SlideShare a Scribd company logo
1 of 12
การใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพ
ลักษณะเฉพาะของคาไทย 
๑. คาไทยแท้ส่วนใหญ่เป็นคาโดด หรือคาพยางค์เดียว เช่น พ่อ แม่ ข้าว ปลา กิน 
๒. คา ไทยไม่มีการเปลี่ยนแปลงรูปคา เพื่อแสดงลักษณะทางไวยากรณ์อย่างภาษาอังกฤษ 
ได้แก่ คุณแม่ตีฉัน ไม่ต้องเปลี่ยนคา ว่าฉัน เป็นคา อ่นืเพื่อแสดงการเป็นกรรมของประโยค 
แต่ ภาษาอังกฤษจะเปลี่ยนคา ว่า I เป็น me ( My mother hits me ) 
๓. การเรียงคา ผิดตา แหน่งทา ให้หน้าที่และความหมายของคา เปลี่ยนไป 
ได้แก่ ครูรักนักเรียน นักเรียนรักครู 
๔. คา บางคา มีหลายหน้าที่และหลากความหมาย 
ได้แก่ ขัน (ขันน้า – นาม) ขัน (ไก่ขัน – กริยา) 
ขัน (ขันน็อต – กริยา) ขัน (เรื่องขัน – วิเศษณ์) 
๕. คาไทยมีความหลากหลายในการเลือกใช้ตามความเหมาะสมกับบุคคลและโอกาส 
ได้แก่ เด็กกินผลไม้ พระฉันท์ผลไม้
ลักษณะเฉพาะของคาไทย 
๖. คาไทยมีคาพ้องรูป คาพ้องเสียง และคาพ้องความหมาย ได้แก่ 
พ้องรูป - หนังเรื่องนี้มันดี มันเป็นอาหารประเภทเดียวกับแป้ง มันเป็นข่าวร้าย 
พ้องเสียง - การ แปลว่างาน กานต์ แปลว่าที่รัก กาฬแปลว่าความตาย กาลแปลว่า 
เวลา 
พ้องความหมาย – เพลา อ่าน เพลา หมายถึงตัก อ่าน เพ-ลา หมายถึง เวลา 
๗. คาไทยมีการสร้างคาใหม่ใช้เพิ่มเติมในรูปของคาประสม คาซ้อนคาซ้าและมีการยืมคาจาก 
ภาษาอื่น 
มาใช้ในรูปแบบของคาสมาส คาสนธิ คาทับศัพท์และศัพท์บัญญัติ 
คาประสม - ลูก + น้า = ลูกน้า แปรง+สีฟัน = แปรงสีฟัน ตู้+เย็น= ตู้เย็น 
คาซ้า - เด็กๆ เร็วๆ หวานๆ เบื่อๆ ซ้วยสวย อ๊วนอ้วน 
คาซ้อน - บ้าน+เรือน = บ้านเรือน ป่า+เถื่อน = ป่าเถื่อน เปรี้ยง+ปร้าง = เปรี้ยงป 
ร้าง 
คาสมาส - ราช+การ = ราชการ รัฐ+ศาสตร์ = รัฐศาสตร์ ภูมิ+ประเทศ = ภูมิ 
ประเทศ 
คาสมาสแบบสนธิ 
ธน +อาคาร = ธนาคาร สาธารณ+อุปโภค = สาธารณูปโภคปโภค
ลักษณะเฉพาะของคาไทย 
๘. คาไทยมีคาราชาศัพท์ซึ่งเป็นถ้อยคาที่แสดงถึงความเคารพและเทิดทูนบุคคลที่ 
สูง 
ด้วยวัยวุฒิคุณวุฒิและชาติวุฒิ 
ได้แก่ ไป – เสด็จ ยิ้ม – แย้มพระสรวล คาพูด – พระราชดารัส 
๙. คาไทยมีความหมายทงั้ความหมายตรงและความหมายแฝงทาให้มีโวหารและ 
ภาพพจน์ในการสื่อความหมายที่งดงาม หรือชัดเจนขึ้น 
ได้แก่ เพชร ท้อเป็นถ่านผ่านเป็นเพชร เทพ ความสามารถขนั้เทพ- 
๑๐. คาไทยมีลักษณะนามใช้เพื่อบอกลักษณะคน สัตว์ สิ่งของ 
