SlideShare a Scribd company logo
1 of 26
โตเกียว Colorful

จัดทำโดย
1. นำงสำวประกำยแก้ว บำนเย็น

เลขที่ 19

2. นำงสำวลดำพรรณ

ชมชื่น

เลขที่ 20

3. นำงสำวศิวมล
ิ

ศรีสง่ ำ

เลขที่ 23

ชั้นมัธยมศึกษำปี ที่ 6/4

-----------------------------------------------------------------------------------------------------วิชำโครงงำนเพือประประโยชน์ และสำธำรณะประโยชน์ ว.30266
่
ภำคเรียนที่ 2 ปี กำรศึกษำ 2556
กลุ่มสำระกำรเรียนรู้วทยำศำสตร์ โรงเรียนมกุฎเมืองรำชวิทยำลัย
ิ
สำนักงำนเขตพืนที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำชลบุรีเขต 18
้
โตเกียว Colorful

จัดทำโดย
1. นำงสำวประกำยแก้ว บำนเย็น

เลขที่ 19

2. นำงสำวลดำพรรณ

ชมชื่น

เลขที่ 20

3. นำงสำวศิวมล
ิ

ศรีสง่ ำ

เลขที่ 23

ชั้นมัธยมศึกษำปี ที่ 6/4

คุณครูที่ปรึกษำโครงงำน
คุณครูศุภพงศ์ คล้ำยคลึง
ก
ชื่อโครงงำน

โตเกียว colorful

ผู้จัดทำโครงงำน
1.นางสาวประกายแก้ว บานเย็น

ม.6/4 เลขที่ 19

2.นางสาวลดาพรรณ

ม.6/4 เลขที่ 20

ชมชื่น

3.นางสาวสิ วมล ศรี สง่า
ิ

ม.6/4 เลขที่ 23

คุณครู ที่ปรึกษำโครงงำน คุณครู ศุภพงศ์ คล้ายคลึง
โรงเรียนมกุฎเมืองรำชวิทยำลัย
ปี กำรศึกษำ2556

บทคัดย่ อ
่
ปัจจุบนโตเกียวที่ขายอยูตามท้องตลาดทัวไปนั้นมีหลากหลายหลายไส้ เช่น
ั
่
ไส้เค็มซึ่งประกอบด้วย หมูสับทรงเครื่ อง ไข่ไก่ ไส้กรอก ซอสภูเขาทอง
ซอสพริ กหรื อซอสมะเขือเทศ ส่ วนไส้หวานประกอบด้วย เนยหวาน และไส้ครี ม
เพราะเหตุน้ ีเองทางคณะผูจดทาจึงคิดที่จะทดสอบว่าแป้ งที่ใช้ทาโตเกียวตามท้องตลาดกับแป้ งโ
้ั
ตเกียว Colurful ว่าแป้ งชนิดใดมีวตามินซีมากกว่ากันเท่าใด
ิ
โดยใช้วธีการวัดปริ มาณวิตามินซีในแป้ งทั้ง 3 ชนิด
ิ
จากผลการทดลองพบว่าแป้ งสู ตรฟักทองมีปริ มาณวิตามินซี 12.23 mg
แป้ งสู ตรมันเทศมีปริ มาณวิตามินซี 9.35 mg และแป้ งสู ตรใบเตยมีปริ มาณวิตามินซี 15.48 mg
่
ทาให้สรุ ปได้วาแป้ งสู ตรใบเตยมีปริ มาณวิตามินซีมากที่สุด
ข

กิตติกรรมประกำศ
โครงงานงานวิท ยาศาสตร์ ฉ บับ นี้ ส าเร็ จลุ ล่ วงไปได้ก็ เพราะ อาจารย์ที่ ป รึ กษาคื อ คุ ณ ครู ศุภพงศ์
คล้ า ยคลึ ง ที่ ก รุ ณ าให้ ค วามรู ้ ใ ห้ ค าป รึ กษ าชี้ แน ะที่ ดี มาโดยตลอดการท าโครงงาน ใน ครั้ งนี้
จึ งข อ ข อ บ พ ร ะ คุ ณ อ ย่ า งสู งม า ณ ที่ นี้ ข อ ข อ บ คุ ณ ค ณ าจ ารย์ ข อ งก ลุ่ ม ส าร ะ วิ ท ย าศ าส ต ร์
โ ร ง เ รี ย น ม กุ ฎ เ มื อ ง ร า ช วิ ท ย า ลั ย ทุ ก ท่ า น ที่ ใ ห้ ค ว า ม รู ้
และขอขอบพระคุณคณาจารย์ผช่วยสอนที่ได้ให้ความช่วยเหลืออานวยความสะดวกในการเบิกจ่ายอุปกรณ์แ
ู้
ละสารเคมีต่างๆ
ท้ายนี้ ขอกราบขอบพระคุณบุพการี ผให้ชีวตและในการอุประคุณตลอดมาตลอดจนผูแต่งตาราทุกท่า
ู้
ิ
้
นที่ทาการศึกษาได้นาความรู ้มาใช้ในการทาโครงงานในครั้งนี้

คณะผู้จัดทำ
สำรบัญ
หน้า
บทคัดย่อ

ก

กิตติกรรมประกาศ

ข

บทที่ 1 บทนา

1

ที่มาและความสาคัญของโครงงาน................................................................................. 1
วัตถุประสงค์ศึกษาค้นคว้า............................................................................................. 2
สมมติฐานค้นคว้า.......................................................................................................... 2
ตัวแปรที่ศึกษาค้นคว้า.................................................................................................... 2
ขอบเขตของการศึกษาค้นคว้า........................................................................................ 3
ระยะเวลาในการศึกษาค้นคว้า......................................................................................... 3
ผลที่คาดว่าจะได้รับ........................................................................................................ 3
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
ฟักทอง........................................................................................................................... 4
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์............................................................................................... 4
ประโยชน์ของฟักทอง.....................................................................................................4
ประโยชน์ของฟักทอง.....................................................................................................5
มันเทศ........................................................................................................................... 6
การจาแนกทางวิทยาศาสตร์.........…............................................................................... 6
ประวัติความเป็ นมาของมันเทศ.......................................................................................6
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์............................................................................................... 7
ประโยชน์ของมันเทศ..................................................................................................... 8
คุณค่าทางอาหารของมันเทศ........................................................................................... 9
เตยหอม........................................................................................................................... 10
การใช้ประโยชน์............................................................................................................. 10
การจาแนกทางวิทยาศาสตร์.........…............................................................................... 10
สรรพคุณของเตยหอม..................…...............................................................................11

สำรบัญ (ต่ อ)
หน้า
วิธีการทาแป้ งโตเกียว...................................................................................................... 11
ส่ วนผสมของตัวแป้ ง...................................................................................................... 11
บทที่ 3 วัสดุอุปกรณ์และวิธีการดาเนินการ
12
วัสดุอุปกรณ์....................................................................................................................12
วิธีการดาเนินการ.............................................................................................................12
วิธีการดาเนินการ.............................................................................................................13
บทที่ 4 ผลการศึกษา

14

บทที่ 5 อภิปรายและสรุ ปผลการศึกษา

15

ภาคผนวก

16
1

บทที1
่
บทนำ
1. ทีมำและควำมสำคัญของโครงงำน
่
ฟั กทอง มีวิตามินเอสู ง รวมทั้งฟอสฟอรัส แคลเซี ยม วิตามิ นซี แป้ ง และที่จะลื มไปไม่ได้เลยก็คือ
่
"เบต้าแคโรทีน" ซึ่ งเป็ นสารต้านอนุมูลอิสระอยูในเนื้ อสี เหลืองของฟักทอง สามารถช่วยลดการเกิดมะเร็ ง
โรคหลอดเลื อดหัวใจ และโรคหัวใจได้ แถมเบต้าแคโรที น ยังช่ วยต้านความชรา ป้ องกันโรคผิวหนัง
บรรเทาอาการปวดเมื่อยของข้อเข่า และบั้นเอวได้เป็ นอย่างดี
่
มันเทศสี ม่วง เนื้ อมันเทศมีสีม่วงเข้ม เป็ นมันเทศที่มีสาร “แอนโทไซยานิ น” (Anthocyanin) อยูสูง
ซึ่ งเป็ นสารที่ มี ฤ ทธิ์ ในการต่ อ ต้ า นอนุ มู ล อิ ส ระ มี ส่ วนช่ ว ยในการชะลอความเสื่ อมของเซลล์
ช่ ว ยลดอัต ราเสี่ ย งของการเกิ ด โรคหั ว ใจและเส้ น เลื อ ดอุ ด ตัน ได้ ช่ ว ยชะลอความเสื่ อ มของดวงตา
และพบว่าสารชนิดนี้ช่วยยับยั้งเชื้ออีโคไลซึ่ งเป็ นสาเหตุของโรคท้องร่ วง
ใ บ เ ต ย ห อ ม น อ ก จ า ก ใ ช้ แ ต่ ง สี แ ล ะ ก ลิ่ น เ ค รื่ อ ง ดื่ ม ข น ม ห ว า น
และอาหารหลายชนิ ด คุ ณ ค่ า ทางโภชนาการ ใบเตยสด มี น้ ามัน หอมระเหย รสหวาน หอม มัน
และมีสีเขียวที่นิยมใช้แต่งสี อาหาร เป็ นสารคอโรฟิ ลด์ใช้เป็ นยา ใบสดต้มกับน้ าดื่ม ลดอาการกระหายน้ า
บารุ งหัวใจ ทาให้ชุ่มชื่น ต้นและรากเป็ นยาขับปั สสาวะ รักษาโรคเบาหวาน และแก้กระษัยน้ าเบาพิการ
ข น ม โ ต เกี ย ว จั ด ว่ า เป็ น ข น ม ที่ ห า รั บ ป ร ะ ท า น ไ ด้ ใ น ท้ อ ง ต ล า ด ทั่ ว ไ ป
และมีหลากหลายไส้รสชาติที่แตกต่างกันออกไป ในส่ วนของแป้ งโตเกียวยังเป็ นส่ วนที่ยงคงสู ตรดั้งเดิ ม
ั
ดั ง นั้ น ท า ง ค ณ ะ ผู ้ จั ด ท า โ ค ร ง ง า น จึ ง คิ ด โ ค ร ง ง า น โ ต เ กี ย ว Colorful
เพื่อพัฒนาสู ตรแป้ งโตกียวจากแป้ งที่ผลิตมาจากผักที่อุดมไปด้วยคุณประโยชน์ท้ ง 3 ชนิ ด ได้แก่ ฟั กทอง
ั
มี น เทศ และเตยหอม ด้ ว ยคุ ณ ค่ า ทางอาหารที่ ม ากมายของฟั กทอง มั น เทศ และ ใบเตยหอม
ที่ ใ ส่ ล งไปเป็ นส่ วนผสมของแป้ งโตเกี ย ว ท าให้ ไ ด้แ ป้ งโตเกี ย ว 3 สู ต ร ได้แก่ สู ต รฟั ก ทอง มัน เทศ
และใบเตย น อกจากแป้ งดั ง กล่ า วจะอุ ด มไปด้ ว ยคุ ณ ค่ า ท างอาห ารของผั ก ทั้ ง 3 ชนิ ดแล้ ว
ยังให้ได้แป้ งโตเกียวที่มีสีสันสดใส ชวนน่ารับประทาน อีกทั้งยังเป็ นการเพิมมูลค่าให้ผลผลิตอีกด้วย
่

2
2. วัตถุประสงค์ ศึกษำค้ นคว้ำ
1.เพื่อศึกษาอุณหภูมิและปริ มาณความร้อนมีผลต่อปริ มาณวิตามินซี ในแป้ งโตเกียวสู ตรฟักทอง
2.เพื่อศึกษาอุณหภูมิและปริ มาณความร้อนมีผลต่อปริ มาณวิตามินซี ในแป้ งโตเกียวสู ตรมันเทศ
3.เพื่อศึกษาอุณหภูมิและปริ มาณความร้อนมีผลต่อปริ มาณวิตามินซี ในแป้ งโตเกียวสู ตรเตยหอม
3. สมมติฐำนศึกษำค้ นคว้ำ
1.อุณหภูมิและปริ มาณความร้อนที่ 100,200,300
องศาเซลเซียสมีผลทาให้ปริ มาณวิตามินซี ในแป้ งโตเกียวสู ตรฟักทองลดลง
2.อุณหภูมิและปริ มาณความร้อนมีที่ 100,200,300
องศาเซลเซียสผลทาให้ปริ มาณวิตามินซี ในแป้ งโตเกียวสู ตรมันเทศลดลง
3.อุณหภูมิและปริ มาณความร้อนที่ 100,200,300
องศาเซลเซียสมีผลทาให้ปริ มาณวิตามินซี ในแป้ งโตเกียวสู ตรเตยหอมลดลง
4. ตัวแปรทีเ่ กียวข้ อง
่
ตอนที่ 1 ศึกษาแป้ งโตเกียวสู ตรฟักทอง
ตัวแปรต้น

อุณหภูมิและปริ มาณความร้อนที่ 200 องศาเซลเซียส

ตัวแปรตาม

ปริ มาณวิตามินซี ในแป้ งโตเกียวสู ตรฟักทอง

ตัวแปรควบคุม 1.ระยะเวลาในการทาแป้ งโตเกียว
2.ปริ มาณส่ วนผสมที่ใช้
ตอนที่ 2 ศึกษาแป้ งโตเกียวสู ตรมันเทศ
ตัวแปรต้น

อุณหภูมิและปริ มาณความร้อนที่ 200 องศาเซลเซียส

ตัวแปรตาม

ปริ มาณวิตามินซี ในแป้ งโตเกียวสู ตรมันเทศ

ตัวแปรควบคุม 1.ระยะเวลาในการทาแป้ งโตเกียว
2.ปริ มาณส่ วนผสมที่ใช้
ตอนที่ 3 ศึกษาแป้ งโตเกียวสู ตรเตยหอม
ตัวแปรต้น อุณหภูมิและปริ มาณความร้อนที่ 200 องศาเซลเซียส
ตัวแปรตาม ปริ มาณวิตามินซี ในแป้ งโตเกียวสู ตรเตยหอม
ตัวแปรควบคุม 1.ระยะเวลาในการทาแป้ งโตเกียว
2.ปริ มาณส่ วนผสมที่ใช้
3
5. ขอบเขตของกำรศึกษำ
ผักและผลไม้ที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้าได้แก่
1.ฟั ก ทอง เป็ นพื ช ชนิ ด หนึ่ ง ใช้ ท าได้ ท้ ั ง อาหารคาว ของหวาน และเป็ นอาหารว่ า งได้ ด้ ว ย
ปกติ ฟั ก ทองเมื่ อ แก่ จ ัด จะมี สี เหลื อ งอมส้ ม เป็ นพื ช มี เถา ปลู ก ได้ ท ั่ว ไปทั้ง ในเขตร้ อ นและเขตหนาว
ในทางพฤกษศาสตร์ จัดอยู่ในสกุ ล Cucurbita วงศ์ Cucurbitaceae เป็ นพื ช ที่ มี ถิ่ นก าเนิ ดในทวีป อเมริ ก า
และแพร่ กระจายไปทัวโลก
่
2.มั น เทศ (อัง กฤษ:Sweet Potato) เป็ นพื ช หั ว ใต้ดิ น เถาเลื้ อ ยราบไปบนพื้ น ดิ น ปลู ก เป็ นพื ช ไร่
มีเนื้ อสี หลายสี ตามสายพันธุ์ ใช้ประโยชน์ได้ทุกส่ วน เช่ น เถา ใบ หัว นิ ยมนามารับประทานโดย ต้ม หรื อ
เผา ทาเป็ นอาหารคาวหวาน ส่ วนผสมของอาหารสาหรับเด็ก ใช้เป็ นอาหารสัตว์ เป็ นต้น
่
3.เตยหอม ชื่อวิทยาศาสตร์ : Pandanus amaryllifolius เป็ นไม้ยนต้นพุมเล็ก ขึ้นเป็ นกอ
ื
่
ลาต้นอยูใต้ดิน ใบเป็ นใบเดี่ยว เรี ยงสลับเวียนเป็ นเกลียวขึ้นไปจนถึงยอด ใบเป็ นทางยาว สี เข้ม
ค่อนข้างแข็ง เป็ นมัน ขอบใบเรี ยบ ในใบมีกลิ่นหอมจากน้ ามันหอมระเหย Fragrant Screw Pine
สี เขียวจากใบเป็ นสี ของคลอโรฟิ ลล์ ใช้แต่งสี ขนมได้
6. ระยะเวลำในกำรศึกษำค้ นคว้ ำ
วันที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 ถึง 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557
7. ผลทีคำดว่ำจะได้ รับ
่
7.1เพื่อพัฒนาสู ตรแป้ งโตกียวจากแป้ งที่ผลิตมาจากผักที่อุดมไปด้วยคุณประโยชน์ท้ ง 3 ชนิด ได้แก่ ฟักทอง
ั
มีนเทศ และเตยหอม
7.2เป็ นการนาผลผลิตจากธรรมชาติมาแปรรู ปเพื่อเพิ่มมูลค่ารวมทั้งสอดแทรกกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
7.3เพื่อศึกษาปริ มาณความร้อนและอุณหภูมิมีผลต่อปริ มาณการเพิ่มและลดของปริ มาณวิตามินในอาหาร
4

