SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6
ปีการศึกษา 2559
ชื่อโครงงาน Admission
ชื่อผู้ทาโครงงาน
1. นางสาว วิชญกานต์ วงศ์สุนทร เลขที่ 20 ชั้น 6/6
2. นางสาว มธุรดา งามตา เลขที่ 24ชั้น 6/6
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2559
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม 2
1.วิชญกานต์ วงศ์สุนทร เลขที่20 2. มธุรดา งามตา เลขที่24
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
ระบบ Admission
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
Admission System
ประเภทโครงงาน ประเภทการศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน
1. นางสาว วิชญกานต์ วงศ์สุนทร เลขที่ 20 ชั้น 6/6
2. นางสาว มธุรดา งามตา เลขที่ 24ชั้น 6/6
ชื่อที่ปรึกษา
ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน
ภาคเรียนที่1-2ปีการศึกษา2559
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน)
แอดมิชชั่น หรือ Admission ชื่อเต็มๆว่า ระบบกลางคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา
(Central University Admissions System: CUAS)นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 หรือเทียบเท่า ที่มีความ
ต้องการจะศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัย ต้องสอบ แล้วนาคะแนนสอบที่ได้มายื่นเลือกคณะ จะมีข้อยกเว้นเกี่ยวกับ
การแอดมิชชั่นอยู่บ้าง เนื่องจากมหาวิทยาลัยหลายๆที่ไม่มีความเชื่อมั่นในการสอบแอดมิชชั่น จึงได้จัดการสอบตรงขึ้น
โดยเฉพาะคณะทางด้านแพทย์ส่วนใหญ่จะรับเฉพาะการสอบตรง ไม่ค่อยจะได้เห็นคณะด้านแพทย์ที่รับเด็กที่ผ่านการ
สอบแอดมิชชั่นเท่าไหร่กันนัก และยังเปลี่ยนแปลงไปมาอย่างรวดเร็วด้วย บางมหาวิทยาลัยรับผ่านแอดมิชชั่นปีที่
แล้วแต่ไม่รับผ่านแอดมิชชั่นปีนี้ ต้องติดตามข่าวกันอย่างละเอียดปีต่อปีกันเลยทีเดียว ตรงกันข้ามกับการสอบตรงซึ่ง
รับทุกปี
แนวคิดจากการทาโครงงานเรื่องนี้คือ ข้าพเจ้าได้รับแรงบัลดาลใจจากการที่จะสอบเข้ามหาวิทยาลัยที่
ข้าพเจ้านั้นใฝ่ฝัน ทาให้มีแรงผลักดัน มีกาลังใจในการเตรียมตัวสอบ ดังนั้นข้าพเจ้าและเพื่อนผู้ทาโครงงานทั้งสองคน
นั้นได้คิดที่จะได้ทาโครงงานเรื่องนี้ และตัวข้าพเจ้าและเพื่อนเองก็อยู่ในช่วงเวลาที่จะต้องสอบเข้ามหาวิทยาลัยในคณะ
ที่ใช่
3
โดยจะมีการอัพเดทข้อมูลและข่าวสารต่างๆเกี่ยวกับการรับตรงในแต่ละมหาวิทยาลัยต่างๆ มีคลิปวิดิโอ
สาหรับการสอนแต่ละวิชาและเคล็ดลับต่างๆที่พิชิตคะแนนสูงๆ เทคนิคการจัดอันดับ4อันดับจากการเลือกลาดับ
Admission
การวางแผนสาหรับการสอบติด การรู้จักตัวเองว่าจะเรียนในคณะไหน มหาวิทยาลัยอะไรที่เหมาะกับตัวของเรา
สัดส่วนคะแนนต่างๆที่จะนามาคิดเป็นคะแนนสาหรับการยื่นศึกษาต่อในมหาวิทยาลัยที่ตนเองต้องการ
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1.เพื่อเป็นแหล่งติดตามข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการสอบเข้ามหาวิทยาลัย
2.เพื่อเผยแพร่ข้อมูลให้กับผู้ที่สนใจ
3.เพื่อเป็นแนวทางสาหรับผู้ที่กาลังจะยื่นคะแนนแอดมิชชั่น
4.เพื่อฝึกการทางานร่วมกันเป็นหมู่คณะ
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
