หมู่
7) ความแรงของกรดเบส หมายถึง ความสามารถในการแตกตัวของสารละลายกรดเบสในน้า หากแตกตัวมาก
จะเป็นกรดแก่-เบสแก่ (strong acid – strong base) หากแตกตัวได้น้อย
จะเป็นกรดอ่อน –เบสอ่อน (weak acid – weak base)
- กรดแก่ : กรดที่ละลายน้าแล้วแตกตัวได้ 100%
- เบสแก่ : เบสที่ละลายน้าแล้วแตกตัวได้ 100%
2.ความรู้เกี่ยวกับซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการพัฒนาแอปพลิเคชัน
Eclipse
Eclipse คือโปรแกรมที่ใช้สาหรับพัฒนาภาษา Java ซึ่งโปรแกรม Eclipse ใช้ในการพัฒนาApplication Server
เนื่องจาก Eclipse เป็นซอฟต์แวร์ OpenSource ที่พัฒนาขึ้นเพื่อใช้โดยนักพัฒนาเอง Eclipse มีองค์ประกอบหลักที่
เรียกว่า Eclipse Platform รวบรวมเครื่องมือต่างๆจากภายนอกให้สามารถทางานร่วมกัน และมีองค์ประกอบที่
เรียกว่า Plug-in Development Environment (PDE)
ซึ่งเพิ่มความสามารถในการพัฒนาซอฟต์แวร์มากขึ้น เครื่องมือภายนอกจะถูกพัฒนาในรูปแบบที่เรียกว่า Eclipse
plug-ins ถ้าต้องการให้ Eclipse ทางานใดเพิ่มเติม ก็เพียงแต่พัฒนา plugin สาหรับงานนั้นขึ้นมา และนา Plug-in
นั้นมาติดตั้งเพิ่มเติมให้กับ Eclipse ที่มีอยู่เท่านั้น Eclipse Plug-in
ที่มีมาพร้อมกับ Eclipse ก็คือองค์ประกอบที่เรียกว่า Java Development Toolkit (JDT) ซึ่งเป็นเครื่องมือในการ
เขียนและ Debug โปรแกรมภาษา Java
Android SDK
Android SDK (Android Software Development Kit) เป็นชุดโปรแกรมที่พัฒนาโดย Google เพื่อให้นักพัฒนา
แอปพลิเคชันหรือผู้สนใจดาวน์โหลดไปใช้งานโดยไม่เสียค่าใช้จ่ายจึงเป็นปัจจัยที่ทาให้แอปพลิเคชันบนแอนดรอยด์
เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว
ในชุด SDK นั้นจะมีโปรแกรมและไลบรารี่ต่างๆที่จาเป็นต่อการพัฒนาแอปพลิเคชันบนระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์
เช่น Emulator หรือโปรแกรมจาลองเครื่องจักรซึ่งทาให้ผู้พัฒนาโปรแกรมสามารถสร้างแอปพลิเคชันและทดลองใช้
งานบน Emulator ก่อนโดยมี
สภาวะแวดล้อมเหมือนกับงานโทรศัพท์เคลื่อนที่ที่ใช้ระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์จริงๆ
ภาษาจาวา (JAVA) Java
ภาษาจาวา (JAVA)หรือ Java programming language คือ ภาษาโปรแกรมเชิงวัตถุพัฒนาโดยเจมส์กอสลิงและกลุ่ม
วิศวกรคนอื่นๆของบริษัทซันไมโครซิสเต็มส์ภาษานี้มีจุดประสงค์เพื่อใช้แทนภาษาC++ โดยรูปแบบที่เพิ่มเติมขึ้นคล้าย
กับภาษาObjective-C จุดเด่นของภาษาจาวาอยู่ที่ผู้เขียนโปรแกรมสามารถใช้หลักการของ Object-Oriented
Programming มาพัฒนาโปรแกรมของตนด้วย Java ได้
ภาษาจาวาเป็นภาษาสาหรับเขียนโปรแกรมที่สนับสนุนการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ
(OOP : Object-Oriented Programming) โปรแกรมที่เขียนขึ้นถูกสร้างภายในคลาสดังนั้นคลาสคือ ที่เก็บเมทอด
(method) หรือพฤติกรรม (behavior) ซึ่งมีสถานะ (state) และรูปพรรณ (identity)
เป็นประพฤติกรรม
7
Photoshop CS3
โปรแกรมPhotoshop เป็นโปรแกรมสร้างและแก้ไขรูปภาพอย่างมืออาชีพ โปรแกรม Photoshop เป็นโปรแกรมที่มี
เครื่องมือมากมายเพื่อสนับสนุนการสร้างงานประเภทสิ่งพิมพ์
งานวิดีทัศน์ งานนาเสนอ งานมัลติมีเดีย ตลอดจนงานออกแบบและพัฒนาเว็บไซต์ ในชุดโปรแกรม Adobe
Photoshop จะประกอบด้วยPhotoshop และ ImageReady
ภาพที่ 2.6 แสดงโปรแกรม Photoshop
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
1) ศึกษาเนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับกรดเบสและสูตรคานวณ
เกี่ยวกับค่าpH
2) ศึกษาการเขียนแอปพลิเคชันบนสมาร์ทโฟนด้วย
โปรแกรม Eclipse และ Java
3) ออกแบบผังการดาเนินงานของแอปพลิเคชัน
4) ตรวจสอบแอปพลิเคชันโดยผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาและ
การออกแบบ
5) ทดสอบการใช้งานแอปพลิเคชัน
6) วิเคราะห์ผลและปรับปรุงแอปพลิเคชัน
7) ทาเอกสารประกอบ
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
ฮาร์ดแวร์
1) เครื่องคอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ค พร้อมเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
2) โทรศัพท์สมาร์ทโฟนที่ทางานด้วยระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์
ซอฟต์แวร์
1) โปรแกรม Eclipse
2) ระบบปฏิบัติการ Android
3) โปรแกรม Photoshop
งบประมาณ -
8
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับ
ผิด
ชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
3 จัดทาโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทาเอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโครงงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
ได้แอพพลิเคชันคานวณหาค่า pH ของสารละลาย ที่สามารถให้ความรู้และผู้ใช้งานได้จริง
สถานที่ดาเนินการ
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ สาขาเคมี
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
บุญชม ศรีสะอาด. (2545). การวิจัยเบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาสน.
สถาบันกวดวิชาติวเตอร์พอยท์. (2554). สรุปเคมี มัธยมปลาย : Chemistry for High School Student. พิมพ์
ครั้งที่ 13. กรุงเทพฯ : ห้างหุ้นส่วนจากัดสามลดา.
ไม่ระบุชื่อ. (2555). Android Code Example. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก
http://androidcodeexample.blogspot.com/ (วันที่ค้นข้อมูล: 2 มิถุนายน 2557).

