SlideShare a Scribd company logo
1 of 24
โครงงานคอมพิวเตอร์
เรื่อง ถั่วกวนอบควันเทียน
โดย
1. นายพฤศพล มนต์ประสิทธิ์ เลขที่ 2
2. นายกิตติภัต เวง เลขที่ 9
3. นายสพล ตั้งทรงเจริญ เลขที่ 10
4. นายนิธิวัฒน์ ลาใย เลขที่ 12
5. นายเตวิช โชติช่วง เลขที่ 13
6. นายภูวดล อ้นถาวร เลขที่ 14
7. นายอนรรฆวี แซ่ตัน เลขที่ 15
8. นายเตชินท์ มะเมียเมือง เลขที่ 16
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 5/1
รายงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของโครงงานการงานอาชีพและเทคโนโลยี
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2559
โรงเรียนอัสสัมชัญระยอง
โครงงานคอมพิวเตอร์
เรื่อง ถั่วกวนอบควันเทียน
โดย
1. นายพฤศพล มนต์ประสิทธิ์ เลขที่ 2
2. นายกิตติภัต เวง เลขที่ 9
3. นายสพล ตั้งทรงเจริญ เลขที่ 10
4. นายนิธิวัฒน์ ลาใย เลขที่ 12
5. นายเตวิช โชติช่วง เลขที่ 13
6. นายภูวดล อ้นถาวร เลขที่ 14
7. นายอนรรฆวี แซ่ตัน เลขที่ 15
8. นายเตชินท์ มะเมียเมือง เลขที่ 16
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 5/1
รายงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของโครงงานการงานอาชีพและเทคโนโลยี
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2559
โรงเรียนอัสสัมชัญระยอง
ชื่อโครงงาน เรื่องถั่วกวนอบควันเทียน
ชื่อผู้ทาโครงงาน 1. นายพฤศพล มนต์ประสิทธิ์ เลขที่ 2
2. นายกิตติภัต เวง เลขที่ 9
3. นายสพล ตั้งทรงเจริญ เลขที่ 10
4. นายนิธิวัฒน์ ลาใย เลขที่ 12
5. นายเตวิช โชติช่วง เลขที่ 13
6. นายภูวดล อ้นถาวร เลขที่ 14
7. นายอนรรฆวี แซ่ตัน เลขที่ 15
8. นายเตชินท์ มะเมียเมือง เลขที่ 16
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/1
ชื่อที่ปรึกษาโครงงาน มิสเขมจิรา ปลงไสว
ปีการศึกษา 2559
ก
บทคัดย่อ
ก า ร จั ด ท า โ ค ร ง ง า น นี้ มี วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค์ เพื่ อ ใ ห้ ค ว า ม รู้ แ ก่ ผู้ ที่ ส น ใ จ
ห รื อ ป ร ะ ส ง ค์ ที่ จ ะ ใ ช้ เ ว ล า ว่ า ง ใ ห้ เ กิ ด ป ร ะ โ ย ช น์
โดยการนาวัสดุตามท้องตลาดที่สามารถหาได้ง่ายมาทาเป็นผลิตภัณฑ์โดยสร้างเว็บไซต์ในการเผยแพร่นาเสนอใ
ห้ความรู้
ผลการจัดทาโครงงานพบว่า ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากวัตถุดิบท้องถิ่นนั้นมีความน่าสนใจ
แ ล ะ ก่ อ ใ ห้ เ กิ ด ค ว า ม เ พ ลิ ด เ พ ลิ น
คณะผู้จัดทาได้ทาการดาเนินงานตามขั้นตอนที่ได้วางแผนไว้และได้นาเสนอเผยแพร่ผลงานผ่านเครือข่ายระบบ
อินเตอร์เน็ตที่สามารถเข้าถึงได้ตลอดเวลาและทุกสถานที่เป็นแหล่งเรียนรู้ในโลกออนไลน์และมีความรวดเร็วใน
การรับข้อมูลบุคคลทั่วไปสามารถเข้ารับชมได้เป็นเว็บไซต์ที่มีประโยชน์เนื่องจากมีตัวอย่างและวิธีการทาพร้อม
ที่สามารถนาไปทาตามได้
ข
กิตติกรรมประกาศ
โครงงานนี้เกิดจากการดาเนินงานที่ประกอบด้วยหลายขั้นตอน ตั้งแต่การศึกษาหาข้อมูล การลงมือทา
ก า ร ท า รู ป เ ล่ ม จ น ก ร ะ ทั่ ง ก า ร น า เ ส น อ
ในการทางานดังกล่าวพวกข้าพเจ้าได้รับคาแนะนาและแนวทางในการทางานจากบุคคลต่างๆหลายท่าน
ตลอ ดจ น ได้รับ กา ลั งใจ จ า กเพื่ อน ๆใน กลุ่ม จึงทา ให้ โค รงงา น นี้ สา เร็จ ลุล่ วงไป ด้วย ดี
คณะผู้จัดทาจึงขอขอบคุณท่านผู้ใหญ่ทั้งหลายมา ณ โอกาสนี้
กราบขอบคุณมิสเขมจิราที่ให้แนวทางในการดาเนินการไม่ว่าจะเป็นการสร้างเว็บ
การจัดรูปแบบรายงาน วิธีการแก้ปัญหาต่างๆ ตลอดจนคาแนะนาที่ทาให้โครงงานนี้สาเร็จลุล่วงไปด้วยดี
สุดท้ายนี้ขอขอบพระคุณพ่อและแม่ที่มีความกรุณาสละเวลามาช่วยงานและรับส่งไปยังที่ทางานต่า งๆ
คณะผู้จัดทาขอขอบพระคุณอย่างสูง
คณะผู้จัดทา
ค
สารบัญ
บทคัดย่อ ข
กิตติกรรมประกาศ ค
สารบัญ ง
สารบัญรูปภาพ จ
บทที่
1. บทนา 1
ที่มาและความสาคัญ 1
วัตถุประสงค์ 1
สมมุติฐาน 1
ขอบเขตการศึกษา 1
2. เอกสารที่เกี่ยวข้อง 2
ขนมไทย 2
ข้อมูลทั่วไปของถั่วเขียว 3
ถั่วกวน 10
3. วิธีดาเนินการศึกษา 12
วัตถุดิบ 12
วิธีทา 12
4. ผลการดาเนินงาน 13
ผลการพัฒนาโครงงาน 13
ตัวอย่างโครงงาน 13
5. สรุปผลการดาเนินงานและข้อเสนอแนะ 15
การดาเนินงานจัดทาโครงงาน 15
สรุปผลการดาเนินงานโครงงาน 15
ข้อเสนอแนะ 15
บรรณานุกรม 16
ง
สารบัญภาพ
รูปที่ 1 ต้นถั่วเขียว 3
รูปที่ 2 ฝักถั่วเขียว 4
รูปที่ 3 ถั่วเขียวผิวดา 5
รูปที่ 4 เพลี้ยอ่อน 10
รูปที่ 5 ถั่วกวน 11
รูปที่ 6 บล็อก Beansnack 13
รูปที่ 7 บล็อก Beansnack 14
รูปที่ 8 บล็อก Beansnack 15
จ
บทที่ 1
บทนา
ที่มาและความสาคัญ
ในปัจจุบันเศรษฐกิจของประเทศไทยนั้นเริ่มเติบโตมากขึ้นและมีการใช้เทคโนโลยีในโรงงานมากขึ้นซึ่งก
ารนาเทคโนโลยีเข้ามาใช้แทนแรงงานคนนั้นจึงทาให้ประชากรจานวนมากที่ต้องตกงานและขาดรายได้ไม่มีเงินป
ระทั้งชีวิตทางคณะผู้จัดทาจึงเล็งเห็นความสาคัญของจุดประสงค์ต่างๆนี้จึงได้จัดทาบล็อกขึ้นมาเพื่อเป็นแนวทา
งในการเลือกทาสิ่งที่คุ้มค่าสาหรับเวลาที่เสียไปโดยเลือกวัตถุดิบที่หาได้ง่ายตามท้องตลาดและประหยัดค่าใช้จ่า
ยนามาทาผลิตภัณฑ์ที่มีประโยชน์
และผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่าผู้ใช้จะได้ประโยชน์จากเว็บบล็อกนี้ไม่มากก็น้อย
วัตถุประสงค์
1. เพื่อเพิ่มรายได้ให้แก่ผู้ยากไร้
2. เพื่อใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
สมมติฐาน
วัตถุดิบที่สามารถหาได้ตามท้องตลาดนั้นสามารถเพิ่มรายได้ได้หรือไม่
ขอบเขตการศึกษา
สร้างเว็บไซต์เผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับการทาถั่วกวนอบควันเทียนที่มีวัตถุดิบจามท้องถิ่นโดยจัดทาในบล็
อกเกอร์ในการสร้างเว็บไซต์และใช้โปรแกรมMicrosoft Office 2010และPhotoshop Cs 6
ในการตกแต่งและจัดเรียงเว็บไซต์ให้สวยงามและน่าสนใจ
1
บทที่ 2
เอกสารที่เกี่ยวข้อง
ในการจัดทาโครงงานคอมพิวเตอร์ พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา เว็บไซต์
การทาถั่วกวนอบควันเทียนจากวัตถุดิบท้องถิ่นให้ความรู้เกี่ยวกับการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
คณะผู้จัดทาได้ศึกษาข้อมูล เอกสารที่เกี่ยวข้อง
ดังนี้
2.1 ขนมไทย
2.2 ข้อมูลทั่วไปของถั่วเขียว
2.3 ถั่วกวน
2.1 ขนมไทย
2.1.1 ประวัติขนมไทย
ขนมจัดเป็นอาหารที่คู่สารับกับข้าวไทยมาตั้งแต่ครั้งโบราณ โดยใช้คาว่าสารับกับข้าวคาว-หวาน
โดยทั่วไปประชาชนจะทาขนมเฉพาะในงานเลี้ยง นับตั้งแต่การทาบุญเลี้ยงพระ งานมงคลและงานพิธีการ
อาหารหวานที่จัดเป็นสารับจะต้องประกอบด้วย ของหวานอย่างน้อย 5 สิ่ง ซึ่งต้องเลือกให้มีรสชาติ สีสัน ชนิด
ตลอดจนลักษณะที่กลมกลืนกัน แต่ละสารับจะต้องมีผลไม้ 10 ที่ และขนมเป็นน้า 1
ที่เสมอประเทศไทยครั้งยังเป็นสยามประเทศได้ติดต่อค้าขายกับชาวต่างชาติ เช่น จีน อินเดีย
มาตั้งแต่สมัยสุโขทัยโดยส่งเสริมการขายสินค้าซึ่งกันและกัน
ตลอดจนแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมด้านอาหารการกินร่วมไปด้วยต่อมาในสมัยอยุธยาและรัตนโกสินทร์
ได้มีการเจริญสัมพันธไมตรีกับประเทศต่าง ๆ อย่างกว้างขวางไทยได้รับเอาวัฒนธรรมด้านอาหารของชาติต่าง ๆ
มาดัดแปลงให้เหมาะสมกับสภาพท้องถิ่น วัตถุดิบที่หาได้ เครื่องมือเครื่องใช้ ตลอดจนการบริโภคนิสัยแบบไทย
ๆ จนทาให้คนรุ่นหลัง ๆ แยกไม่ออกว่าอะไรคือขนมที่เป็นไทยแท้ ๆ
และอะไรดัดแปลงมาจากวัฒนธรรมของชาติอื่น เช่น ขนมที่ใช้ไข่และขนมที่ต้องเข้าเตาอบ
ซึ่งเข้ามาในรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราชจากคุณท้าวทองกีบม้าภรรยาเชื้อชาติญี่ปุ่น
สัญชาติโปรตุเกสของเจ้าพระยาวิชเยนทร์ ผู้เป็นกงศุลประจาประเทศไทยในสมัยนั้น ไทยมิใช่เพียงรับทองหยิบ
2
ทองหยอด และฝอยทองมาเท่านั้น หากยังให้ความสาคัญกับขนมเหล่านี้โดยใช้เป็นขนมมงคลอีกด้วย
ส่วนใหญ่ตารับขนมที่ใส่มักเป็น “ของเทศ” เช่น ทองหยิบ ฝอยทอง ทองหยอดจากโปรตุเกส
มัสกอดจากสกอตต์ ขนมไทย เป็นเอกลักษณ์ด้านวัฒนธรรมประจาชาติไทยอย่างหนึ่งที่เป็นที่รู้จักกันดี
เพราะเป็นสิ่งที่แสดงให้เห็นถึงความละเอียดอ่อนประณีตในการทา
2.2 ข้อมูลทั่วไปของถั่วเขียว
ถั่วเขียว (Mungbean) จัดเป็นพืชไร่ที่นา ส่วนของเมล็ดมา ใช้ประ โยชน์ในหลา ยด้า น
ไม่ว่าจะเป็นการนามาประกอบอาหารหรือของหวาน การแปรรูปเป็นวุ้นเส้น การเพาะเป็นถั่วงอก
การนาไปผสมอาหารสัตว์ เป็นต้น ซึ่งปัจจุบันมีการปลูกมากในพื้นที่ต่างๆ ทั้งส่งเข้าโรงงานแปรรูป
ส่งออกต่างประเทศ และนามาจาหน่ายบริโภค
2.2.1 ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
ราก ถั่วเขียวมีรากเป็นระบบรากแก้ว (Tap Root System) เหมือนกับถั่วเหลือง และมีรากแขนง
(lateral root) เจริญแตกออกมาจากรากแก้ว รากของถั่วเขียวมักยั่งลึก และรากแขนงเยอะ
ทาให้ถั่วเขียวเติบโตได้เร็วดินที่มีความชื้น บริเวณรากมักจะพบปมของเชื้อแบคทีเรียไรโซเบียม (Rizobium
spp.) ทาหน้าที่ช่วยตรึงไนโตรเจน
ลาต้นถั่วเขียวเป็นพืชล้มลุก มีลักษณะลาต้นตั้งตรง แตกกิ่งก้านเป็นพุ่ม ความสูงทรงพุ่มประมาณ 30-