อัพเดตข้อมูลเกี่ยวกับ Gat/Pat,O-Net,9วิชาสามัญ,เฉลยข้อสอบเก่า
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
ระบบแอดมิชชั่นนี้ บริหารงานโดย สถาบันทดสอบการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือที่รู้จักกันดีใน
ชื่อว่า สทศ. โดยที่หน้าที่ของสทศ. คือพัฒนาข้อสอบเพื่อวัดและประเมินมาตรฐานการศึกษา วัดความรู้ความสามารถ
ของผู้เข้าสอบแต่ละคน สทศ.จะรับผิดชอบการประเมินผลด้านการศึกษาให้กับนักเรียนที่เรียนหลักสูตรไทย ใน
ประเทศไทย หลายครั้งด้วยกันคือ ป.3, ป.6, ม.3, และ ม.6 แต่ในการสอบแอดมิชชั่นนั้นจะนับกันเฉพาะ การสอบ
วัดผลในระดับชั้น ม.6 เท่านั้น ยังมีอีก 1 องค์การที่จะไม่กล่าวถึงก็คงจะไม่ได้ คือ กระทรวงศึกษาธิการ ซึ่งเป็นผู้วาง
มาตรฐานหลักสูตรการศึกษาให้กับโรงเรียนต่าง ๆ ในประเทศไทย เรียกง่าย ๆ ว่า กระทรวงศึกษาเป็นผู้กาหนด
หลักสูตร โรงเรียนมีหน้าที่สอนนักเรียนตามหลักสูตร และสทศ. มีหน้าที่สอบวัดผลโรงเรียนและนักเรียนแต่ละคนตาม
หลักสูตรนั่นเอง
ก่อนอื่นมาทาความรู้จักกับระบบการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีก่อน ระบบแรก คือ
“เอ็นทรานซ์” คือระบบการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษา โดยการสอบแข่งขันคัดเลือกรวมกล่าวคือ
ระบบเอ็นทรานซ์เน้นการสอบแข่งขันด้วยการทาทุกวิธีทางเพื่อให้สอบติดพฤติกรรมการเรียนในโรงเรียนถูกเบี่ยงเบียน
ไปสู่การเรียนพิเศษตามสถาบันกวดวิชาเด็กทิ้งการเรียนในห้องเรียนให้ความสาคัญน้อยลงไม่สนใจวิชาประกอบเน้น
เฉพาะวิชาหลักที่จะใช้สอบเอ็นทรานซ์จนกระทั่งไม่มาโรงเรียนแต่ไปหมกตัวอยู่ตามสถาบันกวดวิชาต่าง ๆลด
ความสาคัญของการศึกษาขั้นพื้นฐานแล้วมุ่งเน้นแต่ปฏิบัติการล่าฝันวันเอ็นทรานซ์เพียงอย่างเดียวทาให้เด็กขาด
คุณภาพทางการศึกษามีความรู้แบบขาดๆ รู้ไม่ลึกไม่จริงไม่ถ่องแท้ สุดท้ายก็ประยุกต์ใช้ไม่เป็น กลายเป็นคนที่เรียนจบ
แต่รู้ไม่ครบถ้วนกระบวนการ“แอดมิชชั่น”คือระบบกลางการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษา (Central
University Admissions System – CUAS ) โดยการคัดเลือกบนพื้นฐานของผลการศึกษา กล่าวคือเน้นความสาคัญ
ของผลการศึกษาและการเรียนรู้ทุกกลุ่มสาระเป็นหลัก ต้องการให้เด็กเรียนจบครบถ้วนทุกกระบวนการ ทุกคะแนนมี
ความหมายหมด ทาให้เด็กให้ความสาคัญกับการศึกษาขั้นพื้นฐานเป็นหลักเพราะต้องใส่ใจทุกคะแนนที่ได้ วิชาไหนที่
4
เด็กรักและถนัดก็จะช่วยดึงเกรดเฉลี่ยให้ดีขึ้นส่วนวิชาไหนที่มีปัญหาหรือที่ชอบเด็กก็จะใส่ใจพยายามแก้ไขเพื่อคะแนน
ที่จะได้มาช่วยเพิ่มค่าGPAให้สูงขึ้นดังนั้นแอดมิชชั่นจึงไม่ได้เป็นระบบการศึกษาแบบ One Stop Service รวดเดียว
เบ็ดเสร็จ แต่เป็นระบบที่ผสมผสานองค์ประกอบต่าง ๆ เข้าด้วยกัน ส่วนผลที่ได้จะเป็นอย่างไรก็ขึ้นอยู่กับความมุ่งมั่น
ตั้งใจ กอบโกยความรู้ของแต่ละคน
1. O-NET (Ordinary National Education Test) หรือการสอบทางการศึกษาแห่งชาติขั้นพื้นฐาน ในตอนนี้
จะพูดถึงการสอบ O-NET ในระดับชั้น ม.6 เพียงอย่างเดียว แนวคิดของ O-NET คือ การวัดผลของโรงเรียนแต่ละ
โรงเรียนว่า ได้สอนนักเรียนของตัวเองตามหลักสูตรกระทรวงขนาดไหน ข้อสอบ O-NET นี้จะเป็นข้อสอบง่ายๆที่วัด