More Related Content

Similar to แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์1

แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Supharat Rungsri
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project Swl Sky
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project Swl Sky
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ rujira plumjit
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์thunnattapat
 
โครงร่างคอม
โครงร่างคอมโครงร่างคอม
โครงร่างคอมpeetchinnathan
 
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์thunnattapat
 
กิจกรรมที่5
กิจกรรมที่5กิจกรรมที่5
กิจกรรมที่5Manop Amphonyothin
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Supakrit Chaiwong
 
งานคอมโครงงาน
งานคอมโครงงานงานคอมโครงงาน
งานคอมโครงงานorrayaKawichai
 
โครงงาน อาหารประจำชาตฺอาเซียน
โครงงาน อาหารประจำชาตฺอาเซียนโครงงาน อาหารประจำชาตฺอาเซียน
โครงงาน อาหารประจำชาตฺอาเซียนSuwanan Thipphimwong
 
แบบร่างโครงงาน
แบบร่างโครงงานแบบร่างโครงงาน
แบบร่างโครงงานnayigaa
 
งานตุ๋ยจุ๊ปๆ
งานตุ๋ยจุ๊ปๆงานตุ๋ยจุ๊ปๆ
งานตุ๋ยจุ๊ปๆPetcharatMint
 

Similar to แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์1 (20)

2559 project
2559 project 2559 project
2559 project
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2558 project
2558 project 2558 project
2558 project
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงร่างคอม
โครงร่างคอมโครงร่างคอม
โครงร่างคอม
 
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
กิจกรรมที่5
กิจกรรมที่5กิจกรรมที่5
กิจกรรมที่5
 
