SlideShare a Scribd company logo
1 of 20
กกาารออ่า่านแแปปลคววาาม 
ตตีคีคววาาม ขยยาายคววาาม 
ผลการเรียนรู้ 
1. เข้าใจลักษณะการอ่านแปลความ 
ตีความและขยายความ 
2. อ่านแปลความ ตีความ และขยาย 
ความได้
กกาารออ่่าานแแปปลคววาาม 
การอ่านแปลความ คือ การ 
เปลี่ยนแปลงจากความหนึ่งไปสู่อีก 
ความหนงึ่ โดยแปลงเรื่องทไี่ด้อา่น 
หรือฟังออกมาเป็นคำาพูดใหม่หรือใช้ 
ถ้อยคำาใหม่ โดยยังรักษาเนอื้หาและ 
ความสำาคัญของเรื่องเดิมไว้ได้อย่าง 
ครบถ้วน
กกาารแแปปลคววาามหมมาายมมีหีหลลาาย 
รรููปแแบบบ ดดัังนนีี้้ 
1.) แปลคำาศัพท์เฉพาะให้เป็นภาษา 
ธรรมดา เป็นการแปลความหมายจาก 
ระดับหนึ่งไปสู่อีกระดับหนึ่ง เช่น 
ทรงพระราชดำาเนิน = เดิน 
พระราชหัตถเลขา = จดหมาย 
พระพักตร์ = ใบหน้า 
บุปผา = ดอกไม้ 
โจทก์ = ผู้ฟ้อง 
ตุ๋น = หลอกลวง, วิธีปรุง
กกาารแแปปลคววาามหมมาายมมีหีหลลาาย 
รรููปแแบบบ ดดัังนนีี้้ 
2.) แปลข้อความเดิมที่เป็นสำานวนโวหาร 
เป็นข้อความใหม่ที่เข้าใจได้ง่ายขึ้น 
เช่น 
ยิว – ปาเลสไตน์เจรจายังไม่ก้าวหน้า 
สหรัฐฯลุ้นจนสุดใจได้ “โอเค” แปลความ 
ได้ว่า การเจรจาระหว่างอิสราเอลกับ 
ปาเลสไตน์ไม่คืบหน้า สหรัฐพยายามอย่าง 
เต็มที่ในการไกล่เกลี่ยเพื่อจะให้ตกลงกันได้ 
ปืนใหญ่ถล่มหงส์แดงยับ 3-1 
แปลความได้ว่า ทีมฟุตบอลอาร์เซนอล
กกาารแแปปลคววาามหมมาายมมีหีหลลาาย 
รรููปแแบบบ ดดัังนนีี้้ 
3.) แปลสำานวน สุภาษิต คำาพังเพย หรือ 
คำาร้อยกรอง คำาภาษาบาลีสันสกฤตที่ 
ไทยนำามาใช้ให้เป็นภาษาสามัญ หรือ 
ในทางกลับกัน เช่น 
ธมฺโม หเว รกฺขติ ธมฺมจาริ = ธรรมย่อม 
รักษาผู้ประพฤติธรรม 
พิศพักตร์ผ่องเพียงบุหลันฉาย = ใบหน้า 
ผุดผ่องราวกับแสงจันทร์ 
ความรู้ท่วมหัวเอาตัวไม่รอด = มีวิชา 
ความรู้มากแต่ไม่สามารถพา
กกาารแแปปลคววาามหมมาายมมีหีหลลาาย 
รรููปแแบบบ ดดัังนนีี้้ 
4.) แปลเครื่องหมายต่างๆ เช่น 
= ผู้ชาย 
= ผู้หญิง 
= มากกว่า 
= ตัว ก (ภาษาคนตาบอด) 
>: 
:
กกาารออ่า่านตตีคีคววาาม 
การอ่านตีความ คือ การอ่านที่ผู้ 
อ่านจะต้องใช้สติปัญญาตีความหมาย 
ของคำาและข้อความทงั้หมด โดย 
พจิารณาถงึความหมายโดยนัย หรือ 
ความหมายแฝงที่ผู้เขียนต้องการจะ 
สื่อความหมาย
การตตีีคววาามหมมาายมมีหีหลลัักเเกกณฑฑ์์ 
ใในนกกาารออ่่าาน ดดัังนนีี้้ 
1.) อ่านเรื่องที่จะตีความนั้นให้ละเอียด แล้ว 
พยายามจับประเด็นสำาคัญให้ได้ 
2.) ขณะทอี่่านต้องพยายามคิดหาเหตุผล 
และใคร่ครวญอย่างรอบคอบ แล้วนำามา 
ประมวลเข้ากับความคิดของตนเองว่า 
ข้อความหรือเรื่องนั้นมีความหมายถึงสิ่ง 
ใด 
3.) พยายามทำาความเข้าใจกับถ้อยคำาที่เห็น 
ว่ามีความสำาคัญ และจะต้องไม่ลืมตรวจ 
ดูบริบท (Context) ด้วยว่า บริบทหรือ 
สิ่งแวดล้อมนั้นได้กำาหนดความหมายของ
การตตีีคววาามหมมาายมมีหีหลลัักเเกกณฑฑ์์ 
ใในนกกาารออ่่าาน ดดัังนนีี้้ 
4.) ต้องระลึกไว้เสมอว่า การตีความไม่ใช่ 
การถอดคำาประพันธ์ เพราะการตีความ 
เป็นการจับเอาแต่ใจความสำาคัญ และคง 
ไว้ซึ่งคำาของข้อความเดิม 
5.) การเขียนเรียบเรียงถ้อยคำาที่ได้จากการ 
ตีความนนั้ จะต้องให้มีความหมาย 
ชัดเจน 
6.) การตีความไม่ว่าจะเป็นการตีความเกี่ยว 
กับเนอื้หา หรือเกี่ยวกับนำ้าเสียงก็ตาม 
เป็นการตีความตามความรู้ ความคิดและ 
ประสบการณ์ของผตูี้ความเอง ดังนั้นผู้
ตัวอยย่่าางกกาารออ่่าานตตีีคววาาม 
“เห็นช้างขี้ อย่าขี้ตามช้าง” 
ตีความได้ว่า จะทำาอะไรควรดูฐานะของตน ไม่ 
ควรเอาอย่างคนที่มีฐานะดีกว่าเรา
ตัวอยย่่าางกกาารออ่่าานตตีีคววาาม 
พระพุทธเจ้าตรัสสอนว่า 
น ปุปฺผคนฺโธ ปฏิวาตเมติ 
น จนฺทนตารมลฺลิกา วา 
สตญฺจ ทิสา สปฺปริโส ปวายติ 
แปลความได้ว่า กลนิ่หอมของดอกไม้ ทวน 
ลมขึ้นไปไม่ได้ ไม่ว่าจะเป็นกลนิ่จันทน์กลิ่นก 
ฤาณา หรือกลนิ่มะลิวัลย์ แต่กลนิ่ของคุณงาม 
ความดีของคนย่อมหอมหวนทวนลมขึ้นไปได้ 
และย่อมหอมฟุ้งไปทั่วทุกทิศ 
ตีความได้ว่า คุณงามความดีของคน หอมยิ่งกว่า