เฉพาะพื้นฐานจริงๆเท่านั้น
2. GAT (Genetal Aptitude Test) หรือมีชื่อเป็นภาษาไทยสั้นๆว่า การสอบความถนัดทั่วไป ซึ่งจะเน้น
เนื้อหาทางด้าน การอ่าน เขียน คิดวิเคราะห์การแก้โจทย์ปัญหาทางคณิตศาสตร์ รวมไปถึงการสื่อสารด้วย
ภาษาอังกฤษ ข้อสอบ GAT นี้จะมีความซับซ้อนมากกว่าความยาก
3. PAT (Professional Aptitude Test) หรือมีชื่อเป็นภาษาไทยสั้นๆว่า การสอบความถนัดเฉพาะด้าน/
วิชาการ เป็นข้อสอบที่ยากที่สุดในสามตัวที่พูดถึง วิชาเฉพาะด้านที่มีสอบคือ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ พื้นฐาน
วิศวกรรม พื้นฐานสถาปัตยกรรม พื้นฐานความเป็นครู และวิชาด้านภาษาอื่นๆนอกเหนือจากภาษาอังกฤษ
4. GPAX หรือผลการเรียนเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรมัธยมศึกษาตอนปลาย หรือเทียบเท่า จะมีผลต่อคะแนน
รวม 10%
GPA หรือคะแนนสะสมรายวิชาตลอดหลักสูตรมัธยมศึกษาตอนปลายตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ 3-5 กลุ่ม
จาก 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ โดยในปีการศึกษา 2549 ให้ค่าน้าหนัก 20% ในปีการศึกษา 2550 ให้ค่าน้าหนัก 30%
และในปีการศึกษา 2551 ให้ค่าน้าหนัก 40%
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
1. เลือกหัวข้อที่สนใจ
2. กาหนดหัวข้อย่อย
3. รวบรวมข้อมูล
4. นาข้อมูลมาเรียบเรียงเนื้อหา
5. จัดทาเป็นพาวเวอร์พอยท์
6. ตรวจสอบความถูกต้อง
7. นาเสนอข้อมูล
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
1. คอมพิวเตอร์
2. อินเตอร์เนต
งบประมาณ
ไม่มีค่าใช้จ่ายใดๆ
5
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
12
1
3
1
4
1
5
16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน /
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล / / /
3 จัดทาโครงร่างงาน / /
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน / /
5 ปรับปรุงทดสอบ / /
6 การทาเอกสารรายงาน / /
7 ประเมินผลงาน / /
8 นาเสนอโครงงาน / /
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
1. ผู้ที่ศึกษาได้แนวทางที่ถูกต้องและชัดเจน
2. เป็นประโยชน์แต่ผู้ที่กาลังจะยื่นคะแนนแอดมิชชัน
3.ได้รู้จักความสามัคคีจากการทางานเป็นหมู่คณะ
สถานที่ดาเนินการ
1. โรงเรียนยุพราชวิทยาลัยเชียงใหม่
2. บ้านนักเรียน
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
1.กลุ่มสาระการเรียนรู้แนะแนว
2.กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
3.กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
4.กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
5.กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคม
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
http://krupom.sbp.ac.th/?p=96
http://www.ed-th.com/admission-university/
http://guru.sanook.com/2260/
http://www.tewfree.com/%E0%B9%81%E0%B8%AD%E0%B8%94%E0%B8%A1%E0%B8%B4
%E0%B8%8A%E0%B8%8A%E0%B8%B1%E0%B9%88%E0%B8%99-admission-
%E0%B8%84%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%AD%E0%B8%B0%E0%B9%84%E0%B8
%A3/

