SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
โครงงานการปลูกพริก จัดทำโดย นางสาว รักษ์สุดา อ่อนบ้านแดง เลขที่ 21  ชั้น ม.6/3 เสนอ อาจารย์ คเชนทร์  กองพิลา
การปลูก  การปลูกพริก  อาจเลือกปฏิบัติได้  3  วิธี  ตามความเหมาะสม  คือ  1.  โดยวิธีการใช้เมล็ดพริกหยอดเมล็ดโดยตรงในหลุม  หลุมละ  3-5  เมล็ด  เมล็ดพริกหวานเปอร์เซ็นต์ความงอก  80%  ใช้เมล็ด  60-90  กรัม / ไร่  นิยมปฎิบัติในแปลงปลูกขนาดใหญ่  และไม่มีแรงงานเพียงพอในการย้ายต้นกล้า  จุดอ่อนของการปลูกโดยวิธีนี้คือ  ต้นพริกอ่อนแอ  อาจจะถูกมดและแมลงอื่น ๆ  กัดกินใบ  ทำให้สิ้นเปลืองเมล็ดพันธุ์  2.  เพาะเมล็ดพริกให้งอกแล้วนำไปปลูกในหลุม  กลบด้วยดินบาง ๆ  วิธีเพาะคือ  นำเมล็ดพันธุ์แช่น้ำ  แล้วเอาผ้าชุบน้ำหมาด ๆ  ห่อ  ทิ้งไว้ประมาณ  2  วัน  เมล็ดจะงอกแล้วนำไปปลูก     3.  เพาะเมล็ดในแปลงเพาะก่อน  แปลงเพาะกล้าควรใส่ปุ๋ย  15-15-15  ปริมาณ  100  กรัมต่อตารางเมตร  คลุกดินลึกประมาณ  5-8  นิ้ว  ควรใช้ฟูราดานในการเพาะด้วยเมื่อหว่านเมล็ดแล้วประมาณ  10  วัน  เมล็ดเริ่มงอก  ถ้ามีต้นหนาแน่น  ให้ถอนแยกหลังจากที่ใบจริงคลี่เต็มที่แล้ว  2-3  วัน  เมื่อกล้าอายุได้  18  วัน  รดด้วยปุ๋ยแอมโมเนียซัลเฟตละลายน้ำ  อัตราส่วน  1  กรัมต่อน้ำ  200  ซีซี .  แล้วรดน้ำตามทันที
การเตรียมดิน  ทำการย้ายปลูก  เมื่อกล้าสูงประมาณ  6  นิ้ว  เตรียมดินแปลงปลูก  โดยไถดะตากดินทิ้งไว้ประมาณ  5-7  วัน  ไถพรวน  1  ครั้ง  หลังจากนั้นใส่ปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยหมักให้ทั่วแปลงในอัตรา  3-4  ตัน / ไร่  ใส่ปุ๋ยวิทยาศาสตร์  สูตร  15-15-15  อัตรา  50  กก ./ ไร่  หว่านให้ทั่วพื้นที่ปลูก  แล้วพรวนกลบเข้ากับดินแล้วจึงเตรียมแปลงปลูกการเตรียมแปลงปลูก  สามารถทำได้หลายแบบ  แล้วแต่สภาพของพื้นที่ปลูกดังนี้คือ  1.  ปลูกแบบไม่ยกแปลง   เหมาะสำหรับพื้นที่ ๆ  มีการระบายน้ำดี  ปรับระดับได้สม่ำเสมอ  การปลูกแบบนี้อาจปลูกเป็นแถวเดียว  ใช้ระยะห่างระหว่างแถว  60-70  ซม .  ระหว่างต้น  50  ซม .  หรือปลูกเป็นแถวคู่  ระยะระหว่างแถวคู่  1  เมตร  ระหว่างแถว  50  ซม .  ระหว่างต้น  50  ซม .  2.  ปลูกแบบยกแปลง  เหมาะสำหรับพื้นที่ปลูกที่มีระดับน้ำใต้ดินสูง  ระบายน้ำดอกได้ยาก  ขนาดแปลงกว้าง  1.50  เมตร  ร่องน้ำกว้าง  50  ซม .  ลึก  50  ซม .  ปลูก  2  แถว  บนแปลง  โดยมีระยะห่างแถว  0.75-1.00  เมตร  ระหว่างต้น  50  ซม .  หรือปลูกเป็นแถวคู่  1  เมตร  ระหว่างแถว  50  ซม .  ระหว่างต้น  50  ซม .   