กกาารออ่า่านเเพพื่อื่อขยยาายคววาาม 
การอ่านเพอื่ขยายความ คือ การ 
อ่านเพื่อนำามาอธิบายเพิ่มเติมให้มี 
ความละเอียดเพิ่มมากขึ้นจากเนื้อ 
ความเดิม
ตัวอยย่่าางกกาารออ่่าานเเพพื่อื่อขยยาาย 
คววาาม 
พระพุทธเจ้าตรัสสอนว่า 
เปมโต ชายตี โสโก 
เปมโต ชายตี ภยำ 
เปมโต วิปฺปมุตฺตสฺส 
นตฺถี โสโก กุโต ภยำ 
แปลความได้ว่า ความโศกเกิดจากความรัก 
ความกลัวเกิดจากความรัก ผทูี้่สละความรักเสีย 
ได้แล้วก็ไม่โศกไม่กลัว 
ขยายความได้ว่า พุทธภาษิตนใี้หข้้อคิดว่า ความ 
รักเป็นต้นเหตุให้เกิดความโศกและความกลัว
ตัวอยย่่าางกกาารออ่่าานเเพพื่อื่อขยยาาย 
คววาาม 
เมื่อบุคคลที่มีความรักต่อสิ่งใดหรือคนใด เขาก็ 
ต้องการให้สิ่งนั้น คนนั้นคงอยู่ใหเ้ขารักตลอด 
ไป มนุษย์โดยทวั่ไปย่อมจะกลัวว่าสิ่งนนั้ๆ 
หรือคนทตี่นรักจะสูญหายหรือจากเขาไป โดย 
กฎธรรมชาติแล้วทกุสิ่งทกุอย่าง รวมทั้งมนุษย์ 
สัตว์ย่อมต้องเปลี่ยนแปลงสูญสลายหรือแตกดับ 
ทำาลายไปตามสภาพของมันเป็นแน่แท้ ถ้า 
บุคคลรู้ความเป็นจริงในข้อนี้ เขาจะละความ 
รัก ความผกูพัน และความติดใจทมีี่ต่อสิ่ง 
นนั้เสียเพื่อว่าเขาจะไม่ต้องเศร้าโศก ไม่ต้อง 
กลัวอีกต่อไป
ตัวอยย่่าางกกาารออ่่าานเเพพื่อื่อขยยาาย 
คววาาม 
โคลงโลกนิติ ของสมเด็จฯ กรมพระยาเดชาดิศร 
บทหนึ่งกล่าวไว้ว่า 
ดูข้าดูเมื่อใช้ การหนัก 
ดูมิตรพงศารัก เมื่อไร้ 
ดูเมียเมื่อไข้จัก จวนชีพ 
อาจจักรู้จิตไว้ ว่าร้ายฤาดี 
ตีความได้ว่า จะดูจิตใจข้าทาส มิตร และภรรยา 
ว่าดีหรือไม่ ใหดู้จากการกระทำาของเขา
ตัวอยย่่าางกกาารออ่่าานเเพพื่อื่อขยยาาย 
คววาาม 
ขยายความได้ว่า การดูจติใจผู้ใดวา่ร้ายหรือไม่ 
ต้องสังเกตจากการกระทำาของคนผู้นั้น เช่น 
จะดูว่าข้าทาสมีความอดทนขยันขันแข็งหรือไม่ 
ให้สังเกตเมื่อใช้งานหนักเพราะถ้าตั้งใจ 
ทำางาน หมายความว่าข้าทาสนนั้ไม่ขี้เกียจ 
จะดูเพื่อนวา่จริงหรือไม่ให้ดูเมื่อเรายากไร้ 
เพราะเมื่อเรารำ่ารวยมีเพื่อนฝูงมากมาย แต่ 
เมื่อถึงคราวลำาบากมิตรแท้เท่านั้นที่จะอยู่เคียง 
ข้างคอยช่วยเหลือเรา และจะดูว่าภรรยารัก 
สามีจริงหรือไม่ให้สังเกตเมื่อสามีป่วยไข้ว่า 
ภรรยาจะคอยปรนนิบัติดูแลสามีหรือไม่
ใใบบงงาานททีี่่ 11 
คำาสั่ง ให้นักเรียนแปลความ ตีความ ขยายความ 
ข้อความต่อไปนี้ 
1. แปลความ 
“ข้าพเจ้าพิจารณาดูตามหลักฐานที่ปรากฏใน 
พงศาวดารเห็นว่าชนชาติไทย 
มีคุณธรรม 3 อย่างเป็นสำาคัญ จึงสามารถปกครอง 
ประเทศสยามได้ คือ ความรักอิสระของชนชาติ 
อย่างหนึ่ง ความปราศจากวิหิงสาอย่างหนึ่ง 
ความฉลาดในการประสานประโยชน์อย่างหนึ่ง” 
พงศาวดาร หมายถึง.......................................... 
วิหิงสา หมายถึง................................................ 
ประสานประโยชน์ หมายถึง
ใใบบงงาานททีี่่ 11 
2. ตีความ 
อาทิตย์อุทัยไยสว่างทางตะวันตก 
แล้วจะวกกลับฟ้าทางทิศไหน 
ดาวประกายฉายแสงอยู่แห่งใด 
ดาวจัญไร ไยเกลื่อนฟ้าทั้งราตรี 
หญ้าเลวเลวเลื้อยล่าคลุมป่าใหญ่ 
พญาไม้ผุเปื่อยด้วยผี 
กิ้งกือคลานเกลื่อนไนปฐพี 
เสือสิงห์ต่างวิ่งหนี กลัวกิ้งกือ
ใใบบงงาานททีี่่ 11 
2. ตีความ 
สัตว์เลื้อยคลานถึงคราวเข้าครองโลก 
สำ่าสัตว์อื่นตรมโศกไม่กล้าหือ 
สุดจะแสร้งแปลงร่างใช้หวงแทนมือ 
สู้ทนถือศิลอดรันทดใจ (ที่มา : บทกวี 
ของอังคาร กัลยาณพงศ์) 
อาทิตย์อุทัย หมาย 
ถึง............................................... 
ตะวันตก หมายถึง................................................... 
ดาวประกาย พญาไม้ เสือสิงห์ หมาย 
ถึง
ใใบบงงาานททีี่่ 11 
3. ขยายความ 
“ใครจะไว้ใจอะไรตามใจเถิด แต่อย่าเกิด 
ไว้ใจในสิ่งห้า 
หนึ่งอย่าไว้ใจทะเลทุกเวลา สองสัตว์เขี้ยว 
เล็บงาอย่าวางใจ 
สามผู้ถืออาวุธสุดจักร้าย สี่ผู้หญิงทั้งหลาย 
อย่ากรายใกล้ 
ห้ามหากษัตริย์ทรงฉัตรชัย ถ้าแม้นใคร 
ประมาทอาจตาย 
(ที่มา : นิทานเวตาล โดย กรมหมื่น 
พิทยาลงการณ์)