2559 project com
2559 project com2559 project com
2559 project com
 
สบู่สมุนไพร
สบู่สมุนไพรสบู่สมุนไพร
สบู่สมุนไพร
 
ไบโอมคอม
ไบโอมคอมไบโอมคอม
ไบโอมคอม
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
งานคอมโครงงาน
งานคอมโครงงานงานคอมโครงงาน
งานคอมโครงงาน
 
งานพลอย
งานพลอยงานพลอย
งานพลอย
 
งานพลอย
งานพลอยงานพลอย
งานพลอย
 
โครงงาน อาหารประจำชาตฺอาเซียน
โครงงาน อาหารประจำชาตฺอาเซียนโครงงาน อาหารประจำชาตฺอาเซียน
โครงงาน อาหารประจำชาตฺอาเซียน
 
แบบร่างโครงงาน
แบบร่างโครงงานแบบร่างโครงงาน
แบบร่างโครงงาน
 
งานตุ๋ยจุ๊ปๆ
งานตุ๋ยจุ๊ปๆงานตุ๋ยจุ๊ปๆ
งานตุ๋ยจุ๊ปๆ
 

แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์1

  • 1. แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6 ปีการศึกษา 2557 ชื่อโครงงาน การพัฒนาแอปพลิเคชันบนระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ เรื่องการหาค่า pH ของสารละลาย (Application on Android for calculate pH of the solution) ชื่อผู้ทาโครงงาน 1. นางสาว วราพร โตวิรัตน์กิจ เลขที่ 18 ชั้น ม.6 ห้อง 8 2. นางสาว ชาลียา นุสเพิล เลขที่ 34 ชั้น ม.6 ห้อง 8 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2557 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
  • 2. สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม .…… 1.นางสาว วราพร โตวิรัตน์กิจ เลขที่ 18 2.นางสาว ชาลียา นุสเพิล เลขที่ 34 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) การพัฒนาแอปพลิเคชันบนระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ เรื่องการหา ค่า pH ของสารละลาย ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) (Application on Android for calculate pH of the solution) ประเภทโครงงาน โครงงานประเภทการพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาววราพร โตวิรัตน์กิจ นาสาวชาลียา นุสเพิล ชื่อที่ปรึกษา นางเขื่อนทอง มูลวรรณ ระยะเวลาดาเนินงาน เดือนพฤศจิกายน 2557 –เดือนกุมภาพันธ์ 2558 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) ในชีวิตประจาวันของเราต้องพบเจอกับสารมากมาย ทั้งในอาหาร เครื่องดื่ม และผลิตภัณฑ์อานวย ความสะดวกต่างๆโดยที่เราไม่ทราบค่าความเป็นกรด-เบสของสารนั้นๆเลยว่ามีความเข้มข้นมากน้อย เพียงใด และมีอันตรายต่อตัวเราหรือไม่ รวมทั้งในทางอุตสาหกรรม หรือการเกษตรจาเป็นต้องใช้ค่า pH ในการวัดความเข้มข้นของสารที่จะต้องใช้เพื่อที่จะให้ได้ผลิตภัณฑ์ออกมาตามที่ต้องการ หาก สิ่งมีชีวิตได้รับสารที่มีความเข้มข้นของกรด-เบสมากเกินไปจะสามารถเป็นอันตรายต่อเนื้อเยื่อของ สิ่งมีชีวิตนั้นจนอาจถึงแก่ชีวิตได้