การปฎิบัติบำรุงรักษา  พริกเป็นพืชที่ทนแล้งดีกว่าทนน้ำ  แต่ในระยะที่พริกเริ่มออกดอก  พริกจะต้องการน้ำมากกว่าปกติ  พบว่า  การให้น้ำที่ไม่เพียงพอ  และอากาศแห้งแล้งจะทำให้ดอกอ่อน  ดอกบาน  และผลอ่อนที่เพิ่งติดร่วงได้  ในสภาพที่อากาศค่อนข้างเย็น  อุณหภูมิประมาณ  10-15  ซํ .  จะทำให้พริกเจริญเติบโตไม่ค่อยดี  มีการติดดอกต่ำ  และดอกร่วงในที่สุด  การให้น้ำควรจะลดลงหรืองดในช่วงที่เริ่มทำการเก็บผลพริกทั้งนี้เพราะถ้าให้น้ำพริกมากไปจะทำให้ผลมีสีไม่สวย  1.  การให้น้ำ  หลังจากปลูกสร้าง  ควรให้น้ำดังนี้  -  ช่วง  3  วันแรก  ให้น้ำวันละ  2  ครั้ง  เช้า  –  เย็น  -  ช่วง  4  วันต่อมา  ให้น้ำวันละครั้ง    -  ช่วงสัปดาห์ที่  2  ถึงสัปดาห์ที่  4  ให้น้ำสัปดาห์ละ  3  ครั้ง    -  ช่วงสัปดาห์ที่  5  ถึงสัปดาห์ที่  7  ให้น้ำสัปดาห์ละ  2  ครั้ง  -  ช่วงสัปดาห์ที่  7  ไปแล้วให้น้ำสัปดาห์ละ  1  ครั้ง  ทั้งนี้  การให้น้ำแก่พริกควรให้ตาม สภาพพื้นที่  และดูความชุ่มชื้นของดินประกอบด้วย
การใส่ปุ๋ย  การให้ปุ๋ยพริกขึ้นอยู่กับชนิดและคุณภาพของดินปลูกโดยทั่วไป  ปุ๋ยคอก  อัตรา  3-4  ตันต่อไร่  ผสมกับปุ๋ยวิทยาศาสตร์  15-15-15  อัตรา  50  กก . ต่อไร่  รองพื้นก่อนย้ายปลูกและหลังย้ายปลูกแล้ว  1  เดือน  จึงใส่ปุ๋ยสูตร  15-15-15  ในอัตรา  50  กก . ต่อไร่  อีกครั้งหนึ่ง  วิธีใส่โดยโรยกึ่งกลางระหว่างแถวปลูกแล้วพรวนกลบ  ในระยะนี้เป็นระยะที่พริกเริ่มจะมีตาดอก  ( แต่ยังไม่ออกดอก )  มีความต้องการธาตุอาหารเสริมบ้าง  ดังนั้นหลังจากใส่ปุ๋ยแล้ว  1-2  อาทิตย์  ควรฉีดปุ๋ยน้ำ  เช่น  ไบโฟลาน  ให้ทางใบ  ซึ่งพริกจะนำไปใช้ได้เร็วขึ้น  ปุ๋ยน้ำที่ฉีดให้ทางใบนี้ควรให้ทุกครั้งหลังจากเก็บเกี่ยว  โดยฉีดผสมไปกับยาป้องกันกำจัดศัตรูพืช
การพรวนดิน  เนื่องจากพริกจะแพร่รากกระจายอยู่ใกล้ผิวดิน  จึงต้องระวังอย่าให้รากกระทบกระเทือน  เพราะจะชงักการเจริญเติบโต  จะทำให้ต้นพริกโค่นล้มง่าย  การให้ปุ๋ยควรขุดหลุมตามบริเวณกว้างของใบพริกที่แผ่ไปถึง  อย่าใส่ชิดโคนต้น   
จบการนำเสนอค่ะ