More Related Content

What's hot

แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความsripayom
 
บทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจริยคุณ
บทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจริยคุณบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจริยคุณ
บทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจริยคุณbua2503
 
บทเสภาสามัคคีเสวก
บทเสภาสามัคคีเสวกบทเสภาสามัคคีเสวก
บทเสภาสามัคคีเสวกdaypcc123
 
ใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญ
ใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญ
ใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญPiyarerk Bunkoson
 
สารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความสารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความพัน พัน
 
โคลงโลกนิติ
โคลงโลกนิติโคลงโลกนิติ
โคลงโลกนิติพัน พัน
 
แบบฝึก พัฒนาทักษะการอ่านสำหรับชาวต่างประเทศ (ปริญญาตรี)
แบบฝึก พัฒนาทักษะการอ่านสำหรับชาวต่างประเทศ (ปริญญาตรี) แบบฝึก พัฒนาทักษะการอ่านสำหรับชาวต่างประเทศ (ปริญญาตรี)
แบบฝึก พัฒนาทักษะการอ่านสำหรับชาวต่างประเทศ (ปริญญาตรี) Kun Cool Look Natt
 
การเขียนเรียงความ.pdf
การเขียนเรียงความ.pdfการเขียนเรียงความ.pdf
การเขียนเรียงความ.pdfGREATTEACHERCYBERFOX
 
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.๓ ชุด ๒
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.๓ ชุด ๒ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.๓ ชุด ๒
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.๓ ชุด ๒Manas Panjai
 