บทที่ 2
เอกสำรทีเ่ กียวข้ อง
่
ฟักทอง

ฟั กทอง เป็ นพื ช ชนิ ดหนึ่ ง ใช้ ท าได้ ท้ ั งอาหารคาว ของหวาน และเป็ นอาหารว่ า งได้ ด้ ว ย
ปกติ ฟั ก ทองเมื่ อ แก่ จ ัด จะมี สี เหลื อ งอมส้ ม เป็ นพื ช มี เถา ปลู ก ได้ ท ั่ว ไปทั้ง ในเขตร้ อ นและเขตหนาว
ในทางพฤกษศาสตร์ จัดอยู่ในสกุ ล Cucurbita วงศ์ Cucurbitaceae เป็ นพื ช ที่ มี ถิ่ นก าเนิ ดในทวีป อเมริ ก า
และแพร่ กระจายไปทัวโลก
่
ลักษณะทำงพฤกษศำสตร์
ฟั ก ทองเป็ นไม้เถาเลื้ อ ยไปตามดิ น มี มื อ ส าหรั บ ยึ ด เกาะ ล าต้ น อวบน้ า ใบเดี่ ย วรู ป ห้ า เหลี่ ย ม
มีขนทั้งสองด้าน ดอกสี เหลื องรู ปกระดิ่ ง ผลฟั กทองมีด้วยกันหลายลักษณะ บางครั้งเป็ นผลเกื อบกลมก็มี
แต่โดยทัวไปเป็ นรู ปทรงกลมแป้ น ผิวขรุ ขระเล็กน้อย เมื่อยังดิบเนื้อค่อนข้างแข็ง
่
ั
่
ฟักทองแบ่งเป็ นตระกูลหลักสองตระกูลคือ ตระกูลฟั กทองอเมริ กน (pumpkin) ขนาดผลใหญ่ เนื้ อยุย
กั บ ต ร ะ กู ล ส ค ว อ ช (Squash) ไ ด้ แ ก่ ฟั ก ท อ งไ ท ย แ ล ะ ฟั ก ท อ ง ญี่ ปุ่ น เป ลื อ ก แ ข็ ง เนื้ อ แ น่ น
ฟั ก ทองไทยมี ห ลายสายพัน ธุ์ เช่ น คางคกด า คางคกลาย ศรี เมื อ ง ข้ อ งปลา สี ส้ ม รู ป ร่ า งกลมแป้ น
ผิว ขรุ ข ระเล็ ก น้ อ ย ดิ บ เปลื อ กสี เขี ย วเข้ม เมื่ อ สุ ก จึ ง เป็ นสี เหลื อ งอมส้ ม ฟั ก ทองญี่ ปุ่ น หรื อ กะโบะชะ
(Kabocha) อยู่ในตระกูล สควอช (Squash) เช่ นเดี ย วกับ ฟั ก ทองไทย ผลเป็ นทรงกลมขนาดเล็ ก เนื้ อแน่ น
รสหวานมัน
ประโยชน์ ของฟักทอง
หนึ่ งในพืชสี เหลื องที่ เรามักจะเห็ นคนนามาประกอบอาหารอยู่บ่อย ๆ ก็คือ "ฟั กทอง" นั่นเอง เพราะ
"ฟั ก ท อ ง" ส าม าร ถ ป ระ ก อ บ อ าห าร ค าว -ห ว าน ไ ด้ ส ารพั ด เม นู จึ งไม่ แ ป ล ก ที่ "ฟั ก ท อ ง"
จะเป็ นอาหารจานโปรดของใครหลายคน ฟั กทอง เป็ นพื ช ตระกู ล มะระ ชนิ ดไม้ เถาขนาดใหญ่
ผิ ว มี ล ัก ษณะขรุ ข ระ เนื้ อในสี เหลื อ งนิ่ ม มี เมล็ ด สี ขาวแบน ๆ ติ ด อยู่ ซึ่ งแต่ ล ะส่ วนของ "ฟั ก ทอง"
มีสรรพคุณทางมากมาย คือ
5
- เนื้ อ ฟั ก ท อ ง มี วิ ต า มิ น เอ สู ง ร ว ม ทั้ ง ฟ อ ส ฟ อ รั ส แ ค ล เซี ย ม วิ ต า มิ น ซี แ ป้ ง
แ ล ะ ที่ จ ะ ลื ม ไ ป ไ ม่ ไ ด้ เ ล ย ก็ คื อ "เ บ ต้ า แ ค โ ร ที น "
ซึ่ งเป็ นสารต้า นอนุ มู ล อิ ส ระอยู่ ใ นเนื้ อสี เหลื อ งของฟั ก ทอง สามารถช่ ว ยลดการเกิ ด มะเร็ ง
โรคห ล อด เลื อ ดหั วใจ แล ะ โรคหั วใจได้ แถ ม เบ ต้ า แคโรที น ยั ง ช่ วยต้ า น ค วาม ช รา
ป้ องกันโรคผิวหนัง บรรเทาอาการปวดเมื่อยของข้อเข่า และบั้นเอวได้เป็ นอย่างดี
- เป ลื อ ก ฟั ก ท อ ง มี ฤ ท ธิ์ ท า ง ย า ม า ก ม า ย ห า ก ท า น ฟั ก ท อ ง ทั้ ง เป ลื อ ก
จะส ามารถกระตุ ้ น การหลั่ ง อิ น ซู ลิ นในร่ างกาย ซึ่ งช่ ว ยควบคุ ม ระดั บ น้ าตาลในเลื อ ด
ป้ อ ง กั น ก า ร เกิ ด เบ า ห ว า น ค ว า ม ดั น โ ล หิ ต บ า รุ ง ตั บ บ า รุ ง ไ ต บ า รุ ง ด ว ง ต า
และสร้างเซลล์ใหม่ทดแทนเซลล์ที่ตายไป ให้ทางานได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ
- ใบอ่อน มีวตามินเอสู งเท่ากับเนื้อฟักทอง แต่มีแคลเซี ยมและฟอสฟอรัสสู งกว่าในเนื้อ
ิ
- ดอก มีวตามินเอ ธาตุแคลเซียมและฟอสฟอรัส มีวตามินซีเล็กน้อย
ิ
ิ
- เมล็ ด ประกอบด้ว ยแป้ ง ฟอสฟอรั ส โปรตี น และวิ ต ามิ น รวมทั้ง สารที่ ชื่ อ ว่า "คิ ว เคอร์ บิ ติ น "
(cucurbitine) ซึ่ งมี ฤ ทธิ์ ในการฆ่ า พยาธิ ต ัวตื ด ได้ดี และยัง ช่ ว ยขับ ปั ส สาวะ ป้ องกัน การเกิ ด นิ่ ว
มะเร็ ง กระเพาะปั สสาวะ นอกจากนี้ น้ ามั น จากเมล็ ด ฟั กทองยัง ช่ ว ยบ ารุ งประสาทได้ ดี
และยัง มี ก รดอะมิ โ นบางชนิ ด ที่ ช่ ว ยป้ องกั น ไม่ ใ ห้ ต่ อ มลู ก หมากของผู ้ช ายขยายใหญ่ ข้ ึ น
่
และช่วยปรับระดับฮอร์ โมนเพศชายที่ได้จากลูกอัณฑะให้อยูในระดับปกติ
- ราก น้ ามาต้มน้ าใช้ดื่มแก้อาการไอได้ และยังช่วยบารุ งร่ างกาย ถอนพิษของฝิ่ นได้
- เยือกลางผล สามารถนามาพอกแผล แก้อาการฟกช้ า อาการปวด อักเสบได้
่
6
มันเทศ

กำรจำแนกชั้นทำงวิทยำศำสตร์
อาณาจักร

Plantae

หมวด:
Magnoliophyta
ชั้น:
Magnoliopsida
อันดับ:
Solanales
วงศ์:
Convolvulaceae
สกุล:
Ipomoea
ประวัติควำมเป็ นมำของมันเทศ
มั น เ ท ศ มี ถิ่ น ก า เ นิ ด เ ดิ ม อ ยู่ บ ริ เ ว ณ เ ข ต ร้ อ น ข อ ง ท วี ป อ เ ม ริ ก า
่
แต่มนเทศที่ปลูกกันอยูในปั จจุบนนักวิทยาศาสตร์ ไม่มีหลักฐานแน่นอนว่ามีววฒนาการมาจากพืชป่ าชนิ ดใด
ั
ั
ิั
อ ย่ า ง ไ ร ก็ ดี ม นุ ษ ย์ ก็ รู ้ จั ก ป ลู ก มั น เ ท ศ ม า น า น นั บ พั น ปี แ ล้ ว
ในสมั ย โบราณนั้ นมั น เทศเป็ นอาหารหลั ก ของมนุ ษ ย์ส องเขต คื อ พวกอิ น เดี ย นในอเมริ กากลาง
และบริ เวณเทือกเขาแอนดีส ประเทศเปรู พวกอินเดียนทั้งสองแหล่งนี้ ปลูกข้าวโพดเพื่อใช้เป็ นอาหารหลัก
แ ล ะ ใ น ข ณ ะ เ ดี ย ว กั น ก็ ป ลู ก มั น เ ท ศ ด้ ว ย อี ก เ ข ต ห นึ่ ง คื อ
ช น เผ่ า โ พ ลิ เน เชี ย น ที่ อ า ศั ย อ ยู่ บ น ห มู่ เก า ะ ต่ า ง ๆ ใ น ม ห า ส มุ ท ร แ ป ซิ ฟิ ก
และตอนเหนื อ ของเกาะนิ ว ซี แ ลนด์ เชื่ อ กัน ว่ า มั น เทศที่ ช าวโพลิ เนเชี ย นปลู ก กั น ในสมั ย ก่ อ นนั้ น
น า ม า จ า ก ท วี ป อ เ ม ริ ก า ใ น ค ริ ส ต์ ศ ต ว ร ร ษ ที่
๑๖ หลัง จากชาวยุ โ รปค้น พบทวี ป อเมริ กา นั ก ส ารวจชาวสเปนได้ น ามั น เทศไปสู่ ประเทศสเปน
จากประเทศสเปนก็แพร่ ต่อไปยังประเทศอื่นๆ ในยุโรป
ท า ง ด้ า น เอ เชี ย ต้ น มั น เท ศ ก็ ถู ก น า ม า ยั ง อิ น เดี ย ฟิ ลิ ปิ น ส์ จี น แ ล ะ ญี่ ปุ่ น
โ ด ย นั

ก ส

า ร ว จ ส

เป

น

แ ล ะ โ ป

ร ตุ เ ก ส

สาหรับประเทศไทยไม่มีหลักฐานบันทึกว่าได้มีการนามันเทศเข้ามาปลูกในสมัยใดแต่เข้าใจกันว่า
7
มีผนามันเทศมาแพร่ หลายในราวสมัยกรุ งศรี อยุธยาเป็ นราชธานี* เพราะมีเรื อสาเภาไปมาค้าขายระ
ู้
่
หว่างประเทศจีน พวกจีนคงจะได้นาติดมือมา ตามนิสัยที่ไปอยูที่ไหนก็หาพันธุ์พืชไปปลูกบริ โภค
ในปั จจุบนมันเทศปลูกกันทัวไปในประเทศไทย แต่ส่วนใหญ่แหล่งปลูกเป็ นจังหวัดในทางภาคกลาง
ั
่
จังหวัดที่ปลูกมาก ได้แก่ นครศรี ธรรมราชพระนครศรี อยุธยา สงขลา นครปฐม เพชรบุรี
เชียงใหม่ นครสวรรค์
ตรัง เลย และปทุมธานี
ลักษณะทำงพฤกษศำสตร์
มัน เทศมี ชื่ อ ภาษาจี น ว่า "ฮวงกั้ว " ชาวพื้ น เมื อ งในอเมริ ก าใต้ เรี ย กมัน เทศว่า บาตาตาส์ ชาว
ยุโรปได้เอาสาเนี ยงชาวพื้นเมืองไปใช้ และเพี้ยนไปเป็ น โพเตโต (potato) เนื่ องจากมันมี ๒ ชนิ ดด้วยกัน
คื อ ช นิ ด ห ว า น แ ล ะ ไ ม่ ห ว า น ช นิ ด ห ว า น เรี ย ก ว่ า ส วี ท โ พ เต โ ต (sweet potato) คื อ
มั น เ ท ศ นั่ น เ อ ง ส่ ว น ช นิ ด ไ ม่ ห ว า น เ รี ย ก ว่ า ไ อ ริ ช โ พ เ ต โ ต ( Irish potato)
เร า เรี ย ก ว่ า มั น ฝ รั่ ง มั น เท ศ มี ชื่ อ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ว่ า อิ โ พ เมี ย บ า ต า ต า ร์ (Ipomoea batatas)
และอยู่ ใ นวงศ์ ค อนโวลวู ล าเซี ย (Convolvulaceae) พื ช ที่ อ ยู่ ว งศ์ น้ ี จะพบมากในแถบเส้ น ศู น ย์สู ตร
แ ล ะ ภ า ย ใ ต้ แ ถ บ ศู น ย์ สู ต ร มี ล า ต้ น เป็ น เถ า ห รื อ เป็ น พุ่ ม ตั้ ง ต ร ง แ ล ะ มี จ า น ว น น้ อ ย
ที่ เป็ นประเภทไม้ยื น ต้น พื ช พวกนี้ อาจเจริ ญ ในที่ แ ห้ ง แล้ง ในน้ า และอาจเป็ นพวกตัว เบี ย น (parasite)
โดยทัวไปแล้วเมื่อใบหรื อลาต้นเป็ นแผลพืชในวงศ์น้ ีจะให้น้ ายางสี ขาว
่
สกุลที่สาคัญที่สุดของวงศ์คอนโวลวูลาเซี ยคืออิโพเมีย
ชนิด

่
ซึ่ งมีอยูประมาณ

แต่มีมนเทศเป็ นพืชปลูกเพียงชนิดเดียวที่มีความสาคัญทางเศรษฐกิจ
ั

๔๐๐
โดยทัวไปแล้ว
่

่
สกุลอิโพเมีย เป็ นพืชที่มีเถาพันคดเคี้ยวไปมา หรื อเลื้อยราบไปบนพื้นดิน และมีจานวนน้อยที่เป็ นพุมตั้งตรง
- ร า ก มั น เท ศ มี ร ะ บ บ ร า ก แ บ บ ร า ก ฝ อ ย ซึ่ ง เกิ ด จ า ก ข้ อ ข อ ง ล า ต้ น ที่ ใ ช้ ป ลู ก
หรื อเกิดจากลาต้นที่ทอดไปตามพื้นดิน รากมันเทศจะเป็ นที่สะสมอาหารและใช้รับประทานได้
-ใ บ

เ ป็ น แ บ บ ใ บ เ ดี่ ย ว เ กิ ด ส ลั บ กั น บ น ข้ อ ข อ ง ล า ต้ น

มี ข น า ด แ ล ะ รู ป ร่ า ง ต่ า ง กั น ค ว า ม แ ต ก ต่ า ง ข อ ง ใ บ นั้ น มิ ใ ช่ เกิ ด จ า ก พั น ธุ์ เท่ า นั้ น
แม้ แ ต่ ใ นต้ น เดี ย วกั น ก็ อ าจมี รู ป ร่ า งแตกต่ า งกั น ได้ บางใบมี ข อบใบเรี ยบ บางใบมี ใ บเป็ นแฉก
แ ล ะ บ า ง ใ บ มี รู ป ร่ า ง ค ล้ า ย หั ว ใ จ

เ ป็ น ต้ น

่
่ ั
ใบมีขนเล็กน้อยและมักจะมีสีม่วงอยูตามเส้นใบ ก้านใบอาจจะยาวหรื อสั้น ทั้งนี้ข้ ึนอยูกบพันธุ์น้ นๆ
ั
- ด อ ก