150 เซ น ติ เม ต ร ซึ่ ง ขึ้ น อ ยู่ กั บ พั น ธุ์ ล า ต้ น เป็ น เห ลี่ ย ม มี ข น อ่ อ น ป ก ค ลุ ม ทั้ ง นี้
ถั่วเขียวบางสายพันธุ์อาจมีลักษณะลาต้นเลื้อย
ใบ ใบเลี้ยง (Cotyledon) เป็นใบแรกหลังการงอก ส่วนใบจริงคู่แรก (Unifoliate Leaves) ที่มี 2 ใบ
เป็นใบที่เกิดจากใบเลี้ยง เมื่อโตสักระยะจะเป็นใบประกอบ 3 ใบ (Trifloliate Leaves) เกิดสลับบนต้น
3
รูปที่ 1ต้นถั่วเขียว
และใบหนึ่งๆจะประกอบด้วยใบย่อย (Leaflet) จานวน 3 ใบ ก้านใบ (Petiole) บริเวณฐานมีหูใบ (Stipule) 2
อัน
ดอกมีลักษณะเป็นช่อ (Inflorescence) เกิดขึ้นบริเวณมุมใบด้านบนบริเวณปลายยอด และกิ่งก้าน
ช่อดอกประกอบด้วยก้านดอก (Peduncle) ยาว 2-13 เซนติเมตร เส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 1 เซนติเมตร
ดอกเกิดเป็นกลุ่ม จานวนดอกประมาณ 10-15 ดอก สีดอกมีหลายสี เช่น สีเหลือง สีขาว และสีม่วง
ฝักมีลักษณะกลมยาว สีเขียว ปลายโค้งงอเล็กน้อย โดยเฉพาะถั่วเขียวผิวมัน ส่วนถั่วเขียวผิวดาฝักจะตรง
และสั้นกว่าถั่วเขียวผิวมัน เมื่อแก่จะมีสีน้าตาลจนถึงสีดาตามอายุ และขึ้นอยู่กับพันธุ์ ฝักจะมีเมล็ดประมาณ
10-15 เมล็ด 100 เมล็ด หนักประมาณ 2-8 กรัม ขึ้นอยู่กับพันธุ์
2.2.2 ประโยชน์ของถั่วเขียว
1. นามาประกอบอาหาร โดยเฉพาะอาหารประเภทของหวานได้หลายชนิด เช่น ถั่วเขียวต้ม
2. นามาแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร อาทิ ทาวุ้นเส้น ทาแป้ง เป็นต้น
3. นามาสกัดเป็นน้ามันถั่วเขียวสาหรับประโยชน์ในด้านต่างๆ เช่น ใช้ประกอบอาหาร
ส่วนผสมเครื่องสาอาง ใช้ในภาคอุตสาหกรรม เป็นต้น
2.2.3 ชนิดของถั่วเขียวในประเทศไทย
ชนิดของถั่วเขียวในประเทศไทย แบ่งตามลักษณะเปลือกเป็น 4 ชนิด คือ
รูปที่ 2 ฝักถั่วเขียว
4
1. ถั่วเขียวเมล็ดมัน เป็นถั่วเขียวที่มีลักษณะเมล็ดสีเขียวมีมันวาว ฝักเมื่อแก่จะลักษณะสี 2 สี
ตามสายพันธุ์ คือ พันธุ์อู่ทอง ฝักมีสีดา และพันธุ์พื้นเมืองฝักขาว ฝักมีสีขาวนวล
2. ถั่วเขียวธรรมดา หรือถั่วเขียวเมล็ดด้าน เป็นถั่วเขียวที่มีสีเขียว มีลักษณะเมล็ดด้าน
3. ถั่วเขียวสีทอง มีลักษณ ะ คล้ายกับถั่วเขียวผิวมัน และถั่วเขียวธรรมดา
แต่เมล็ดมีสีเขียวอมเหลือง มีทั้งลักษณะเมล็ดด้าน และเมล็ดมัน
4. ถั่วเขียวผิวดา เป็นถั่วเขียวที่มีลักษณ ะ เมล็ดคล้ายกับถั่วเขียวธร รมดา
แต่ต่างจากถั่วเขียวธรรมดาคือ ลาต้นมีทรงพุ่มใหญ่ และแตกกิ่งก้านมากกว่า
บางพันธุ์อาจมีลักษณะยอดเลื้อยพันกัน ใบหนา ลาต้นมีขนปกคลุม ลักษณะก้านใบ
และฝักหนากว่า ดอกออกสีเขียวอมเหลือง ฝักป้อมสั้นกว่า เมล็ดมีสีดามีขนาดปานกลาง
อายุเก็บเกี่ยวในช่วง 80-90 วัน
2.2.4 การปลูกถั่วเขียว
การปลูกถั่วเขียวในบ้านเราแบ่งตามช่วงฤดูเป็น 3 ฤดูกาล คือ
1. ก า ร ป ลู ก ถั่ ว เ ขี ย ว ผิ ว มั น ต้ น ฤ ดู ฝ น
มักเป็นการปลูกตามพื้นที่ไร่ในต้นฤดูฝนช่วงเดือนเมษายน -ต้นเดือนมิถุนายน
แ ล ะ จ ะ เ ก็ บ เ กี่ ย ว ใ น ช่ ว ง เ ดื อ น ก ร ก ฎ า ค ม -สิ ง ห า ค ม
การปลูกถั่วเขียวในลักษณะนี้จะมีผลผลิตประมาณร้อยละ 10 ของผลผลิตทั้งหมด
เนื่ อ งจ า ก เป็ น ก า ร ป ลู ก บ า งพื้ น ที่ เพื่ อ ก า ร ผ ลิ ต ถั่ วเขี ย ว งโด ย เฉ พ า ะ
รูปที่ 3 ถั่วเขียวผิวดา
5
กา ร ป ลู ก ใน ช่ วงนี้ ถั่ วเขี ย ว จ ะ เจ ริญ เติ บ โต ดี แ ต ก กิ่ งก้ า น ส า ข า ม า ก
เพราะได้รับน้าฝนอย่างต่อเนื่อง มีอุณหภูมิ และความชื้นเหมาะแก่การเจริญเติบโต
จึงทาให้ได้ผลผลิตต่อไร่สูงกว่าฤดูอื่น แต่อาจประสบปัญหาเรื่องฝักเสียหายจากน้าฝน
2. กา ร ป ลูกถั่ วเขี ยวป ลา ย ฝน มัก ปลู กใน ช่ วงเดือน สิ งห า คม -กัน ยา ย น
แ ล ะ เก็ บ เกี่ ย ว ผ ล ผ ลิ ต ป ร ะ ม า ณ เดื อ น พ ฤ ศ จิ ก า ย น -ธั น ว า ค ม
ถั่วเขียวที่ผลิตในช่วงนี้มีปริมาณมากที่สุด ประมาณร้อยละ 80 ของผลผลิตทั้งหมด
เนื่องจากมีปริมาณพื้นที่ปลูกมากขึ้นหลังหลังการเก็บเกี่ยวพืชไร่อื่น ๆ เช่น ปลูกหลังข้าวโพด
ปลูกหลังถั่วลิสง เป็นต้น
3. การปลูกถั่วเขียวผิวมันหลังฤดูการเก็บเกี่ยวข้าว การปลูกถั่วเขียวในลักษณะนี้ เรียกว่า
ถั่ วน า โด ย ป ลู ก ใน ช่ ว งเดื อ น ธั น ว า ค ม -ม ก ร า ค ม ห ลั งก า ร เก็ บ เกี่ ย ว
และเก็บเกี่ยวประมาณเมษายน-พฤษภาคม มีผลผลิตประมาณร้อยละ 10 ของผลผลิตทั้งหมด
เนื่องจากมีพื้นที่การปลูกน้อย และมีเฉพาะบางพื้นที่
ถั่วเขียวผิวมันถือเป็นพันธุ์ถั่วเขียวที่นิยมปลูกมากที่สุด เนื่องจากมีความต้องทางตลาดสูง
และสามารถนาไปแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ได้หลากหลาย ปัจจุบันมี 3 พันธุ์ คือ พันธุ์อู่ทอง1
พันธุ์กาแพงแสน1 และพันธุ์กาแพงแสน 2
ถั่วเขียวพันธุ์อู่ทอง 1 เป็นพันธุ์ที่เกษตรกรนิยมปลูกมานาน พันธุ์นี้ มีชื่อเดิมว่า พันธุ์ M7 A
ได้รับการปรับปรุง และคัดพันธุ์ในปี 2514 เป็นพันธู์มีลักษณะดีเด่นหลายด้าน ได้แก่
ต้นมีลักษณะเป็นพุ่ม สูงตั้งแต่ 50 – 75 เซนติเมตร กิ่งก้านมาก ใบใหญ่ ออกดอกเมื่ออายุ 35
วัน ดอกออกเป็น 2 ชุด ดอกชุดที่สองเริ่มออกเมื่อฝักรุ่นแรกเริ่มแก่ ฝักเป็นกระจุก 5-8 ฝัก
ฝักชุดแรกมีเฉลี่ยต้นละ 15 – 25 ฝัก หนึ่งฝักมี 8-14 เมล็ด ฝักอ่อนมีสีเขียว และสีดาเมื่อแก่
ฝักค่อนข้างเหนียว ไม่เปราะ และแตกง่าย เมล็ดมีสีเขียวผิวเมล็ดมันวาว อายุการเก็บเกี่ยวที่
65-70 วันหลังงอก ให้ผลผลิตสูง 150-200 กิโลกรัม/ไร่ สามารถเก็บผลผลิตได้ 2 ครั้ง
ลักษณะดินที่เหมาะสาหรับปลูกถั่วเขียวจะเป็นดินร่วน ดินร่วนปนทราย ดินร่วนซุ่ยดี
มีหน้าดินลึก ระบายน้า และไม่มีน้าท่วมขัง มีแร่ธาตุ N P K และอินทรีย์วัตถุที่เพียงพอ
และควรมีจุลินทรีย์ในดินสูง
6
สาหรับดินเหนียวหรือดินเลน เป็นดินที่ให้ผลผลิตถั่วไม่ค่อยดี เนื่องจากอุ้มน้าดี ทาให้ดินแฉะ
และท่วมขังง่าย หากต้องการปลูกจะต้องทาร่องหรือทางน้าไหลสาหรับระบายน้าออกแปลง
โดยเฉพาะการปลูกในฤดูฝน
ส่วน ดิ น ที่ มี ลั กษ ณ ะ เป็ น ดิ น ท ร า ย จั ด มัก พ บ เป็ น พื้ น ที่ ไร่ใน ที่ สู ง เช่ น
พื้นที่ไร่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พื้นที่ลักษณะนี้มักประสบปัญหาเรื่องน้าไม่เพียงพอ
และมีความอุดมสมบูรณ์ต่า จึงต้องบารุงดินด้วยปุ๋ยหมัก และปุ๋ยเคมีในปริมาณที่พอเหมาะ
แ ล ะ ที่ ส า คั ญ ต้ อ ง จั ด ห า ร ะ บ บ ใ ห้ น้ า ที่ เ พี ย ง พ อ
แต่โดยทั่วไปการปลูกในพื้นที่ดินทรายมักปลูกในช่วงฤดูฝนเพื่อแก้ปัญหาการขาดแคลนน้า
หรือปลูกในที่ดอนหลังการเก็บเกี่ยวข้าว
การเตรียมดิน
ลักษณ ะ การ เตรียมดินอา จ แตกต่างกันตา มสภา พพื้นที่ และฤดูการ ปลูก
โดยทั่วไปจะทาการเตรียมดินด้วยการไถพรวนดิน และกาจัดวัชพืชอย่างน้อย 1- 2 ครั้ง
โดยอาจไถครั้งเดียวก่อนปลูกเพื่อลดต้นทุน ด้วยการไถหน้าดินลึกประมาณ 30 ซม.
โดย มีร ะ ย ะ ห่ า งกา ร ไถ ป ร ะ ม า ณ 1-2 อา ทิ ตย์ แล ะ 5-10 วันก่ อน ป ลู ก
การไถก่อนปลูกมักไถขึ้นร่อง เป็นร่องเดี่ยว กว้าง 30-40 ซม.
วิธีการปลูก และระยะปลูก
1. การ ปลูกเป็นห ลุม วิธีนี้เป็นการปลูกโดยวิธีขุดหลุมบนคันร่องที่เตรียมไว้
โดยมีระยะระหว่างแถวประมาณ 50 เซนติเมตร และระยะระหว่างหลุม 20 เซนติเมตร
หยอดเมล็ดหลุมละ 2-3 ต้น ความลึกประมาณ 2-3 เซนติเมตร ซึ่งจะใช้เมล็ด 3-5
กิโลกรัม/ไร่
2. ก า ร ป ลู ก แ บ บ โร ย เป็ น แ ถ ว วิ ธีนี้ เป็ น ก า ร ป ลู ก บ น คั น ร่อ งเช่ น กั น
ด้วยการเปิดร่องตามแนวยาวบนคันร่อง ระยะระ หว่างร่อง 50 เซนติเมตร
ทาการโรยเมล็ดลงในร่อง 10-15 เมล็ด ต่อระยะ 1 เมตร ความลึกประมาณ 2-3 เซนติเมตร
7
ใช้เมล็ดประ มาณ 5 กิโลกรัม/ไร่ ไม่ควรลึกมากกว่านี้เพราะเมล็ดจะงอกยาก
หรืองอกแล้วอาจเน่าได้ ภายหลังจากโรยเมล็ดให้เกลี่ยดินด้านบนกลบตาม
การตรวจเช็คการงอก การปลูกซ่อม และการถอนแยก
โดยทั่ วไป เมล็ดถั่วเขียวจ ะ งอกภา ยใน 3-5 วัน หลังปลูก บา งพื้น ที่ เช่น
ภาคเหนือที่ปลูกในช่วงอากาศหนาว เมล็ดอาจงอกช้าขึ้นประมาณ 4-7 วัน หลังปลูก
บางหลุมหรือบางส่วนเมล็ดอาจไม่งอกจากสาเหตุของเมล็ดถูกทาลายจากแมลงหรือสัตว์หน้า
ดิ น ร ว ม ถึ ง ค ว า ม ชื้ น ห รื อ ป ลู ก ใ น ร ะ ดั บ ที่ ลึ ก เ กิ น
จึ ง จ า เป็ น ต้ อ ง ต ร ว จ ส อ บ ก า ร ง อ ก ข อ ง เม ล็ ด ใ น แ ต่ ล ะ แ ถ ว
หากหลุมหรือแนวเมล็ดที่ไม่งอกให้ทาการหยอดเมล็ดปลูกซ่อมแซมใหม่โดยเร็วเพื่อให้ต้นเกิดใ
หม่สามารถเก็บเกี่ยวได้พร้อมกับต้นอื่นๆ โดยไม่ควรปลูกซ่อมแซมภายหลังจาก 5 วัน
หลังเมล็ดถั่วที่ปลูกครั้งแรกงอก ส่วนบางหลุมที่มีการหยอดเมล็ด และเมล็ดเกิดงอกมากกว่า
3 ต้น/หลุม ให้ทาการถอนต้นถั่วเขียวที่เล็กหรือไม่สมบูรณ์ทิ้ง โดยให้เหลือเพียง 2-3 ต้น/หลุม
ก า ร ค ลุ ก เ ชื้ อ ไ ร โ ซ เ บี ย ม แ ล ะ ก า ร ใ ห้ ปุ๋ ย บ า ง พื้ น ที่
เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการเจริญเติบโตมักใช้เมล็ดคลุกเชื้อเชื้อไรโซเบียมก่อนปลูก
เพื่อให้เชื้อไรโซเบียมติดบริเวณรากถั่ว และสร้างปมสาหรับตึงธาตุอาหารไนโตรเจน
โดยใช้เชื้อ 1 ถุง ขนาด 200 กรัม ต่อเมล็ดพันธุ์ 5 กิโลกรัม
ก า ร ใส่ ปุ๋ ย แ ก่ ถั่ วเขี ย ว มั ก ใช้ ปุ๋ ย สู ต ร 16-20-0 อั ต ร า 25 กิ โล ก รัม / ไร่