ร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพkhorntee
 
คำทับศัพท์และศัพท์บัญญัติ
คำทับศัพท์และศัพท์บัญญัติคำทับศัพท์และศัพท์บัญญัติ
คำทับศัพท์และศัพท์บัญญัติsurang1
 
การเขียนจดหมาย (Letter Writing)
การเขียนจดหมาย (Letter Writing)การเขียนจดหมาย (Letter Writing)
การเขียนจดหมาย (Letter Writing)amfaai
 
ใบงานเสียงในภาษาไทย
ใบงานเสียงในภาษาไทยใบงานเสียงในภาษาไทย
ใบงานเสียงในภาษาไทยssuser456899
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย ม.2
แบบทดสอบ ภาษาไทย ม.2แบบทดสอบ ภาษาไทย ม.2
แบบทดสอบ ภาษาไทย ม.2teerachon
 
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ 2 (ม.4).1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ 2 (ม.4).1ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ 2 (ม.4).1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ 2 (ม.4).1Sivagon Soontong
 
PPT คำราชาศัพท์
PPT คำราชาศัพท์PPT คำราชาศัพท์
PPT คำราชาศัพท์KruBowbaro
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยbambookruble
 
การเปลี่ยนแปลงของภาษา
การเปลี่ยนแปลงของภาษาการเปลี่ยนแปลงของภาษา
การเปลี่ยนแปลงของภาษาPpor Elf'ish
 

What's hot (20)

แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
 
บทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจริยคุณ
บทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจริยคุณบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจริยคุณ
บทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจริยคุณ
 
บทเสภาสามัคคีเสวก
บทเสภาสามัคคีเสวกบทเสภาสามัคคีเสวก
บทเสภาสามัคคีเสวก
 
การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]
การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]
การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]
 
ใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญ
ใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญ
ใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญ
 
สารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความสารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความ
 
โคลงโลกนิติ
โคลงโลกนิติโคลงโลกนิติ
โคลงโลกนิติ
 
แบบฝึก พัฒนาทักษะการอ่านสำหรับชาวต่างประเทศ (ปริญญาตรี)
แบบฝึก พัฒนาทักษะการอ่านสำหรับชาวต่างประเทศ (ปริญญาตรี) แบบฝึก พัฒนาทักษะการอ่านสำหรับชาวต่างประเทศ (ปริญญาตรี)
แบบฝึก พัฒนาทักษะการอ่านสำหรับชาวต่างประเทศ (ปริญญาตรี)
 
การเขียนเรียงความ.pdf
การเขียนเรียงความ.pdfการเขียนเรียงความ.pdf
การเขียนเรียงความ.pdf
 
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.๓ ชุด ๒
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.๓ ชุด ๒ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.๓ ชุด ๒
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.๓ ชุด ๒
 
ร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพ
 
คำทับศัพท์และศัพท์บัญญัติ
คำทับศัพท์และศัพท์บัญญัติคำทับศัพท์และศัพท์บัญญัติ
คำทับศัพท์และศัพท์บัญญัติ
 
คำสันธาน
คำสันธานคำสันธาน
คำสันธาน
 
การเขียนจดหมาย (Letter Writing)
การเขียนจดหมาย (Letter Writing)การเขียนจดหมาย (Letter Writing)
การเขียนจดหมาย (Letter Writing)
 
ใบงานเสียงในภาษาไทย
ใบงานเสียงในภาษาไทยใบงานเสียงในภาษาไทย
ใบงานเสียงในภาษาไทย
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย ม.2
แบบทดสอบ ภาษาไทย ม.2แบบทดสอบ ภาษาไทย ม.2
แบบทดสอบ ภาษาไทย ม.2
 
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ 2 (ม.4).1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ 2 (ม.4).1ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ 2 (ม.4).1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ 2 (ม.4).1
 
PPT คำราชาศัพท์
PPT คำราชาศัพท์PPT คำราชาศัพท์
PPT คำราชาศัพท์
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทย
 
การเปลี่ยนแปลงของภาษา
การเปลี่ยนแปลงของภาษาการเปลี่ยนแปลงของภาษา
การเปลี่ยนแปลงของภาษา
 

Similar to Power point การอ่านแปลความตีความขยายความ

2 ภูมิปัญญาภาษาไทยในสำนวนโวหาร(40-68)
2 ภูมิปัญญาภาษาไทยในสำนวนโวหาร(40-68)2 ภูมิปัญญาภาษาไทยในสำนวนโวหาร(40-68)
2 ภูมิปัญญาภาษาไทยในสำนวนโวหาร(40-68)อัมพร ศรีพิทักษ์
 
2 ภูมิปัญญาภาษาไทยในสำนวนโวหาร(40-68)
2 ภูมิปัญญาภาษาไทยในสำนวนโวหาร(40-68)2 ภูมิปัญญาภาษาไทยในสำนวนโวหาร(40-68)
2 ภูมิปัญญาภาษาไทยในสำนวนโวหาร(40-68)อัมพร ศรีพิทักษ์
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยKittitus Sa-admoang
 
นาม (วัดมหาธาตุ)
นาม (วัดมหาธาตุ)นาม (วัดมหาธาตุ)
นาม (วัดมหาธาตุ)Prasit Koeiklang
 