  • 3. นอกเหนือจากนั้นการคานวณค่า pH ของสารละลายยังเป็นส่วนหนึ่งของสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ สาขาเคมีเรื่องกรดเบส ซึ่งจาเป็นต้องคานวณหาค่าpHไว้ในการแก้โจทย์ปัญหา เรื่องกรด-เบส และทาให้เราได้ทราบค่า pH ของสารเพื่อใช้วิเคราะห์สารนั้นๆในการเรียนเรื่องกรดเบส ผู้จัดทาจึงมีแนวคิดในการพัฒนาแอปพลิเคชันบนระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ เรื่องการหาค่า pH ของสารละลาย เพื่อใช้คานวณหาค่าpHและค่าความเข้มข้นของสารละลาย รวมทั้งให้ความรู้แก่ ผู้ใช้เกี่ยวกับค่า pH ของสาระละลาย และตารางธาตุที่สามารถใช้งานได้บนสมาร์ทโฟนเพื่อช่วยให้ ผู้เรียนหรือผู้ที่สนใจเกี่ยวกับเรื่องการคานวณหาค่า pH ของสารละลายได้ใช้ประโยชน์โดยไม่เสีย ค่าใช้จ่ายใดๆ วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) เพื่อพัฒนาแอปพลิเคชันบนระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ เรื่องการหาค่า pH ของสารละลาย ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) 1. ให้ข้อมูลเกี่ยวกับค่า pH ของสารละลาย 2. คานวณค่า pH ของสารละลายกรด และคานวณค่า pOH ของสารละลายเบส 3. คานวณค่าความเข้มข้นของสารในหน่วยโมล 4. ให้ข้อมูลตารางธาตุ หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) 1.ข้อมูลเรื่องกรดเบส เบื้องต้น สมบัติทั่วไปของสารละลายกรด-เบส 1) สารละลายอิเล็กโทรไลต์ (Electrolyte) : สารละลายที่ตัวถูกทาละลาย นาไฟฟ้าได้ (สารละลายของสารประกอบไอออนิก) ถ้าแตกตัว 100% เรียกว่า อิเล็กโทรไลต์แก่ (Strong Electrolyte) แต่ถ้าแตกตัวไม่ 100% เรียกอิเล็กโทรไลต์อ่อน (Weak Electrolyte) เช่น NaCl, KOH เป็นต้น 2) สารละลายนอนอิเล็กโทรไลต์ (Non-Electrolyte) : สารละลายที่ตัวถูกละลายไม่แตกตัว ไม่ นาไฟฟ้า (สารละลายของสารประกอบโคเวนเลนต์) เช่น น้าเชื่อม, แอลกอฮอล์ เป็นต้น *** กรดและเบสเป็นสารละลายอิเล็กโทรไลต์
  • 4. 4 3) สมบัติของสารละลายกรด-เบส ตารางที่ 2.1 แสดงสมบัติของสารละลายกรด-เบส สมบัติ สาระละลายกรด สารละลายเบส การนาไฟฟ้า นาไฟฟ้า (แตกตัวเมื่อละลาย น้า) นาไฟฟ้า (แตกตัวเมื่อละลาย น้า) การเปลี่ยนสีกระดาษ ลิตมัส จากสีน้าเงินแดง จากสีแดงน้าเงิน การทาปฏิกิริยา ทาปฏิกิริยากับโลหะได้แก๊ส H2 ทาปฏิกิริยากับกรดได้เกลือและ น้า ค่า pH ต่ากว่า 7 สูงกว่า 7 รส เปรี้ยว ฝาด สมบัติการกัดกร่อน กัดกร่อยโลหะ ไม่กัดกร่อนโลหะ ตัวอย่าง HCl, H2SO4, H2CO3 NaOH, Mg(OH)2 4) ทฤษฎีกรด-เบส ตารางที่ 2.2 แสดงทฤษฎีกรด-เบส ผู้คิดค้น กรด เบส ข้อจากัดทฤษฎี อารีเนียส (Svante Arrhenius) สารที่ละลายน้าแล้ว แตกตัวให้ H+ สารที่ละลายน้าแล้ว แตกตัวให้ OH สารที่ไม่ละลายน้า หรือไม่มี H หรือ OH เป็นองค์ประกอบไม่ สามารถบอกได้ว่า เป็นกรด หรือเบส ตัวอย่าง : HCl H+ + Cr ตัวอย่าง : NaOH Na+ + OH-
  • 5. 5 ผู้คิดค้น กรด เบส ข้อจากัดทฤษฎี เบรินสเตดและลาวรี (Johannes Nicolaus Bronsted และ Thomas Martin Lowry) สารที่ให้โปรตอน (H+ ) แก่สารอื่น สารที่รับโปรตอน (H+ ) จากสารอื่น สารที่ไม่แตกตัวเป็น ไอออน หรือไม่มี H เป็นองค์ประกอบ ไม่ สามารถบอกได้ว่า เป็นกรด หรือ เบส ตัวอย่าง : HCl + H2O H3O+ + Cl- ตัวอย่าง : NH3 + H2O NH4 + + OH- ลิวอิส (Lewis) สารที่รัยอิเล็กตรอนคู่ โดดเดี่ยวจากสารอื่น สารที่ให้อิเล็กตรอน คู่โดดเดี่ยวแก่สาร อื่น - ตัวอย่าง : H+ + NH3 NH4 + ตัวอย่าง : BF3 + NH3 BF3 NH3 5) คู่กรด-เบส - เกิดจากปฏิกิริยาผันกลับได้มีการถ่ายเทโปรตอนระหว่างกรดไปยังเบส - ข้อสังเกต : 1. คู่กรดเบส จะมีสูตรเคมีต่างกันเพียง H+ ตัวเดียว 2. คู่กรดเบสจะอยู่คนละฝั่งของสมการเสมอ 3. ตัวที่มี H มากกว่าทาหน้าที่เป็นกรด ตัวที่มี H น้อยกว่าเป็นเบส - ตัวอย่าง HCl + H2O Cl- + H3O 6) ชนิดของกรดเบส - กรดแบ่งเป็น 3 ชนิดได้แก่ 1. กรดโมโนโปรติก แตกตัวได้ 1 ครั้ง 2. กรดไดโปรติก แตกตัวได้ 2 ครั้ง 3. กรดไตรโปรติก แตกตัวได้ 3 ครั้ง ** กรดไดโปรติก และ ไตรโปรติกเรียกรวมกันว่า “โพลีโปรติก”
  • 6. 6 - เบสแบ่งเป็น 3 ชนิดได้แก่ 1. เบสที่มี OH- 1 หมู่ 2. เบสที่มี OH- 2 หมู่ 3. เบสที่มี OH- 3 หมู่ 7) ความแรงของกรดเบส หมายถึง ความสามารถในการแตกตัวของสารละลายกรดเบสในน้า หากแตกตัวมาก จะเป็นกรดแก่-เบสแก่ (strong acid – strong base) หากแตกตัวได้น้อย จะเป็นกรดอ่อน –เบสอ่อน (weak acid – weak base) - กรดแก่ : กรดที่ละลายน้าแล้วแตกตัวได้ 100% - เบสแก่ : เบสที่ละลายน้าแล้วแตกตัวได้ 100% 2.ความรู้เกี่ยวกับซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการพัฒนาแอปพลิเคชัน Eclipse Eclipse คือโปรแกรมที่ใช้สาหรับพัฒนาภาษา Java ซึ่งโปรแกรม Eclipse ใช้ในการพัฒนาApplication Server เนื่องจาก Eclipse เป็นซอฟต์แวร์ OpenSource ที่พัฒนาขึ้นเพื่อใช้โดยนักพัฒนาเอง Eclipse มีองค์ประกอบหลักที่ เรียกว่า Eclipse Platform รวบรวมเครื่องมือต่างๆจากภายนอกให้สามารถทางานร่วมกัน และมีองค์ประกอบที่ เรียกว่า Plug-in Development Environment (PDE) ซึ่งเพิ่มความสามารถในการพัฒนาซอฟต์แวร์มากขึ้น เครื่องมือภายนอกจะถูกพัฒนาในรูปแบบที่เรียกว่า Eclipse plug-ins ถ้าต้องการให้ Eclipse ทางานใดเพิ่มเติม ก็เพียงแต่พัฒนา plugin สาหรับงานนั้นขึ้นมา และนา Plug-in นั้นมาติดตั้งเพิ่มเติมให้กับ Eclipse ที่มีอยู่เท่านั้น Eclipse Plug-in ที่มีมาพร้อมกับ Eclipse ก็คือองค์ประกอบที่เรียกว่า Java Development Toolkit (JDT) ซึ่งเป็นเครื่องมือในการ เขียนและ Debug โปรแกรมภาษา Java Android SDK Android SDK (Android Software Development Kit) เป็นชุดโปรแกรมที่พัฒนาโดย Google เพื่อให้นักพัฒนา แอปพลิเคชันหรือผู้สนใจดาวน์โหลดไปใช้งานโดยไม่เสียค่าใช้จ่ายจึงเป็นปัจจัยที่ทาให้แอปพลิเคชันบนแอนดรอยด์ เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ในชุด SDK นั้นจะมีโปรแกรมและไลบรารี่ต่างๆที่จาเป็นต่อการพัฒนาแอปพลิเคชันบนระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ เช่น Emulator หรือโปรแกรมจาลองเครื่องจักรซึ่งทาให้ผู้พัฒนาโปรแกรมสามารถสร้างแอปพลิเคชันและทดลองใช้ งานบน Emulator ก่อนโดยมี สภาวะแวดล้อมเหมือนกับงานโทรศัพท์เคลื่อนที่ที่ใช้ระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์จริงๆ ภาษาจาวา (JAVA) Java ภาษาจาวา (JAVA)หรือ Java programming language คือ ภาษาโปรแกรมเชิงวัตถุพัฒนาโดยเจมส์กอสลิงและกลุ่ม