More Related Content

What's hot

โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ปัญหาเด็กติดเกม
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ปัญหาเด็กติดเกมโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ปัญหาเด็กติดเกม
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ปัญหาเด็กติดเกม
Ratchasin Poomchor
 
2560 project -1-1
2560 project -1-12560 project -1-1
2560 project -1-1
rungthiwa_
 

What's hot (20)

โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ปัญหาเด็กติดเกม
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ปัญหาเด็กติดเกมโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ปัญหาเด็กติดเกม
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ปัญหาเด็กติดเกม
 
23 jutamart โครงรางงานคอม
23 jutamart โครงรางงานคอม23 jutamart โครงรางงานคอม
23 jutamart โครงรางงานคอม
 
2561 project thitichaya
2561 project  thitichaya2561 project  thitichaya
2561 project thitichaya
 
Kosan
KosanKosan
Kosan
 
แบบร่างโครงงาน
แบบร่างโครงงานแบบร่างโครงงาน
แบบร่างโครงงาน
 
การขับขี่อย่างปลอดภัย1
การขับขี่อย่างปลอดภัย1การขับขี่อย่างปลอดภัย1
การขับขี่อย่างปลอดภัย1
 
Suwadee22
Suwadee22Suwadee22
Suwadee22
 
at1
at1at1
at1
 
605 15projectcom
605 15projectcom605 15projectcom
605 15projectcom
 
คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์
 
2561 project 10-yawistha
2561 project 10-yawistha2561 project 10-yawistha
2561 project 10-yawistha
 
ใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ไข้เลือดออก
ใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ไข้เลือดออกใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ไข้เลือดออก
ใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ไข้เลือดออก
 
2561 project 607-18
2561 project  607-182561 project  607-18
2561 project 607-18
 
กิจกรรมที่ 1 ใบงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 1 ใบงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่ 1 ใบงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 1 ใบงานคอมพิวเตอร์
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน
 
Project1607
Project1607Project1607
Project1607
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
2560 project -1-1
2560 project -1-12560 project -1-1
2560 project -1-1
 
โครงงานเปรม
โครงงานเปรมโครงงานเปรม
โครงงานเปรม
 
โครงร่างโครงงาน ชนกันต์
โครงร่างโครงงาน ชนกันต์โครงร่างโครงงาน ชนกันต์
โครงร่างโครงงาน ชนกันต์
 

Viewers also liked

แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (2)
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (2)แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (2)
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (2)
Jutamas123
 
4 การแชร์ไฟล์จาก slideshare ไปยังเว็บบล็อก
4 การแชร์ไฟล์จาก slideshare ไปยังเว็บบล็อก4 การแชร์ไฟล์จาก slideshare ไปยังเว็บบล็อก
4 การแชร์ไฟล์จาก slideshare ไปยังเว็บบล็อก
Pipit Sitthisak
 