ได้แก่ เทียน ๒ แท่ง ธูป ๓ ดอก เกวียนเล่มนนั้ 
แห อวนหลายปาก ขลุ่ย ๑ เลา ระนาด ๒ ราง
ลักษณะเฉพาะของคาไทย 
๑๑. คาไทยมีลักษณะเสียงต่างกันตามรูปวรรณยุกต์ที่กากับ ทาให้ความหมายของคา 
ต่างกันไป ได้แก่ เสือ – เสื่อ – เสื้อ ยา – ย่า – ย้า 
๑๒. คาไทยมีความประณีตหลากหลายสามารถเลือกใช้ให้เหมาะสมกับความต้องการ 
ได้แก่ กิน – หม่า - รับประท่าน - เสวย 
๑๓. คาไทยมีศักดิ์ของคา สามารถเลือกใช้ได้ตามรูปแบบของการเขียนได้อย่าง 
หลากหลาย 
คาที่ใช้ในโอกาสทัว่ไป คาที่ใช้ในภาษาแบบแผน คาที่ใช้แต่งคาประพันธ์ 
ตะวัน ดวงอาทิตย์ สุริยะ/สุริยา/สุรีย์/ทินกร/ 
ไถง 
เดือน/ดวงจันทร์พระจันทร์ ดวงเดือน/จันทรา/ศศิธร/แข 
ตาย เสียชีวิต/ถึงแก่กรรม ม้วย/มอดม้วย/ 
มรณา 
ลูกสาว บุตรี ธิดา บุตรี
การอ่านออกเสียงคาให้ถูกต้อง 
การอ่านอักษรนา 
๑..ถ้าพยัญชนะต้นตัวแรกเป็นอักษรสูงหรือกลางพยัญชนะตัวตามต้องออก 
เสียงตามตัวพยัญชนะตัวแรก เช่น 
ถนน อ่านว่า ถะ-หนน ขนุน อ่านว่า ขะ-หนุน สมุน อ่านว่า สะ-หมุน 
ผลิต อ่านว่า ผะ-หลิด จรัส อ่านว่า จะ-หรัด กนก อ่านว่า กะ-หนก 
อักษรสูงมี 11 ตัว ดังนี้ ข ฃ ฉ ผ ฝ ถ ฐ ส ศ ษ ห 
อักษรกลางมี 9 ตัว ดังนี้ ก จ ฎ ฏ ด ต บ ป อ 
๒. ถ้าพยัญชนะต้นตัวแรกเป็นอักษรต่า คา หลังอ่านตามเสียงเดิม 
คณิต อ่านว่า คะ-นิด ชนก อ่านว่า ชะนก พนัก อ่านว่า พะ-นัก 
๓. ถ้าพยัญชนะต้นตัวแรกเป็น ห นาพยัญชนะอื่น หรือ อ นาพยัญชนะ ย ให้ 
อ่านออกเสียงเหมือนการอ่านอักษรควบไม่แท้ เช่น หมู่ หมอ ใหญ่ หรู หรา หมา 
อย่า อยู่ อย่าง อยาก
การอ่านออกเสียงคาให้ถูกต้อง 
การอ่านอักษรควบกลา้ 
อักษรควบแท้ ต้องอ่านออกเสียงพยัญชนะต้นทั้ง 2 ตัวพร้อมกัน 
เช่น กราบกราน คล่องแคล่ว นิทรา ฟรี ปรับปรุง โปรดปราน 
อักษรควบไม่แท้ เวลาอ่านออกเสียงจะอ่านพยัญชนะต้นเพียงตัวเดียว 
ไม่อ่านออกเสียงตัวควบกลา้ ได้แก่ 
ตัว ส ศ ควบกับ ร เช่น แสร้ง(แส้ง) เสร็จ(เส็ด) ศรัทธา(สัด-ทา) 
กา สรวล(กา -สวน) สระ (สะ) ถ้าอ่าน สะ-หระนั้นจะอ่านแบบอักษรนา 
ตัวท ควบกับ ร เปลี่ยน เสียง ทร ให้เป็น ซ เช่น 
ทรัพย์สิน (ซับ-สิน) พุทรา (พุด-ซา) ทรุดโทรม(ซุด-โซม) ทราบ(ซาบ)
ลองอ่านออกเสียงตัว รและ ตัว ล 
แบบฝึกอ่านออกเสียงตัว ร 
• ฤทธิรุทธทางานอย่างรวดเร็วและ 
รอบคอบ 
• เรารักโรงเรียนเรามาก 
• อยากร่งุเรืองต้องเร่งเรียนรู้ 