หลักภาษา
หลักภาษาหลักภาษา
หลักภาษาsukuman139
 
อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์Kalasom Mad-adam
 
อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์Kalasom Mad-adam
 
คำราชาศัพท์ที่ใช้มากที่สุดในชีวิตประจำวัน
 คำราชาศัพท์ที่ใช้มากที่สุดในชีวิตประจำวัน คำราชาศัพท์ที่ใช้มากที่สุดในชีวิตประจำวัน
คำราชาศัพท์ที่ใช้มากที่สุดในชีวิตประจำวันthunchanokteenzaa54
 
ภูมิปัญญาทางภาษา
ภูมิปัญญาทางภาษาภูมิปัญญาทางภาษา
ภูมิปัญญาทางภาษาluckkhana
 
อบรมภาษาไทย
อบรมภาษาไทยอบรมภาษาไทย
อบรมภาษาไทยtuksin namwong
 

Similar to Power point การอ่านแปลความตีความขยายความ (20)

บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
2 ภูมิปัญญาภาษาไทยในสำนวนโวหาร(40-68)
2 ภูมิปัญญาภาษาไทยในสำนวนโวหาร(40-68)2 ภูมิปัญญาภาษาไทยในสำนวนโวหาร(40-68)
2 ภูมิปัญญาภาษาไทยในสำนวนโวหาร(40-68)
 
2 ภูมิปัญญาภาษาไทยในสำนวนโวหาร(40-68)
2 ภูมิปัญญาภาษาไทยในสำนวนโวหาร(40-68)2 ภูมิปัญญาภาษาไทยในสำนวนโวหาร(40-68)
2 ภูมิปัญญาภาษาไทยในสำนวนโวหาร(40-68)
 
01 หน่วย 1
01 หน่วย 101 หน่วย 1
01 หน่วย 1
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทย
 
ใบความรู้การสร้างคำในภาษาไทย
ใบความรู้การสร้างคำในภาษาไทยใบความรู้การสร้างคำในภาษาไทย
ใบความรู้การสร้างคำในภาษาไทย
 
๔. สำนวน สุภาษิต คำพังเพย[1]
๔. สำนวน สุภาษิต คำพังเพย[1]๔. สำนวน สุภาษิต คำพังเพย[1]
๔. สำนวน สุภาษิต คำพังเพย[1]
 
นาม (วัดมหาธาตุ)
นาม (วัดมหาธาตุ)นาม (วัดมหาธาตุ)
นาม (วัดมหาธาตุ)
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทย
 
หลักภาษา
หลักภาษาหลักภาษา
หลักภาษา
 
Brands thai (o net)
Brands thai (o net)Brands thai (o net)
Brands thai (o net)
 
อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์
 
อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์
 
ลักษณะภาษาไทย
ลักษณะภาษาไทยลักษณะภาษาไทย
ลักษณะภาษาไทย
 
99
9999
99
 
คำราชาศัพท์ที่ใช้มากที่สุดในชีวิตประจำวัน
 คำราชาศัพท์ที่ใช้มากที่สุดในชีวิตประจำวัน คำราชาศัพท์ที่ใช้มากที่สุดในชีวิตประจำวัน
คำราชาศัพท์ที่ใช้มากที่สุดในชีวิตประจำวัน
 
สุภาษิตไทย
สุภาษิตไทยสุภาษิตไทย
สุภาษิตไทย
 
สุภาษิตไทย
สุภาษิตไทยสุภาษิตไทย
สุภาษิตไทย
 
ภูมิปัญญาทางภาษา
ภูมิปัญญาทางภาษาภูมิปัญญาทางภาษา
ภูมิปัญญาทางภาษา
 
อบรมภาษาไทย
อบรมภาษาไทยอบรมภาษาไทย
อบรมภาษาไทย
 

More from Anan Pakhing

สมาส สนธิ 2 ครบ
สมาส สนธิ 2  ครบ สมาส สนธิ 2  ครบ
สมาส สนธิ 2 ครบ Anan Pakhing
 
ยินดีต้อนรับเข้าสู่ การพูด
ยินดีต้อนรับเข้าสู่ การพูดยินดีต้อนรับเข้าสู่ การพูด
ยินดีต้อนรับเข้าสู่ การพูดAnan Pakhing
 
ยินดีต้อนรับเข้าสู่ การพูด
ยินดีต้อนรับเข้าสู่ การพูดยินดีต้อนรับเข้าสู่ การพูด
ยินดีต้อนรับเข้าสู่ การพูดAnan Pakhing
 
พัฒนาการอ่าน
พัฒนาการอ่านพัฒนาการอ่าน
พัฒนาการอ่านAnan Pakhing
 
แบบฝึกหัดม.4 5 6 เตรียมเอ็นฯ
แบบฝึกหัดม.4  5 6 เตรียมเอ็นฯแบบฝึกหัดม.4  5 6 เตรียมเอ็นฯ
แบบฝึกหัดม.4 5 6 เตรียมเอ็นฯAnan Pakhing
 
โคลนติดล้อ ๑
โคลนติดล้อ ๑โคลนติดล้อ ๑
โคลนติดล้อ ๑Anan Pakhing
 
การยืมคำ ตปท.มาใช้
การยืมคำ ตปท.มาใช้การยืมคำ ตปท.มาใช้
การยืมคำ ตปท.มาใช้Anan Pakhing
 
การใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพ
การใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพการใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพ
การใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพAnan Pakhing
 