More Related Content

Viewers also liked

/Home/usuario/desktop/actividad3
/Home/usuario/desktop/actividad3/Home/usuario/desktop/actividad3
/Home/usuario/desktop/actividad3Antonioj7
 
Een keten is zo sterk als haar zwakste schakel
Een keten is zo sterk als haar zwakste schakelEen keten is zo sterk als haar zwakste schakel
Een keten is zo sterk als haar zwakste schakelHenk Bakker
 
Catalogo bicicletas Orbea 2014 MTB
Catalogo bicicletas Orbea 2014 MTB Catalogo bicicletas Orbea 2014 MTB
Catalogo bicicletas Orbea 2014 MTB Adrian H
 
Lessons for successfully executing digital transformation in Healthcare
Lessons for successfully executing digital transformation in HealthcareLessons for successfully executing digital transformation in Healthcare
Lessons for successfully executing digital transformation in HealthcareHenk Bakker
 
The Pantomime Difference
The Pantomime DifferenceThe Pantomime Difference
The Pantomime DifferenceSean O'Neil
 
Twitter and Facebook
Twitter and FacebookTwitter and Facebook
Twitter and Facebookcoinculture
 
Clasificación de las palabra sestructura
Clasificación de las palabra sestructuraClasificación de las palabra sestructura
Clasificación de las palabra sestructuraAngeles Bañon
 
Morfología. clases de palabras
Morfología. clases de palabrasMorfología. clases de palabras
Morfología. clases de palabrasAngeles Bañon
 

Viewers also liked (11)

Montreal
MontrealMontreal
Montreal
 
/Home/usuario/desktop/actividad3
/Home/usuario/desktop/actividad3/Home/usuario/desktop/actividad3
/Home/usuario/desktop/actividad3
 
Een keten is zo sterk als haar zwakste schakel
Een keten is zo sterk als haar zwakste schakelEen keten is zo sterk als haar zwakste schakel
Een keten is zo sterk als haar zwakste schakel
 
Catalogo bicicletas Orbea 2014 MTB
Catalogo bicicletas Orbea 2014 MTB Catalogo bicicletas Orbea 2014 MTB
Catalogo bicicletas Orbea 2014 MTB
 
Lessons for successfully executing digital transformation in Healthcare
Lessons for successfully executing digital transformation in HealthcareLessons for successfully executing digital transformation in Healthcare
Lessons for successfully executing digital transformation in Healthcare
 
The Pantomime Difference
The Pantomime DifferenceThe Pantomime Difference
The Pantomime Difference
 
Haiti
HaitiHaiti
Haiti
 
Twitter and Facebook
Twitter and FacebookTwitter and Facebook
Twitter and Facebook
 
Clasificación de las palabra sestructura
Clasificación de las palabra sestructuraClasificación de las palabra sestructura
Clasificación de las palabra sestructura
 
Narrativa siglo xx
Narrativa siglo xxNarrativa siglo xx
Narrativa siglo xx
 
Morfología. clases de palabras
Morfología. clases de palabrasMorfología. clases de palabras
Morfología. clases de palabras
 

Similar to รักษ์สุดา

สตรอเบอร์รี่
สตรอเบอร์รี่สตรอเบอร์รี่
สตรอเบอร์รี่Lilly Phattharasaya
 
เทคนิคการปลูกขนุน
เทคนิคการปลูกขนุนเทคนิคการปลูกขนุน
เทคนิคการปลูกขนุนV'View Piyarach
 
การทำเกษตรอินทรีย์ [โหมดความเข้ากันได้]
การทำเกษตรอินทรีย์ [โหมดความเข้ากันได้]การทำเกษตรอินทรีย์ [โหมดความเข้ากันได้]
การทำเกษตรอินทรีย์ [โหมดความเข้ากันได้]อบต. เหล่าโพนค้อ
 