ใส่ร องก้ นหลุมห รือโรยตา มแน วร่องก่อน ปลูก และ ใส่ปุ๋ ยสูตร 12-12-24
ในระยะที่ต้นเริ่มแตกงอ
การป้องกันกาจัดวัชพืช
1. สารเคมีสาหรับป้องกันกาจัดวัชพืชที่ได้ผลดี คือ อะลาคลอร์ (Alachlor) ในอัตรา 300-
600 ซี.ซี./ไร่ โดยฉีดพ่นหลังปลูกเสร็จทัน ไม่ควรการฉีดพ่นหลังมีการงอดของเมล็ด
ในระยะที่มีวัชพืชเริญเติบโตแล้ว อาจใช้ฉีดพ่นด้วยสารพาราควอท อัตรา 300-400 ซี.ซี./ไร่
2. การป้องกันกา จัดวัชพืชโดยใช้แรงงาน เป็นวิธีที่ปลอดภัยต่อเกษตรกร
และคุณภาพของถั่วเขียวมากที่สุด เนื่องจากไม่ต้องเสี่ยงอันตราย จากสารเคมี
8
และผลที่อาจเกิดกับต้นถั่วของสารเคมี ซึ่งมักใช้จอบถากกาจัดวัชพืชตามแนวแถวให้หมด
โดยอาจต้องทาการกาจัด 1-2 ครั้ง ตลอดอายุการปลูก ในช่วง 10-14 วันหลัง และ 30-40
วัน หลังปลูก
2.2.5 โรคของถั่วเขียว และการป้องกันกาจัด
1. โรค ใบจุ ดสีน้ า ตา ล (Cercospora Leafs Spot) โร คนี้ พบ ร ะ บ า ดใน ฤดูฝ น
เ ป็ น โ ร ค ที่ เ กิ ด จ า ก เ ชื้ อ Cercospora canescens Ellis & Martin
มั ก เ กิ ด กั บ ถั่ ว เ ขี ย ว อ า ยุ ตั้ ง แ ต่ 2 สั ป ด า ห์ ห ลั ง ก า ร ง อ ก
และมีการระบาดมากในช่วงออกดอกจนถึงระยะที่ใกล้เก็บเกี่ยว ลักษณะของโรค คือ
ใบเป็นจุดสีน้าตาล มีลักษณะค่อนข้างกลม ตรงกลางแผลมองเห็นเป็นเส้นใยสีเทา
ขนาดแผลเส้นผ่าศูนย์กลาง 1 มม. – 5 มม. อาจมีลักษณะเป็นวงสีเหลืองรอบแผล
ขณะขยายตัว เมื่อแผลชิดกันจะมีลักษณะสีน้าตาล ผลของโรค คือ ทาให้ฝักลีบ
และมีขนาดเล็ก
การแก้ไขโดยการฉีดสารเคมีพวกท็อกซิน เคลซีน หรือเบนเลท อัตรา 6-12 กรัม หรือ 1-2
ช้อนแกงต่อน้า 20 ลิตร โดยฉีดพ่นเมื่อถั่วอายุประมาณ 30 วัน หลังงอก และฉีดพ่นทุก ๆ 14
วัน
2. โรคราแป้ง (Powdery Mildrew) โรคนี้พบการระบาดในช่วงฤดูหนาวถึงฤดูแล้ง
โดยเฉพาะในช่วงที่มีอากาศเย็น เป็นเชื้อราพวก Oidium sp. สปอร์จะได้รับความชื้น
และ เติบ โต สร้า งเส้ น ใยดู ดกิ น น้า เลี้ ยงจ า ก ผิวใบ ข องถั่ว ท า ให้ ใบ แ ห้ ง
ลักษณะที่พบมักเกิดตามใบล่าง โดยมีเส้นใยของราสีขาวคล้ายผงแป้งบนใบถั่ว
ต่อมา ใบ เปลี่ยนเป็นสีน้า ตา ลแดง และ แห้งตา ย ต้นถั่วเขียวแคระ แกร น
หากเกิดโรคในระยะออดอกหรือติดฝัก จะทาให้ผลผลิตน้อยลง
ก า ร ป้ อ ง กั น ไ ด้ ห ล า ย วิ ธี เช่ น ก า ร ก า จั ด วั ช พื ช ใ น แ ป ล ง
การปลูกถั่วเขียวสลับกับพืชอื่นในระหว่างแถว ส่วนการใช้สารเคมี จะใช้สารพวกเบนเลท
อัตรา 6-12 กรัม ต่อน้า 20 ลิตร ฉีดพ่น เมื่อถั่วเขียวอายุ 30 วัน หลังงอก และฉีดซ้าทุก ๆ
14-15
9
2.2.6 แมลงศัตรูถั่วเขียว และการป้องกันกาจัด
1. หนอนแมลงวันเจาะต้นถั่ว (bean fly) เกิดจากหนอนแมลงที่วางไข่ ( 50-100 ฟอง/ตัว)
ในระยะต้นกล้าหลังงอกใหม่ เมื่อฟักตัวเป็นหนอนจะเข้ากัดกินเนื้อเยื่อตามใบ และลาต้น
ทาให้ต้นถั่วตาย หากเป็นต้นถั่วโตแล้ว หนอนจะเข้าเจาะกินลาต้นบริเวณยอด
ทาให้ยอดเหี่ยวตาย การป้องกัน และกาจัดทา โดยการหว่านฟูราดาน 3%G อัตรา 3-5
กิโลกรัม/ไร่ ก่อนปลูกหรือหลังปลูก หรือฉีดพ่นด้วยสารโมโนโครโตฟอส 56% WSC อัตรา
15-20 ซี.ซี./น้า 20 ลิตร หลังการงอก 7 วัน
2. เพ ลี้ ย อ่ อ น ( Aphid) พ บ ร ะ บ า ด ม า ก ใน ฤ ดู แ ล้ งห รื อ ฝ น ทิ้ ง ช่ ว ง
โดยเพลี้ยจะเข้าดูดกินน้าเลี้ยงตามยอดอ่อน ใบอ่อน ช่อดอก และฝักอ่อน ทาให้ยอดหงิกงอ
ด อ ก ร่ ว ง ฝั ก ร่ ว ง แ ล ะ ต้ น แ ค ร ะ แ ก ร น ก า ร ป้ อ ง กั น ก า จั ด
ทาได้โดยการฉีดพ่นด้วยสารโมโนโครโตฟอส์ อัตรา 25-30 ซี.ซี./น้า 20 ลิตร
3. เพ ลี้ย ไฟ (Thrips) พ บ ระ บา ด มา กใน ช่วงฝน ฝน ทิ้งช่วง และ แ ดดร้อ น
โดยเข้าดูดกินน้าเลี้ยงจากส่วนยอด และดอก ทาให้ยอดหงิกงอ ใบแห้ง ดอกร่วง
ฝักอ่อนร่วงหรือลีบ ไม่ติดเมล็ด ป้องกัน และกาจัดโดยวิธีฉีดพ่นด้วยสารโมโนโครโตฟอส
56% WSC อัตรา 25-30 ซี.ซี./น้า 20 ลิตร
4. หนอนเจาะฝัก (Pod Borers) พบระบาดในปลายฤดูฝนหรือฤดูแล้ง ป้องกัน
และกาจัดโดยการฉีดพ่นโมโนโครโตฟอส 56% WSC อัตรา 40-50 ซี.ซี./น้า 20 ลิตร
5. มอดถั่ว (Bean Seed Beetly) เป็นแมลงที่เข้าทาลายเมล็ดถั่วในระยที่อยู่ในฝัก
ส า ม า ร ถ ติ ด ไป กั บ เม ล็ ด ใน ช่ ว งก า ร เก็ บ เกี่ ย ว ท า ให้ มี ก า ร แ พ ร่พั น ธุ์
แ ล ะ กั ด กิ น เม ล็ ด ข ณ ะ เก็ บ ใน ถุ ง ก ร ะ ส อ บ ส า ม า ร ถ ป้ อ ง กั น
และกาจัดได้โดยการคลุกเมล็ดด้วยสารเคมีพวกมาลาไธออนผง หรือสารอลามอน
หากต้องการเก็บไว้นาน ส่วนเมล็ดที่เก็บไว้บริโภคนั้นไม่ควรคลุกสารเคมีใดๆ
แต่สามารถป้องกันได้โดยการคลุกด้วยน้ามันถั่วเหลือง ประมาณ 3-5 ซี.ซี./เมล็ด 1 กิโลกรัม
10
2.3 ถั่วกวน
2.3.1 ส่วนผสม
ถั่วเขียว 3 ถ้วยตวง
น้าตาลทราย 3 ถ้วยตวง
มะพร้าวขูดขาว 4 ถ้วยตวง
เกลือป่น 4 ช้อนชา
น้าดอกมะลิสด 2 ถ้วยตวง
2.3.2 วิธีทา
1. นาถั่วเขียวแช่น้า กะเทาะเปลือกออกให้หมด นึ่งหรือหุงให้สุกนุ่ม นามาโขลกให้ละเอียด
2. แบ่งมะพร้าว 2 ถ้วยตวง คั้นกับน้าดอกมะลิเอาแต่หัวข้นๆ ละลายกับน้าตาลทราย แล้วกรองให้สะอาด
3. ใส่ถั่ว เกลือและมะพร้าวที่เหลือ คนให้เข้ากัน กวนไปจนเหนียวปั้นได้ (ถั่วกวนที่ดีควรจะนุ่ม เหนียว
ไม่ติดมือเวลาปั้น)
4. เทใส่ถาดแบนๆ กดให้หน้าเสมอกัน พอเย็นตัดเป็นชิ้นสี่เหลี่ยมหรือรูปต่างๆ ตามต้องการ
ผึ่งไว้ประมาณครึ่งชม. จึงเก็บใส่ขวดโหลไว้รับประทาน
11
รูปที่ 4 เพลี้ยอ่อน
บทที่ 3
วิธีดาเนินการศึกษา
ก า ร จั ด ท า โ ค ร ง ง า น ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์ ถั่ ว ก ว น อ บ ค วั น เ ที ย น
คณะผู้จัดทาโครงงานมีวิธีการดาเนินงานโครงงาน ตามขั้นตอนดังต่อไปนี้
3.1 วัตถุดิบ
3.1.1 ถั่วทองดิบ 300 กรัม
3.1.2 หัวกะทิข้นๆ 2 1/2 ถ้วย
12
รูปที่ 5ถั่วกวน
3.1.3 น้าตาลทรายขาว 1 1/2 ถ้วย
3.1.4 มะพร้าวทึนทึกขูดขาว 100 กรัม
3.1.5 เกลือ 3/4 ช้อนชา
3.2 วิธีทา
3.2.1 เริ่มต้นเราก็จะต้องมาทาการบดถั่วถ้ามีเครื่องปั่นน้าผลไม้ที่เป็นโถสูงๆ ก็ให้เอาถั่วผสมกับน้ากะทิ
แล้วเอาไปปั่นในเครื่องปั่นน้าผลไม้จนกระทั่งละเอียดดี
3.2.2 บดถั่วเสร็จ เอาถั่วบดและส่วนผสมทั้งหมด เทใส่ลงไปในกระทะทอง หรือในภาชนะที่จะใช้กวน
3.2.3 เปิดไฟกลางและกวนไปเรื่อยๆ ประมาน 10-15นาที
3.2.4 หลังจาก15นาที กวนโดยใช้ไฟอ่อน อีกประมาน 10-15นาทีจนเริ่มได้ที่โดยสังเกตได้จาก
การล่อนกระทะ
3.2.5 ทิ้งให้ถั่วเย็น 35 นาที
3.2.6 อบควันเทียนในกาละมัง ประมาน 5-6 ชม.
3.2.7 นาถั่วกวนมาปั้นพร้อมทาน
บทที่ 4
ผลการดาเนินการ
การ จัดท า งา นโคร งงาน พัฒ นา สื่อเพื่อกา ร ศึกษา เว็บไซต์ถั่วกวนอบ ควันเทีย น
มีวัตถุประสงค์เพื่อเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับวิธีการทาถั่วกวนอบควันเทียนการแปรรูปถั่วและการถนอมอาหาร
เพื่อสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้
4.1 ผลการพัฒนาโครงงาน
การพัฒนาโครงงานการศึกษาเว็บไซต์ถั่วกวนอบควันเทียนเพื่อเผยแพร่ความรู้การทาขนมถั่วกวนอบค
วั น เที ย น เพื่ อ แ ป ร รู ป ถั่ ว ให้ มี อ า ยุ ที่ น า น ขึ้ น แ ล ะ เป็ น ก า ร ถ น อ ม อ า ห า ร
13
ทางคณะผู้จัดทาได้ดาเนินงานตามขั้นตอนแผนงานที่ และนาเสนอผ่านทางเครือข่ายระบบอินเตอร์เน็ตที่
bakebeann.blogspot.com แ ล ะ ใ ช้ ซ อ ฟ แ ว ร์ อื่ น เ พื่ อ ใ ห้ เ กิ ด ค ว า ม น่ า ส น ใ จ
โดยเว็บไซต์ของเราสามารถเข้าไปศึกษาได้ทุกเวลา ทุกที่ และรวดเร็วต่อการหาข้อมูล
4.2 ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างเว็บบล็อก http://bakebeann.blogspot.com/
รูปที่ 6 บล็อก Beansnack 14
รูปที่ 7 บล็อก Beansnack
รูปที่ 8 บล็อก Beansnack
บทที่ 5
สรูปผลการดาเนินงาน และ ข้อเสนอแนะ
การจัดทาโครงงานคอมพิวเตอร์ เว็บไซต์ ถั่วกวนอบควันเทียน
สามารถสรุปผลการดาเนินโครงงานและได้ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม ดังนี้
5.1 การดาเนินงานจัดทาโครงงาน
5.1.1 วัตถุประสงค์ของโครงงาน
1.เพื่อเพิ่มรายได้ให้แก่ผู้ยากไร้
15
2.เพื่อใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
5.1.2 วัสดุอุปกรณ์เครื่องมือหรือโปรแกรมที่ใช้ในการพัฒนาโครงงาน
1.เครื่องคอมพิวเตอร์พร้อมมีระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
2.ซอฟต์แวร์
-Microsoft word
-Adobe Photoshop
3.ถั่ว,เทียน และอุปกรณ์ในการใช้สาหรับภาชนะ
5.2 สรุปผลการดาเนินโครงงาน
การดาเนินโครงงานนี้บรรลุวัตถุประสงค์ที่ได้กาหนดไว้คือ
เพื่อให้ความรู้ผู้ที่สนใจการทาขนมถั่วกวนอบควันเทียนซึ่งเป็นการถนอมอาหารอย่างหนึ่งทาให้ผู้ศึกษาสามารถเ
ข้าใจได้ง่ายขึ้น โครงงานนี้จึงเป็นโครงงานที่มีประโยชน์และสามารถยืดอายุของถั่วได้นานขึ้น
5.3 ข้อเสนอแนะ
1. ควรมีการจัดทาเนื้อหาโครงงานให้หลากหลายมากว่านี้
2. ควรมีการเผยแพร่ที่หลากหลายมากขึ้นเช่น youtube เป็นต้น
บรรณานุกรม
ขนมไทย
แหล่งที่มา https://youyouol.wordpress.com/
วันที่ 21 กันยายน 2559
ข้อมูลทั่วไปของถั่วเขียว
16
แหล่งที่มา http://puechkaset.com/
วันที่ 21 กันยายน 2559
ถั่วกวน
แหล่งที่มา http://cooking.kapook.com/
วันที่ 21 กันยายน 2559