• วันนี้ระรินมีเรื่องราวร้ายแรงแจ้งให้ 
เพื่อนรับรู้ 
• ฤดูร้อนมีพายุแรงๆเราควรร่วมกัน 
ระวัง 
แบบฝึกอ่านออกเสียงตัว ล 
• ลิงลมปีนต้นลัน่ทมสูงลิบลิ่ว 
• เขาชอบลอกเลียนลวดลายที่เพื่อน 
วาดไปแล้ว 
• ลีลาเป็นลูกลัดดาเป็นหลานละออง 
• ลาจวนชอบกินลองกอง ลางสาด 
ละมุด ลูกตาล 
• เขาละเลยหน้าที่เพราะชอบเล่นลิเกที่ 
ลานวัด
แบบฝึกหัดออกเสียง ร , ล 
นักเรียนชอบล้อเลียน พื้นโล่งเตียนเลี่ยนเรียบดี 
ลีลาอย่ารอรี เราเริงรื่นลื่นล้มลง 
พวกเราเล่าเรื่องราว ร้องเพลงลาวคราวชมดง 
ไปไร่วิ่งไล่หลง ร้องเรียกเพื่อนเลื่อนลอยหาย 
ลมโชยโรยกลิ่นอวล มาลีล้วนงามเรียงราย 
รื่นรมย์ชมลวดลาย วิไลลักษณ์น่ารักจริง 
ของรักใครลอบลัก ลุกลนนักนะลูกลิง 
เรือล่องร้องประวิง เหล่านักเลงเร่งราวี 
รักเร่เล่ห์ลมลวง ดอกโรยร่วงปวงมาลี 
ร่า ไรอาลัยมีมาโลมเล้าเราร้อนรน 
เรไรร้องจาเรียง ลองไล่เลียงเสียงสับสน 
รูปร่างช่างชอบกล คนเรียบเรียงเลี่ยงแล้วเอย
หลักการเขียนสะกดคาให้ถูกต้อง 
๑.หลักการประวิสรรชนีย์ในภาษาไทย 
คาที่ขึ้นต้นด้วยกระ/กะ ในภาษาไทยให้ประวิสรรชนีย์ 
เช่น กระเช้า กระเซ้า กระแส กระโปรง กระทรวง กระทะ กระพริบ กะปิ เป็นต้น 
๒. คาที่เป็นคาประสมที่คาหน้าก่อนเป็นเสียงอะ ให้ประวิสรรชนีย์ 
เช่น ตาวัน เป็น ตะวัน ฉันนนั้ เป็น ฉะนนั้ ฉันนี้ เป็นฉะนี้ หมากม่วง เป็น มะม่วง 
สาวใภ้ เป็น สะใภ้ วับวับ เป็น วะวับ เรื่อยเรื่อย เป็น ระเรื่อย เป็นต้น 
๓. คาที่ยืมมาจากภาษาบาลี สันสกฤต ตัวท้ายที่ออกเสียง อะ ต้องประ 
วิสรรชนีย์ 
เช่นศิลปะ มรณะ วาระ 
๔. คาที่ยืมมาจากภาษาชวา ถ้าออกเสียง อะ ต้องประวิสรรชนีย์ 
เช่น กะหมังกุหนิง ระเด่น ระตู เป็นต้น 
๕. คาที่พยัญชนะต้น ออกเสียงอะ แต่ไม่ใช่อักษรนา ต้องประวิสรรชณีย์ 
เช่น ขะมุกขะมอม ขะมักเขม้น ทะเล่อทะล่า เป็นต้น
คาที่มักเขียนผิด : จาได้ เขียนไม่ผิด 
บันดาลลงบันได บันทึกให้ดูจงดี 
รื่นเริงบันเทิงมี เสียงบันลือสนั่นดัง 
สบงแลสไบ สราญใจได้สดับ 
สบู่สกัดจับ สกาวหลับข้างสดา 
พม่าพนายพัก อิงพนักกับพยาน 
เพยียพยุงหลาน ทาพยักเพยิดยอม 
พยับกับพบู พนมคู่กับพนอม 
พนันพญาตรอม พนังค่อมข้างพาชี 
ชนวนชวนชนาง ชนกข้างเคียงชบา 
ชมดชม้อยตา ทาชม้ายชไมเหมือน
ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ 
ทา แบบฝึกหัดเรื่อง การสะกดคา 
ด้านหลังเอกสารประกอบการเรียนนะลูก