มั น เ ท ศ ที่ ป ลู ก ใ น เ ข ต อ บ อุ่ น มั ก ไ ม่ อ อ ก ด อ ก

้
ส่ วนการปลูกในเขตร้อนจะออกดอก แต่มกไม่ติดเมล็ด ดอกเกิดตามมุมของใบ มีกานช่อดอก (peduncle)
ั
แข็ ง แรง ซึ่ งมั ก จะยาวกว่ า ก้ า นใบ ดอกมี กลี บ เลี้ ยง (sepal) ๕ กลี บ ซึ่ งโดยป กติ จ ะแยกเป็ น
อิ ส ร ะ ซึ่ ง กั น แ ล ะ กั น ห รื อ อ า จ เ ชื่ อ ม ติ ด กั น ที่ โ ค น ก ลี บ ด อ ก ( petal) มี
๕กลีบ กลีบดอกเหล่านั้นจะเชื่อมติดกันเป็ นรู ปกรวย (corolla tube) มีลกษณะคล้ายดอกผักบุง กลีบดอกมี
ั
้
8
สี ชมพูปนม่วง มี เกสรตัวผู ้ (stamen) ๕ อัน และแยกเป็ นอิ สระซึ่ งกันและกัน ก้านชู อบเกสรตัวผูเ้ รี ยกว่า
ั
่ ั
ก้านอับเกสรมีความยาวไม่เท่ากัน และเชื่ อมติดอยูกบฐานของกลีบดอก รังไข่ มี ๒ ส่ วน บางดอกอาจจะมี
๔ ส่ วน แต่ ล ะส่ วนจะมี ไ ข่ ๑ หรื อ ๒ ที่ รั บ ละอองเกสรตัว ผู้ (stigma) มี ๒ แฉกอยู่ ที่ ก้ า น (style)
เชื่อมติดกับรังไข่
- ผล มี เปลื อกแข็งหุ ้ม มี ล ัก ษณะเป็ นแคปซู ล (capsule) ภายในเปลื อกแข็ง มี เมล็ ดเล็ ก สี ดาค่ อนข้างแบน
ด้ า น ห นึ่ ง ข อ ง เ ม ล็ ด เ รี ย บ ส่ ว น อี ก ด้ า น ห นึ่ ง เ ป็ น เ ห ลี่ ย ม
ทางด้านเรี ยบจะเห็ นรอยที่เมล็ดติดกับผนังรังไข่เรี ยกว่า ไฮลัม (hilum) และมีรูเล็กๆ เรี ยกว่า ไมโครไพล์
(micropyle) เปลือกของเมล็ดค่อนข้างหนา และน้ าซึ มผ่านได้ยาก
- หั ว มั น เ ท ศ ล ง หั ว ใ น ร ะ ดั บ ค ว า ม ลึ ก ไ ม่ เ กิ น ๙

นิ้ ว

หั ว มัน เทศเกิ ด จากการขยายตัว ของราก ซึ่ งเนื้ อ เยื่ อ ภายในรากที่ เรี ย กว่า พาเรนไคมา (parenchyma)
เป็ น ส่ วน ที่ ส ะส ม แป้ ง ราก ที่ ขยายตั ว เป็ น หั ว ขึ้ น มาอาจเกิ ดจาก ราก ของล าต้ น ที่ ใช้ ป ลู ก
หรื อจากรากที่เกิดจากข้อของลาต้นที่เลื้อยไปตามดินก็ได้
ดังนั้นมันเทศต้นหนึ่งๆ อาจมีหวมากกว่า ๕๐ หัว ลักษณะหัวส่ วนมากมีรูปร่ างทรงกระบอก ด้านหัว
ั
ท้า ยเรี ย วตรงกลางป่ องออก สี ผิ ว ของหั ว และสี ของเนื้ อ อาจจะเป็ นสี แ ดง เหลื อ ง ขาว หรื อ สี นวล
แตกต่างกันไปตามพันธุ์ ผิวอาจจะเรี ยบหรื อขรุ ขระและมักจะมีรากแขนงเกิดในร่ องของหัว หัวมันเทศนอก
จากจะให้อาหารจาพวกแป้ งแล้ว ยังอุดมสมบูรณ์ ไปด้วยวิตามิน เอ (โดยเฉพาะหัวที่มีสีเหลือง) วิตามิน บี
และ ซี อีกด้วย
ประโยชน์ ของมันเทศ
่
มันเทศสี ม่วง เนื้ อมันเทศมีสีม่วงเข้ม เป็ นมันเทศที่มีสาร “แอนโทไซยานิ น” (Anthocyanin) อยูสูง
ซึ่ งเป็ นสารที่ มี ฤ ทธิ์ ในการต่ อ ต้ า นอนุ มู ล อิ ส ระ มี ส่ วนช่ ว ยในการชะลอความเสื่ อมของเซลล์
ช่ ว ยลดอัต ราเสี่ ยงของการเกิ ด โรคหั ว ใจและเส้ น เลื อ ดอุ ด ตัน ได้ ช่ ว ยชะลอความเสื่ อมของดวงตา
แ ล ะ พ บ ว่ า ส า ร ช นิ ด นี้ ช่ ว ย ยั บ ยั้ ง เชื้ อ อี โ ค ไ ล ซึ่ ง เป็ น ส า เห ตุ ข อ ง โ ร ค ท้ อ ง ร่ ว ง
ในธรรมชาติ ผ ัก และผลไม้ ที่ มี ส ารแอนโทไซยานิ น มากมั ก จะสี ม่ ว ง เช่ น องุ่ น แดง บลู เบอรี่ ฯลฯ
ส า ห รั บ พื ช หั ว จ ะ มี ม า ก ใ น หั ว มั น เ ท ศ เ นื้ อ สี ม่ ว ง
โดยเฉพาะมันเทศเนื้ อสี ม่วงจากประเทศญี่ปุ่นได้มีการปรับปรุ งสายพันธุ์ได้เนื้อมันเทศที่มีสีม่วงเข้มตลอดทั้ง
หั

ว

มั

น

เ

ท

ศ

เป็ นแหล่งคาร์ โบไฮเดรตชั้นดีที่ให้พลังงานโดยไม่ก่อพิษต่อร่ างกายแบบอาหารแปรรู ปจากแป้ งและน้ าตาลแ
บบอื่น ๆ
ส่ วนใบและยอดอ่อนของมันเทศ (Sweet potato) สามารถนามาปรุ งเป็ นอาหารได้ และยังมีวตามินเอ
ิ
วิ ต า มิ น ซี ส า ร อ า ห า ร ลู ทิ น ( Lutein) ที่ ช่ ว ย บ า รุ ง ส า ย ต า
ผั ด ย อ ด มั น เ ท ศ เ ป็ น อ า ห า ร ที่ ค น ม า เ ล เ ซี ย รั บ ป ร ะ ท า น กั น เ ป็ น ป ร ะ จ า
ส่ วนมันเทศเนื้อสี ส้มมีสารเบต้าแคโรทีนสู ง ซึ่ งช่วยลดอัตราการกลายพันธ์ของเซลล์และ
9
ท าลายเซลล์ ม ะเร็ ง การน ายอดมัน เทศมาปรุ งอาหารพบว่ า มี ใ นประเทศญี่ ปุ่ น จี น และเกาหลี ด้ ว ย
ท า ง ด้ า น คุ ณ ค่ า ท า ง โ ภ ช น า ก า ร ข อ ง มั น เ ท ศ มี สู ง ก ว่ า มั น ฝ รั่ ง ด้ ว ย ซ้ า ไ ป
ในเนื้ อมั น เทศนอกจากจะมี ป ริ มาณ แป้ งสู งแล้ ว ยัง มี วิ ต ามิ น และแร่ ธาตุ ม าก มั น เทศเนื้ อสี ส้ ม
จะมีสารเบต้าแคโรทีนสู งไม่แพ้แครอทและสาหร่ ายทะเล
คุณค่ ำอำหำรของหัวมันเทศ และยอดอ่ อนเมื่อมีนำหนัก ๑๐๐ กรัม จะมีคุณค่ ำดังต่ อไปนี้
้
- หัวยอดอ่อน
น้ า
๗๐.๐๐ กรัม
แคลอรี ๑๐๐.๐๐ กรัม

๘๕.๐๐ กรัม

แป้ ง

๒๕.๐๐ กรัม

๙.๒๐ กรัม

โปรตีน ๑.๗๐ กรัม

๓.๖๐ กรัม

ไขมัน ๐.๓๐ กรัม

๐.๗๐ กรัม

เถ้า

๑.๕๐ กรัม

๑.๐๐ กรัม

๔๘.๐๐ กรัม

แคโรตีน ๒,๐๐๐-๕,๐๐๐ หน่วย ๖,๐๐๐ หน่วย
- ในเนือหัวสี เหลือง
้
วิตามินบี ๑

๐.๑๐ มิลลิกรัม

๐.๑๒ มิลลิกรัม

ไรโบฟลาวิน

๐.๐๕ มิลลิกรัม

๐.๒๔ มิลลิกรัม

ไนอาซีน

๐.๗๐ มิลลิกรัม

๐.๐๙ มิลลิกรัม

วิตามินซี

๒๕.๐๐ มิลลิกรัม

๒๗.๐๐ มิลลิกรัม

่
คุณค่าทางอาหาร ซึ่ งเปรี ยบเทียบระหว่างหัวและยอดอ่อนแล้ว จะเห็นได้วายอดอ่อนนั้นมีคุณค่า
ทางอาหารมากกว่าหัวเกือบทุกรายการ ยกเว้นปริ มาณแป้ ง และแคลอรี ของแรงงานที่ให้
ดังนั้นจึงใช้รับประทาน เป็ นผักหรื อเลี้ยงสัตว์ได้เป็ นอย่างดี
ประโยชน์ ทได้ จำกหัวมันเทศ อำจจำแนกได้ ดังนี้
ี่
๑. ใช้ทาเป็ นของคาว เช่น แกงเลียง แกงคัว แกงกะหรี่ และแกงมัสมัน เป็ นต้น
่
่
๒. ใช้ทาเป็ นของหวาน เช่น แกงบวดมันทอดรังนก ฉาบ เชื่อม กวน ต้มน้ าตาลและมันปิ้ ง เป็ นต้น
๓. ใช้ในอุตสาหกรรมการกลันสุ รา
่
๔. ใช้เลี้ยงสัตว์โดยเฉพาะสุ กร ให้มนเทศอย่างเดียวหรื อผสมกับอาหารอื่นก็ได้
ั

10
เตยหอม
่
่
เตยหอม ชื่อวิทยาศาสตร์ : Pandanus amaryllifolius เป็ นไม้ยนต้นพุมเล็ก ขึ้นเป็ นกอ ลาต้นอยูใต้ดิน
ื
ใบเป็ นใบเดี่ยว เรี ยงสลับเวียนเป็ นเกลียวขึ้นไปจนถึงยอด ใบเป็ นทางยาว สี เข้ม ค่อนข้างแข็ง เป็ นมัน
ขอบใบเรี ยบ ในใบมีกลิ่นหอมจากน้ ามันหอมระเหย Fragrant Screw Pine
สี เขียวจากใบเป็ นสี ของคลอโรฟิ ลล์ ใช้แต่งสี ขนมได้
กำรใช้ ประโยชน์
ในบังกลาเทศเรี ยกว่า ketaki ใช้เพิ่มกลิ่นหอมของ ข้ าวพิลาฟ หรื อข้าวปุเลา บิรยานี
และพุดดิ้งมะพร้าว payesh ในอินโดนีเซียเรี ยก pandan wangi พม่าเรี ยก soon-mhway ในศรี ลงกาเรี ยก
ั
rampe ใบใช้ได้ท้ งใบสดและใบแห้ง และมีขายในรู ปใบแช่แข็งในประเทศที่ปลูกไม่ได้
ั
ใช้ปรุ งกลิ่นในอาหารของหลายประเทศเช่น อินโดนี เซี ย สิ งคโปร์ ฟิ ลิปปิ นส์ มาเลเซี ย ไทย บังกลาเทศ
เวียดนาม จีน ศรี ลงกา และพม่า โดยเฉพาะข้าวและขนม
ั
การใช้มีท้ งนาไปขยากับกะทิ ใส่ ในภาชนะหุ งต้ม
ั
ไก่ใบเตยจะเป็ นการนาใบเตยมาห่อไก่แล้วนาไปทอด ใช้แต่งกลิ่นเค้กใบเตย และของหวานอื่นๆ
ในฟิ ลิปปิ นส์ใช้เตยหอมแต่งกลิ่นในสลัดที่เรี ยก buko pandan
กำรจำแนกชั้นทำงวิทยำศำสตร์
อาณาจักร:
อันดับ:
วงศ์:
สกุล:
ชนิด:

Plantae
Pandanales
Pandanaceae
Pandanus
P. amaryllifolius

11
สรรพคุณของเตยหอม
ต้น ราก ยาขับปั สสาวะ ใบสด น้ าใบเตย บารุ งหัวใจใบสดไม่จากัด ผสมในอาหาร
หรื อนามาคั้นน้ ารับประทาน ครั้งละ 2 – 4 ช้อนแกง ใช้ใบสดตา คั้นเอาน้ า จะได้น้ าสี เขียวมาผสมอาหาร
แต่งกลิ่น แต่งสี ขนม หรื อใช้ในรู ปของใบชา ชงกับน้ าร้อน หรื อใช้ใบสดต้มกับน้ าจนเดือด
เติมน้ าตาลเล็กน้อยใช้ดื่มเป็ นประจาใบเตยหอมใช้แต่งสี และกลิ่นเครื่ องดื่ม ขนมหวาน
และอาหารหลายชนิดคุณค่าทางโภชนาการ ใบเตยสด มีน้ ามันหอมระเหย รสหวาน หอม มัน
และมีสีเขียวที่นิยมใช้แต่งสี อาหาร เป็ นสารคอโรฟิ ลด์ใช้เป็ นยา ใบสดต้มกับน้ าดื่ม ลดอาการกระหายน้ า
บารุ งหัวใจ ทาให้ชุ่มชื่ น ต้นและรากเป็ นยาขับปั สสาวะ รักษาโรคเบาหวาน และแก้กระษัยน้ าเบาพิการ
โรคเบาหวาน : นาส่ วนต้นและราก ต้มกับเนื้อหรื อใบไม้สักจะช่วยรักษาโรคเบาหวาน
โรคหัด โรคผิวหนัง : ใช้ใบสดตาพอก
วิธีกำรทำตัวแปงโตเกียว
้
1. โดยนาแป้ งเค้ก ผงฟู เบคกิ้งโซดา และเกลือป่ น ร่ อนรวมกันซัก 2 รอบ
ั
2. ตีไข่กบน้ าตาลในชามให้ข้ ึนฟู
3. ใส่ แป้ งที่ร่อนแล้วลงไป ตามด้วยนมสด คนให้เข้ากัน
4. ใช้กระทะแบนทาน้ ามันบางๆ ตั้งไฟอ่อนๆ พอกระทะร้อน คนแป้ งก่อนตัก
หยอดแป้ งลงกระทะให้กลมขนาด 3 นิ้ว พอแป้ งสุ กใส่ ไส้พบม้วนแซะขึ้นใส่ จาน
ั
ส่ วนผสมของตัวแปง
้
1.แป้ งเค้ก
1 1/4 ถ้วย
2.ผงฟู
1 ช้อนชา
3.เบคกิ้งโซดา
1/4ช้อนชา
4.ไข่ไก่
2 ฟอง
5.น้ าตาลทราย
6 ช้อนโต๊ะ
6.เกลือป่ น
1/4 ช้อนชา
7.นมสด
1 ถ้วย

12

บทที่ 3
วิธีกำรดำเนินกำร
วัสดุ – อุปกรณ์
1. แป้ งเค้ก
2. ผงฟู
3. เบคกิ้งโซดา
4. ไข่ไก่
5. น้ าตาลทราย
6. เกลือป่ น
7. นมสด
8. น้ าฟักทองสด
9. น้ ามันเทศสด
10. น้ าเตยหอม

จานวน
จานวน
จานวน
จานวน
จานวน
จานวน
จานวน
จานวน
จานวน
จานวน

1 1/4 ถ้วย
1 ช้อนชา
1/4ช้อนชา
2 ฟอง
6 ช้อนโต๊ะ
1/4 ช้อนชา
1 ถ้วย
1 ถ้วย
1 ถ้วย
1 ถ้วย