Landscape maintenance and management2
Landscape maintenance and management2Landscape maintenance and management2
Landscape maintenance and management2Napalai Jaibaneum
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอมKaRn Tik Tok
 
โครงงานเทคโนโลยี ปุ๋ยคอกปุ๋ยเคมี
โครงงานเทคโนโลยี ปุ๋ยคอกปุ๋ยเคมี โครงงานเทคโนโลยี ปุ๋ยคอกปุ๋ยเคมี
โครงงานเทคโนโลยี ปุ๋ยคอกปุ๋ยเคมี Thitaree Permthongchuchai
 
มะพร้าวไทย
มะพร้าวไทยมะพร้าวไทย
มะพร้าวไทยsakuntra
 
มะพร้าวไทย
มะพร้าวไทยมะพร้าวไทย
มะพร้าวไทยsakuntra
 
โครงงาน เรื่อง มะพร้าว
โครงงาน เรื่อง มะพร้าวโครงงาน เรื่อง มะพร้าว
โครงงาน เรื่อง มะพร้าวsakuntra
 
มะพร้าวไทย
มะพร้าวไทยมะพร้าวไทย
มะพร้าวไทยsakuntra
 
มะพร้าวไทย
มะพร้าวไทยมะพร้าวไทย
มะพร้าวไทยsakuntra
 

Similar to รักษ์สุดา (20)

Com project
Com projectCom project
Com project
 
สตรอเบอร์รี่
สตรอเบอร์รี่สตรอเบอร์รี่
สตรอเบอร์รี่
 
Lesson04
Lesson04Lesson04
Lesson04
 
หญ้าแฝก
หญ้าแฝกหญ้าแฝก
หญ้าแฝก
 
เทคนิคการปลูกขนุน
เทคนิคการปลูกขนุนเทคนิคการปลูกขนุน
เทคนิคการปลูกขนุน
 
การทำเกษตรอินทรีย์ [โหมดความเข้ากันได้]
การทำเกษตรอินทรีย์ [โหมดความเข้ากันได้]การทำเกษตรอินทรีย์ [โหมดความเข้ากันได้]
การทำเกษตรอินทรีย์ [โหมดความเข้ากันได้]
 
Tong44
Tong44Tong44
Tong44
 
Tong44
Tong44Tong44
Tong44
 
Landscape maintenance and management2
Landscape maintenance and management2Landscape maintenance and management2
Landscape maintenance and management2
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
โครงงานเทคโนโลยี ปุ๋ยคอกปุ๋ยเคมี
โครงงานเทคโนโลยี ปุ๋ยคอกปุ๋ยเคมี โครงงานเทคโนโลยี ปุ๋ยคอกปุ๋ยเคมี
โครงงานเทคโนโลยี ปุ๋ยคอกปุ๋ยเคมี
 
ใบงานที่ 11
ใบงานที่ 11ใบงานที่ 11
ใบงานที่ 11
 
ใบงานที่ 11
ใบงานที่ 11ใบงานที่ 11
ใบงานที่ 11
 
มะพร้าวไทย
มะพร้าวไทยมะพร้าวไทย
มะพร้าวไทย
 
มะพร้าวไทย
มะพร้าวไทยมะพร้าวไทย
มะพร้าวไทย
 
โครงงาน เรื่อง มะพร้าว
โครงงาน เรื่อง มะพร้าวโครงงาน เรื่อง มะพร้าว
โครงงาน เรื่อง มะพร้าว
 