วิศวกรคนอื่นๆของบริษัทซันไมโครซิสเต็มส์ภาษานี้มีจุดประสงค์เพื่อใช้แทนภาษาC++ โดยรูปแบบที่เพิ่มเติมขึ้นคล้าย กับภาษาObjective-C จุดเด่นของภาษาจาวาอยู่ที่ผู้เขียนโปรแกรมสามารถใช้หลักการของ Object-Oriented Programming มาพัฒนาโปรแกรมของตนด้วย Java ได้ ภาษาจาวาเป็นภาษาสาหรับเขียนโปรแกรมที่สนับสนุนการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ (OOP : Object-Oriented Programming) โปรแกรมที่เขียนขึ้นถูกสร้างภายในคลาสดังนั้นคลาสคือ ที่เก็บเมทอด (method) หรือพฤติกรรม (behavior) ซึ่งมีสถานะ (state) และรูปพรรณ (identity) เป็นประพฤติกรรม
  • 7. 7 Photoshop CS3 โปรแกรมPhotoshop เป็นโปรแกรมสร้างและแก้ไขรูปภาพอย่างมืออาชีพ โปรแกรม Photoshop เป็นโปรแกรมที่มี เครื่องมือมากมายเพื่อสนับสนุนการสร้างงานประเภทสิ่งพิมพ์ งานวิดีทัศน์ งานนาเสนอ งานมัลติมีเดีย ตลอดจนงานออกแบบและพัฒนาเว็บไซต์ ในชุดโปรแกรม Adobe Photoshop จะประกอบด้วยPhotoshop และ ImageReady ภาพที่ 2.6 แสดงโปรแกรม Photoshop วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน 1) ศึกษาเนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับกรดเบสและสูตรคานวณ เกี่ยวกับค่าpH 2) ศึกษาการเขียนแอปพลิเคชันบนสมาร์ทโฟนด้วย โปรแกรม Eclipse และ Java 3) ออกแบบผังการดาเนินงานของแอปพลิเคชัน 4) ตรวจสอบแอปพลิเคชันโดยผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาและ การออกแบบ 5) ทดสอบการใช้งานแอปพลิเคชัน 6) วิเคราะห์ผลและปรับปรุงแอปพลิเคชัน 7) ทาเอกสารประกอบ เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ ฮาร์ดแวร์ 1) เครื่องคอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ค พร้อมเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต 2) โทรศัพท์สมาร์ทโฟนที่ทางานด้วยระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ ซอฟต์แวร์ 1) โปรแกรม Eclipse 2) ระบบปฏิบัติการ Android 3) โปรแกรม Photoshop งบประมาณ -
  • 8. 8 ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับ ผิด ชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3 จัดทาโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทาเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) ได้แอพพลิเคชันคานวณหาค่า pH ของสารละลาย ที่สามารถให้ความรู้และผู้ใช้งานได้จริง สถานที่ดาเนินการ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ สาขาเคมี แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน) บุญชม ศรีสะอาด. (2545). การวิจัยเบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาสน. สถาบันกวดวิชาติวเตอร์พอยท์. (2554). สรุปเคมี มัธยมปลาย : Chemistry for High School Student. พิมพ์ ครั้งที่ 13. กรุงเทพฯ : ห้างหุ้นส่วนจากัดสามลดา. ไม่ระบุชื่อ. (2555). Android Code Example. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก http://androidcodeexample.blogspot.com/ (วันที่ค้นข้อมูล: 2 มิถุนายน 2557).