More Related Content

What's hot

การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยkruthai40
 
คำสมาสและคำสนธิ
คำสมาสและคำสนธิคำสมาสและคำสนธิ
คำสมาสและคำสนธิrasi6932
 
แผ่นพับการสร้างคำ
แผ่นพับการสร้างคำแผ่นพับการสร้างคำ
แผ่นพับการสร้างคำKORKORAWAN
 
อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์Kalasom Mad-adam
 
คำสมาส สนธิ
คำสมาส สนธิ คำสมาส สนธิ
คำสมาส สนธิ Rodchana Pattha
 
คำบาลี สันสกฤตในภาษาไทย
คำบาลี สันสกฤตในภาษาไทยคำบาลี สันสกฤตในภาษาไทย
คำบาลี สันสกฤตในภาษาไทยพัน พัน
 
ชนิดของคำ
ชนิดของคำชนิดของคำ
ชนิดของคำchatchaisukhum1
 
ครั้ง๗
ครั้ง๗ครั้ง๗
ครั้ง๗vp12052499
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยbambookruble
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทยโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทยNook Kanokwan
 
บทที่ 7 การเขียนบทร้อยกรอง
บทที่ 7 การเขียนบทร้อยกรองบทที่ 7 การเขียนบทร้อยกรอง
บทที่ 7 การเขียนบทร้อยกรองAj.Mallika Phongphaew
 

What's hot (17)

Korat
KoratKorat
Korat
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทย
 
คำสมาสและคำสนธิ
คำสมาสและคำสนธิคำสมาสและคำสนธิ
คำสมาสและคำสนธิ
 
แผ่นพับการสร้างคำ
แผ่นพับการสร้างคำแผ่นพับการสร้างคำ
แผ่นพับการสร้างคำ
 
อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์
 
คำประสม
คำประสมคำประสม
คำประสม
 
ใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำ
ใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำ
ใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำ
 
คำสมาส สนธิ
คำสมาส สนธิ คำสมาส สนธิ
คำสมาส สนธิ
 
คำบาลี สันสกฤตในภาษาไทย
คำบาลี สันสกฤตในภาษาไทยคำบาลี สันสกฤตในภาษาไทย
คำบาลี สันสกฤตในภาษาไทย
 
ชนิดของคำ
ชนิดของคำชนิดของคำ
ชนิดของคำ
 
ครั้ง๗
ครั้ง๗ครั้ง๗
ครั้ง๗
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทย
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทยโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
 
การสร้างคำ
การสร้างคำการสร้างคำ
การสร้างคำ
 
บทที่ 7 การเขียนบทร้อยกรอง
บทที่ 7 การเขียนบทร้อยกรองบทที่ 7 การเขียนบทร้อยกรอง
บทที่ 7 การเขียนบทร้อยกรอง
 
ใบความรู้การสร้างคำในภาษาไทย
ใบความรู้การสร้างคำในภาษาไทยใบความรู้การสร้างคำในภาษาไทย
ใบความรู้การสร้างคำในภาษาไทย
 
Th 2014-01-01
Th 2014-01-01Th 2014-01-01
Th 2014-01-01
 

Similar to การใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพ

ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาwattanaka
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาwattanaka
 
ภาษาไทย สำนวนไทย
ภาษาไทย สำนวนไทยภาษาไทย สำนวนไทย
ภาษาไทย สำนวนไทยnatta25
 
อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์Kalasom Mad-adam
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรองMong Chawdon
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรองPairor Singwong
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรองNimnoi Kamkiew
 