มะพร้าวไทย
มะพร้าวไทยมะพร้าวไทย
มะพร้าวไทย
 
มะพร้าวไทย
มะพร้าวไทยมะพร้าวไทย
มะพร้าวไทย
 

รักษ์สุดา

  • 1. โครงงานการปลูกพริก จัดทำโดย นางสาว รักษ์สุดา อ่อนบ้านแดง เลขที่ 21 ชั้น ม.6/3 เสนอ อาจารย์ คเชนทร์ กองพิลา
  • 2. การปลูก การปลูกพริก อาจเลือกปฏิบัติได้ 3 วิธี ตามความเหมาะสม คือ 1. โดยวิธีการใช้เมล็ดพริกหยอดเมล็ดโดยตรงในหลุม หลุมละ 3-5 เมล็ด เมล็ดพริกหวานเปอร์เซ็นต์ความงอก 80% ใช้เมล็ด 60-90 กรัม / ไร่ นิยมปฎิบัติในแปลงปลูกขนาดใหญ่ และไม่มีแรงงานเพียงพอในการย้ายต้นกล้า จุดอ่อนของการปลูกโดยวิธีนี้คือ ต้นพริกอ่อนแอ อาจจะถูกมดและแมลงอื่น ๆ กัดกินใบ ทำให้สิ้นเปลืองเมล็ดพันธุ์ 2. เพาะเมล็ดพริกให้งอกแล้วนำไปปลูกในหลุม กลบด้วยดินบาง ๆ วิธีเพาะคือ นำเมล็ดพันธุ์แช่น้ำ แล้วเอาผ้าชุบน้ำหมาด ๆ ห่อ ทิ้งไว้ประมาณ 2 วัน เมล็ดจะงอกแล้วนำไปปลูก   3. เพาะเมล็ดในแปลงเพาะก่อน แปลงเพาะกล้าควรใส่ปุ๋ย 15-15-15 ปริมาณ 100 กรัมต่อตารางเมตร คลุกดินลึกประมาณ 5-8 นิ้ว ควรใช้ฟูราดานในการเพาะด้วยเมื่อหว่านเมล็ดแล้วประมาณ 10 วัน เมล็ดเริ่มงอก ถ้ามีต้นหนาแน่น ให้ถอนแยกหลังจากที่ใบจริงคลี่เต็มที่แล้ว 2-3 วัน เมื่อกล้าอายุได้ 18 วัน รดด้วยปุ๋ยแอมโมเนียซัลเฟตละลายน้ำ อัตราส่วน 1 กรัมต่อน้ำ 200 ซีซี . แล้วรดน้ำตามทันที
  • 3. การเตรียมดิน ทำการย้ายปลูก เมื่อกล้าสูงประมาณ 6 นิ้ว เตรียมดินแปลงปลูก โดยไถดะตากดินทิ้งไว้ประมาณ 5-7 วัน ไถพรวน 1 ครั้ง หลังจากนั้นใส่ปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยหมักให้ทั่วแปลงในอัตรา 3-4 ตัน / ไร่ ใส่ปุ๋ยวิทยาศาสตร์ สูตร 15-15-15 อัตรา 50 กก ./ ไร่ หว่านให้ทั่วพื้นที่ปลูก แล้วพรวนกลบเข้ากับดินแล้วจึงเตรียมแปลงปลูกการเตรียมแปลงปลูก สามารถทำได้หลายแบบ แล้วแต่สภาพของพื้นที่ปลูกดังนี้คือ 1. ปลูกแบบไม่ยกแปลง เหมาะสำหรับพื้นที่ ๆ มีการระบายน้ำดี ปรับระดับได้สม่ำเสมอ การปลูกแบบนี้อาจปลูกเป็นแถวเดียว ใช้ระยะห่างระหว่างแถว 60-70 ซม . ระหว่างต้น 50 ซม . หรือปลูกเป็นแถวคู่ ระยะระหว่างแถวคู่ 1 เมตร ระหว่างแถว 50 ซม . ระหว่างต้น 50 ซม . 2. ปลูกแบบยกแปลง เหมาะสำหรับพื้นที่ปลูกที่มีระดับน้ำใต้ดินสูง ระบายน้ำดอกได้ยาก ขนาดแปลงกว้าง 1.50 เมตร ร่องน้ำกว้าง 50 ซม . ลึก 50 ซม . ปลูก 2 แถว บนแปลง โดยมีระยะห่างแถว 0.75-1.00 เมตร ระหว่างต้น 50 ซม . หรือปลูกเป็นแถวคู่ 1 เมตร ระหว่างแถว 50 ซม . ระหว่างต้น 50 ซม .  