วิธีกำรดำเนินกำร
ตอนที่ 1 กำรทำแปงโตเกียวสู ตรฟักทอง
้
1.โดยนาแป้ งเค้ก จานวน 1 1/4 ถ้วย ผงฟู จานวน 1 ช้อนชา เบคกิ้งโซดา จานวน 1/4ช้อนชาและเกลือป่ น
จานวน 1/4 ช้อนชา ร่ อนรวมกัน 2 รอบ
2. ตีไข่ จานวน 2 ฟอง กับน้ าตาล จานวน 6 ช้อนโต๊ะ ในชามให้ข้ ึนฟู
3. ใส่ แป้ งที่ร่อนแล้วลงไป ตามด้วยนมสด จานวน1 ถ้วย คนให้เข้ากัน
4. การทาน้ าฟักทอง
4.1 ปอกเปลือกฟักทอง ½ ลูก หันเป็ นชิ้นล็กๆ
่
4.2 นาฟักทองที่หนแล้วจานวน ½ ลูกไปนึ่งให้สุก
ั
4.3 นาฟักทองที่นึงแล้วใส่ เครื่ องปั่ นเติมน้ า จานวน 500 มิลิลิตร ปั่ นให้ละเอียด
4.4 นาฟักทองที่ปั่นแล้วไปตั้งไฟ เติมน้ าตาลทราย เกลือป่ น อย่างละ 100 กรัม
4.5 กรองด้วยผ้าขาวบางใส่ หม้อตั้งไฟพอเดือด ยกลงจากเตาจะได้น้ าฟักทองสี เหลือง ที่มีรสหวาน
5.นาแป้ งที่ร่อนไว้เมื่อใส่ นมสดแล้วตามด้วยน้ าฟักทอง จานวน 1 ถ้วยและคนให้เข้ากันอีกครั้ง
6.ใช้กระทะแบนทาน้ ามันบางๆ ตั้งไฟอ่อนๆ พอกระทะร้อนที่อุณหภูมิ 200 องศาเซลเซียส คนแป้ งก่อนตัก
หยอดแป้ งลงกระทะให้กลมขนาด 3 นิ้ว พอแป้ งสุ กใส่ ไส้พบม้วนแซะขึ้นใส่ จาน
ั
7.ปริ มาณวิตามินซี ในแป้ งโตเกียวละบันทึกผลการทดลอง
13
ตอนที่ 2 กำรทำแปงโตเกียวสู ตรมันเทศ
้
1.โดยนาแป้ งเค้ก จานวน 1 1/4 ถ้วย ผงฟู จานวน 1 ช้อนชา เบคกิ้งโซดา จานวน 1/4ช้อนชาและเกลือป่ น
จานวน 1/4 ช้อนชา ร่ อนรวมกัน 2 รอบ
2. ตีไข่ จานวน 2 ฟอง กับน้ าตาล จานวน 6 ช้อนโต๊ะ ในชามให้ข้ ึนฟู
3. ใส่ แป้ งที่ร่อนแล้วลงไป ตามด้วยนมสด จานวน1 ถ้วย คนให้เข้ากัน
4. การทาน้ ามันเทศ
4.1 ปอกเปลือกมันเทศ ½ ลูก หันเป็ นชิ้นล็กๆ
่
4.2 นามันเทศที่หนแล้วจานวน ½ ลูกไปนึ่งให้สุก
ั
4.3 นามันเทศที่นึงแล้วใส่ เครื่ องปั่ นเติมน้ า จานวน 500 มิลิลิตร ปั่ นให้ละเอียด
4.4 นามันเทศที่ปั่นแล้วไปตั้งไฟ เติมน้ าตาลทราย เกลือป่ น อย่างละ 100 กรัม
4.5 กรองด้วยผ้าขาวบางใส่ หม้อตั้งไฟพอเดือด ยกลงจากเตาจะได้น้ ามันเทศสี ม่วง ที่มีรสหวาน
5.นาแป้ งที่ร่อนไว้เมื่อใส่ นมสดแล้วตามด้วยน้ ามันเทศ จานวน 1 ถ้วยและคนให้เข้ากันอีกครั้ง
6.ใช้กระทะแบนทาน้ ามันบางๆ ตั้งไฟอ่อนๆ พอกระทะร้อนที่อุณหภูมิ 200 องศาเซลเซียส คนแป้ งก่อนตัก
หยอดแป้ งลงกระทะให้กลมขนาด 3 นิ้ว พอแป้ งสุ กใส่ ไส้พบม้วนแซะขึ้นใส่ จาน
ั
7.ปริ มาณวิตามินซี ในแป้ งโตเกียวละบันทึกผลการทดลอง
ตอนที่ 3 กำรทำแปงโตเกียวสู ตรใบเตย
้
1.โดยนาแป้ งเค้ก จานวน 1 1/4 ถ้วย ผงฟู จานวน 1 ช้อนชา เบคกิ้งโซดา จานวน 1/4ช้อนชาและเกลือป่ น
จานวน 1/4 ช้อนชา ร่ อนรวมกัน 2 รอบ
2. ตีไข่ จานวน 2 ฟอง กับน้ าตาล จานวน 6 ช้อนโต๊ะ ในชามให้ข้ ึนฟู
3. ใส่ แป้ งที่ร่อนแล้วลงไป ตามด้วยนมสด จานวน1 ถ้วย คนให้เข้ากัน
4. การทาน้ าใบเตย
4.1 นาน้ าเปล่าตั้งไฟจนเดือด
4.2 นามัดใบเตยจานวน 10 ใบ มัดรวมกันใส่ ในน้ าเดือดประมาณ 10 นาที แล้วนาใบเตยออก
4.3 ยกหม้อลงจากเตาจะได้น้ าใบเตยสี เขียวอ่อน ที่มีรสหวาน
5.นาแป้ งที่ร่อนไว้เมื่อใส่ นมสดแล้วตามด้วยน้ าใบเตย จานวน 1 ถ้วยและคนให้เข้ากันอีกครั้ง
6.ใช้กระทะแบนทาน้ ามันบางๆ ตั้งไฟอ่อนๆ พอกระทะร้อนที่อุณหภูมิ 200 องศาเซลเซียส คนแป้ งก่อนตัก
หยอดแป้ งลงกระทะให้กลมขนาด 3 นิ้ว พอแป้ งสุ กใส่ ไส้พบม้วนแซะขึ้นใส่ จาน
ั
7.ปริ มาณวิตามินซี ในแป้ งโตเกียวละบันทึกผลการทดลอง

14

บทที่ 4
ผลกำรทดลอง
ตารางที่ 1 ตารางแสดงผลการศึกษาปริ มาณความร้อนที่ 200 องศาเซลเซียส
ที่มีผลต่อปริ มาณวิตามินซี ในแป้ งโตเกียวสู ตรฟักทอง มันเทศ และใบเตย
สู ตรแป้ งโตเกียว
ปริ มาณวิตามินซี ในแป้ งโตเกียว
(mg)
สู ตรฟักทอง
12.23
สู ตรมันเทศ
9.35
สู ตรใบเตย
15.48

15

บทที่ 5
อภิปรำยและสรุปผลกำรศึกษำ
สรุปผลกำรศึกษำ
จากผลการทดลอง พบว่า แป้ งสู ตรใบเตยมีปริ มาณวิตามินซีมากที่สุด รองลงมา คือ
แป้ งสู ตรฟักทอง และ แป้ งสู ตรมันเทศมีปริ มาณวิตามินซีนอยที่สุด
้
อภิปรำย
่
จากการทดสอบจะเห็นได้วา แป้ งโตเกียวสู ตรต่างๆที่เราทาเอง
มีปริ มาณวิตามินซีมากกว่าแป้ งตามท้องตลาดทัวไป
่
ข้ อเสนอแนะ
1.สามารถนาโตเกียวที่ได้แต่ละสู ตรมารับประทานได้
ั
2.นาผลที่ได้ไปเผยแพร่ ให้กบน้องๆที่ตองการทาการทดลอง
้
ประโยชน์
1.ได้ฝึกกระบวนการขั้นตอนการทดลอง
2.สามารถนาแป้ งโตเกียวแต่ละสู ตรมารับประทานได้

16
ภาคผนวก
ภาพที่ 1 ฟักทองและมันเทศ

ภาพที่2 ใบเตย
ั
ภาพที่ 3 ตีไข่กบแป้ งให้เข้ากัน

ภาพที่ 4 นาใบเตย ฟักทอง มันเทศ ไปผสมกับแป้ ง
ภาพที่ 5 นาแป้ งที่ผสมกับใบเตย ฟักทอง มันเทศ ไปใส่ กระทะที่ต้ งไว้
ั

ภาพที่6 ได้โตเกียวที่เสร็ จสมบูรณ์

More Related Content

What's hot

mind map สื่อการเรียนรู้
mind map สื่อการเรียนรู้mind map สื่อการเรียนรู้
mind map สื่อการเรียนรู้Thunyalak Thumphila
 
Satu
SatuSatu
Satunnbtt
 
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2Aroonswat
 
เรื่อง เปลือกผลไม้พื้นบ้านกับน้ำยาลบคำผิด
เรื่อง  เปลือกผลไม้พื้นบ้านกับน้ำยาลบคำผิด เรื่อง  เปลือกผลไม้พื้นบ้านกับน้ำยาลบคำผิด
เรื่อง เปลือกผลไม้พื้นบ้านกับน้ำยาลบคำผิด O-SOT Kanesuna POTATO
 
บันทึกหลังแผนการสอนปรับปรุง (ซ่อมแซม)
บันทึกหลังแผนการสอนปรับปรุง (ซ่อมแซม)บันทึกหลังแผนการสอนปรับปรุง (ซ่อมแซม)
บันทึกหลังแผนการสอนปรับปรุง (ซ่อมแซม)Doungchan Miki
 
ใบงานที่ 2 ประเภทขององค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบงานที่ 2 ประเภทขององค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdfใบงานที่ 2 ประเภทขององค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบงานที่ 2 ประเภทขององค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdfNattapon
 
การจัดทำแผนดับเพลิง
การจัดทำแผนดับเพลิงการจัดทำแผนดับเพลิง
การจัดทำแผนดับเพลิง9tong30
 
โครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรม
โครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรมโครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรม
โครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรมtassanee chaicharoen
 
โครงงานพวงกุญแจผ้าสักหลาด
โครงงานพวงกุญแจผ้าสักหลาดโครงงานพวงกุญแจผ้าสักหลาด
โครงงานพวงกุญแจผ้าสักหลาดAraya Chiablaem
 
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาคอมพิวเตอร์ป2
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาคอมพิวเตอร์ป2แผนการจัดการเรียนรู้วิชาคอมพิวเตอร์ป2
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาคอมพิวเตอร์ป2wifi5822
 
การพัฒนาทักษะการพิมพ์ของนักเรียนประถมศึกษา
การพัฒนาทักษะการพิมพ์ของนักเรียนประถมศึกษาการพัฒนาทักษะการพิมพ์ของนักเรียนประถมศึกษา
การพัฒนาทักษะการพิมพ์ของนักเรียนประถมศึกษาJiraporn Kru
 
สรุปผลการประเมินความพึงพอใจ
สรุปผลการประเมินความพึงพอใจสรุปผลการประเมินความพึงพอใจ
สรุปผลการประเมินความพึงพอใจAnnop Phetchakhong
 
โครงงานIs3
โครงงานIs3โครงงานIs3
โครงงานIs3Arisa Srising
 
Pat1 มี.ค. 64
Pat1 มี.ค. 64Pat1 มี.ค. 64
Pat1 มี.ค. 649GATPAT1
 
ประวัติส่วน
ประวัติส่วนประวัติส่วน
ประวัติส่วนSu Surut
 

What's hot (20)

ใบงาน 2.1 ข้อมูลและสารสนเทศ
ใบงาน 2.1 ข้อมูลและสารสนเทศใบงาน 2.1 ข้อมูลและสารสนเทศ
ใบงาน 2.1 ข้อมูลและสารสนเทศ
 
mind map สื่อการเรียนรู้
mind map สื่อการเรียนรู้mind map สื่อการเรียนรู้
mind map สื่อการเรียนรู้
 
Satu
SatuSatu
Satu
 
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2
 
เรื่อง เปลือกผลไม้พื้นบ้านกับน้ำยาลบคำผิด
เรื่อง  เปลือกผลไม้พื้นบ้านกับน้ำยาลบคำผิด เรื่อง  เปลือกผลไม้พื้นบ้านกับน้ำยาลบคำผิด
เรื่อง เปลือกผลไม้พื้นบ้านกับน้ำยาลบคำผิด
 
บันทึกหลังแผนการสอนปรับปรุง (ซ่อมแซม)
บันทึกหลังแผนการสอนปรับปรุง (ซ่อมแซม)บันทึกหลังแผนการสอนปรับปรุง (ซ่อมแซม)
บันทึกหลังแผนการสอนปรับปรุง (ซ่อมแซม)
 
ใบงานที่ 2 ประเภทขององค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบงานที่ 2 ประเภทขององค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdfใบงานที่ 2 ประเภทขององค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบงานที่ 2 ประเภทขององค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdf
 
G31 m gs r2.0
G31 m gs r2.0G31 m gs r2.0
G31 m gs r2.0
 
การจัดทำแผนดับเพลิง
การจัดทำแผนดับเพลิงการจัดทำแผนดับเพลิง
การจัดทำแผนดับเพลิง
 
โครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรม
โครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรมโครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรม
โครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรม
 
โครงงานพวงกุญแจผ้าสักหลาด
โครงงานพวงกุญแจผ้าสักหลาดโครงงานพวงกุญแจผ้าสักหลาด
โครงงานพวงกุญแจผ้าสักหลาด
 
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาคอมพิวเตอร์ป2
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาคอมพิวเตอร์ป2แผนการจัดการเรียนรู้วิชาคอมพิวเตอร์ป2
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาคอมพิวเตอร์ป2
 
การพัฒนาทักษะการพิมพ์ของนักเรียนประถมศึกษา
การพัฒนาทักษะการพิมพ์ของนักเรียนประถมศึกษาการพัฒนาทักษะการพิมพ์ของนักเรียนประถมศึกษา
การพัฒนาทักษะการพิมพ์ของนักเรียนประถมศึกษา
 
Khóa luận tốt nghiệp Khoa quản trị công nghệ Trường Đại học Nội vụ Hà Nội.doc
Khóa luận tốt nghiệp Khoa quản trị công nghệ Trường Đại học Nội vụ Hà Nội.docKhóa luận tốt nghiệp Khoa quản trị công nghệ Trường Đại học Nội vụ Hà Nội.doc
Khóa luận tốt nghiệp Khoa quản trị công nghệ Trường Đại học Nội vụ Hà Nội.doc
 
แบตเตอรี่ในผลไม้
แบตเตอรี่ในผลไม้แบตเตอรี่ในผลไม้
แบตเตอรี่ในผลไม้
 
สรุปผลการประเมินความพึงพอใจ
สรุปผลการประเมินความพึงพอใจสรุปผลการประเมินความพึงพอใจ
สรุปผลการประเมินความพึงพอใจ
 
ๅๅๅ
ๅๅๅๅๅๅ
ๅๅๅ
 
โครงงานIs3
โครงงานIs3โครงงานIs3
โครงงานIs3
 
Pat1 มี.ค. 64
Pat1 มี.ค. 64Pat1 มี.ค. 64
Pat1 มี.ค. 64
 
ประวัติส่วน
ประวัติส่วนประวัติส่วน
ประวัติส่วน
 

Viewers also liked

Small is beautiful: #smartcontent for smartphones
Small is beautiful: #smartcontent for smartphonesSmall is beautiful: #smartcontent for smartphones
Small is beautiful: #smartcontent for smartphonesMarc Hartog
 
โครงงานข้าวต้มมัดฝอยทอง
โครงงานข้าวต้มมัดฝอยทอง โครงงานข้าวต้มมัดฝอยทอง
โครงงานข้าวต้มมัดฝอยทอง Bunnaruenee
 
โครงงานข้าวต้มมัดฝอยทอง
โครงงานข้าวต้มมัดฝอยทอง โครงงานข้าวต้มมัดฝอยทอง
โครงงานข้าวต้มมัดฝอยทอง Bunnaruenee
 
ลงเน็ต
ลงเน็ตลงเน็ต
ลงเน็ตBunnaruenee
 
ลงเน็ต
ลงเน็ตลงเน็ต
ลงเน็ตBunnaruenee
 
ลงเน็ต
ลงเน็ตลงเน็ต
ลงเน็ตBunnaruenee
 
Lfa k (2)
Lfa k (2)Lfa k (2)
Lfa k (2)Nlibn
 
โครงงานข้าวต้มมัดฝอยทอง
โครงงานข้าวต้มมัดฝอยทอง โครงงานข้าวต้มมัดฝอยทอง
โครงงานข้าวต้มมัดฝอยทอง Bunnaruenee
 
โครงงานสีน้ำจากแป้งธรรมชาติ มมว.
โครงงานสีน้ำจากแป้งธรรมชาติ มมว.โครงงานสีน้ำจากแป้งธรรมชาติ มมว.
โครงงานสีน้ำจากแป้งธรรมชาติ มมว.Bunnaruenee
 