Pre โควตา มช.อังกฤษ
Pre โควตา มช.อังกฤษPre โควตา มช.อังกฤษ
Pre โควตา มช.อังกฤษ
yinqpant
 

Viewers also liked (15)

Zzzzz
ZzzzzZzzzz
Zzzzz
 
ใบงานแบบสำรวจและประวัติ
ใบงานแบบสำรวจและประวัติใบงานแบบสำรวจและประวัติ
ใบงานแบบสำรวจและประวัติ
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (2)
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (2)แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (2)
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (2)
 
Set
SetSet
Set
 
Sci52
Sci52Sci52
Sci52
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project
 
ใบงานที่ 6 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 6 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 6 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 6 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใช้นี้สิ
ใช้นี้สิใช้นี้สิ
ใช้นี้สิ
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project
 
4 การแชร์ไฟล์จาก slideshare ไปยังเว็บบล็อก
4 การแชร์ไฟล์จาก slideshare ไปยังเว็บบล็อก4 การแชร์ไฟล์จาก slideshare ไปยังเว็บบล็อก
4 การแชร์ไฟล์จาก slideshare ไปยังเว็บบล็อก
 
ข้อสอบ ม ช ชุดที่ 1
ข้อสอบ ม ช ชุดที่ 1ข้อสอบ ม ช ชุดที่ 1
ข้อสอบ ม ช ชุดที่ 1
 
ขอ้อสอบ ม ช ชุดที่ 2
ขอ้อสอบ ม ช ชุดที่ 2ขอ้อสอบ ม ช ชุดที่ 2
ขอ้อสอบ ม ช ชุดที่ 2
 
Combi
CombiCombi
Combi
 
Pre โควตา มช.อังกฤษ
Pre โควตา มช.อังกฤษPre โควตา มช.อังกฤษ
Pre โควตา มช.อังกฤษ
 
SlideShare 101
SlideShare 101SlideShare 101
SlideShare 101
 

Similar to รำคาน

โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
Sarunporn Kapbai
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
Charunya Chaiaupakham
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
Nattaphong Buasithong
 
เอี๊ยม
เอี๊ยมเอี๊ยม
เอี๊ยม
thunniti
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
Kh Ninnew
 

Similar to รำคาน (20)

แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2562 final-project 255555
2562 final-project 2555552562 final-project 255555
2562 final-project 255555
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
Fight for your dream
Fight for your dreamFight for your dream
Fight for your dream
 
2560 project
2560 project  2560 project
2560 project
 
2562 final-project26
2562 final-project262562 final-project26
2562 final-project26
 
Work 5
Work 5Work 5
Work 5
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2560 project (4)
2560 project  (4)2560 project  (4)
2560 project (4)
 
2560 project (4)
2560 project  (4)2560 project  (4)
2560 project (4)
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน
 
เอี๊ยม
เอี๊ยมเอี๊ยม
เอี๊ยม
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน
 