Similar to การใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพ (20)

การสร้างคำ
การสร้างคำการสร้างคำ
การสร้างคำ
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทย
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
การจำแนกชนิดคำในภาษาไทย
การจำแนกชนิดคำในภาษาไทยการจำแนกชนิดคำในภาษาไทย
การจำแนกชนิดคำในภาษาไทย
 
ภาษาไทย สำนวนไทย
ภาษาไทย สำนวนไทยภาษาไทย สำนวนไทย
ภาษาไทย สำนวนไทย
 
thai
thaithai
thai
 
อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 

More from Anan Pakhing

สมาส สนธิ 2 ครบ
สมาส สนธิ 2  ครบ สมาส สนธิ 2  ครบ
สมาส สนธิ 2 ครบ Anan Pakhing
 
ยินดีต้อนรับเข้าสู่ การพูด
ยินดีต้อนรับเข้าสู่ การพูดยินดีต้อนรับเข้าสู่ การพูด
ยินดีต้อนรับเข้าสู่ การพูดAnan Pakhing
 
ยินดีต้อนรับเข้าสู่ การพูด
ยินดีต้อนรับเข้าสู่ การพูดยินดีต้อนรับเข้าสู่ การพูด
ยินดีต้อนรับเข้าสู่ การพูดAnan Pakhing
 
พัฒนาการอ่าน
พัฒนาการอ่านพัฒนาการอ่าน
พัฒนาการอ่านAnan Pakhing
 
แบบฝึกหัดม.4 5 6 เตรียมเอ็นฯ
แบบฝึกหัดม.4  5 6 เตรียมเอ็นฯแบบฝึกหัดม.4  5 6 เตรียมเอ็นฯ
แบบฝึกหัดม.4 5 6 เตรียมเอ็นฯAnan Pakhing
 
โคลนติดล้อ ๑
โคลนติดล้อ ๑โคลนติดล้อ ๑
โคลนติดล้อ ๑Anan Pakhing
 
การยืมคำ ตปท.มาใช้
การยืมคำ ตปท.มาใช้การยืมคำ ตปท.มาใช้
การยืมคำ ตปท.มาใช้Anan Pakhing
 
การเขียนนิทาน
การเขียนนิทานการเขียนนิทาน
การเขียนนิทานAnan Pakhing
 
Power point ลีกษณะของผู้พูดที่ดี
Power point ลีกษณะของผู้พูดที่ดีPower point ลีกษณะของผู้พูดที่ดี
Power point ลีกษณะของผู้พูดที่ดีAnan Pakhing
 
Power point การอ่านแปลความตีความขยายความ
Power point การอ่านแปลความตีความขยายความPower point การอ่านแปลความตีความขยายความ
Power point การอ่านแปลความตีความขยายความAnan Pakhing
 

More from Anan Pakhing (10)

สมาส สนธิ 2 ครบ
สมาส สนธิ 2  ครบ สมาส สนธิ 2  ครบ
สมาส สนธิ 2 ครบ
 
ยินดีต้อนรับเข้าสู่ การพูด
ยินดีต้อนรับเข้าสู่ การพูดยินดีต้อนรับเข้าสู่ การพูด
ยินดีต้อนรับเข้าสู่ การพูด
 
ยินดีต้อนรับเข้าสู่ การพูด
ยินดีต้อนรับเข้าสู่ การพูดยินดีต้อนรับเข้าสู่ การพูด
ยินดีต้อนรับเข้าสู่ การพูด
 
พัฒนาการอ่าน
พัฒนาการอ่านพัฒนาการอ่าน
พัฒนาการอ่าน
 
แบบฝึกหัดม.4 5 6 เตรียมเอ็นฯ
แบบฝึกหัดม.4  5 6 เตรียมเอ็นฯแบบฝึกหัดม.4  5 6 เตรียมเอ็นฯ
แบบฝึกหัดม.4 5 6 เตรียมเอ็นฯ
 