การเขียนนิทาน
การเขียนนิทานการเขียนนิทาน
การเขียนนิทานAnan Pakhing
 
Power point ลีกษณะของผู้พูดที่ดี
Power point ลีกษณะของผู้พูดที่ดีPower point ลีกษณะของผู้พูดที่ดี
Power point ลีกษณะของผู้พูดที่ดีAnan Pakhing
 

More from Anan Pakhing (10)

สมาส สนธิ 2 ครบ
สมาส สนธิ 2  ครบ สมาส สนธิ 2  ครบ
สมาส สนธิ 2 ครบ
 
ยินดีต้อนรับเข้าสู่ การพูด
ยินดีต้อนรับเข้าสู่ การพูดยินดีต้อนรับเข้าสู่ การพูด
ยินดีต้อนรับเข้าสู่ การพูด
 
ยินดีต้อนรับเข้าสู่ การพูด
ยินดีต้อนรับเข้าสู่ การพูดยินดีต้อนรับเข้าสู่ การพูด
ยินดีต้อนรับเข้าสู่ การพูด
 
พัฒนาการอ่าน
พัฒนาการอ่านพัฒนาการอ่าน
พัฒนาการอ่าน
 
แบบฝึกหัดม.4 5 6 เตรียมเอ็นฯ
แบบฝึกหัดม.4  5 6 เตรียมเอ็นฯแบบฝึกหัดม.4  5 6 เตรียมเอ็นฯ
แบบฝึกหัดม.4 5 6 เตรียมเอ็นฯ
 
โคลนติดล้อ ๑
โคลนติดล้อ ๑โคลนติดล้อ ๑
โคลนติดล้อ ๑
 
การยืมคำ ตปท.มาใช้
การยืมคำ ตปท.มาใช้การยืมคำ ตปท.มาใช้
การยืมคำ ตปท.มาใช้
 
การใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพ
การใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพการใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพ
การใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพ
 
การเขียนนิทาน
การเขียนนิทานการเขียนนิทาน
การเขียนนิทาน
 
Power point ลีกษณะของผู้พูดที่ดี
Power point ลีกษณะของผู้พูดที่ดีPower point ลีกษณะของผู้พูดที่ดี
Power point ลีกษณะของผู้พูดที่ดี
 