แคท
แคทแคท
แคท
 
กาแฟ
กาแฟกาแฟ
กาแฟ
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 

รำคาน

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6 ปีการศึกษา 2559 ชื่อโครงงาน Admission ชื่อผู้ทาโครงงาน 1. นางสาว วิชญกานต์ วงศ์สุนทร เลขที่ 20 ชั้น 6/6 2. นางสาว มธุรดา งามตา เลขที่ 24ชั้น 6/6 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2559 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม 2 1.วิชญกานต์ วงศ์สุนทร เลขที่20 2. มธุรดา งามตา เลขที่24 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) ระบบ Admission ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Admission System ประเภทโครงงาน ประเภทการศึกษา ชื่อผู้ทาโครงงาน 1. นางสาว วิชญกานต์ วงศ์สุนทร เลขที่ 20 ชั้น 6/6 2. นางสาว มธุรดา งามตา เลขที่ 24ชั้น 6/6 ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่1-2ปีการศึกษา2559 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) แอดมิชชั่น หรือ Admission ชื่อเต็มๆว่า ระบบกลางคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา (Central University Admissions System: CUAS)นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 หรือเทียบเท่า ที่มีความ ต้องการจะศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัย ต้องสอบ แล้วนาคะแนนสอบที่ได้มายื่นเลือกคณะ จะมีข้อยกเว้นเกี่ยวกับ การแอดมิชชั่นอยู่บ้าง เนื่องจากมหาวิทยาลัยหลายๆที่ไม่มีความเชื่อมั่นในการสอบแอดมิชชั่น จึงได้จัดการสอบตรงขึ้น โดยเฉพาะคณะทางด้านแพทย์ส่วนใหญ่จะรับเฉพาะการสอบตรง ไม่ค่อยจะได้เห็นคณะด้านแพทย์ที่รับเด็กที่ผ่านการ สอบแอดมิชชั่นเท่าไหร่กันนัก และยังเปลี่ยนแปลงไปมาอย่างรวดเร็วด้วย บางมหาวิทยาลัยรับผ่านแอดมิชชั่นปีที่ แล้วแต่ไม่รับผ่านแอดมิชชั่นปีนี้ ต้องติดตามข่าวกันอย่างละเอียดปีต่อปีกันเลยทีเดียว ตรงกันข้ามกับการสอบตรงซึ่ง รับทุกปี แนวคิดจากการทาโครงงานเรื่องนี้คือ ข้าพเจ้าได้รับแรงบัลดาลใจจากการที่จะสอบเข้ามหาวิทยาลัยที่ ข้าพเจ้านั้นใฝ่ฝัน ทาให้มีแรงผลักดัน มีกาลังใจในการเตรียมตัวสอบ ดังนั้นข้าพเจ้าและเพื่อนผู้ทาโครงงานทั้งสองคน นั้นได้คิดที่จะได้ทาโครงงานเรื่องนี้ และตัวข้าพเจ้าและเพื่อนเองก็อยู่ในช่วงเวลาที่จะต้องสอบเข้ามหาวิทยาลัยในคณะ ที่ใช่
  • 3. 3 โดยจะมีการอัพเดทข้อมูลและข่าวสารต่างๆเกี่ยวกับการรับตรงในแต่ละมหาวิทยาลัยต่างๆ มีคลิปวิดิโอ สาหรับการสอนแต่ละวิชาและเคล็ดลับต่างๆที่พิชิตคะแนนสูงๆ เทคนิคการจัดอันดับ4อันดับจากการเลือกลาดับ Admission การวางแผนสาหรับการสอบติด การรู้จักตัวเองว่าจะเรียนในคณะไหน มหาวิทยาลัยอะไรที่เหมาะกับตัวของเรา สัดส่วนคะแนนต่างๆที่จะนามาคิดเป็นคะแนนสาหรับการยื่นศึกษาต่อในมหาวิทยาลัยที่ตนเองต้องการ วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1.เพื่อเป็นแหล่งติดตามข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการสอบเข้ามหาวิทยาลัย 2.เพื่อเผยแพร่ข้อมูลให้กับผู้ที่สนใจ 3.เพื่อเป็นแนวทางสาหรับผู้ที่กาลังจะยื่นคะแนนแอดมิชชั่น 4.