More Related Content

What's hot

โครงงาน เรื่อง ขนมวง
โครงงาน เรื่อง ขนมวงโครงงาน เรื่อง ขนมวง
โครงงาน เรื่อง ขนมวงThanakorn Chanamai
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
โครงงานออกแบบ
โครงงานออกแบบโครงงานออกแบบ
โครงงานออกแบบWatcharinz
 
ตัวอย่างเค้าโครงข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างเค้าโครงข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ตัวอย่างเค้าโครงข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างเค้าโครงข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์Earnzy Clash
 
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎีตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎีKawinTheSinestron
 
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วงโครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วงchanon leedee
 
รวมสูตรฟิสิกส์ ม.6
รวมสูตรฟิสิกส์ ม.6รวมสูตรฟิสิกส์ ม.6
รวมสูตรฟิสิกส์ ม.6Mu PPu
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงChanon Mala
 
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องเปลือกไข่สารพัดประโยชน์
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องเปลือกไข่สารพัดประโยชน์โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องเปลือกไข่สารพัดประโยชน์
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องเปลือกไข่สารพัดประโยชน์supansa phuprasong
 
ตัวอย่างการเขียนข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างการเขียนข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ตัวอย่างการเขียนข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างการเขียนข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์Sitipun
 
การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.3
การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.3การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.3
การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.3Servamp Ash
 
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้านโครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้านChok Ke
 
โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์Aphinya Tantikhom
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพดโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพดพัน พัน
 
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องเทียนหอมไล่ยุงตะไคร้
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องเทียนหอมไล่ยุงตะไคร้โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องเทียนหอมไล่ยุงตะไคร้
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องเทียนหอมไล่ยุงตะไคร้Paramin Suwannawut
 
รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์Pimrada Seehanam
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...ssuser858855
 
เรียงความ Is1
เรียงความ Is1เรียงความ Is1
เรียงความ Is1panisra
 

What's hot (20)

โครงงาน เรื่อง ขนมวง
โครงงาน เรื่อง ขนมวงโครงงาน เรื่อง ขนมวง
โครงงาน เรื่อง ขนมวง
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
โครงงานออกแบบ
โครงงานออกแบบโครงงานออกแบบ
โครงงานออกแบบ
 
ตัวอย่างเค้าโครงข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างเค้าโครงข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ตัวอย่างเค้าโครงข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างเค้าโครงข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎีตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
 
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วงโครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
 
รวมสูตรฟิสิกส์ ม.6
รวมสูตรฟิสิกส์ ม.6รวมสูตรฟิสิกส์ ม.6
รวมสูตรฟิสิกส์ ม.6
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องเปลือกไข่สารพัดประโยชน์
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องเปลือกไข่สารพัดประโยชน์โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องเปลือกไข่สารพัดประโยชน์
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องเปลือกไข่สารพัดประโยชน์
 
รายงานกล้วยฉาบ.Docx อันใหม่
รายงานกล้วยฉาบ.Docx อันใหม่รายงานกล้วยฉาบ.Docx อันใหม่
รายงานกล้วยฉาบ.Docx อันใหม่
 
ตัวอย่างการเขียนข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างการเขียนข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ตัวอย่างการเขียนข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างการเขียนข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
 
การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.3
การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.3การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.3
การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.3
 
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้านโครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
 
โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพดโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
 
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องเทียนหอมไล่ยุงตะไคร้
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องเทียนหอมไล่ยุงตะไคร้โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องเทียนหอมไล่ยุงตะไคร้
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องเทียนหอมไล่ยุงตะไคร้
 
รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
 
เรียงความ Is1
เรียงความ Is1เรียงความ Is1
เรียงความ Is1
 

Similar to โครงงานถั่วกวนอบควันเทียน1 1

โครงงานถั่วกวนอบควันเทียน
โครงงานถั่วกวนอบควันเทียนโครงงานถั่วกวนอบควันเทียน
โครงงานถั่วกวนอบควันเทียนTewit Chotchang
 
โครงงานคอม (1)
โครงงานคอม (1)โครงงานคอม (1)
โครงงานคอม (1)Anny Na Sonsawan
 
โครงงานคอม (1)
โครงงานคอม (1)โครงงานคอม (1)
โครงงานคอม (1)Lekleklek Jongrak
 
โครงงานกล้วยแขก
โครงงานกล้วยแขก โครงงานกล้วยแขก
โครงงานกล้วยแขก Rut' Np
 
Projectm6 2-2554 kor
Projectm6 2-2554 korProjectm6 2-2554 kor
Projectm6 2-2554 korTheyok Tanya
 
โครงงานกอท
โครงงานกอทโครงงานกอท
โครงงานกอทManaf Joraka
 
project
projectproject
projectviewil
 
Projectm6 2-2554 tom's
Projectm6 2-2554 tom'sProjectm6 2-2554 tom's
Projectm6 2-2554 tom'sTheyok Tanya
 
โครงร่างโครงงานขนมไทย
โครงร่างโครงงานขนมไทยโครงร่างโครงงานขนมไทย
โครงร่างโครงงานขนมไทยKanokwan Makepothi
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Pung Pon
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร Wichitchai Buathong
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Permtrakul Khammoon
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ร้านอาหาร1
โครงงานคอมพิวเตอร์ร้านอาหาร1โครงงานคอมพิวเตอร์ร้านอาหาร1
โครงงานคอมพิวเตอร์ร้านอาหาร1Sarun Kitcharoen
 
โครงงานคอม1
โครงงานคอม1โครงงานคอม1
โครงงานคอม1Mai Lusie
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ร้านอาหาร1
โครงงานคอมพิวเตอร์ร้านอาหาร1โครงงานคอมพิวเตอร์ร้านอาหาร1
โครงงานคอมพิวเตอร์ร้านอาหาร1Namtarnniiz Psn
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Sk'b Methasith
 
Custom of north thailand
Custom of  north thailandCustom of  north thailand
Custom of north thailandTar B Baster
 