Power point การอ่านแปลความตีความขยายความ

  • 1. กกาารออ่า่านแแปปลคววาาม ตตีคีคววาาม ขยยาายคววาาม ผลการเรียนรู้ 1. เข้าใจลักษณะการอ่านแปลความ ตีความและขยายความ 2. อ่านแปลความ ตีความ และขยาย ความได้
  • 2. กกาารออ่่าานแแปปลคววาาม การอ่านแปลความ คือ การ เปลี่ยนแปลงจากความหนึ่งไปสู่อีก ความหนงึ่ โดยแปลงเรื่องทไี่ด้อา่น หรือฟังออกมาเป็นคำาพูดใหม่หรือใช้ ถ้อยคำาใหม่ โดยยังรักษาเนอื้หาและ ความสำาคัญของเรื่องเดิมไว้ได้อย่าง ครบถ้วน
  • 3. กกาารแแปปลคววาามหมมาายมมีหีหลลาาย รรููปแแบบบ ดดัังนนีี้้ 1.) แปลคำาศัพท์เฉพาะให้เป็นภาษา ธรรมดา เป็นการแปลความหมายจาก ระดับหนึ่งไปสู่อีกระดับหนึ่ง เช่น ทรงพระราชดำาเนิน = เดิน พระราชหัตถเลขา = จดหมาย พระพักตร์ = ใบหน้า บุปผา = ดอกไม้ โจทก์ = ผู้ฟ้อง ตุ๋น = หลอกลวง, วิธีปรุง
  • 4. กกาารแแปปลคววาามหมมาายมมีหีหลลาาย รรููปแแบบบ ดดัังนนีี้้ 2.) แปลข้อความเดิมที่เป็นสำานวนโวหาร เป็นข้อความใหม่ที่เข้าใจได้ง่ายขึ้น เช่น ยิว – ปาเลสไตน์เจรจายังไม่ก้าวหน้า สหรัฐฯลุ้นจนสุดใจได้ “โอเค” แปลความ ได้ว่า การเจรจาระหว่างอิสราเอลกับ ปาเลสไตน์ไม่คืบหน้า สหรัฐพยายามอย่าง เต็มที่ในการไกล่เกลี่ยเพื่อจะให้ตกลงกันได้ ปืนใหญ่ถล่มหงส์แดงยับ 3-1 แปลความได้ว่า ทีมฟุตบอลอาร์เซนอล
  • 5. กกาารแแปปลคววาามหมมาายมมีหีหลลาาย รรููปแแบบบ ดดัังนนีี้้ 3.) แปลสำานวน สุภาษิต คำาพังเพย หรือ คำาร้อยกรอง คำาภาษาบาลีสันสกฤตที่ ไทยนำามาใช้ให้เป็นภาษาสามัญ หรือ ในทางกลับกัน เช่น ธมฺโม หเว รกฺขติ ธมฺมจาริ = ธรรมย่อม รักษาผู้ประพฤติธรรม พิศพักตร์ผ่องเพียงบุหลันฉาย = ใบหน้า ผุดผ่องราวกับแสงจันทร์ ความรู้ท่วมหัวเอาตัวไม่รอด = มีวิชา ความรู้มากแต่ไม่สามารถพา
  • 6. กกาารแแปปลคววาามหมมาายมมีหีหลลาาย รรููปแแบบบ ดดัังนนีี้้ 4.) แปลเครื่องหมายต่างๆ เช่น = ผู้ชาย = ผู้หญิง = มากกว่า = ตัว ก (ภาษาคนตาบอด) >: :
  • 7. กกาารออ่า่านตตีคีคววาาม การอ่านตีความ คือ การอ่านที่ผู้ อ่านจะต้องใช้สติปัญญาตีความหมาย ของคำาและข้อความทงั้หมด โดย พจิารณาถงึความหมายโดยนัย หรือ ความหมายแฝงที่ผู้เขียนต้องการจะ สื่อความหมาย
  • 8. การตตีีคววาามหมมาายมมีหีหลลัักเเกกณฑฑ์์ ใในนกกาารออ่่าาน ดดัังนนีี้้ 1.) อ่านเรื่องที่จะตีความนั้นให้ละเอียด แล้ว พยายามจับประเด็นสำาคัญให้ได้ 2.) ขณะทอี่่านต้องพยายามคิดหาเหตุผล และใคร่ครวญอย่างรอบคอบ แล้วนำามา ประมวลเข้ากับความคิดของตนเองว่า ข้อความหรือเรื่องนั้นมีความหมายถึงสิ่ง ใด 3.) พยายามทำาความเข้าใจกับถ้อยคำาที่เห็น ว่ามีความสำาคัญ และจะต้องไม่ลืมตรวจ ดูบริบท (Context) ด้วยว่า บริบทหรือ สิ่งแวดล้อมนั้นได้กำาหนดความหมายของ
  • 9. การตตีีคววาามหมมาายมมีหีหลลัักเเกกณฑฑ์์ ใในนกกาารออ่่าาน ดดัังนนีี้้ 4.) ต้องระลึกไว้เสมอว่า การตีความไม่ใช่ การถอดคำาประพันธ์ เพราะการตีความ เป็นการจับเอาแต่ใจความสำาคัญ และคง ไว้ซึ่งคำาของข้อความเดิม 5.) การเขียนเรียบเรียงถ้อยคำาที่ได้จากการ ตีความนนั้ จะต้องให้มีความหมาย ชัดเจน 6.) การตีความไม่ว่าจะเป็นการตีความเกี่ยว กับเนอื้หา หรือเกี่ยวกับนำ้าเสียงก็ตาม เป็นการตีความตามความรู้ ความคิดและ ประสบการณ์ของผตูี้ความเอง ดังนั้นผู้
  • 10. ตัวอยย่่าางกกาารออ่่าานตตีีคววาาม “เห็นช้างขี้ อย่าขี้ตามช้าง” ตีความได้ว่า จะทำาอะไรควรดูฐานะของตน ไม่ ควรเอาอย่างคนที่มีฐานะดีกว่าเรา
  • 11. ตัวอยย่่าางกกาารออ่่าานตตีีคววาาม พระพุทธเจ้าตรัสสอนว่า น ปุปฺผคนฺโธ ปฏิวาตเมติ น จนฺทนตารมลฺลิกา วา สตญฺจ ทิสา สปฺปริโส ปวายติ แปลความได้ว่า กลนิ่หอมของดอกไม้ ทวน ลมขึ้นไปไม่ได้ ไม่ว่าจะเป็นกลนิ่จันทน์กลิ่นก ฤาณา หรือกลนิ่มะลิวัลย์ แต่กลนิ่ของคุณงาม ความดีของคนย่อมหอมหวนทวนลมขึ้นไปได้ และย่อมหอมฟุ้งไปทั่วทุกทิศ ตีความได้ว่า คุณงามความดีของคน หอมยิ่งกว่า