โคลนติดล้อ ๑
โคลนติดล้อ ๑โคลนติดล้อ ๑
โคลนติดล้อ ๑
 
การยืมคำ ตปท.มาใช้
การยืมคำ ตปท.มาใช้การยืมคำ ตปท.มาใช้
การยืมคำ ตปท.มาใช้
 
การเขียนนิทาน
การเขียนนิทานการเขียนนิทาน
การเขียนนิทาน
 
Power point ลีกษณะของผู้พูดที่ดี
Power point ลีกษณะของผู้พูดที่ดีPower point ลีกษณะของผู้พูดที่ดี
Power point ลีกษณะของผู้พูดที่ดี
 
Power point การอ่านแปลความตีความขยายความ
Power point การอ่านแปลความตีความขยายความPower point การอ่านแปลความตีความขยายความ
Power point การอ่านแปลความตีความขยายความ
 

การใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพ

  • 2. ลักษณะเฉพาะของคาไทย ๑. คาไทยแท้ส่วนใหญ่เป็นคาโดด หรือคาพยางค์เดียว เช่น พ่อ แม่ ข้าว ปลา กิน ๒. คา ไทยไม่มีการเปลี่ยนแปลงรูปคา เพื่อแสดงลักษณะทางไวยากรณ์อย่างภาษาอังกฤษ ได้แก่ คุณแม่ตีฉัน ไม่ต้องเปลี่ยนคา ว่าฉัน เป็นคา อ่นืเพื่อแสดงการเป็นกรรมของประโยค แต่ ภาษาอังกฤษจะเปลี่ยนคา ว่า I เป็น me ( My mother hits me ) ๓. การเรียงคา ผิดตา แหน่งทา ให้หน้าที่และความหมายของคา เปลี่ยนไป ได้แก่ ครูรักนักเรียน นักเรียนรักครู ๔. คา บางคา มีหลายหน้าที่และหลากความหมาย ได้แก่ ขัน (ขันน้า – นาม) ขัน (ไก่ขัน – กริยา) ขัน (ขันน็อต – กริยา) ขัน (เรื่องขัน – วิเศษณ์) ๕. คาไทยมีความหลากหลายในการเลือกใช้ตามความเหมาะสมกับบุคคลและโอกาส ได้แก่ เด็กกินผลไม้ พระฉันท์ผลไม้
  • 3. ลักษณะเฉพาะของคาไทย ๖. คาไทยมีคาพ้องรูป คาพ้องเสียง และคาพ้องความหมาย ได้แก่ พ้องรูป - หนังเรื่องนี้มันดี มันเป็นอาหารประเภทเดียวกับแป้ง มันเป็นข่าวร้าย พ้องเสียง - การ แปลว่างาน กานต์ แปลว่าที่รัก กาฬแปลว่าความตาย กาลแปลว่า เวลา พ้องความหมาย – เพลา อ่าน เพลา หมายถึงตัก อ่าน เพ-ลา หมายถึง เวลา ๗. คาไทยมีการสร้างคาใหม่ใช้เพิ่มเติมในรูปของคาประสม คาซ้อนคาซ้าและมีการยืมคาจาก ภาษาอื่น มาใช้ในรูปแบบของคาสมาส คาสนธิ คาทับศัพท์และศัพท์บัญญัติ คาประสม - ลูก + น้า = ลูกน้า แปรง+สีฟัน = แปรงสีฟัน ตู้+เย็น= ตู้เย็น คาซ้า - เด็กๆ เร็วๆ หวานๆ เบื่อๆ ซ้วยสวย อ๊วนอ้วน คาซ้อน - บ้าน+เรือน = บ้านเรือน ป่า+เถื่อน = ป่าเถื่อน เปรี้ยง+ปร้าง = เปรี้ยงป ร้าง คาสมาส - ราช+การ = ราชการ รัฐ+ศาสตร์ = รัฐศาสตร์ ภูมิ+ประเทศ = ภูมิ ประเทศ คาสมาสแบบสนธิ ธน +อาคาร = ธนาคาร สาธารณ+อุปโภค = สาธารณูปโภคปโภค