เพื่อฝึกการทางานร่วมกันเป็นหมู่คณะ ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) อัพเดตข้อมูลเกี่ยวกับ Gat/Pat,O-Net,9วิชาสามัญ,เฉลยข้อสอบเก่า หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) ระบบแอดมิชชั่นนี้ บริหารงานโดย สถาบันทดสอบการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือที่รู้จักกันดีใน ชื่อว่า สทศ. โดยที่หน้าที่ของสทศ. คือพัฒนาข้อสอบเพื่อวัดและประเมินมาตรฐานการศึกษา วัดความรู้ความสามารถ ของผู้เข้าสอบแต่ละคน สทศ.จะรับผิดชอบการประเมินผลด้านการศึกษาให้กับนักเรียนที่เรียนหลักสูตรไทย ใน ประเทศไทย หลายครั้งด้วยกันคือ ป.3, ป.6, ม.3, และ ม.6 แต่ในการสอบแอดมิชชั่นนั้นจะนับกันเฉพาะ การสอบ วัดผลในระดับชั้น ม.6 เท่านั้น ยังมีอีก 1 องค์การที่จะไม่กล่าวถึงก็คงจะไม่ได้ คือ กระทรวงศึกษาธิการ ซึ่งเป็นผู้วาง มาตรฐานหลักสูตรการศึกษาให้กับโรงเรียนต่าง ๆ ในประเทศไทย เรียกง่าย ๆ ว่า กระทรวงศึกษาเป็นผู้กาหนด หลักสูตร โรงเรียนมีหน้าที่สอนนักเรียนตามหลักสูตร และสทศ. มีหน้าที่สอบวัดผลโรงเรียนและนักเรียนแต่ละคนตาม หลักสูตรนั่นเอง ก่อนอื่นมาทาความรู้จักกับระบบการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีก่อน ระบบแรก คือ “เอ็นทรานซ์” คือระบบการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษา โดยการสอบแข่งขันคัดเลือกรวมกล่าวคือ ระบบเอ็นทรานซ์เน้นการสอบแข่งขันด้วยการทาทุกวิธีทางเพื่อให้สอบติดพฤติกรรมการเรียนในโรงเรียนถูกเบี่ยงเบียน ไปสู่การเรียนพิเศษตามสถาบันกวดวิชาเด็กทิ้งการเรียนในห้องเรียนให้ความสาคัญน้อยลงไม่สนใจวิชาประกอบเน้น เฉพาะวิชาหลักที่จะใช้สอบเอ็นทรานซ์จนกระทั่งไม่มาโรงเรียนแต่ไปหมกตัวอยู่ตามสถาบันกวดวิชาต่าง ๆลด ความสาคัญของการศึกษาขั้นพื้นฐานแล้วมุ่งเน้นแต่ปฏิบัติการล่าฝันวันเอ็นทรานซ์เพียงอย่างเดียวทาให้เด็กขาด คุณภาพทางการศึกษามีความรู้แบบขาดๆ รู้ไม่ลึกไม่จริงไม่ถ่องแท้ สุดท้ายก็ประยุกต์ใช้ไม่เป็น กลายเป็นคนที่เรียนจบ แต่รู้ไม่ครบถ้วนกระบวนการ“แอดมิชชั่น”คือระบบกลางการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษา (Central University Admissions System – CUAS ) โดยการคัดเลือกบนพื้นฐานของผลการศึกษา กล่าวคือเน้นความสาคัญ ของผลการศึกษาและการเรียนรู้ทุกกลุ่มสาระเป็นหลัก ต้องการให้เด็กเรียนจบครบถ้วนทุกกระบวนการ ทุกคะแนนมี ความหมายหมด ทาให้เด็กให้ความสาคัญกับการศึกษาขั้นพื้นฐานเป็นหลักเพราะต้องใส่ใจทุกคะแนนที่ได้ วิชาไหนที่
  • 4. 4 เด็กรักและถนัดก็จะช่วยดึงเกรดเฉลี่ยให้ดีขึ้นส่วนวิชาไหนที่มีปัญหาหรือที่ชอบเด็กก็จะใส่ใจพยายามแก้ไขเพื่อคะแนน ที่จะได้มาช่วยเพิ่มค่าGPAให้สูงขึ้นดังนั้นแอดมิชชั่นจึงไม่ได้เป็นระบบการศึกษาแบบ One Stop Service รวดเดียว เบ็ดเสร็จ แต่เป็นระบบที่ผสมผสานองค์ประกอบต่าง ๆ เข้าด้วยกัน ส่วนผลที่ได้จะเป็นอย่างไรก็ขึ้นอยู่กับความมุ่งมั่น ตั้งใจ กอบโกยความรู้ของแต่ละคน 1. O-NET (Ordinary National Education Test) หรือการสอบทางการศึกษาแห่งชาติขั้นพื้นฐาน ในตอนนี้ จะพูดถึงการสอบ O-NET ในระดับชั้น ม.6 เพียงอย่างเดียว แนวคิดของ O-NET คือ การวัดผลของโรงเรียนแต่ละ โรงเรียนว่า ได้สอนนักเรียนของตัวเองตามหลักสูตรกระทรวงขนาดไหน