โครงงานข้าวต้มมัดฝอยทอง
โครงงานข้าวต้มมัดฝอยทอง โครงงานข้าวต้มมัดฝอยทอง
โครงงานข้าวต้มมัดฝอยทอง Bunnaruenee
 

Viewers also liked (19)

Small is beautiful: #smartcontent for smartphones
Small is beautiful: #smartcontent for smartphonesSmall is beautiful: #smartcontent for smartphones
Small is beautiful: #smartcontent for smartphones
 
โครงงานข้าวต้มมัดฝอยทอง
โครงงานข้าวต้มมัดฝอยทอง โครงงานข้าวต้มมัดฝอยทอง
โครงงานข้าวต้มมัดฝอยทอง
 
Yogurt for fun
Yogurt for funYogurt for fun
Yogurt for fun
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
Yogurt for fun
Yogurt for funYogurt for fun
Yogurt for fun
 
Yogurt for fun
Yogurt for funYogurt for fun
Yogurt for fun
 
Yogurt for fun
Yogurt for funYogurt for fun
Yogurt for fun
 
Yogurt for fun
Yogurt for funYogurt for fun
Yogurt for fun
 
Yogurt for fun
Yogurt for funYogurt for fun
Yogurt for fun
 
โครงงานข้าวต้มมัดฝอยทอง
โครงงานข้าวต้มมัดฝอยทอง โครงงานข้าวต้มมัดฝอยทอง
โครงงานข้าวต้มมัดฝอยทอง
 
ลงเน็ต
ลงเน็ตลงเน็ต
ลงเน็ต
 
Media gallery9
Media gallery9Media gallery9
Media gallery9
 
yogurt for fun
yogurt for funyogurt for fun
yogurt for fun
 
ลงเน็ต
ลงเน็ตลงเน็ต
ลงเน็ต
 
ลงเน็ต
ลงเน็ตลงเน็ต
ลงเน็ต
 
Lfa k (2)
Lfa k (2)Lfa k (2)
Lfa k (2)
 
โครงงานข้าวต้มมัดฝอยทอง
โครงงานข้าวต้มมัดฝอยทอง โครงงานข้าวต้มมัดฝอยทอง
โครงงานข้าวต้มมัดฝอยทอง
 
โครงงานสีน้ำจากแป้งธรรมชาติ มมว.
โครงงานสีน้ำจากแป้งธรรมชาติ มมว.โครงงานสีน้ำจากแป้งธรรมชาติ มมว.
โครงงานสีน้ำจากแป้งธรรมชาติ มมว.
 
โครงงานข้าวต้มมัดฝอยทอง
โครงงานข้าวต้มมัดฝอยทอง โครงงานข้าวต้มมัดฝอยทอง
โครงงานข้าวต้มมัดฝอยทอง
 

Similar to งานโตเกียว (บันทึกอัตโนมัติ)

โครงการสอนงานประดิษฐ์จากไม้ไผ่2
โครงการสอนงานประดิษฐ์จากไม้ไผ่2โครงการสอนงานประดิษฐ์จากไม้ไผ่2
โครงการสอนงานประดิษฐ์จากไม้ไผ่2ทับทิม เจริญตา
 
โครงงานคอม (1)
โครงงานคอม (1)โครงงานคอม (1)
โครงงานคอม (1)Anny Na Sonsawan
 
โครงงานคอม (1)
โครงงานคอม (1)โครงงานคอม (1)
โครงงานคอม (1)Lekleklek Jongrak
 
กล้วยบวชชี
กล้วยบวชชีกล้วยบวชชี
กล้วยบวชชีToeyy Piraya
 
โครงงานคอมเรื่อง กล้วยบวชชี
โครงงานคอมเรื่อง กล้วยบวชชีโครงงานคอมเรื่อง กล้วยบวชชี
โครงงานคอมเรื่อง กล้วยบวชชีToeyy Piraya
 
งานวิจัยโยเกิร์ตข้าวโพด
งานวิจัยโยเกิร์ตข้าวโพดงานวิจัยโยเกิร์ตข้าวโพด
งานวิจัยโยเกิร์ตข้าวโพดKanitha Panya
 
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุดโครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุดพัน พัน
 
โครงงานถั่วกวนอบควันเทียน1 1
โครงงานถั่วกวนอบควันเทียน1 1โครงงานถั่วกวนอบควันเทียน1 1
โครงงานถั่วกวนอบควันเทียน1 1Tewit Chotchang
 
โครงงานถั่วกวนอบควันเทียน1 1
โครงงานถั่วกวนอบควันเทียน1 1โครงงานถั่วกวนอบควันเทียน1 1
โครงงานถั่วกวนอบควันเทียน1 1Tewit Chotchang
 
ใบงานที่11
ใบงานที่11ใบงานที่11
ใบงานที่11Opp Phurinat
 
ข้อสอบการงานอาชีะและเทคโนโลยี
ข้อสอบการงานอาชีะและเทคโนโลยีข้อสอบการงานอาชีะและเทคโนโลยี
ข้อสอบการงานอาชีะและเทคโนโลยีmina612
 
1.รายงานปฏิบัติงาน255538หน้า
1.รายงานปฏิบัติงาน255538หน้า1.รายงานปฏิบัติงาน255538หน้า
1.รายงานปฏิบัติงาน255538หน้าKruthai Kidsdee
 
ใบงานที่ 9-16
ใบงานที่ 9-16ใบงานที่ 9-16
ใบงานที่ 9-16noeiinoii
 
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศsariya25
 
6หลักสูตรวิทยาศาตร์
6หลักสูตรวิทยาศาตร์6หลักสูตรวิทยาศาตร์
6หลักสูตรวิทยาศาตร์sasiton sangangam
 
หน้าที่พิเศษของราก
หน้าที่พิเศษของรากหน้าที่พิเศษของราก
หน้าที่พิเศษของรากBiobiome
 
ใบงานที่ 11
ใบงานที่ 11ใบงานที่ 11
ใบงานที่ 11Tharathorn Junya
 

Similar to งานโตเกียว (บันทึกอัตโนมัติ) (20)

โครงการสอนงานประดิษฐ์จากไม้ไผ่2
โครงการสอนงานประดิษฐ์จากไม้ไผ่2โครงการสอนงานประดิษฐ์จากไม้ไผ่2
โครงการสอนงานประดิษฐ์จากไม้ไผ่2
 
โครงงานคอม (1)
โครงงานคอม (1)โครงงานคอม (1)
โครงงานคอม (1)
 
โครงงานคอม (1)
โครงงานคอม (1)โครงงานคอม (1)
โครงงานคอม (1)
 
กล้วยบวชชี
กล้วยบวชชีกล้วยบวชชี
กล้วยบวชชี
 
โครงงานคอมเรื่อง กล้วยบวชชี
โครงงานคอมเรื่อง กล้วยบวชชีโครงงานคอมเรื่อง กล้วยบวชชี
โครงงานคอมเรื่อง กล้วยบวชชี
 
Diffusion and osmotic
Diffusion and osmoticDiffusion and osmotic
Diffusion and osmotic
 
งานวิจัยโยเกิร์ตข้าวโพด
งานวิจัยโยเกิร์ตข้าวโพดงานวิจัยโยเกิร์ตข้าวโพด
งานวิจัยโยเกิร์ตข้าวโพด
 
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุดโครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
 
โครงงานถั่วกวนอบควันเทียน1 1
โครงงานถั่วกวนอบควันเทียน1 1โครงงานถั่วกวนอบควันเทียน1 1
โครงงานถั่วกวนอบควันเทียน1 1
 
โครงงานถั่วกวนอบควันเทียน1 1
โครงงานถั่วกวนอบควันเทียน1 1โครงงานถั่วกวนอบควันเทียน1 1
โครงงานถั่วกวนอบควันเทียน1 1
 
ใบงานที่11
ใบงานที่11ใบงานที่11
ใบงานที่11
 
ข้อสอบการงานอาชีะและเทคโนโลยี
ข้อสอบการงานอาชีะและเทคโนโลยีข้อสอบการงานอาชีะและเทคโนโลยี
ข้อสอบการงานอาชีะและเทคโนโลยี
 
1.รายงานปฏิบัติงาน255538หน้า
1.รายงานปฏิบัติงาน255538หน้า1.รายงานปฏิบัติงาน255538หน้า
1.รายงานปฏิบัติงาน255538หน้า
 
ใบงานท 9-16
ใบงานท   9-16ใบงานท   9-16
ใบงานท 9-16
 
ใบงานที่ 9-16
ใบงานที่ 9-16ใบงานที่ 9-16
ใบงานที่ 9-16
 
ใบงานท 9-16
ใบงานท   9-16ใบงานท   9-16
ใบงานท 9-16
 
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
 
6หลักสูตรวิทยาศาตร์
6หลักสูตรวิทยาศาตร์6หลักสูตรวิทยาศาตร์
6หลักสูตรวิทยาศาตร์
 
หน้าที่พิเศษของราก
หน้าที่พิเศษของรากหน้าที่พิเศษของราก
หน้าที่พิเศษของราก
 
ใบงานที่ 11
ใบงานที่ 11ใบงานที่ 11
ใบงานที่ 11
 

งานโตเกียว (บันทึกอัตโนมัติ)