Similar to โครงงานถั่วกวนอบควันเทียน1 1 (20)

โครงงานถั่วกวนอบควันเทียน
โครงงานถั่วกวนอบควันเทียนโครงงานถั่วกวนอบควันเทียน
โครงงานถั่วกวนอบควันเทียน
 
คอม
คอมคอม
คอม
 
โครงงานคอม (1)
โครงงานคอม (1)โครงงานคอม (1)
โครงงานคอม (1)
 
โครงงานคอม (1)
โครงงานคอม (1)โครงงานคอม (1)
โครงงานคอม (1)
 
โครงงานกล้วยแขก
โครงงานกล้วยแขก โครงงานกล้วยแขก
โครงงานกล้วยแขก
 
Projectm6 2-2554 kor
Projectm6 2-2554 korProjectm6 2-2554 kor
Projectm6 2-2554 kor
 
โครงงานกอท
โครงงานกอทโครงงานกอท
โครงงานกอท
 
project
projectproject
project
 
Projectm6 2-2554 tom's
Projectm6 2-2554 tom'sProjectm6 2-2554 tom's
Projectm6 2-2554 tom's
 
โครงร่างโครงงานขนมไทย
โครงร่างโครงงานขนมไทยโครงร่างโครงงานขนมไทย
โครงร่างโครงงานขนมไทย
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ร้านอาหาร1
โครงงานคอมพิวเตอร์ร้านอาหาร1โครงงานคอมพิวเตอร์ร้านอาหาร1
โครงงานคอมพิวเตอร์ร้านอาหาร1
 
กล้วย
กล้วยกล้วย
กล้วย
 
โครงงานคอม1
โครงงานคอม1โครงงานคอม1
โครงงานคอม1
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ร้านอาหาร1
โครงงานคอมพิวเตอร์ร้านอาหาร1โครงงานคอมพิวเตอร์ร้านอาหาร1
โครงงานคอมพิวเตอร์ร้านอาหาร1
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Custom of north thailand
Custom of  north thailandCustom of  north thailand
Custom of north thailand
 

More from Tewit Chotchang

อุปกรณ์เสริมคอมพิวเตอร์3
อุปกรณ์เสริมคอมพิวเตอร์3อุปกรณ์เสริมคอมพิวเตอร์3
อุปกรณ์เสริมคอมพิวเตอร์3Tewit Chotchang
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์3
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์3อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์3
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์3Tewit Chotchang
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์2
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์2อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์2
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์2Tewit Chotchang
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์Tewit Chotchang
 
ประวัติของคอมพิวเตอร์
ประวัติของคอมพิวเตอร์ประวัติของคอมพิวเตอร์
ประวัติของคอมพิวเตอร์Tewit Chotchang
 
ประวัติของคอมพิวเตอร์2
ประวัติของคอมพิวเตอร์2ประวัติของคอมพิวเตอร์2
ประวัติของคอมพิวเตอร์2Tewit Chotchang
 
ประวัติของคอมพิวเตอร์
ประวัติของคอมพิวเตอร์ประวัติของคอมพิวเตอร์
ประวัติของคอมพิวเตอร์Tewit Chotchang
 
ใบงานคอมพิวเตอร์
ใบงานคอมพิวเตอร์ใบงานคอมพิวเตอร์
ใบงานคอมพิวเตอร์Tewit Chotchang
 
ใบงานคอมพิวเตอร์
ใบงานคอมพิวเตอร์ใบงานคอมพิวเตอร์
ใบงานคอมพิวเตอร์Tewit Chotchang
 
เรื่อง โมบายหอยทะเล222
เรื่อง โมบายหอยทะเล222เรื่อง โมบายหอยทะเล222
เรื่อง โมบายหอยทะเล222Tewit Chotchang
 
เรื่อง โมบายหอยทะเล
เรื่อง โมบายหอยทะเลเรื่อง โมบายหอยทะเล
เรื่อง โมบายหอยทะเลTewit Chotchang
 
รุปเล่มโครงงานคอมM5
รุปเล่มโครงงานคอมM5รุปเล่มโครงงานคอมM5
รุปเล่มโครงงานคอมM5Tewit Chotchang
 
ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4Tewit Chotchang
 

More from Tewit Chotchang (20)

พรบคอม
พรบคอมพรบคอม
พรบคอม
 
Like&share13
Like&share13Like&share13
Like&share13
 
อุปกรณ์เสริมคอมพิวเตอร์3
อุปกรณ์เสริมคอมพิวเตอร์3อุปกรณ์เสริมคอมพิวเตอร์3
อุปกรณ์เสริมคอมพิวเตอร์3
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์3
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์3อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์3
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์3
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์2
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์2อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์2
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์2
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
 
ประวัติของคอมพิวเตอร์
ประวัติของคอมพิวเตอร์ประวัติของคอมพิวเตอร์
ประวัติของคอมพิวเตอร์
 
ประวัติของคอมพิวเตอร์2
ประวัติของคอมพิวเตอร์2ประวัติของคอมพิวเตอร์2
ประวัติของคอมพิวเตอร์2
 
ประวัติของคอมพิวเตอร์
ประวัติของคอมพิวเตอร์ประวัติของคอมพิวเตอร์
ประวัติของคอมพิวเตอร์
 
ใบงานคอมพิวเตอร์
ใบงานคอมพิวเตอร์ใบงานคอมพิวเตอร์
ใบงานคอมพิวเตอร์
 
ใบงานคอมพิวเตอร์
ใบงานคอมพิวเตอร์ใบงานคอมพิวเตอร์
ใบงานคอมพิวเตอร์
 
Com
ComCom
Com
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
เรื่อง โมบายหอยทะเล222
เรื่อง โมบายหอยทะเล222เรื่อง โมบายหอยทะเล222
เรื่อง โมบายหอยทะเล222
 