  • 12. กกาารออ่า่านเเพพื่อื่อขยยาายคววาาม การอ่านเพอื่ขยายความ คือ การ อ่านเพื่อนำามาอธิบายเพิ่มเติมให้มี ความละเอียดเพิ่มมากขึ้นจากเนื้อ ความเดิม
  • 13. ตัวอยย่่าางกกาารออ่่าานเเพพื่อื่อขยยาาย คววาาม พระพุทธเจ้าตรัสสอนว่า เปมโต ชายตี โสโก เปมโต ชายตี ภยำ เปมโต วิปฺปมุตฺตสฺส นตฺถี โสโก กุโต ภยำ แปลความได้ว่า ความโศกเกิดจากความรัก ความกลัวเกิดจากความรัก ผทูี้่สละความรักเสีย ได้แล้วก็ไม่โศกไม่กลัว ขยายความได้ว่า พุทธภาษิตนใี้หข้้อคิดว่า ความ รักเป็นต้นเหตุให้เกิดความโศกและความกลัว
  • 14. ตัวอยย่่าางกกาารออ่่าานเเพพื่อื่อขยยาาย คววาาม เมื่อบุคคลที่มีความรักต่อสิ่งใดหรือคนใด เขาก็ ต้องการให้สิ่งนั้น คนนั้นคงอยู่ใหเ้ขารักตลอด ไป มนุษย์โดยทวั่ไปย่อมจะกลัวว่าสิ่งนนั้ๆ หรือคนทตี่นรักจะสูญหายหรือจากเขาไป โดย กฎธรรมชาติแล้วทกุสิ่งทกุอย่าง รวมทั้งมนุษย์ สัตว์ย่อมต้องเปลี่ยนแปลงสูญสลายหรือแตกดับ ทำาลายไปตามสภาพของมันเป็นแน่แท้ ถ้า บุคคลรู้ความเป็นจริงในข้อนี้ เขาจะละความ รัก ความผกูพัน และความติดใจทมีี่ต่อสิ่ง นนั้เสียเพื่อว่าเขาจะไม่ต้องเศร้าโศก ไม่ต้อง กลัวอีกต่อไป
  • 15. ตัวอยย่่าางกกาารออ่่าานเเพพื่อื่อขยยาาย คววาาม โคลงโลกนิติ ของสมเด็จฯ กรมพระยาเดชาดิศร บทหนึ่งกล่าวไว้ว่า ดูข้าดูเมื่อใช้ การหนัก ดูมิตรพงศารัก เมื่อไร้ ดูเมียเมื่อไข้จัก จวนชีพ อาจจักรู้จิตไว้ ว่าร้ายฤาดี ตีความได้ว่า จะดูจิตใจข้าทาส มิตร และภรรยา ว่าดีหรือไม่ ใหดู้จากการกระทำาของเขา
  • 16. ตัวอยย่่าางกกาารออ่่าานเเพพื่อื่อขยยาาย คววาาม ขยายความได้ว่า การดูจติใจผู้ใดวา่ร้ายหรือไม่ ต้องสังเกตจากการกระทำาของคนผู้นั้น เช่น จะดูว่าข้าทาสมีความอดทนขยันขันแข็งหรือไม่ ให้สังเกตเมื่อใช้งานหนักเพราะถ้าตั้งใจ ทำางาน หมายความว่าข้าทาสนนั้ไม่ขี้เกียจ จะดูเพื่อนวา่จริงหรือไม่ให้ดูเมื่อเรายากไร้ เพราะเมื่อเรารำ่ารวยมีเพื่อนฝูงมากมาย แต่ เมื่อถึงคราวลำาบากมิตรแท้เท่านั้นที่จะอยู่เคียง ข้างคอยช่วยเหลือเรา และจะดูว่าภรรยารัก สามีจริงหรือไม่ให้สังเกตเมื่อสามีป่วยไข้ว่า ภรรยาจะคอยปรนนิบัติดูแลสามีหรือไม่
  • 17. ใใบบงงาานททีี่่ 11 คำาสั่ง ให้นักเรียนแปลความ ตีความ ขยายความ ข้อความต่อไปนี้ 1. แปลความ “ข้าพเจ้าพิจารณาดูตามหลักฐานที่ปรากฏใน พงศาวดารเห็นว่าชนชาติไทย มีคุณธรรม 3 อย่างเป็นสำาคัญ จึงสามารถปกครอง ประเทศสยามได้ คือ ความรักอิสระของชนชาติ อย่างหนึ่ง ความปราศจากวิหิงสาอย่างหนึ่ง ความฉลาดในการประสานประโยชน์อย่างหนึ่ง” พงศาวดาร หมายถึง.......................................... วิหิงสา หมายถึง................................................ ประสานประโยชน์ หมายถึง
  • 18. ใใบบงงาานททีี่่ 11 2. ตีความ อาทิตย์อุทัยไยสว่างทางตะวันตก แล้วจะวกกลับฟ้าทางทิศไหน ดาวประกายฉายแสงอยู่แห่งใด ดาวจัญไร ไยเกลื่อนฟ้าทั้งราตรี หญ้าเลวเลวเลื้อยล่าคลุมป่าใหญ่ พญาไม้ผุเปื่อยด้วยผี กิ้งกือคลานเกลื่อนไนปฐพี เสือสิงห์ต่างวิ่งหนี กลัวกิ้งกือ
  • 19. ใใบบงงาานททีี่่ 11 2. ตีความ สัตว์เลื้อยคลานถึงคราวเข้าครองโลก สำ่าสัตว์อื่นตรมโศกไม่กล้าหือ สุดจะแสร้งแปลงร่างใช้หวงแทนมือ สู้ทนถือศิลอดรันทดใจ (ที่มา : บทกวี ของอังคาร กัลยาณพงศ์) อาทิตย์อุทัย หมาย ถึง............................................... ตะวันตก หมายถึง................................................... ดาวประกาย พญาไม้ เสือสิงห์ หมาย ถึง
  • 20. ใใบบงงาานททีี่่ 11 3. ขยายความ “ใครจะไว้ใจอะไรตามใจเถิด แต่อย่าเกิด ไว้ใจในสิ่งห้า หนึ่งอย่าไว้ใจทะเลทุกเวลา สองสัตว์เขี้ยว เล็บงาอย่าวางใจ สามผู้ถืออาวุธสุดจักร้าย สี่ผู้หญิงทั้งหลาย อย่ากรายใกล้ ห้ามหากษัตริย์ทรงฉัตรชัย ถ้าแม้นใคร ประมาทอาจตาย (ที่มา : นิทานเวตาล โดย กรมหมื่น พิทยาลงการณ์)