  • 1. โตเกียว Colorful จัดทำโดย 1. นำงสำวประกำยแก้ว บำนเย็น เลขที่ 19 2. นำงสำวลดำพรรณ ชมชื่น เลขที่ 20 3. นำงสำวศิวมล ิ ศรีสง่ ำ เลขที่ 23 ชั้นมัธยมศึกษำปี ที่ 6/4 -----------------------------------------------------------------------------------------------------วิชำโครงงำนเพือประประโยชน์ และสำธำรณะประโยชน์ ว.30266 ่ ภำคเรียนที่ 2 ปี กำรศึกษำ 2556 กลุ่มสำระกำรเรียนรู้วทยำศำสตร์ โรงเรียนมกุฎเมืองรำชวิทยำลัย ิ สำนักงำนเขตพืนที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำชลบุรีเขต 18 ้
  • 2. โตเกียว Colorful จัดทำโดย 1. นำงสำวประกำยแก้ว บำนเย็น เลขที่ 19 2. นำงสำวลดำพรรณ ชมชื่น เลขที่ 20 3. นำงสำวศิวมล ิ ศรีสง่ ำ เลขที่ 23 ชั้นมัธยมศึกษำปี ที่ 6/4 คุณครูที่ปรึกษำโครงงำน คุณครูศุภพงศ์ คล้ำยคลึง
  • 3. ก ชื่อโครงงำน โตเกียว colorful ผู้จัดทำโครงงำน 1.นางสาวประกายแก้ว บานเย็น ม.6/4 เลขที่ 19 2.นางสาวลดาพรรณ ม.6/4 เลขที่ 20 ชมชื่น 3.นางสาวสิ วมล ศรี สง่า ิ ม.6/4 เลขที่ 23 คุณครู ที่ปรึกษำโครงงำน คุณครู ศุภพงศ์ คล้ายคลึง โรงเรียนมกุฎเมืองรำชวิทยำลัย ปี กำรศึกษำ2556 บทคัดย่ อ ่ ปัจจุบนโตเกียวที่ขายอยูตามท้องตลาดทัวไปนั้นมีหลากหลายหลายไส้ เช่น ั ่ ไส้เค็มซึ่งประกอบด้วย หมูสับทรงเครื่ อง ไข่ไก่ ไส้กรอก ซอสภูเขาทอง ซอสพริ กหรื อซอสมะเขือเทศ ส่ วนไส้หวานประกอบด้วย เนยหวาน และไส้ครี ม เพราะเหตุน้ ีเองทางคณะผูจดทาจึงคิดที่จะทดสอบว่าแป้ งที่ใช้ทาโตเกียวตามท้องตลาดกับแป้ งโ ้ั ตเกียว Colurful ว่าแป้ งชนิดใดมีวตามินซีมากกว่ากันเท่าใด ิ โดยใช้วธีการวัดปริ มาณวิตามินซีในแป้ งทั้ง 3 ชนิด ิ จากผลการทดลองพบว่าแป้ งสู ตรฟักทองมีปริ มาณวิตามินซี 12.23 mg แป้ งสู ตรมันเทศมีปริ มาณวิตามินซี 9.35 mg และแป้ งสู ตรใบเตยมีปริ มาณวิตามินซี 15.48 mg ่ ทาให้สรุ ปได้วาแป้ งสู ตรใบเตยมีปริ มาณวิตามินซีมากที่สุด
  • 4. ข กิตติกรรมประกำศ โครงงานงานวิท ยาศาสตร์ ฉ บับ นี้ ส าเร็ จลุ ล่ วงไปได้ก็ เพราะ อาจารย์ที่ ป รึ กษาคื อ คุ ณ ครู ศุภพงศ์ คล้ า ยคลึ ง ที่ ก รุ ณ าให้ ค วามรู ้ ใ ห้ ค าป รึ กษ าชี้ แน ะที่ ดี มาโดยตลอดการท าโครงงาน ใน ครั้ งนี้ จึ งข อ ข อ บ พ ร ะ คุ ณ อ ย่ า งสู งม า ณ ที่ นี้ ข อ ข อ บ คุ ณ ค ณ าจ ารย์ ข อ งก ลุ่ ม ส าร ะ วิ ท ย าศ าส ต ร์ โ ร ง เ รี ย น ม กุ ฎ เ มื อ ง ร า ช วิ ท ย า ลั ย ทุ ก ท่ า น ที่ ใ ห้ ค ว า ม รู ้ และขอขอบพระคุณคณาจารย์ผช่วยสอนที่ได้ให้ความช่วยเหลืออานวยความสะดวกในการเบิกจ่ายอุปกรณ์แ ู้ ละสารเคมีต่างๆ ท้ายนี้ ขอกราบขอบพระคุณบุพการี ผให้ชีวตและในการอุประคุณตลอดมาตลอดจนผูแต่งตาราทุกท่า ู้ ิ ้ นที่ทาการศึกษาได้นาความรู ้มาใช้ในการทาโครงงานในครั้งนี้ คณะผู้จัดทำ
  • 5. สำรบัญ หน้า บทคัดย่อ ก กิตติกรรมประกาศ ข บทที่ 1 บทนา 1 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน................................................................................. 1 วัตถุประสงค์ศึกษาค้นคว้า............................................................................................. 2 สมมติฐานค้นคว้า.......................................................................................................... 2 ตัวแปรที่ศึกษาค้นคว้า.................................................................................................... 2 ขอบเขตของการศึกษาค้นคว้า........................................................................................ 3 ระยะเวลาในการศึกษาค้นคว้า......................................................................................... 3 ผลที่คาดว่าจะได้รับ........................................................................................................ 3 บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง ฟักทอง........................................................................................................................... 4 ลักษณะทางพฤกษศาสตร์............................................................................................... 4 ประโยชน์ของฟักทอง.....................................................................................................4 ประโยชน์ของฟักทอง.....................................................................................................5 มันเทศ........................................................................................................................... 6 การจาแนกทางวิทยาศาสตร์.........…............................................................................... 6 ประวัติความเป็ นมาของมันเทศ.......................................................................................6 ลักษณะทางพฤกษศาสตร์............................................................................................... 7 ประโยชน์ของมันเทศ..................................................................................................... 8 คุณค่าทางอาหารของมันเทศ........................................................................................... 9
  • 6. เตยหอม........................................................................................................................... 10 การใช้ประโยชน์............................................................................................................. 10 การจาแนกทางวิทยาศาสตร์.........…............................................................................... 10 สรรพคุณของเตยหอม..................…...............................................................................11 สำรบัญ (ต่ อ) หน้า วิธีการทาแป้ งโตเกียว...................................................................................................... 11 ส่ วนผสมของตัวแป้ ง...................................................................................................... 11 บทที่ 3 วัสดุอุปกรณ์และวิธีการดาเนินการ 12 วัสดุอุปกรณ์....................................................................................................................12 วิธีการดาเนินการ.............................................................................................................12 วิธีการดาเนินการ.............................................................................................................13 บทที่ 4 ผลการศึกษา 14 บทที่ 5 อภิปรายและสรุ ปผลการศึกษา 15 ภาคผนวก 16
  • 7. 1 บทที1 ่ บทนำ 1. ทีมำและควำมสำคัญของโครงงำน ่ ฟั กทอง มีวิตามินเอสู ง รวมทั้งฟอสฟอรัส แคลเซี ยม วิตามิ นซี แป้ ง และที่จะลื มไปไม่ได้เลยก็คือ ่ "เบต้าแคโรทีน" ซึ่ งเป็ นสารต้านอนุมูลอิสระอยูในเนื้ อสี เหลืองของฟักทอง สามารถช่วยลดการเกิดมะเร็ ง โรคหลอดเลื อดหัวใจ และโรคหัวใจได้ แถมเบต้าแคโรที น ยังช่ วยต้านความชรา ป้ องกันโรคผิวหนัง บรรเทาอาการปวดเมื่อยของข้อเข่า และบั้นเอวได้เป็ นอย่างดี ่ มันเทศสี ม่วง เนื้ อมันเทศมีสีม่วงเข้ม เป็ นมันเทศที่มีสาร “แอนโทไซยานิ น” (Anthocyanin) อยูสูง ซึ่ งเป็ นสารที่ มี ฤ ทธิ์ ในการต่ อ ต้ า นอนุ มู ล อิ ส ระ มี ส่ วนช่ ว ยในการชะลอความเสื่ อมของเซลล์ ช่ ว ยลดอัต ราเสี่ ย งของการเกิ ด โรคหั ว ใจและเส้ น เลื อ ดอุ ด ตัน ได้ ช่ ว ยชะลอความเสื่ อ มของดวงตา และพบว่าสารชนิดนี้ช่วยยับยั้งเชื้ออีโคไลซึ่ งเป็ นสาเหตุของโรคท้องร่ วง ใ บ เ ต ย ห อ ม น อ ก จ า ก ใ ช้ แ ต่ ง สี แ ล ะ ก ลิ่ น เ ค รื่ อ ง ดื่ ม ข น ม ห ว า น และอาหารหลายชนิ ด คุ ณ ค่ า ทางโภชนาการ ใบเตยสด มี น้ ามัน หอมระเหย รสหวาน หอม มัน และมีสีเขียวที่นิยมใช้แต่งสี อาหาร เป็ นสารคอโรฟิ ลด์ใช้เป็ นยา ใบสดต้มกับน้ าดื่ม ลดอาการกระหายน้ า บารุ งหัวใจ ทาให้ชุ่มชื่น ต้นและรากเป็ นยาขับปั สสาวะ รักษาโรคเบาหวาน และแก้กระษัยน้ าเบาพิการ ข น ม โ ต เกี ย ว จั ด ว่ า เป็ น ข น ม ที่ ห า รั บ ป ร ะ ท า น ไ ด้ ใ น ท้ อ ง ต ล า ด ทั่ ว ไ ป และมีหลากหลายไส้รสชาติที่แตกต่างกันออกไป ในส่ วนของแป้ งโตเกียวยังเป็ นส่ วนที่ยงคงสู ตรดั้งเดิ ม ั ดั ง นั้ น ท า ง ค ณ ะ ผู ้ จั ด ท า โ ค ร ง ง า น จึ ง คิ ด โ ค ร ง ง า น โ ต เ กี ย ว Colorful เพื่อพัฒนาสู ตรแป้ งโตกียวจากแป้ งที่ผลิตมาจากผักที่อุดมไปด้วยคุณประโยชน์ท้ ง 3 ชนิ ด ได้แก่ ฟั กทอง ั มี น เทศ และเตยหอม ด้ ว ยคุ ณ ค่ า ทางอาหารที่ ม ากมายของฟั กทอง มั น เทศ และ ใบเตยหอม ที่ ใ ส่ ล งไปเป็ นส่ วนผสมของแป้ งโตเกี ย ว ท าให้ ไ ด้แ ป้ งโตเกี ย ว 3 สู ต ร ได้แก่ สู ต รฟั ก ทอง มัน เทศ
  • 8. และใบเตย น อกจากแป้ งดั ง กล่ า วจะอุ ด มไปด้ ว ยคุ ณ ค่ า ท างอาห ารของผั ก ทั้ ง 3 ชนิ ดแล้ ว ยังให้ได้แป้ งโตเกียวที่มีสีสันสดใส ชวนน่ารับประทาน อีกทั้งยังเป็ นการเพิมมูลค่าให้ผลผลิตอีกด้วย ่ 2 2. วัตถุประสงค์ ศึกษำค้ นคว้ำ 1.เพื่อศึกษาอุณหภูมิและปริ มาณความร้อนมีผลต่อปริ มาณวิตามินซี ในแป้ งโตเกียวสู ตรฟักทอง 2.เพื่อศึกษาอุณหภูมิและปริ มาณความร้อนมีผลต่อปริ มาณวิตามินซี ในแป้ งโตเกียวสู ตรมันเทศ 3.เพื่อศึกษาอุณหภูมิและปริ มาณความร้อนมีผลต่อปริ มาณวิตามินซี ในแป้ งโตเกียวสู ตรเตยหอม 3. สมมติฐำนศึกษำค้ นคว้ำ 1.อุณหภูมิและปริ มาณความร้อนที่ 100,200,300 องศาเซลเซียสมีผลทาให้ปริ มาณวิตามินซี ในแป้ งโตเกียวสู ตรฟักทองลดลง 2.อุณหภูมิและปริ มาณความร้อนมีที่ 100,200,300 องศาเซลเซียสผลทาให้ปริ มาณวิตามินซี ในแป้ งโตเกียวสู ตรมันเทศลดลง 3.อุณหภูมิและปริ มาณความร้อนที่ 100,200,300 องศาเซลเซียสมีผลทาให้ปริ มาณวิตามินซี ในแป้ งโตเกียวสู ตรเตยหอมลดลง 4. ตัวแปรทีเ่ กียวข้ อง ่ ตอนที่ 1 ศึกษาแป้ งโตเกียวสู ตรฟักทอง ตัวแปรต้น อุณหภูมิและปริ มาณความร้อนที่ 200 องศาเซลเซียส ตัวแปรตาม ปริ มาณวิตามินซี ในแป้ งโตเกียวสู ตรฟักทอง ตัวแปรควบคุม 1.ระยะเวลาในการทาแป้ งโตเกียว 2.ปริ มาณส่ วนผสมที่ใช้ ตอนที่ 2 ศึกษาแป้ งโตเกียวสู ตรมันเทศ ตัวแปรต้น อุณหภูมิและปริ มาณความร้อนที่ 200 องศาเซลเซียส ตัวแปรตาม ปริ มาณวิตามินซี ในแป้ งโตเกียวสู ตรมันเทศ ตัวแปรควบคุม 1.ระยะเวลาในการทาแป้ งโตเกียว 2.ปริ มาณส่ วนผสมที่ใช้