เรื่อง โมบายหอยทะเล
เรื่อง โมบายหอยทะเลเรื่อง โมบายหอยทะเล
เรื่อง โมบายหอยทะเล
 
รุปเล่มโครงงานคอมM5
รุปเล่มโครงงานคอมM5รุปเล่มโครงงานคอมM5
รุปเล่มโครงงานคอมM5
 
Web board
Web  boardWeb  board
Web board
 
ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4
 
E - Commerce
E - CommerceE - Commerce
E - Commerce
 

โครงงานถั่วกวนอบควันเทียน1 1

  • 1. โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ถั่วกวนอบควันเทียน โดย 1. นายพฤศพล มนต์ประสิทธิ์ เลขที่ 2 2. นายกิตติภัต เวง เลขที่ 9 3. นายสพล ตั้งทรงเจริญ เลขที่ 10 4. นายนิธิวัฒน์ ลาใย เลขที่ 12 5. นายเตวิช โชติช่วง เลขที่ 13 6. นายภูวดล อ้นถาวร เลขที่ 14 7. นายอนรรฆวี แซ่ตัน เลขที่ 15 8. นายเตชินท์ มะเมียเมือง เลขที่ 16 ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 5/1 รายงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของโครงงานการงานอาชีพและเทคโนโลยี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2559 โรงเรียนอัสสัมชัญระยอง
  • 2. โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ถั่วกวนอบควันเทียน โดย 1. นายพฤศพล มนต์ประสิทธิ์ เลขที่ 2 2. นายกิตติภัต เวง เลขที่ 9 3. นายสพล ตั้งทรงเจริญ เลขที่ 10 4. นายนิธิวัฒน์ ลาใย เลขที่ 12 5. นายเตวิช โชติช่วง เลขที่ 13 6. นายภูวดล อ้นถาวร เลขที่ 14 7. นายอนรรฆวี แซ่ตัน เลขที่ 15 8. นายเตชินท์ มะเมียเมือง เลขที่ 16 ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 5/1 รายงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของโครงงานการงานอาชีพและเทคโนโลยี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2559 โรงเรียนอัสสัมชัญระยอง
  • 3. ชื่อโครงงาน เรื่องถั่วกวนอบควันเทียน ชื่อผู้ทาโครงงาน 1. นายพฤศพล มนต์ประสิทธิ์ เลขที่ 2 2. นายกิตติภัต เวง เลขที่ 9 3. นายสพล ตั้งทรงเจริญ เลขที่ 10 4. นายนิธิวัฒน์ ลาใย เลขที่ 12 5. นายเตวิช โชติช่วง เลขที่ 13 6. นายภูวดล อ้นถาวร เลขที่ 14 7. นายอนรรฆวี แซ่ตัน เลขที่ 15 8. นายเตชินท์ มะเมียเมือง เลขที่ 16 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/1 ชื่อที่ปรึกษาโครงงาน มิสเขมจิรา ปลงไสว ปีการศึกษา 2559 ก
  • 4. บทคัดย่อ ก า ร จั ด ท า โ ค ร ง ง า น นี้ มี วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค์ เพื่ อ ใ ห้ ค ว า ม รู้ แ ก่ ผู้ ที่ ส น ใ จ ห รื อ ป ร ะ ส ง ค์ ที่ จ ะ ใ ช้ เ ว ล า ว่ า ง ใ ห้ เ กิ ด ป ร ะ โ ย ช น์ โดยการนาวัสดุตามท้องตลาดที่สามารถหาได้ง่ายมาทาเป็นผลิตภัณฑ์โดยสร้างเว็บไซต์ในการเผยแพร่นาเสนอใ ห้ความรู้ ผลการจัดทาโครงงานพบว่า ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากวัตถุดิบท้องถิ่นนั้นมีความน่าสนใจ แ ล ะ ก่ อ ใ ห้ เ กิ ด ค ว า ม เ พ ลิ ด เ พ ลิ น คณะผู้จัดทาได้ทาการดาเนินงานตามขั้นตอนที่ได้วางแผนไว้และได้นาเสนอเผยแพร่ผลงานผ่านเครือข่ายระบบ อินเตอร์เน็ตที่สามารถเข้าถึงได้ตลอดเวลาและทุกสถานที่เป็นแหล่งเรียนรู้ในโลกออนไลน์และมีความรวดเร็วใน การรับข้อมูลบุคคลทั่วไปสามารถเข้ารับชมได้เป็นเว็บไซต์ที่มีประโยชน์เนื่องจากมีตัวอย่างและวิธีการทาพร้อม ที่สามารถนาไปทาตามได้ ข
  • 5. กิตติกรรมประกาศ โครงงานนี้เกิดจากการดาเนินงานที่ประกอบด้วยหลายขั้นตอน ตั้งแต่การศึกษาหาข้อมูล การลงมือทา ก า ร ท า รู ป เ ล่ ม จ น ก ร ะ ทั่ ง ก า ร น า เ ส น อ ในการทางานดังกล่าวพวกข้าพเจ้าได้รับคาแนะนาและแนวทางในการทางานจากบุคคลต่างๆหลายท่าน ตลอ ดจ น ได้รับ กา ลั งใจ จ า กเพื่ อน ๆใน กลุ่ม จึงทา ให้ โค รงงา น นี้ สา เร็จ ลุล่ วงไป ด้วย ดี คณะผู้จัดทาจึงขอขอบคุณท่านผู้ใหญ่ทั้งหลายมา ณ โอกาสนี้ กราบขอบคุณมิสเขมจิราที่ให้แนวทางในการดาเนินการไม่ว่าจะเป็นการสร้างเว็บ การจัดรูปแบบรายงาน วิธีการแก้ปัญหาต่างๆ ตลอดจนคาแนะนาที่ทาให้โครงงานนี้สาเร็จลุล่วงไปด้วยดี สุดท้ายนี้ขอขอบพระคุณพ่อและแม่ที่มีความกรุณาสละเวลามาช่วยงานและรับส่งไปยังที่ทางานต่า งๆ คณะผู้จัดทาขอขอบพระคุณอย่างสูง คณะผู้จัดทา ค
  • 6. สารบัญ บทคัดย่อ ข กิตติกรรมประกาศ ค สารบัญ ง สารบัญรูปภาพ จ บทที่ 1. บทนา 1 ที่มาและความสาคัญ 1 วัตถุประสงค์ 1 สมมุติฐาน 1 ขอบเขตการศึกษา 1 2. เอกสารที่เกี่ยวข้อง 2 ขนมไทย 2 ข้อมูลทั่วไปของถั่วเขียว 3 ถั่วกวน 10 3. วิธีดาเนินการศึกษา 12 วัตถุดิบ 12 วิธีทา 12 4. ผลการดาเนินงาน 13 ผลการพัฒนาโครงงาน 13 ตัวอย่างโครงงาน 13 5. สรุปผลการดาเนินงานและข้อเสนอแนะ 15 การดาเนินงานจัดทาโครงงาน 15 สรุปผลการดาเนินงานโครงงาน 15 ข้อเสนอแนะ 15 บรรณานุกรม 16 ง
  • 7. สารบัญภาพ รูปที่ 1 ต้นถั่วเขียว 3 รูปที่ 2 ฝักถั่วเขียว 4 รูปที่ 3 ถั่วเขียวผิวดา 5 รูปที่ 4 เพลี้ยอ่อน 10 รูปที่ 5 ถั่วกวน 11 รูปที่ 6 บล็อก Beansnack 13 รูปที่ 7 บล็อก Beansnack 14 รูปที่ 8 บล็อก Beansnack 15 จ
  • 8. บทที่ 1 บทนา ที่มาและความสาคัญ ในปัจจุบันเศรษฐกิจของประเทศไทยนั้นเริ่มเติบโตมากขึ้นและมีการใช้เทคโนโลยีในโรงงานมากขึ้นซึ่งก ารนาเทคโนโลยีเข้ามาใช้แทนแรงงานคนนั้นจึงทาให้ประชากรจานวนมากที่ต้องตกงานและขาดรายได้ไม่มีเงินป ระทั้งชีวิตทางคณะผู้จัดทาจึงเล็งเห็นความสาคัญของจุดประสงค์ต่างๆนี้จึงได้จัดทาบล็อกขึ้นมาเพื่อเป็นแนวทา งในการเลือกทาสิ่งที่คุ้มค่าสาหรับเวลาที่เสียไปโดยเลือกวัตถุดิบที่หาได้ง่ายตามท้องตลาดและประหยัดค่าใช้จ่า ยนามาทาผลิตภัณฑ์ที่มีประโยชน์ และผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่าผู้ใช้จะได้ประโยชน์จากเว็บบล็อกนี้ไม่มากก็น้อย วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเพิ่มรายได้ให้แก่ผู้ยากไร้ 2. เพื่อใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ สมมติฐาน วัตถุดิบที่สามารถหาได้ตามท้องตลาดนั้นสามารถเพิ่มรายได้ได้หรือไม่ ขอบเขตการศึกษา สร้างเว็บไซต์เผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับการทาถั่วกวนอบควันเทียนที่มีวัตถุดิบจามท้องถิ่นโดยจัดทาในบล็ อกเกอร์ในการสร้างเว็บไซต์และใช้โปรแกรมMicrosoft Office 2010และPhotoshop Cs 6 ในการตกแต่งและจัดเรียงเว็บไซต์ให้สวยงามและน่าสนใจ 1
  • 9. บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง ในการจัดทาโครงงานคอมพิวเตอร์ พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา เว็บไซต์ การทาถั่วกวนอบควันเทียนจากวัตถุดิบท้องถิ่นให้ความรู้เกี่ยวกับการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ คณะผู้จัดทาได้ศึกษาข้อมูล เอกสารที่เกี่ยวข้อง ดังนี้ 2.1 ขนมไทย 2.2 ข้อมูลทั่วไปของถั่วเขียว 2.3 ถั่วกวน 2.1 ขนมไทย 2.1.1 ประวัติขนมไทย ขนมจัดเป็นอาหารที่คู่สารับกับข้าวไทยมาตั้งแต่ครั้งโบราณ โดยใช้คาว่าสารับกับข้าวคาว-หวาน โดยทั่วไปประชาชนจะทาขนมเฉพาะในงานเลี้ยง นับตั้งแต่การทาบุญเลี้ยงพระ งานมงคลและงานพิธีการ อาหารหวานที่จัดเป็นสารับจะต้องประกอบด้วย ของหวานอย่างน้อย 5 สิ่ง ซึ่งต้องเลือกให้มีรสชาติ สีสัน ชนิด ตลอดจนลักษณะที่กลมกลืนกัน แต่ละสารับจะต้องมีผลไม้ 10 ที่ และขนมเป็นน้า 1 ที่เสมอประเทศไทยครั้งยังเป็นสยามประเทศได้ติดต่อค้าขายกับชาวต่างชาติ เช่น จีน อินเดีย มาตั้งแต่สมัยสุโขทัยโดยส่งเสริมการขายสินค้าซึ่งกันและกัน ตลอดจนแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมด้านอาหารการกินร่วมไปด้วยต่อมาในสมัยอยุธยาและรัตนโกสินทร์ ได้มีการเจริญสัมพันธไมตรีกับประเทศต่าง ๆ อย่างกว้างขวางไทยได้รับเอาวัฒนธรรมด้านอาหารของชาติต่าง ๆ มาดัดแปลงให้เหมาะสมกับสภาพท้องถิ่น วัตถุดิบที่หาได้ เครื่องมือเครื่องใช้ ตลอดจนการบริโภคนิสัยแบบไทย ๆ จนทาให้คนรุ่นหลัง ๆ แยกไม่ออกว่าอะไรคือขนมที่เป็นไทยแท้ ๆ และอะไรดัดแปลงมาจากวัฒนธรรมของชาติอื่น เช่น ขนมที่ใช้ไข่และขนมที่ต้องเข้าเตาอบ ซึ่งเข้ามาในรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราชจากคุณท้าวทองกีบม้าภรรยาเชื้อชาติญี่ปุ่น สัญชาติโปรตุเกสของเจ้าพระยาวิชเยนทร์ ผู้เป็นกงศุลประจาประเทศไทยในสมัยนั้น ไทยมิใช่เพียงรับทองหยิบ 2
  • 10. ทองหยอด และฝอยทองมาเท่านั้น หากยังให้ความสาคัญกับขนมเหล่านี้โดยใช้เป็นขนมมงคลอีกด้วย ส่วนใหญ่ตารับขนมที่ใส่มักเป็น “ของเทศ” เช่น ทองหยิบ ฝอยทอง ทองหยอดจากโปรตุเกส มัสกอดจากสกอตต์ ขนมไทย เป็นเอกลักษณ์ด้านวัฒนธรรมประจาชาติไทยอย่างหนึ่งที่เป็นที่รู้จักกันดี เพราะเป็นสิ่งที่แสดงให้เห็นถึงความละเอียดอ่อนประณีตในการทา 2.2 ข้อมูลทั่วไปของถั่วเขียว ถั่วเขียว (Mungbean) จัดเป็นพืชไร่ที่นา ส่วนของเมล็ดมา ใช้ประ โยชน์ในหลา ยด้า น ไม่ว่าจะเป็นการนามาประกอบอาหารหรือของหวาน การแปรรูปเป็นวุ้นเส้น การเพาะเป็นถั่วงอก การนาไปผสมอาหารสัตว์ เป็นต้น ซึ่งปัจจุบันมีการปลูกมากในพื้นที่ต่างๆ ทั้งส่งเข้าโรงงานแปรรูป ส่งออกต่างประเทศ และนามาจาหน่ายบริโภค 2.2.1 ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ราก ถั่วเขียวมีรากเป็นระบบรากแก้ว (Tap Root System) เหมือนกับถั่วเหลือง และมีรากแขนง (lateral root) เจริญแตกออกมาจากรากแก้ว รากของถั่วเขียวมักยั่งลึก และรากแขนงเยอะ ทาให้ถั่วเขียวเติบโตได้เร็วดินที่มีความชื้น บริเวณรากมักจะพบปมของเชื้อแบคทีเรียไรโซเบียม (Rizobium spp.) ทาหน้าที่ช่วยตรึงไนโตรเจน ลาต้นถั่วเขียวเป็นพืชล้มลุก มีลักษณะลาต้นตั้งตรง แตกกิ่งก้านเป็นพุ่ม ความสูงทรงพุ่มประมาณ 30- 150 เซ น ติ เม ต ร ซึ่ ง ขึ้ น อ ยู่ กั บ พั น ธุ์ ล า ต้ น เป็ น เห ลี่ ย ม มี ข น อ่ อ น ป ก ค ลุ ม ทั้ ง นี้ ถั่วเขียวบางสายพันธุ์อาจมีลักษณะลาต้นเลื้อย ใบ ใบเลี้ยง (Cotyledon) เป็นใบแรกหลังการงอก ส่วนใบจริงคู่แรก (Unifoliate Leaves) ที่มี 2 ใบ เป็นใบที่เกิดจากใบเลี้ยง เมื่อโตสักระยะจะเป็นใบประกอบ 3 ใบ (Trifloliate Leaves) เกิดสลับบนต้น 3 รูปที่ 1ต้นถั่วเขียว