ข้อสอบ O-NET นี้จะเป็นข้อสอบง่ายๆที่วัด เฉพาะพื้นฐานจริงๆเท่านั้น 2. GAT (Genetal Aptitude Test) หรือมีชื่อเป็นภาษาไทยสั้นๆว่า การสอบความถนัดทั่วไป ซึ่งจะเน้น เนื้อหาทางด้าน การอ่าน เขียน คิดวิเคราะห์การแก้โจทย์ปัญหาทางคณิตศาสตร์ รวมไปถึงการสื่อสารด้วย ภาษาอังกฤษ ข้อสอบ GAT นี้จะมีความซับซ้อนมากกว่าความยาก 3. PAT (Professional Aptitude Test) หรือมีชื่อเป็นภาษาไทยสั้นๆว่า การสอบความถนัดเฉพาะด้าน/ วิชาการ เป็นข้อสอบที่ยากที่สุดในสามตัวที่พูดถึง วิชาเฉพาะด้านที่มีสอบคือ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ พื้นฐาน วิศวกรรม พื้นฐานสถาปัตยกรรม พื้นฐานความเป็นครู และวิชาด้านภาษาอื่นๆนอกเหนือจากภาษาอังกฤษ 4. GPAX หรือผลการเรียนเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรมัธยมศึกษาตอนปลาย หรือเทียบเท่า จะมีผลต่อคะแนน รวม 10% GPA หรือคะแนนสะสมรายวิชาตลอดหลักสูตรมัธยมศึกษาตอนปลายตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ 3-5 กลุ่ม จาก 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ โดยในปีการศึกษา 2549 ให้ค่าน้าหนัก 20% ในปีการศึกษา 2550 ให้ค่าน้าหนัก 30% และในปีการศึกษา 2551 ให้ค่าน้าหนัก 40% วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน 1. เลือกหัวข้อที่สนใจ 2. กาหนดหัวข้อย่อย 3. รวบรวมข้อมูล 4. นาข้อมูลมาเรียบเรียงเนื้อหา 5. จัดทาเป็นพาวเวอร์พอยท์ 6. ตรวจสอบความถูกต้อง 7. นาเสนอข้อมูล เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ 1. คอมพิวเตอร์ 2. อินเตอร์เนต งบประมาณ ไม่มีค่าใช้จ่ายใดๆ
  • 5. 5 ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 12 1 3 1 4 1 5 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน / 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล / / / 3 จัดทาโครงร่างงาน / / 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน / / 5 ปรับปรุงทดสอบ / / 6 การทาเอกสารรายงาน / / 7 ประเมินผลงาน / / 8 นาเสนอโครงงาน / / ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) 1. ผู้ที่ศึกษาได้แนวทางที่ถูกต้องและชัดเจน 2. เป็นประโยชน์แต่ผู้ที่กาลังจะยื่นคะแนนแอดมิชชัน 3.ได้รู้จักความสามัคคีจากการทางานเป็นหมู่คณะ สถานที่ดาเนินการ 1. โรงเรียนยุพราชวิทยาลัยเชียงใหม่ 2. บ้านนักเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง 1.กลุ่มสาระการเรียนรู้แนะแนว 2.กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ 3.กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 4.กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย 5.กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคม แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน) http://krupom.sbp.ac.th/?p=96 http://www.ed-th.com/admission-university/ http://guru.sanook.com/2260/ http://www.tewfree.com/%E0%B9%81%E0%B8%AD%E0%B8%94%E0%B8%A1%E0%B8%B4 %E0%B8%8A%E0%B8%8A%E0%B8%B1%E0%B9%88%E0%B8%99-admission- %E0%B8%84%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%AD%E0%B8%B0%E0%B9%84%E0%B8 %A3/