  • 9. ตอนที่ 3 ศึกษาแป้ งโตเกียวสู ตรเตยหอม ตัวแปรต้น อุณหภูมิและปริ มาณความร้อนที่ 200 องศาเซลเซียส ตัวแปรตาม ปริ มาณวิตามินซี ในแป้ งโตเกียวสู ตรเตยหอม ตัวแปรควบคุม 1.ระยะเวลาในการทาแป้ งโตเกียว 2.ปริ มาณส่ วนผสมที่ใช้ 3 5. ขอบเขตของกำรศึกษำ ผักและผลไม้ที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้าได้แก่ 1.ฟั ก ทอง เป็ นพื ช ชนิ ด หนึ่ ง ใช้ ท าได้ ท้ ั ง อาหารคาว ของหวาน และเป็ นอาหารว่ า งได้ ด้ ว ย ปกติ ฟั ก ทองเมื่ อ แก่ จ ัด จะมี สี เหลื อ งอมส้ ม เป็ นพื ช มี เถา ปลู ก ได้ ท ั่ว ไปทั้ง ในเขตร้ อ นและเขตหนาว ในทางพฤกษศาสตร์ จัดอยู่ในสกุ ล Cucurbita วงศ์ Cucurbitaceae เป็ นพื ช ที่ มี ถิ่ นก าเนิ ดในทวีป อเมริ ก า และแพร่ กระจายไปทัวโลก ่ 2.มั น เทศ (อัง กฤษ:Sweet Potato) เป็ นพื ช หั ว ใต้ดิ น เถาเลื้ อ ยราบไปบนพื้ น ดิ น ปลู ก เป็ นพื ช ไร่ มีเนื้ อสี หลายสี ตามสายพันธุ์ ใช้ประโยชน์ได้ทุกส่ วน เช่ น เถา ใบ หัว นิ ยมนามารับประทานโดย ต้ม หรื อ เผา ทาเป็ นอาหารคาวหวาน ส่ วนผสมของอาหารสาหรับเด็ก ใช้เป็ นอาหารสัตว์ เป็ นต้น ่ 3.เตยหอม ชื่อวิทยาศาสตร์ : Pandanus amaryllifolius เป็ นไม้ยนต้นพุมเล็ก ขึ้นเป็ นกอ ื ่ ลาต้นอยูใต้ดิน ใบเป็ นใบเดี่ยว เรี ยงสลับเวียนเป็ นเกลียวขึ้นไปจนถึงยอด ใบเป็ นทางยาว สี เข้ม ค่อนข้างแข็ง เป็ นมัน ขอบใบเรี ยบ ในใบมีกลิ่นหอมจากน้ ามันหอมระเหย Fragrant Screw Pine สี เขียวจากใบเป็ นสี ของคลอโรฟิ ลล์ ใช้แต่งสี ขนมได้ 6. ระยะเวลำในกำรศึกษำค้ นคว้ ำ วันที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 ถึง 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557 7. ผลทีคำดว่ำจะได้ รับ ่ 7.1เพื่อพัฒนาสู ตรแป้ งโตกียวจากแป้ งที่ผลิตมาจากผักที่อุดมไปด้วยคุณประโยชน์ท้ ง 3 ชนิด ได้แก่ ฟักทอง ั มีนเทศ และเตยหอม 7.2เป็ นการนาผลผลิตจากธรรมชาติมาแปรรู ปเพื่อเพิ่มมูลค่ารวมทั้งสอดแทรกกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 7.3เพื่อศึกษาปริ มาณความร้อนและอุณหภูมิมีผลต่อปริ มาณการเพิ่มและลดของปริ มาณวิตามินในอาหาร
  • 10. 4 บทที่ 2 เอกสำรทีเ่ กียวข้ อง ่ ฟักทอง ฟั กทอง เป็ นพื ช ชนิ ดหนึ่ ง ใช้ ท าได้ ท้ ั งอาหารคาว ของหวาน และเป็ นอาหารว่ า งได้ ด้ ว ย ปกติ ฟั ก ทองเมื่ อ แก่ จ ัด จะมี สี เหลื อ งอมส้ ม เป็ นพื ช มี เถา ปลู ก ได้ ท ั่ว ไปทั้ง ในเขตร้ อ นและเขตหนาว ในทางพฤกษศาสตร์ จัดอยู่ในสกุ ล Cucurbita วงศ์ Cucurbitaceae เป็ นพื ช ที่ มี ถิ่ นก าเนิ ดในทวีป อเมริ ก า และแพร่ กระจายไปทัวโลก ่ ลักษณะทำงพฤกษศำสตร์ ฟั ก ทองเป็ นไม้เถาเลื้ อ ยไปตามดิ น มี มื อ ส าหรั บ ยึ ด เกาะ ล าต้ น อวบน้ า ใบเดี่ ย วรู ป ห้ า เหลี่ ย ม มีขนทั้งสองด้าน ดอกสี เหลื องรู ปกระดิ่ ง ผลฟั กทองมีด้วยกันหลายลักษณะ บางครั้งเป็ นผลเกื อบกลมก็มี แต่โดยทัวไปเป็ นรู ปทรงกลมแป้ น ผิวขรุ ขระเล็กน้อย เมื่อยังดิบเนื้อค่อนข้างแข็ง ่ ั ่ ฟักทองแบ่งเป็ นตระกูลหลักสองตระกูลคือ ตระกูลฟั กทองอเมริ กน (pumpkin) ขนาดผลใหญ่ เนื้ อยุย กั บ ต ร ะ กู ล ส ค ว อ ช (Squash) ไ ด้ แ ก่ ฟั ก ท อ งไ ท ย แ ล ะ ฟั ก ท อ ง ญี่ ปุ่ น เป ลื อ ก แ ข็ ง เนื้ อ แ น่ น ฟั ก ทองไทยมี ห ลายสายพัน ธุ์ เช่ น คางคกด า คางคกลาย ศรี เมื อ ง ข้ อ งปลา สี ส้ ม รู ป ร่ า งกลมแป้ น ผิว ขรุ ข ระเล็ ก น้ อ ย ดิ บ เปลื อ กสี เขี ย วเข้ม เมื่ อ สุ ก จึ ง เป็ นสี เหลื อ งอมส้ ม ฟั ก ทองญี่ ปุ่ น หรื อ กะโบะชะ
  • 11. (Kabocha) อยู่ในตระกูล สควอช (Squash) เช่ นเดี ย วกับ ฟั ก ทองไทย ผลเป็ นทรงกลมขนาดเล็ ก เนื้ อแน่ น รสหวานมัน ประโยชน์ ของฟักทอง หนึ่ งในพืชสี เหลื องที่ เรามักจะเห็ นคนนามาประกอบอาหารอยู่บ่อย ๆ ก็คือ "ฟั กทอง" นั่นเอง เพราะ "ฟั ก ท อ ง" ส าม าร ถ ป ระ ก อ บ อ าห าร ค าว -ห ว าน ไ ด้ ส ารพั ด เม นู จึ งไม่ แ ป ล ก ที่ "ฟั ก ท อ ง" จะเป็ นอาหารจานโปรดของใครหลายคน ฟั กทอง เป็ นพื ช ตระกู ล มะระ ชนิ ดไม้ เถาขนาดใหญ่ ผิ ว มี ล ัก ษณะขรุ ข ระ เนื้ อในสี เหลื อ งนิ่ ม มี เมล็ ด สี ขาวแบน ๆ ติ ด อยู่ ซึ่ งแต่ ล ะส่ วนของ "ฟั ก ทอง" มีสรรพคุณทางมากมาย คือ 5 - เนื้ อ ฟั ก ท อ ง มี วิ ต า มิ น เอ สู ง ร ว ม ทั้ ง ฟ อ ส ฟ อ รั ส แ ค ล เซี ย ม วิ ต า มิ น ซี แ ป้ ง แ ล ะ ที่ จ ะ ลื ม ไ ป ไ ม่ ไ ด้ เ ล ย ก็ คื อ "เ บ ต้ า แ ค โ ร ที น " ซึ่ งเป็ นสารต้า นอนุ มู ล อิ ส ระอยู่ ใ นเนื้ อสี เหลื อ งของฟั ก ทอง สามารถช่ ว ยลดการเกิ ด มะเร็ ง โรคห ล อด เลื อ ดหั วใจ แล ะ โรคหั วใจได้ แถ ม เบ ต้ า แคโรที น ยั ง ช่ วยต้ า น ค วาม ช รา ป้ องกันโรคผิวหนัง บรรเทาอาการปวดเมื่อยของข้อเข่า และบั้นเอวได้เป็ นอย่างดี - เป ลื อ ก ฟั ก ท อ ง มี ฤ ท ธิ์ ท า ง ย า ม า ก ม า ย ห า ก ท า น ฟั ก ท อ ง ทั้ ง เป ลื อ ก จะส ามารถกระตุ ้ น การหลั่ ง อิ น ซู ลิ นในร่ างกาย ซึ่ งช่ ว ยควบคุ ม ระดั บ น้ าตาลในเลื อ ด ป้ อ ง กั น ก า ร เกิ ด เบ า ห ว า น ค ว า ม ดั น โ ล หิ ต บ า รุ ง ตั บ บ า รุ ง ไ ต บ า รุ ง ด ว ง ต า และสร้างเซลล์ใหม่ทดแทนเซลล์ที่ตายไป ให้ทางานได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ - ใบอ่อน มีวตามินเอสู งเท่ากับเนื้อฟักทอง แต่มีแคลเซี ยมและฟอสฟอรัสสู งกว่าในเนื้อ ิ - ดอก มีวตามินเอ ธาตุแคลเซียมและฟอสฟอรัส มีวตามินซีเล็กน้อย ิ ิ - เมล็ ด ประกอบด้ว ยแป้ ง ฟอสฟอรั ส โปรตี น และวิ ต ามิ น รวมทั้ง สารที่ ชื่ อ ว่า "คิ ว เคอร์ บิ ติ น " (cucurbitine) ซึ่ งมี ฤ ทธิ์ ในการฆ่ า พยาธิ ต ัวตื ด ได้ดี และยัง ช่ ว ยขับ ปั ส สาวะ ป้ องกัน การเกิ ด นิ่ ว มะเร็ ง กระเพาะปั สสาวะ นอกจากนี้ น้ ามั น จากเมล็ ด ฟั กทองยัง ช่ ว ยบ ารุ งประสาทได้ ดี และยัง มี ก รดอะมิ โ นบางชนิ ด ที่ ช่ ว ยป้ องกั น ไม่ ใ ห้ ต่ อ มลู ก หมากของผู ้ช ายขยายใหญ่ ข้ ึ น ่ และช่วยปรับระดับฮอร์ โมนเพศชายที่ได้จากลูกอัณฑะให้อยูในระดับปกติ - ราก น้ ามาต้มน้ าใช้ดื่มแก้อาการไอได้ และยังช่วยบารุ งร่ างกาย ถอนพิษของฝิ่ นได้ - เยือกลางผล สามารถนามาพอกแผล แก้อาการฟกช้ า อาการปวด อักเสบได้ ่
  • 13. มั น เ ท ศ มี ถิ่ น ก า เ นิ ด เ ดิ ม อ ยู่ บ ริ เ ว ณ เ ข ต ร้ อ น ข อ ง ท วี ป อ เ ม ริ ก า ่ แต่มนเทศที่ปลูกกันอยูในปั จจุบนนักวิทยาศาสตร์ ไม่มีหลักฐานแน่นอนว่ามีววฒนาการมาจากพืชป่ าชนิ ดใด ั ั ิั อ ย่ า ง ไ ร ก็ ดี ม นุ ษ ย์ ก็ รู ้ จั ก ป ลู ก มั น เ ท ศ ม า น า น นั บ พั น ปี แ ล้ ว ในสมั ย โบราณนั้ นมั น เทศเป็ นอาหารหลั ก ของมนุ ษ ย์ส องเขต คื อ พวกอิ น เดี ย นในอเมริ กากลาง และบริ เวณเทือกเขาแอนดีส ประเทศเปรู พวกอินเดียนทั้งสองแหล่งนี้ ปลูกข้าวโพดเพื่อใช้เป็ นอาหารหลัก แ ล ะ ใ น ข ณ ะ เ ดี ย ว กั น ก็ ป ลู ก มั น เ ท ศ ด้ ว ย อี ก เ ข ต ห นึ่ ง คื อ ช น เผ่ า โ พ ลิ เน เชี ย น ที่ อ า ศั ย อ ยู่ บ น ห มู่ เก า ะ ต่ า ง ๆ ใ น ม ห า ส มุ ท ร แ ป ซิ ฟิ ก และตอนเหนื อ ของเกาะนิ ว ซี แ ลนด์ เชื่ อ กัน ว่ า มั น เทศที่ ช าวโพลิ เนเชี ย นปลู ก กั น ในสมั ย ก่ อ นนั้ น น า ม า จ า ก ท วี ป อ เ ม ริ ก า ใ น ค ริ ส ต์ ศ ต ว ร ร ษ ที่ ๑๖ หลัง จากชาวยุ โ รปค้น พบทวี ป อเมริ กา นั ก ส ารวจชาวสเปนได้ น ามั น เทศไปสู่ ประเทศสเปน จากประเทศสเปนก็แพร่ ต่อไปยังประเทศอื่นๆ ในยุโรป ท า ง ด้ า น เอ เชี ย ต้ น มั น เท ศ ก็ ถู ก น า ม า ยั ง อิ น เดี ย ฟิ ลิ ปิ น ส์ จี น แ ล ะ ญี่ ปุ่ น โ ด ย นั ก ส า ร ว จ ส เป น แ ล ะ โ ป ร ตุ เ ก ส สาหรับประเทศไทยไม่มีหลักฐานบันทึกว่าได้มีการนามันเทศเข้ามาปลูกในสมัยใดแต่เข้าใจกันว่า 7 มีผนามันเทศมาแพร่ หลายในราวสมัยกรุ งศรี อยุธยาเป็ นราชธานี* เพราะมีเรื อสาเภาไปมาค้าขายระ ู้ ่ หว่างประเทศจีน พวกจีนคงจะได้นาติดมือมา ตามนิสัยที่ไปอยูที่ไหนก็หาพันธุ์พืชไปปลูกบริ โภค ในปั จจุบนมันเทศปลูกกันทัวไปในประเทศไทย แต่ส่วนใหญ่แหล่งปลูกเป็ นจังหวัดในทางภาคกลาง ั ่ จังหวัดที่ปลูกมาก ได้แก่ นครศรี ธรรมราชพระนครศรี อยุธยา สงขลา นครปฐม เพชรบุรี เชียงใหม่ นครสวรรค์ ตรัง เลย และปทุมธานี ลักษณะทำงพฤกษศำสตร์ มัน เทศมี ชื่ อ ภาษาจี น ว่า "ฮวงกั้ว " ชาวพื้ น เมื อ งในอเมริ ก าใต้ เรี ย กมัน เทศว่า บาตาตาส์ ชาว ยุโรปได้เอาสาเนี ยงชาวพื้นเมืองไปใช้ และเพี้ยนไปเป็ น โพเตโต (potato) เนื่ องจากมันมี ๒ ชนิ ดด้วยกัน คื อ ช นิ ด ห ว า น แ ล ะ ไ ม่ ห ว า น ช นิ ด ห ว า น เรี ย ก ว่ า ส วี ท โ พ เต โ ต (sweet potato) คื อ มั น เ ท ศ นั่ น เ อ ง ส่ ว น ช นิ ด ไ ม่ ห ว า น เ รี ย ก ว่ า ไ อ ริ ช โ พ เ ต โ ต ( Irish potato) เร า เรี ย ก ว่ า มั น ฝ รั่ ง มั น เท ศ มี ชื่ อ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ว่ า อิ โ พ เมี ย บ า ต า ต า ร์ (Ipomoea batatas) และอยู่ ใ นวงศ์ ค อนโวลวู ล าเซี ย (Convolvulaceae) พื ช ที่ อ ยู่ ว งศ์ น้ ี จะพบมากในแถบเส้ น ศู น ย์สู ตร
  • 14. แ ล ะ ภ า ย ใ ต้ แ ถ บ ศู น ย์ สู ต ร มี ล า ต้ น เป็ น เถ า ห รื อ เป็ น พุ่ ม ตั้ ง ต ร ง แ ล ะ มี จ า น ว น น้ อ ย ที่ เป็ นประเภทไม้ยื น ต้น พื ช พวกนี้ อาจเจริ ญ ในที่ แ ห้ ง แล้ง ในน้ า และอาจเป็ นพวกตัว เบี ย น (parasite) โดยทัวไปแล้วเมื่อใบหรื อลาต้นเป็ นแผลพืชในวงศ์น้ ีจะให้น้ ายางสี ขาว ่ สกุลที่สาคัญที่สุดของวงศ์คอนโวลวูลาเซี ยคืออิโพเมีย ชนิด ่ ซึ่ งมีอยูประมาณ แต่มีมนเทศเป็ นพืชปลูกเพียงชนิดเดียวที่มีความสาคัญทางเศรษฐกิจ ั ๔๐๐ โดยทัวไปแล้ว ่ ่ สกุลอิโพเมีย เป็ นพืชที่มีเถาพันคดเคี้ยวไปมา หรื อเลื้อยราบไปบนพื้นดิน และมีจานวนน้อยที่เป็ นพุมตั้งตรง - ร า ก มั น เท ศ มี ร ะ บ บ ร า ก แ บ บ ร า ก ฝ อ ย ซึ่ ง เกิ ด จ า ก ข้ อ ข อ ง ล า ต้ น ที่ ใ ช้ ป ลู ก หรื อเกิดจากลาต้นที่ทอดไปตามพื้นดิน รากมันเทศจะเป็ นที่สะสมอาหารและใช้รับประทานได้ -ใ บ เ ป็ น แ บ บ ใ บ เ ดี่ ย ว เ กิ ด ส ลั บ กั น บ น ข้ อ ข อ ง ล า ต้ น มี ข น า ด แ ล ะ รู ป ร่ า ง ต่ า ง กั น ค ว า ม แ ต ก ต่ า ง ข อ ง ใ บ นั้ น มิ ใ ช่ เกิ ด จ า ก พั น ธุ์ เท่ า นั้ น แม้ แ ต่ ใ นต้ น เดี ย วกั น ก็ อ าจมี รู ป ร่ า งแตกต่ า งกั น ได้ บางใบมี ข อบใบเรี ยบ บางใบมี ใ บเป็ นแฉก แ ล ะ บ า ง ใ บ มี รู ป ร่ า ง ค ล้ า ย หั ว ใ จ เ ป็ น ต้ น ่ ่ ั ใบมีขนเล็กน้อยและมักจะมีสีม่วงอยูตามเส้นใบ ก้านใบอาจจะยาวหรื อสั้น ทั้งนี้ข้ ึนอยูกบพันธุ์น้ นๆ ั - ด อ ก มั น เ ท ศ ที่ ป ลู ก ใ น เ ข ต อ บ อุ่ น มั ก ไ ม่ อ อ ก ด อ ก ้ ส่ วนการปลูกในเขตร้อนจะออกดอก แต่มกไม่ติดเมล็ด ดอกเกิดตามมุมของใบ มีกานช่อดอก (peduncle) ั แข็ ง แรง ซึ่ งมั ก จะยาวกว่ า ก้ า นใบ ดอกมี กลี บ เลี้ ยง (sepal) ๕ กลี บ ซึ่ งโดยป กติ จ ะแยกเป็ น อิ ส ร ะ ซึ่ ง กั น แ ล ะ กั น ห รื อ อ า จ เ ชื่ อ ม ติ ด กั น ที่ โ ค น ก ลี บ ด อ ก ( petal) มี ๕กลีบ กลีบดอกเหล่านั้นจะเชื่อมติดกันเป็ นรู ปกรวย (corolla tube) มีลกษณะคล้ายดอกผักบุง กลีบดอกมี ั ้ 8 สี ชมพูปนม่วง มี เกสรตัวผู ้ (stamen) ๕ อัน และแยกเป็ นอิ สระซึ่ งกันและกัน ก้านชู อบเกสรตัวผูเ้ รี ยกว่า ั ่ ั ก้านอับเกสรมีความยาวไม่เท่ากัน และเชื่ อมติดอยูกบฐานของกลีบดอก รังไข่ มี ๒ ส่ วน บางดอกอาจจะมี ๔ ส่ วน แต่ ล ะส่ วนจะมี ไ ข่ ๑ หรื อ ๒ ที่ รั บ ละอองเกสรตัว ผู้ (stigma) มี ๒ แฉกอยู่ ที่ ก้ า น (style) เชื่อมติดกับรังไข่ - ผล มี เปลื อกแข็งหุ ้ม มี ล ัก ษณะเป็ นแคปซู ล (capsule) ภายในเปลื อกแข็ง มี เมล็ ดเล็ ก สี ดาค่ อนข้างแบน ด้ า น ห นึ่ ง ข อ ง เ ม ล็ ด เ รี ย บ ส่ ว น อี ก ด้ า น ห นึ่ ง เ ป็ น เ ห ลี่ ย ม ทางด้านเรี ยบจะเห็ นรอยที่เมล็ดติดกับผนังรังไข่เรี ยกว่า ไฮลัม (hilum) และมีรูเล็กๆ เรี ยกว่า ไมโครไพล์ (micropyle) เปลือกของเมล็ดค่อนข้างหนา และน้ าซึ มผ่านได้ยาก