  • 11. และใบหนึ่งๆจะประกอบด้วยใบย่อย (Leaflet) จานวน 3 ใบ ก้านใบ (Petiole) บริเวณฐานมีหูใบ (Stipule) 2 อัน ดอกมีลักษณะเป็นช่อ (Inflorescence) เกิดขึ้นบริเวณมุมใบด้านบนบริเวณปลายยอด และกิ่งก้าน ช่อดอกประกอบด้วยก้านดอก (Peduncle) ยาว 2-13 เซนติเมตร เส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 1 เซนติเมตร ดอกเกิดเป็นกลุ่ม จานวนดอกประมาณ 10-15 ดอก สีดอกมีหลายสี เช่น สีเหลือง สีขาว และสีม่วง ฝักมีลักษณะกลมยาว สีเขียว ปลายโค้งงอเล็กน้อย โดยเฉพาะถั่วเขียวผิวมัน ส่วนถั่วเขียวผิวดาฝักจะตรง และสั้นกว่าถั่วเขียวผิวมัน เมื่อแก่จะมีสีน้าตาลจนถึงสีดาตามอายุ และขึ้นอยู่กับพันธุ์ ฝักจะมีเมล็ดประมาณ 10-15 เมล็ด 100 เมล็ด หนักประมาณ 2-8 กรัม ขึ้นอยู่กับพันธุ์ 2.2.2 ประโยชน์ของถั่วเขียว 1. นามาประกอบอาหาร โดยเฉพาะอาหารประเภทของหวานได้หลายชนิด เช่น ถั่วเขียวต้ม 2. นามาแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร อาทิ ทาวุ้นเส้น ทาแป้ง เป็นต้น 3. นามาสกัดเป็นน้ามันถั่วเขียวสาหรับประโยชน์ในด้านต่างๆ เช่น ใช้ประกอบอาหาร ส่วนผสมเครื่องสาอาง ใช้ในภาคอุตสาหกรรม เป็นต้น 2.2.3 ชนิดของถั่วเขียวในประเทศไทย ชนิดของถั่วเขียวในประเทศไทย แบ่งตามลักษณะเปลือกเป็น 4 ชนิด คือ รูปที่ 2 ฝักถั่วเขียว 4
  • 12. 1. ถั่วเขียวเมล็ดมัน เป็นถั่วเขียวที่มีลักษณะเมล็ดสีเขียวมีมันวาว ฝักเมื่อแก่จะลักษณะสี 2 สี ตามสายพันธุ์ คือ พันธุ์อู่ทอง ฝักมีสีดา และพันธุ์พื้นเมืองฝักขาว ฝักมีสีขาวนวล 2. ถั่วเขียวธรรมดา หรือถั่วเขียวเมล็ดด้าน เป็นถั่วเขียวที่มีสีเขียว มีลักษณะเมล็ดด้าน 3. ถั่วเขียวสีทอง มีลักษณ ะ คล้ายกับถั่วเขียวผิวมัน และถั่วเขียวธรรมดา แต่เมล็ดมีสีเขียวอมเหลือง มีทั้งลักษณะเมล็ดด้าน และเมล็ดมัน 4. ถั่วเขียวผิวดา เป็นถั่วเขียวที่มีลักษณ ะ เมล็ดคล้ายกับถั่วเขียวธร รมดา แต่ต่างจากถั่วเขียวธรรมดาคือ ลาต้นมีทรงพุ่มใหญ่ และแตกกิ่งก้านมากกว่า บางพันธุ์อาจมีลักษณะยอดเลื้อยพันกัน ใบหนา ลาต้นมีขนปกคลุม ลักษณะก้านใบ และฝักหนากว่า ดอกออกสีเขียวอมเหลือง ฝักป้อมสั้นกว่า เมล็ดมีสีดามีขนาดปานกลาง อายุเก็บเกี่ยวในช่วง 80-90 วัน 2.2.4 การปลูกถั่วเขียว การปลูกถั่วเขียวในบ้านเราแบ่งตามช่วงฤดูเป็น 3 ฤดูกาล คือ 1. ก า ร ป ลู ก ถั่ ว เ ขี ย ว ผิ ว มั น ต้ น ฤ ดู ฝ น มักเป็นการปลูกตามพื้นที่ไร่ในต้นฤดูฝนช่วงเดือนเมษายน -ต้นเดือนมิถุนายน แ ล ะ จ ะ เ ก็ บ เ กี่ ย ว ใ น ช่ ว ง เ ดื อ น ก ร ก ฎ า ค ม -สิ ง ห า ค ม การปลูกถั่วเขียวในลักษณะนี้จะมีผลผลิตประมาณร้อยละ 10 ของผลผลิตทั้งหมด เนื่ อ งจ า ก เป็ น ก า ร ป ลู ก บ า งพื้ น ที่ เพื่ อ ก า ร ผ ลิ ต ถั่ วเขี ย ว งโด ย เฉ พ า ะ รูปที่ 3 ถั่วเขียวผิวดา 5
  • 13. กา ร ป ลู ก ใน ช่ วงนี้ ถั่ วเขี ย ว จ ะ เจ ริญ เติ บ โต ดี แ ต ก กิ่ งก้ า น ส า ข า ม า ก เพราะได้รับน้าฝนอย่างต่อเนื่อง มีอุณหภูมิ และความชื้นเหมาะแก่การเจริญเติบโต จึงทาให้ได้ผลผลิตต่อไร่สูงกว่าฤดูอื่น แต่อาจประสบปัญหาเรื่องฝักเสียหายจากน้าฝน 2. กา ร ป ลูกถั่ วเขี ยวป ลา ย ฝน มัก ปลู กใน ช่ วงเดือน สิ งห า คม -กัน ยา ย น แ ล ะ เก็ บ เกี่ ย ว ผ ล ผ ลิ ต ป ร ะ ม า ณ เดื อ น พ ฤ ศ จิ ก า ย น -ธั น ว า ค ม ถั่วเขียวที่ผลิตในช่วงนี้มีปริมาณมากที่สุด ประมาณร้อยละ 80 ของผลผลิตทั้งหมด เนื่องจากมีปริมาณพื้นที่ปลูกมากขึ้นหลังหลังการเก็บเกี่ยวพืชไร่อื่น ๆ เช่น ปลูกหลังข้าวโพด ปลูกหลังถั่วลิสง เป็นต้น 3. การปลูกถั่วเขียวผิวมันหลังฤดูการเก็บเกี่ยวข้าว การปลูกถั่วเขียวในลักษณะนี้ เรียกว่า ถั่ วน า โด ย ป ลู ก ใน ช่ ว งเดื อ น ธั น ว า ค ม -ม ก ร า ค ม ห ลั งก า ร เก็ บ เกี่ ย ว และเก็บเกี่ยวประมาณเมษายน-พฤษภาคม มีผลผลิตประมาณร้อยละ 10 ของผลผลิตทั้งหมด เนื่องจากมีพื้นที่การปลูกน้อย และมีเฉพาะบางพื้นที่ ถั่วเขียวผิวมันถือเป็นพันธุ์ถั่วเขียวที่นิยมปลูกมากที่สุด เนื่องจากมีความต้องทางตลาดสูง และสามารถนาไปแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ได้หลากหลาย ปัจจุบันมี 3 พันธุ์ คือ พันธุ์อู่ทอง1 พันธุ์กาแพงแสน1 และพันธุ์กาแพงแสน 2 ถั่วเขียวพันธุ์อู่ทอง 1 เป็นพันธุ์ที่เกษตรกรนิยมปลูกมานาน พันธุ์นี้ มีชื่อเดิมว่า พันธุ์ M7 A ได้รับการปรับปรุง และคัดพันธุ์ในปี 2514 เป็นพันธู์มีลักษณะดีเด่นหลายด้าน ได้แก่ ต้นมีลักษณะเป็นพุ่ม สูงตั้งแต่ 50 – 75 เซนติเมตร กิ่งก้านมาก ใบใหญ่ ออกดอกเมื่ออายุ 35 วัน ดอกออกเป็น 2 ชุด ดอกชุดที่สองเริ่มออกเมื่อฝักรุ่นแรกเริ่มแก่ ฝักเป็นกระจุก 5-8 ฝัก ฝักชุดแรกมีเฉลี่ยต้นละ 15 – 25 ฝัก หนึ่งฝักมี 8-14 เมล็ด ฝักอ่อนมีสีเขียว และสีดาเมื่อแก่ ฝักค่อนข้างเหนียว ไม่เปราะ และแตกง่าย เมล็ดมีสีเขียวผิวเมล็ดมันวาว อายุการเก็บเกี่ยวที่ 65-70 วันหลังงอก ให้ผลผลิตสูง 150-200 กิโลกรัม/ไร่ สามารถเก็บผลผลิตได้ 2 ครั้ง ลักษณะดินที่เหมาะสาหรับปลูกถั่วเขียวจะเป็นดินร่วน ดินร่วนปนทราย ดินร่วนซุ่ยดี มีหน้าดินลึก ระบายน้า และไม่มีน้าท่วมขัง มีแร่ธาตุ N P K และอินทรีย์วัตถุที่เพียงพอ และควรมีจุลินทรีย์ในดินสูง 6
  • 14. สาหรับดินเหนียวหรือดินเลน เป็นดินที่ให้ผลผลิตถั่วไม่ค่อยดี เนื่องจากอุ้มน้าดี ทาให้ดินแฉะ และท่วมขังง่าย หากต้องการปลูกจะต้องทาร่องหรือทางน้าไหลสาหรับระบายน้าออกแปลง โดยเฉพาะการปลูกในฤดูฝน ส่วน ดิ น ที่ มี ลั กษ ณ ะ เป็ น ดิ น ท ร า ย จั ด มัก พ บ เป็ น พื้ น ที่ ไร่ใน ที่ สู ง เช่ น พื้นที่ไร่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พื้นที่ลักษณะนี้มักประสบปัญหาเรื่องน้าไม่เพียงพอ และมีความอุดมสมบูรณ์ต่า จึงต้องบารุงดินด้วยปุ๋ยหมัก และปุ๋ยเคมีในปริมาณที่พอเหมาะ แ ล ะ ที่ ส า คั ญ ต้ อ ง จั ด ห า ร ะ บ บ ใ ห้ น้ า ที่ เ พี ย ง พ อ แต่โดยทั่วไปการปลูกในพื้นที่ดินทรายมักปลูกในช่วงฤดูฝนเพื่อแก้ปัญหาการขาดแคลนน้า หรือปลูกในที่ดอนหลังการเก็บเกี่ยวข้าว การเตรียมดิน ลักษณ ะ การ เตรียมดินอา จ แตกต่างกันตา มสภา พพื้นที่ และฤดูการ ปลูก โดยทั่วไปจะทาการเตรียมดินด้วยการไถพรวนดิน และกาจัดวัชพืชอย่างน้อย 1- 2 ครั้ง โดยอาจไถครั้งเดียวก่อนปลูกเพื่อลดต้นทุน ด้วยการไถหน้าดินลึกประมาณ 30 ซม. โดย มีร ะ ย ะ ห่ า งกา ร ไถ ป ร ะ ม า ณ 1-2 อา ทิ ตย์ แล ะ 5-10 วันก่ อน ป ลู ก การไถก่อนปลูกมักไถขึ้นร่อง เป็นร่องเดี่ยว กว้าง 30-40 ซม. วิธีการปลูก และระยะปลูก 1. การ ปลูกเป็นห ลุม วิธีนี้เป็นการปลูกโดยวิธีขุดหลุมบนคันร่องที่เตรียมไว้ โดยมีระยะระหว่างแถวประมาณ 50 เซนติเมตร และระยะระหว่างหลุม 20 เซนติเมตร หยอดเมล็ดหลุมละ 2-3 ต้น ความลึกประมาณ 2-3 เซนติเมตร ซึ่งจะใช้เมล็ด 3-5 กิโลกรัม/ไร่ 2. ก า ร ป ลู ก แ บ บ โร ย เป็ น แ ถ ว วิ ธีนี้ เป็ น ก า ร ป ลู ก บ น คั น ร่อ งเช่ น กั น ด้วยการเปิดร่องตามแนวยาวบนคันร่อง ระยะระ หว่างร่อง 50 เซนติเมตร ทาการโรยเมล็ดลงในร่อง 10-15 เมล็ด ต่อระยะ 1 เมตร ความลึกประมาณ 2-3 เซนติเมตร 7
  • 15. ใช้เมล็ดประ มาณ 5 กิโลกรัม/ไร่ ไม่ควรลึกมากกว่านี้เพราะเมล็ดจะงอกยาก หรืองอกแล้วอาจเน่าได้ ภายหลังจากโรยเมล็ดให้เกลี่ยดินด้านบนกลบตาม การตรวจเช็คการงอก การปลูกซ่อม และการถอนแยก โดยทั่ วไป เมล็ดถั่วเขียวจ ะ งอกภา ยใน 3-5 วัน หลังปลูก บา งพื้น ที่ เช่น ภาคเหนือที่ปลูกในช่วงอากาศหนาว เมล็ดอาจงอกช้าขึ้นประมาณ 4-7 วัน หลังปลูก บางหลุมหรือบางส่วนเมล็ดอาจไม่งอกจากสาเหตุของเมล็ดถูกทาลายจากแมลงหรือสัตว์หน้า ดิ น ร ว ม ถึ ง ค ว า ม ชื้ น ห รื อ ป ลู ก ใ น ร ะ ดั บ ที่ ลึ ก เ กิ น จึ ง จ า เป็ น ต้ อ ง ต ร ว จ ส อ บ ก า ร ง อ ก ข อ ง เม ล็ ด ใ น แ ต่ ล ะ แ ถ ว หากหลุมหรือแนวเมล็ดที่ไม่งอกให้ทาการหยอดเมล็ดปลูกซ่อมแซมใหม่โดยเร็วเพื่อให้ต้นเกิดใ หม่สามารถเก็บเกี่ยวได้พร้อมกับต้นอื่นๆ โดยไม่ควรปลูกซ่อมแซมภายหลังจาก 5 วัน หลังเมล็ดถั่วที่ปลูกครั้งแรกงอก ส่วนบางหลุมที่มีการหยอดเมล็ด และเมล็ดเกิดงอกมากกว่า 3 ต้น/หลุม ให้ทาการถอนต้นถั่วเขียวที่เล็กหรือไม่สมบูรณ์ทิ้ง โดยให้เหลือเพียง 2-3 ต้น/หลุม ก า ร ค ลุ ก เ ชื้ อ ไ ร โ ซ เ บี ย ม แ ล ะ ก า ร ใ ห้ ปุ๋ ย บ า ง พื้ น ที่ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการเจริญเติบโตมักใช้เมล็ดคลุกเชื้อเชื้อไรโซเบียมก่อนปลูก เพื่อให้เชื้อไรโซเบียมติดบริเวณรากถั่ว และสร้างปมสาหรับตึงธาตุอาหารไนโตรเจน โดยใช้เชื้อ 1 ถุง ขนาด 200 กรัม ต่อเมล็ดพันธุ์ 5 กิโลกรัม ก า ร ใส่ ปุ๋ ย แ ก่ ถั่ วเขี ย ว มั ก ใช้ ปุ๋ ย สู ต ร 16-20-0 อั ต ร า 25 กิ โล ก รัม / ไร่ ใส่ร องก้ นหลุมห รือโรยตา มแน วร่องก่อน ปลูก และ ใส่ปุ๋ ยสูตร 12-12-24 ในระยะที่ต้นเริ่มแตกงอ การป้องกันกาจัดวัชพืช 1. สารเคมีสาหรับป้องกันกาจัดวัชพืชที่ได้ผลดี คือ อะลาคลอร์ (Alachlor) ในอัตรา 300- 600 ซี.ซี./ไร่ โดยฉีดพ่นหลังปลูกเสร็จทัน ไม่ควรการฉีดพ่นหลังมีการงอดของเมล็ด ในระยะที่มีวัชพืชเริญเติบโตแล้ว อาจใช้ฉีดพ่นด้วยสารพาราควอท อัตรา 300-400 ซี.ซี./ไร่ 2. การป้องกันกา จัดวัชพืชโดยใช้แรงงาน เป็นวิธีที่ปลอดภัยต่อเกษตรกร และคุณภาพของถั่วเขียวมากที่สุด เนื่องจากไม่ต้องเสี่ยงอันตราย จากสารเคมี 8