  • 4. การปฎิบัติบำรุงรักษา พริกเป็นพืชที่ทนแล้งดีกว่าทนน้ำ แต่ในระยะที่พริกเริ่มออกดอก พริกจะต้องการน้ำมากกว่าปกติ พบว่า การให้น้ำที่ไม่เพียงพอ และอากาศแห้งแล้งจะทำให้ดอกอ่อน ดอกบาน และผลอ่อนที่เพิ่งติดร่วงได้ ในสภาพที่อากาศค่อนข้างเย็น อุณหภูมิประมาณ 10-15 ซํ . จะทำให้พริกเจริญเติบโตไม่ค่อยดี มีการติดดอกต่ำ และดอกร่วงในที่สุด การให้น้ำควรจะลดลงหรืองดในช่วงที่เริ่มทำการเก็บผลพริกทั้งนี้เพราะถ้าให้น้ำพริกมากไปจะทำให้ผลมีสีไม่สวย 1. การให้น้ำ หลังจากปลูกสร้าง ควรให้น้ำดังนี้ - ช่วง 3 วันแรก ให้น้ำวันละ 2 ครั้ง เช้า – เย็น - ช่วง 4 วันต่อมา ให้น้ำวันละครั้ง - ช่วงสัปดาห์ที่ 2 ถึงสัปดาห์ที่ 4 ให้น้ำสัปดาห์ละ 3 ครั้ง - ช่วงสัปดาห์ที่ 5 ถึงสัปดาห์ที่ 7 ให้น้ำสัปดาห์ละ 2 ครั้ง - ช่วงสัปดาห์ที่ 7 ไปแล้วให้น้ำสัปดาห์ละ 1 ครั้ง ทั้งนี้ การให้น้ำแก่พริกควรให้ตาม สภาพพื้นที่ และดูความชุ่มชื้นของดินประกอบด้วย
  • 5. การใส่ปุ๋ย การให้ปุ๋ยพริกขึ้นอยู่กับชนิดและคุณภาพของดินปลูกโดยทั่วไป ปุ๋ยคอก อัตรา 3-4 ตันต่อไร่ ผสมกับปุ๋ยวิทยาศาสตร์ 15-15-15 อัตรา 50 กก . ต่อไร่ รองพื้นก่อนย้ายปลูกและหลังย้ายปลูกแล้ว 1 เดือน จึงใส่ปุ๋ยสูตร 15-15-15 ในอัตรา 50 กก . ต่อไร่ อีกครั้งหนึ่ง วิธีใส่โดยโรยกึ่งกลางระหว่างแถวปลูกแล้วพรวนกลบ ในระยะนี้เป็นระยะที่พริกเริ่มจะมีตาดอก ( แต่ยังไม่ออกดอก ) มีความต้องการธาตุอาหารเสริมบ้าง ดังนั้นหลังจากใส่ปุ๋ยแล้ว 1-2 อาทิตย์ ควรฉีดปุ๋ยน้ำ เช่น ไบโฟลาน ให้ทางใบ ซึ่งพริกจะนำไปใช้ได้เร็วขึ้น ปุ๋ยน้ำที่ฉีดให้ทางใบนี้ควรให้ทุกครั้งหลังจากเก็บเกี่ยว โดยฉีดผสมไปกับยาป้องกันกำจัดศัตรูพืช
  • 6. การพรวนดิน เนื่องจากพริกจะแพร่รากกระจายอยู่ใกล้ผิวดิน จึงต้องระวังอย่าให้รากกระทบกระเทือน เพราะจะชงักการเจริญเติบโต จะทำให้ต้นพริกโค่นล้มง่าย การให้ปุ๋ยควรขุดหลุมตามบริเวณกว้างของใบพริกที่แผ่ไปถึง อย่าใส่ชิดโคนต้น