  • 15. - หั ว มั น เ ท ศ ล ง หั ว ใ น ร ะ ดั บ ค ว า ม ลึ ก ไ ม่ เ กิ น ๙ นิ้ ว หั ว มัน เทศเกิ ด จากการขยายตัว ของราก ซึ่ งเนื้ อ เยื่ อ ภายในรากที่ เรี ย กว่า พาเรนไคมา (parenchyma) เป็ น ส่ วน ที่ ส ะส ม แป้ ง ราก ที่ ขยายตั ว เป็ น หั ว ขึ้ น มาอาจเกิ ดจาก ราก ของล าต้ น ที่ ใช้ ป ลู ก หรื อจากรากที่เกิดจากข้อของลาต้นที่เลื้อยไปตามดินก็ได้ ดังนั้นมันเทศต้นหนึ่งๆ อาจมีหวมากกว่า ๕๐ หัว ลักษณะหัวส่ วนมากมีรูปร่ างทรงกระบอก ด้านหัว ั ท้า ยเรี ย วตรงกลางป่ องออก สี ผิ ว ของหั ว และสี ของเนื้ อ อาจจะเป็ นสี แ ดง เหลื อ ง ขาว หรื อ สี นวล แตกต่างกันไปตามพันธุ์ ผิวอาจจะเรี ยบหรื อขรุ ขระและมักจะมีรากแขนงเกิดในร่ องของหัว หัวมันเทศนอก จากจะให้อาหารจาพวกแป้ งแล้ว ยังอุดมสมบูรณ์ ไปด้วยวิตามิน เอ (โดยเฉพาะหัวที่มีสีเหลือง) วิตามิน บี และ ซี อีกด้วย ประโยชน์ ของมันเทศ ่ มันเทศสี ม่วง เนื้ อมันเทศมีสีม่วงเข้ม เป็ นมันเทศที่มีสาร “แอนโทไซยานิ น” (Anthocyanin) อยูสูง ซึ่ งเป็ นสารที่ มี ฤ ทธิ์ ในการต่ อ ต้ า นอนุ มู ล อิ ส ระ มี ส่ วนช่ ว ยในการชะลอความเสื่ อมของเซลล์ ช่ ว ยลดอัต ราเสี่ ยงของการเกิ ด โรคหั ว ใจและเส้ น เลื อ ดอุ ด ตัน ได้ ช่ ว ยชะลอความเสื่ อมของดวงตา แ ล ะ พ บ ว่ า ส า ร ช นิ ด นี้ ช่ ว ย ยั บ ยั้ ง เชื้ อ อี โ ค ไ ล ซึ่ ง เป็ น ส า เห ตุ ข อ ง โ ร ค ท้ อ ง ร่ ว ง ในธรรมชาติ ผ ัก และผลไม้ ที่ มี ส ารแอนโทไซยานิ น มากมั ก จะสี ม่ ว ง เช่ น องุ่ น แดง บลู เบอรี่ ฯลฯ ส า ห รั บ พื ช หั ว จ ะ มี ม า ก ใ น หั ว มั น เ ท ศ เ นื้ อ สี ม่ ว ง โดยเฉพาะมันเทศเนื้ อสี ม่วงจากประเทศญี่ปุ่นได้มีการปรับปรุ งสายพันธุ์ได้เนื้อมันเทศที่มีสีม่วงเข้มตลอดทั้ง หั ว มั น เ ท ศ เป็ นแหล่งคาร์ โบไฮเดรตชั้นดีที่ให้พลังงานโดยไม่ก่อพิษต่อร่ างกายแบบอาหารแปรรู ปจากแป้ งและน้ าตาลแ บบอื่น ๆ ส่ วนใบและยอดอ่อนของมันเทศ (Sweet potato) สามารถนามาปรุ งเป็ นอาหารได้ และยังมีวตามินเอ ิ วิ ต า มิ น ซี ส า ร อ า ห า ร ลู ทิ น ( Lutein) ที่ ช่ ว ย บ า รุ ง ส า ย ต า ผั ด ย อ ด มั น เ ท ศ เ ป็ น อ า ห า ร ที่ ค น ม า เ ล เ ซี ย รั บ ป ร ะ ท า น กั น เ ป็ น ป ร ะ จ า ส่ วนมันเทศเนื้อสี ส้มมีสารเบต้าแคโรทีนสู ง ซึ่ งช่วยลดอัตราการกลายพันธ์ของเซลล์และ 9 ท าลายเซลล์ ม ะเร็ ง การน ายอดมัน เทศมาปรุ งอาหารพบว่ า มี ใ นประเทศญี่ ปุ่ น จี น และเกาหลี ด้ ว ย ท า ง ด้ า น คุ ณ ค่ า ท า ง โ ภ ช น า ก า ร ข อ ง มั น เ ท ศ มี สู ง ก ว่ า มั น ฝ รั่ ง ด้ ว ย ซ้ า ไ ป
  • 16. ในเนื้ อมั น เทศนอกจากจะมี ป ริ มาณ แป้ งสู งแล้ ว ยัง มี วิ ต ามิ น และแร่ ธาตุ ม าก มั น เทศเนื้ อสี ส้ ม จะมีสารเบต้าแคโรทีนสู งไม่แพ้แครอทและสาหร่ ายทะเล คุณค่ ำอำหำรของหัวมันเทศ และยอดอ่ อนเมื่อมีนำหนัก ๑๐๐ กรัม จะมีคุณค่ ำดังต่ อไปนี้ ้ - หัวยอดอ่อน น้ า ๗๐.๐๐ กรัม แคลอรี ๑๐๐.๐๐ กรัม ๘๕.๐๐ กรัม แป้ ง ๒๕.๐๐ กรัม ๙.๒๐ กรัม โปรตีน ๑.๗๐ กรัม ๓.๖๐ กรัม ไขมัน ๐.๓๐ กรัม ๐.๗๐ กรัม เถ้า ๑.๕๐ กรัม ๑.๐๐ กรัม ๔๘.๐๐ กรัม แคโรตีน ๒,๐๐๐-๕,๐๐๐ หน่วย ๖,๐๐๐ หน่วย - ในเนือหัวสี เหลือง ้ วิตามินบี ๑ ๐.๑๐ มิลลิกรัม ๐.๑๒ มิลลิกรัม ไรโบฟลาวิน ๐.๐๕ มิลลิกรัม ๐.๒๔ มิลลิกรัม ไนอาซีน ๐.๗๐ มิลลิกรัม ๐.๐๙ มิลลิกรัม วิตามินซี ๒๕.๐๐ มิลลิกรัม ๒๗.๐๐ มิลลิกรัม ่ คุณค่าทางอาหาร ซึ่ งเปรี ยบเทียบระหว่างหัวและยอดอ่อนแล้ว จะเห็นได้วายอดอ่อนนั้นมีคุณค่า ทางอาหารมากกว่าหัวเกือบทุกรายการ ยกเว้นปริ มาณแป้ ง และแคลอรี ของแรงงานที่ให้ ดังนั้นจึงใช้รับประทาน เป็ นผักหรื อเลี้ยงสัตว์ได้เป็ นอย่างดี ประโยชน์ ทได้ จำกหัวมันเทศ อำจจำแนกได้ ดังนี้ ี่ ๑. ใช้ทาเป็ นของคาว เช่น แกงเลียง แกงคัว แกงกะหรี่ และแกงมัสมัน เป็ นต้น ่ ่ ๒. ใช้ทาเป็ นของหวาน เช่น แกงบวดมันทอดรังนก ฉาบ เชื่อม กวน ต้มน้ าตาลและมันปิ้ ง เป็ นต้น ๓. ใช้ในอุตสาหกรรมการกลันสุ รา ่ ๔. ใช้เลี้ยงสัตว์โดยเฉพาะสุ กร ให้มนเทศอย่างเดียวหรื อผสมกับอาหารอื่นก็ได้ ั 10 เตยหอม
  • 17. ่ ่ เตยหอม ชื่อวิทยาศาสตร์ : Pandanus amaryllifolius เป็ นไม้ยนต้นพุมเล็ก ขึ้นเป็ นกอ ลาต้นอยูใต้ดิน ื ใบเป็ นใบเดี่ยว เรี ยงสลับเวียนเป็ นเกลียวขึ้นไปจนถึงยอด ใบเป็ นทางยาว สี เข้ม ค่อนข้างแข็ง เป็ นมัน ขอบใบเรี ยบ ในใบมีกลิ่นหอมจากน้ ามันหอมระเหย Fragrant Screw Pine สี เขียวจากใบเป็ นสี ของคลอโรฟิ ลล์ ใช้แต่งสี ขนมได้ กำรใช้ ประโยชน์ ในบังกลาเทศเรี ยกว่า ketaki ใช้เพิ่มกลิ่นหอมของ ข้ าวพิลาฟ หรื อข้าวปุเลา บิรยานี และพุดดิ้งมะพร้าว payesh ในอินโดนีเซียเรี ยก pandan wangi พม่าเรี ยก soon-mhway ในศรี ลงกาเรี ยก ั rampe ใบใช้ได้ท้ งใบสดและใบแห้ง และมีขายในรู ปใบแช่แข็งในประเทศที่ปลูกไม่ได้ ั ใช้ปรุ งกลิ่นในอาหารของหลายประเทศเช่น อินโดนี เซี ย สิ งคโปร์ ฟิ ลิปปิ นส์ มาเลเซี ย ไทย บังกลาเทศ เวียดนาม จีน ศรี ลงกา และพม่า โดยเฉพาะข้าวและขนม ั การใช้มีท้ งนาไปขยากับกะทิ ใส่ ในภาชนะหุ งต้ม ั ไก่ใบเตยจะเป็ นการนาใบเตยมาห่อไก่แล้วนาไปทอด ใช้แต่งกลิ่นเค้กใบเตย และของหวานอื่นๆ ในฟิ ลิปปิ นส์ใช้เตยหอมแต่งกลิ่นในสลัดที่เรี ยก buko pandan กำรจำแนกชั้นทำงวิทยำศำสตร์ อาณาจักร: อันดับ: วงศ์: สกุล: ชนิด: Plantae Pandanales Pandanaceae Pandanus P. amaryllifolius 11 สรรพคุณของเตยหอม
  • 18. ต้น ราก ยาขับปั สสาวะ ใบสด น้ าใบเตย บารุ งหัวใจใบสดไม่จากัด ผสมในอาหาร หรื อนามาคั้นน้ ารับประทาน ครั้งละ 2 – 4 ช้อนแกง ใช้ใบสดตา คั้นเอาน้ า จะได้น้ าสี เขียวมาผสมอาหาร แต่งกลิ่น แต่งสี ขนม หรื อใช้ในรู ปของใบชา ชงกับน้ าร้อน หรื อใช้ใบสดต้มกับน้ าจนเดือด เติมน้ าตาลเล็กน้อยใช้ดื่มเป็ นประจาใบเตยหอมใช้แต่งสี และกลิ่นเครื่ องดื่ม ขนมหวาน และอาหารหลายชนิดคุณค่าทางโภชนาการ ใบเตยสด มีน้ ามันหอมระเหย รสหวาน หอม มัน และมีสีเขียวที่นิยมใช้แต่งสี อาหาร เป็ นสารคอโรฟิ ลด์ใช้เป็ นยา ใบสดต้มกับน้ าดื่ม ลดอาการกระหายน้ า บารุ งหัวใจ ทาให้ชุ่มชื่ น ต้นและรากเป็ นยาขับปั สสาวะ รักษาโรคเบาหวาน และแก้กระษัยน้ าเบาพิการ โรคเบาหวาน : นาส่ วนต้นและราก ต้มกับเนื้อหรื อใบไม้สักจะช่วยรักษาโรคเบาหวาน โรคหัด โรคผิวหนัง : ใช้ใบสดตาพอก วิธีกำรทำตัวแปงโตเกียว ้ 1. โดยนาแป้ งเค้ก ผงฟู เบคกิ้งโซดา และเกลือป่ น ร่ อนรวมกันซัก 2 รอบ ั 2. ตีไข่กบน้ าตาลในชามให้ข้ ึนฟู 3. ใส่ แป้ งที่ร่อนแล้วลงไป ตามด้วยนมสด คนให้เข้ากัน 4. ใช้กระทะแบนทาน้ ามันบางๆ ตั้งไฟอ่อนๆ พอกระทะร้อน คนแป้ งก่อนตัก หยอดแป้ งลงกระทะให้กลมขนาด 3 นิ้ว พอแป้ งสุ กใส่ ไส้พบม้วนแซะขึ้นใส่ จาน ั ส่ วนผสมของตัวแปง ้ 1.แป้ งเค้ก 1 1/4 ถ้วย 2.ผงฟู 1 ช้อนชา 3.เบคกิ้งโซดา 1/4ช้อนชา 4.ไข่ไก่ 2 ฟอง 5.น้ าตาลทราย 6 ช้อนโต๊ะ 6.เกลือป่ น 1/4 ช้อนชา 7.นมสด 1 ถ้วย 12 บทที่ 3
  • 19. วิธีกำรดำเนินกำร วัสดุ – อุปกรณ์ 1. แป้ งเค้ก 2. ผงฟู 3. เบคกิ้งโซดา 4. ไข่ไก่ 5. น้ าตาลทราย 6. เกลือป่ น 7. นมสด 8. น้ าฟักทองสด 9. น้ ามันเทศสด 10. น้ าเตยหอม จานวน จานวน จานวน จานวน จานวน จานวน จานวน จานวน จานวน จานวน 1 1/4 ถ้วย 1 ช้อนชา 1/4ช้อนชา 2 ฟอง 6 ช้อนโต๊ะ 1/4 ช้อนชา 1 ถ้วย 1 ถ้วย 1 ถ้วย 1 ถ้วย วิธีกำรดำเนินกำร ตอนที่ 1 กำรทำแปงโตเกียวสู ตรฟักทอง ้ 1.โดยนาแป้ งเค้ก จานวน 1 1/4 ถ้วย ผงฟู จานวน 1 ช้อนชา เบคกิ้งโซดา จานวน 1/4ช้อนชาและเกลือป่ น จานวน 1/4 ช้อนชา ร่ อนรวมกัน 2 รอบ 2. ตีไข่ จานวน 2 ฟอง กับน้ าตาล จานวน 6 ช้อนโต๊ะ ในชามให้ข้ ึนฟู 3. ใส่ แป้ งที่ร่อนแล้วลงไป ตามด้วยนมสด จานวน1 ถ้วย คนให้เข้ากัน 4. การทาน้ าฟักทอง 4.1 ปอกเปลือกฟักทอง ½ ลูก หันเป็ นชิ้นล็กๆ ่ 4.2 นาฟักทองที่หนแล้วจานวน ½ ลูกไปนึ่งให้สุก ั 4.3 นาฟักทองที่นึงแล้วใส่ เครื่ องปั่ นเติมน้ า จานวน 500 มิลิลิตร ปั่ นให้ละเอียด 4.4 นาฟักทองที่ปั่นแล้วไปตั้งไฟ เติมน้ าตาลทราย เกลือป่ น อย่างละ 100 กรัม 4.5 กรองด้วยผ้าขาวบางใส่ หม้อตั้งไฟพอเดือด ยกลงจากเตาจะได้น้ าฟักทองสี เหลือง ที่มีรสหวาน 5.นาแป้ งที่ร่อนไว้เมื่อใส่ นมสดแล้วตามด้วยน้ าฟักทอง จานวน 1 ถ้วยและคนให้เข้ากันอีกครั้ง 6.ใช้กระทะแบนทาน้ ามันบางๆ ตั้งไฟอ่อนๆ พอกระทะร้อนที่อุณหภูมิ 200 องศาเซลเซียส คนแป้ งก่อนตัก หยอดแป้ งลงกระทะให้กลมขนาด 3 นิ้ว พอแป้ งสุ กใส่ ไส้พบม้วนแซะขึ้นใส่ จาน ั 7.ปริ มาณวิตามินซี ในแป้ งโตเกียวละบันทึกผลการทดลอง 13 ตอนที่ 2 กำรทำแปงโตเกียวสู ตรมันเทศ ้
  • 20. 1.โดยนาแป้ งเค้ก จานวน 1 1/4 ถ้วย ผงฟู จานวน 1 ช้อนชา เบคกิ้งโซดา จานวน 1/4ช้อนชาและเกลือป่ น จานวน 1/4 ช้อนชา ร่ อนรวมกัน 2 รอบ 2. ตีไข่ จานวน 2 ฟอง กับน้ าตาล จานวน 6 ช้อนโต๊ะ ในชามให้ข้ ึนฟู 3. ใส่ แป้ งที่ร่อนแล้วลงไป ตามด้วยนมสด จานวน1 ถ้วย คนให้เข้ากัน 4. การทาน้ ามันเทศ 4.1 ปอกเปลือกมันเทศ ½ ลูก หันเป็ นชิ้นล็กๆ ่ 4.2 นามันเทศที่หนแล้วจานวน ½ ลูกไปนึ่งให้สุก ั 4.3 นามันเทศที่นึงแล้วใส่ เครื่ องปั่ นเติมน้ า จานวน 500 มิลิลิตร ปั่ นให้ละเอียด 4.4 นามันเทศที่ปั่นแล้วไปตั้งไฟ เติมน้ าตาลทราย เกลือป่ น อย่างละ 100 กรัม 4.5 กรองด้วยผ้าขาวบางใส่ หม้อตั้งไฟพอเดือด ยกลงจากเตาจะได้น้ ามันเทศสี ม่วง ที่มีรสหวาน 5.นาแป้ งที่ร่อนไว้เมื่อใส่ นมสดแล้วตามด้วยน้ ามันเทศ จานวน 1 ถ้วยและคนให้เข้ากันอีกครั้ง 6.ใช้กระทะแบนทาน้ ามันบางๆ ตั้งไฟอ่อนๆ พอกระทะร้อนที่อุณหภูมิ 200 องศาเซลเซียส คนแป้ งก่อนตัก หยอดแป้ งลงกระทะให้กลมขนาด 3 นิ้ว พอแป้ งสุ กใส่ ไส้พบม้วนแซะขึ้นใส่ จาน ั 7.ปริ มาณวิตามินซี ในแป้ งโตเกียวละบันทึกผลการทดลอง ตอนที่ 3 กำรทำแปงโตเกียวสู ตรใบเตย ้ 1.โดยนาแป้ งเค้ก จานวน 1 1/4 ถ้วย ผงฟู จานวน 1 ช้อนชา เบคกิ้งโซดา จานวน 1/4ช้อนชาและเกลือป่ น จานวน 1/4 ช้อนชา ร่ อนรวมกัน 2 รอบ 2. ตีไข่ จานวน 2 ฟอง กับน้ าตาล จานวน 6 ช้อนโต๊ะ ในชามให้ข้ ึนฟู 3. ใส่ แป้ งที่ร่อนแล้วลงไป ตามด้วยนมสด จานวน1 ถ้วย คนให้เข้ากัน 4. การทาน้ าใบเตย 4.1 นาน้ าเปล่าตั้งไฟจนเดือด 4.2 นามัดใบเตยจานวน 10 ใบ มัดรวมกันใส่ ในน้ าเดือดประมาณ 10 นาที แล้วนาใบเตยออก 4.3 ยกหม้อลงจากเตาจะได้น้ าใบเตยสี เขียวอ่อน ที่มีรสหวาน 5.นาแป้ งที่ร่อนไว้เมื่อใส่ นมสดแล้วตามด้วยน้ าใบเตย จานวน 1 ถ้วยและคนให้เข้ากันอีกครั้ง 6.ใช้กระทะแบนทาน้ ามันบางๆ ตั้งไฟอ่อนๆ พอกระทะร้อนที่อุณหภูมิ 200 องศาเซลเซียส คนแป้ งก่อนตัก หยอดแป้ งลงกระทะให้กลมขนาด 3 นิ้ว พอแป้ งสุ กใส่ ไส้พบม้วนแซะขึ้นใส่ จาน ั 7.ปริ มาณวิตามินซี ในแป้ งโตเกียวละบันทึกผลการทดลอง 14 บทที่ 4
  • 21. ผลกำรทดลอง ตารางที่ 1 ตารางแสดงผลการศึกษาปริ มาณความร้อนที่ 200 องศาเซลเซียส ที่มีผลต่อปริ มาณวิตามินซี ในแป้ งโตเกียวสู ตรฟักทอง มันเทศ และใบเตย สู ตรแป้ งโตเกียว ปริ มาณวิตามินซี ในแป้ งโตเกียว (mg) สู ตรฟักทอง 12.23 สู ตรมันเทศ 9.35 สู ตรใบเตย 15.48 15 บทที่ 5
  • 22. อภิปรำยและสรุปผลกำรศึกษำ สรุปผลกำรศึกษำ จากผลการทดลอง พบว่า แป้ งสู ตรใบเตยมีปริ มาณวิตามินซีมากที่สุด รองลงมา คือ แป้ งสู ตรฟักทอง และ แป้ งสู ตรมันเทศมีปริ มาณวิตามินซีนอยที่สุด ้ อภิปรำย ่ จากการทดสอบจะเห็นได้วา แป้ งโตเกียวสู ตรต่างๆที่เราทาเอง มีปริ มาณวิตามินซีมากกว่าแป้ งตามท้องตลาดทัวไป ่ ข้ อเสนอแนะ 1.สามารถนาโตเกียวที่ได้แต่ละสู ตรมารับประทานได้ ั 2.นาผลที่ได้ไปเผยแพร่ ให้กบน้องๆที่ตองการทาการทดลอง ้ ประโยชน์ 1.ได้ฝึกกระบวนการขั้นตอนการทดลอง 2.สามารถนาแป้ งโตเกียวแต่ละสู ตรมารับประทานได้ 16
  • 25. ั ภาพที่ 3 ตีไข่กบแป้ งให้เข้ากัน ภาพที่ 4 นาใบเตย ฟักทอง มันเทศ ไปผสมกับแป้ ง
  • 26. ภาพที่ 5 นาแป้ งที่ผสมกับใบเตย ฟักทอง มันเทศ ไปใส่ กระทะที่ต้ งไว้ ั ภาพที่6 ได้โตเกียวที่เสร็ จสมบูรณ์