  • 16. และผลที่อาจเกิดกับต้นถั่วของสารเคมี ซึ่งมักใช้จอบถากกาจัดวัชพืชตามแนวแถวให้หมด โดยอาจต้องทาการกาจัด 1-2 ครั้ง ตลอดอายุการปลูก ในช่วง 10-14 วันหลัง และ 30-40 วัน หลังปลูก 2.2.5 โรคของถั่วเขียว และการป้องกันกาจัด 1. โรค ใบจุ ดสีน้ า ตา ล (Cercospora Leafs Spot) โร คนี้ พบ ร ะ บ า ดใน ฤดูฝ น เ ป็ น โ ร ค ที่ เ กิ ด จ า ก เ ชื้ อ Cercospora canescens Ellis & Martin มั ก เ กิ ด กั บ ถั่ ว เ ขี ย ว อ า ยุ ตั้ ง แ ต่ 2 สั ป ด า ห์ ห ลั ง ก า ร ง อ ก และมีการระบาดมากในช่วงออกดอกจนถึงระยะที่ใกล้เก็บเกี่ยว ลักษณะของโรค คือ ใบเป็นจุดสีน้าตาล มีลักษณะค่อนข้างกลม ตรงกลางแผลมองเห็นเป็นเส้นใยสีเทา ขนาดแผลเส้นผ่าศูนย์กลาง 1 มม. – 5 มม. อาจมีลักษณะเป็นวงสีเหลืองรอบแผล ขณะขยายตัว เมื่อแผลชิดกันจะมีลักษณะสีน้าตาล ผลของโรค คือ ทาให้ฝักลีบ และมีขนาดเล็ก การแก้ไขโดยการฉีดสารเคมีพวกท็อกซิน เคลซีน หรือเบนเลท อัตรา 6-12 กรัม หรือ 1-2 ช้อนแกงต่อน้า 20 ลิตร โดยฉีดพ่นเมื่อถั่วอายุประมาณ 30 วัน หลังงอก และฉีดพ่นทุก ๆ 14 วัน 2. โรคราแป้ง (Powdery Mildrew) โรคนี้พบการระบาดในช่วงฤดูหนาวถึงฤดูแล้ง โดยเฉพาะในช่วงที่มีอากาศเย็น เป็นเชื้อราพวก Oidium sp. สปอร์จะได้รับความชื้น และ เติบ โต สร้า งเส้ น ใยดู ดกิ น น้า เลี้ ยงจ า ก ผิวใบ ข องถั่ว ท า ให้ ใบ แ ห้ ง ลักษณะที่พบมักเกิดตามใบล่าง โดยมีเส้นใยของราสีขาวคล้ายผงแป้งบนใบถั่ว ต่อมา ใบ เปลี่ยนเป็นสีน้า ตา ลแดง และ แห้งตา ย ต้นถั่วเขียวแคระ แกร น หากเกิดโรคในระยะออดอกหรือติดฝัก จะทาให้ผลผลิตน้อยลง ก า ร ป้ อ ง กั น ไ ด้ ห ล า ย วิ ธี เช่ น ก า ร ก า จั ด วั ช พื ช ใ น แ ป ล ง การปลูกถั่วเขียวสลับกับพืชอื่นในระหว่างแถว ส่วนการใช้สารเคมี จะใช้สารพวกเบนเลท อัตรา 6-12 กรัม ต่อน้า 20 ลิตร ฉีดพ่น เมื่อถั่วเขียวอายุ 30 วัน หลังงอก และฉีดซ้าทุก ๆ 14-15 9
  • 17. 2.2.6 แมลงศัตรูถั่วเขียว และการป้องกันกาจัด 1. หนอนแมลงวันเจาะต้นถั่ว (bean fly) เกิดจากหนอนแมลงที่วางไข่ ( 50-100 ฟอง/ตัว) ในระยะต้นกล้าหลังงอกใหม่ เมื่อฟักตัวเป็นหนอนจะเข้ากัดกินเนื้อเยื่อตามใบ และลาต้น ทาให้ต้นถั่วตาย หากเป็นต้นถั่วโตแล้ว หนอนจะเข้าเจาะกินลาต้นบริเวณยอด ทาให้ยอดเหี่ยวตาย การป้องกัน และกาจัดทา โดยการหว่านฟูราดาน 3%G อัตรา 3-5 กิโลกรัม/ไร่ ก่อนปลูกหรือหลังปลูก หรือฉีดพ่นด้วยสารโมโนโครโตฟอส 56% WSC อัตรา 15-20 ซี.ซี./น้า 20 ลิตร หลังการงอก 7 วัน 2. เพ ลี้ ย อ่ อ น ( Aphid) พ บ ร ะ บ า ด ม า ก ใน ฤ ดู แ ล้ งห รื อ ฝ น ทิ้ ง ช่ ว ง โดยเพลี้ยจะเข้าดูดกินน้าเลี้ยงตามยอดอ่อน ใบอ่อน ช่อดอก และฝักอ่อน ทาให้ยอดหงิกงอ ด อ ก ร่ ว ง ฝั ก ร่ ว ง แ ล ะ ต้ น แ ค ร ะ แ ก ร น ก า ร ป้ อ ง กั น ก า จั ด ทาได้โดยการฉีดพ่นด้วยสารโมโนโครโตฟอส์ อัตรา 25-30 ซี.ซี./น้า 20 ลิตร 3. เพ ลี้ย ไฟ (Thrips) พ บ ระ บา ด มา กใน ช่วงฝน ฝน ทิ้งช่วง และ แ ดดร้อ น โดยเข้าดูดกินน้าเลี้ยงจากส่วนยอด และดอก ทาให้ยอดหงิกงอ ใบแห้ง ดอกร่วง ฝักอ่อนร่วงหรือลีบ ไม่ติดเมล็ด ป้องกัน และกาจัดโดยวิธีฉีดพ่นด้วยสารโมโนโครโตฟอส 56% WSC อัตรา 25-30 ซี.ซี./น้า 20 ลิตร 4. หนอนเจาะฝัก (Pod Borers) พบระบาดในปลายฤดูฝนหรือฤดูแล้ง ป้องกัน และกาจัดโดยการฉีดพ่นโมโนโครโตฟอส 56% WSC อัตรา 40-50 ซี.ซี./น้า 20 ลิตร 5. มอดถั่ว (Bean Seed Beetly) เป็นแมลงที่เข้าทาลายเมล็ดถั่วในระยที่อยู่ในฝัก ส า ม า ร ถ ติ ด ไป กั บ เม ล็ ด ใน ช่ ว งก า ร เก็ บ เกี่ ย ว ท า ให้ มี ก า ร แ พ ร่พั น ธุ์ แ ล ะ กั ด กิ น เม ล็ ด ข ณ ะ เก็ บ ใน ถุ ง ก ร ะ ส อ บ ส า ม า ร ถ ป้ อ ง กั น และกาจัดได้โดยการคลุกเมล็ดด้วยสารเคมีพวกมาลาไธออนผง หรือสารอลามอน หากต้องการเก็บไว้นาน ส่วนเมล็ดที่เก็บไว้บริโภคนั้นไม่ควรคลุกสารเคมีใดๆ แต่สามารถป้องกันได้โดยการคลุกด้วยน้ามันถั่วเหลือง ประมาณ 3-5 ซี.ซี./เมล็ด 1 กิโลกรัม 10
  • 18. 2.3 ถั่วกวน 2.3.1 ส่วนผสม ถั่วเขียว 3 ถ้วยตวง น้าตาลทราย 3 ถ้วยตวง มะพร้าวขูดขาว 4 ถ้วยตวง เกลือป่น 4 ช้อนชา น้าดอกมะลิสด 2 ถ้วยตวง 2.3.2 วิธีทา 1. นาถั่วเขียวแช่น้า กะเทาะเปลือกออกให้หมด นึ่งหรือหุงให้สุกนุ่ม นามาโขลกให้ละเอียด 2. แบ่งมะพร้าว 2 ถ้วยตวง คั้นกับน้าดอกมะลิเอาแต่หัวข้นๆ ละลายกับน้าตาลทราย แล้วกรองให้สะอาด 3. ใส่ถั่ว เกลือและมะพร้าวที่เหลือ คนให้เข้ากัน กวนไปจนเหนียวปั้นได้ (ถั่วกวนที่ดีควรจะนุ่ม เหนียว ไม่ติดมือเวลาปั้น) 4. เทใส่ถาดแบนๆ กดให้หน้าเสมอกัน พอเย็นตัดเป็นชิ้นสี่เหลี่ยมหรือรูปต่างๆ ตามต้องการ ผึ่งไว้ประมาณครึ่งชม. จึงเก็บใส่ขวดโหลไว้รับประทาน 11 รูปที่ 4 เพลี้ยอ่อน
  • 19. บทที่ 3 วิธีดาเนินการศึกษา ก า ร จั ด ท า โ ค ร ง ง า น ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์ ถั่ ว ก ว น อ บ ค วั น เ ที ย น คณะผู้จัดทาโครงงานมีวิธีการดาเนินงานโครงงาน ตามขั้นตอนดังต่อไปนี้ 3.1 วัตถุดิบ 3.1.1 ถั่วทองดิบ 300 กรัม 3.1.2 หัวกะทิข้นๆ 2 1/2 ถ้วย 12 รูปที่ 5ถั่วกวน
  • 20. 3.1.3 น้าตาลทรายขาว 1 1/2 ถ้วย 3.1.4 มะพร้าวทึนทึกขูดขาว 100 กรัม 3.1.5 เกลือ 3/4 ช้อนชา 3.2 วิธีทา 3.2.1 เริ่มต้นเราก็จะต้องมาทาการบดถั่วถ้ามีเครื่องปั่นน้าผลไม้ที่เป็นโถสูงๆ ก็ให้เอาถั่วผสมกับน้ากะทิ แล้วเอาไปปั่นในเครื่องปั่นน้าผลไม้จนกระทั่งละเอียดดี 3.2.2 บดถั่วเสร็จ เอาถั่วบดและส่วนผสมทั้งหมด เทใส่ลงไปในกระทะทอง หรือในภาชนะที่จะใช้กวน 3.2.3 เปิดไฟกลางและกวนไปเรื่อยๆ ประมาน 10-15นาที 3.2.4 หลังจาก15นาที กวนโดยใช้ไฟอ่อน อีกประมาน 10-15นาทีจนเริ่มได้ที่โดยสังเกตได้จาก การล่อนกระทะ 3.2.5 ทิ้งให้ถั่วเย็น 35 นาที 3.2.6 อบควันเทียนในกาละมัง ประมาน 5-6 ชม. 3.2.7 นาถั่วกวนมาปั้นพร้อมทาน บทที่ 4 ผลการดาเนินการ การ จัดท า งา นโคร งงาน พัฒ นา สื่อเพื่อกา ร ศึกษา เว็บไซต์ถั่วกวนอบ ควันเทีย น มีวัตถุประสงค์เพื่อเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับวิธีการทาถั่วกวนอบควันเทียนการแปรรูปถั่วและการถนอมอาหาร เพื่อสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้ 4.1 ผลการพัฒนาโครงงาน การพัฒนาโครงงานการศึกษาเว็บไซต์ถั่วกวนอบควันเทียนเพื่อเผยแพร่ความรู้การทาขนมถั่วกวนอบค วั น เที ย น เพื่ อ แ ป ร รู ป ถั่ ว ให้ มี อ า ยุ ที่ น า น ขึ้ น แ ล ะ เป็ น ก า ร ถ น อ ม อ า ห า ร 13
  • 21. ทางคณะผู้จัดทาได้ดาเนินงานตามขั้นตอนแผนงานที่ และนาเสนอผ่านทางเครือข่ายระบบอินเตอร์เน็ตที่ bakebeann.blogspot.com แ ล ะ ใ ช้ ซ อ ฟ แ ว ร์ อื่ น เ พื่ อ ใ ห้ เ กิ ด ค ว า ม น่ า ส น ใ จ โดยเว็บไซต์ของเราสามารถเข้าไปศึกษาได้ทุกเวลา ทุกที่ และรวดเร็วต่อการหาข้อมูล 4.2 ตัวอย่างโครงงาน ตัวอย่างเว็บบล็อก http://bakebeann.blogspot.com/ รูปที่ 6 บล็อก Beansnack 14
  • 22. รูปที่ 7 บล็อก Beansnack รูปที่ 8 บล็อก Beansnack บทที่ 5 สรูปผลการดาเนินงาน และ ข้อเสนอแนะ การจัดทาโครงงานคอมพิวเตอร์ เว็บไซต์ ถั่วกวนอบควันเทียน สามารถสรุปผลการดาเนินโครงงานและได้ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม ดังนี้ 5.1 การดาเนินงานจัดทาโครงงาน 5.1.1 วัตถุประสงค์ของโครงงาน 1.เพื่อเพิ่มรายได้ให้แก่ผู้ยากไร้ 15
  • 23. 2.เพื่อใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ 5.1.2 วัสดุอุปกรณ์เครื่องมือหรือโปรแกรมที่ใช้ในการพัฒนาโครงงาน 1.เครื่องคอมพิวเตอร์พร้อมมีระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต 2.ซอฟต์แวร์ -Microsoft word -Adobe Photoshop 3.ถั่ว,เทียน และอุปกรณ์ในการใช้สาหรับภาชนะ 5.2 สรุปผลการดาเนินโครงงาน การดาเนินโครงงานนี้บรรลุวัตถุประสงค์ที่ได้กาหนดไว้คือ เพื่อให้ความรู้ผู้ที่สนใจการทาขนมถั่วกวนอบควันเทียนซึ่งเป็นการถนอมอาหารอย่างหนึ่งทาให้ผู้ศึกษาสามารถเ ข้าใจได้ง่ายขึ้น โครงงานนี้จึงเป็นโครงงานที่มีประโยชน์และสามารถยืดอายุของถั่วได้นานขึ้น 5.3 ข้อเสนอแนะ 1. ควรมีการจัดทาเนื้อหาโครงงานให้หลากหลายมากว่านี้ 2. ควรมีการเผยแพร่ที่หลากหลายมากขึ้นเช่น youtube เป็นต้น บรรณานุกรม ขนมไทย แหล่งที่มา https://youyouol.wordpress.com/ วันที่ 21 กันยายน 2559 ข้อมูลทั่วไปของถั่วเขียว 16
  • 24. แหล่งที่มา http://puechkaset.com/ วันที่ 21 กันยายน 2559 ถั่วกวน แหล่งที่มา http://cooking.kapook.com/ วันที่ 21 กันยายน 2559