  • 4. ลักษณะเฉพาะของคาไทย ๘. คาไทยมีคาราชาศัพท์ซึ่งเป็นถ้อยคาที่แสดงถึงความเคารพและเทิดทูนบุคคลที่ สูง ด้วยวัยวุฒิคุณวุฒิและชาติวุฒิ ได้แก่ ไป – เสด็จ ยิ้ม – แย้มพระสรวล คาพูด – พระราชดารัส ๙. คาไทยมีความหมายทงั้ความหมายตรงและความหมายแฝงทาให้มีโวหารและ ภาพพจน์ในการสื่อความหมายที่งดงาม หรือชัดเจนขึ้น ได้แก่ เพชร ท้อเป็นถ่านผ่านเป็นเพชร เทพ ความสามารถขนั้เทพ- ๑๐. คาไทยมีลักษณะนามใช้เพื่อบอกลักษณะคน สัตว์ สิ่งของ ได้แก่ เทียน ๒ แท่ง ธูป ๓ ดอก เกวียนเล่มนนั้ แห อวนหลายปาก ขลุ่ย ๑ เลา ระนาด ๒ ราง
  • 5. ลักษณะเฉพาะของคาไทย ๑๑. คาไทยมีลักษณะเสียงต่างกันตามรูปวรรณยุกต์ที่กากับ ทาให้ความหมายของคา ต่างกันไป ได้แก่ เสือ – เสื่อ – เสื้อ ยา – ย่า – ย้า ๑๒. คาไทยมีความประณีตหลากหลายสามารถเลือกใช้ให้เหมาะสมกับความต้องการ ได้แก่ กิน – หม่า - รับประท่าน - เสวย ๑๓. คาไทยมีศักดิ์ของคา สามารถเลือกใช้ได้ตามรูปแบบของการเขียนได้อย่าง หลากหลาย คาที่ใช้ในโอกาสทัว่ไป คาที่ใช้ในภาษาแบบแผน คาที่ใช้แต่งคาประพันธ์ ตะวัน ดวงอาทิตย์ สุริยะ/สุริยา/สุรีย์/ทินกร/ ไถง เดือน/ดวงจันทร์พระจันทร์ ดวงเดือน/จันทรา/ศศิธร/แข ตาย เสียชีวิต/ถึงแก่กรรม ม้วย/มอดม้วย/ มรณา ลูกสาว บุตรี ธิดา บุตรี
  • 6. การอ่านออกเสียงคาให้ถูกต้อง การอ่านอักษรนา ๑..ถ้าพยัญชนะต้นตัวแรกเป็นอักษรสูงหรือกลางพยัญชนะตัวตามต้องออก เสียงตามตัวพยัญชนะตัวแรก เช่น ถนน อ่านว่า ถะ-หนน ขนุน อ่านว่า ขะ-หนุน สมุน อ่านว่า สะ-หมุน ผลิต อ่านว่า ผะ-หลิด จรัส อ่านว่า จะ-หรัด กนก อ่านว่า กะ-หนก อักษรสูงมี 11 ตัว ดังนี้ ข ฃ ฉ ผ ฝ ถ ฐ ส ศ ษ ห อักษรกลางมี 9 ตัว ดังนี้ ก จ ฎ ฏ ด ต บ ป อ ๒. ถ้าพยัญชนะต้นตัวแรกเป็นอักษรต่า คา หลังอ่านตามเสียงเดิม คณิต อ่านว่า คะ-นิด ชนก อ่านว่า ชะนก พนัก อ่านว่า พะ-นัก ๓. ถ้าพยัญชนะต้นตัวแรกเป็น ห นาพยัญชนะอื่น หรือ อ นาพยัญชนะ ย ให้ อ่านออกเสียงเหมือนการอ่านอักษรควบไม่แท้ เช่น หมู่ หมอ ใหญ่ หรู หรา หมา อย่า อยู่ อย่าง อยาก
  • 7. การอ่านออกเสียงคาให้ถูกต้อง การอ่านอักษรควบกลา้ อักษรควบแท้ ต้องอ่านออกเสียงพยัญชนะต้นทั้ง 2 ตัวพร้อมกัน เช่น กราบกราน คล่องแคล่ว นิทรา ฟรี ปรับปรุง โปรดปราน อักษรควบไม่แท้ เวลาอ่านออกเสียงจะอ่านพยัญชนะต้นเพียงตัวเดียว ไม่อ่านออกเสียงตัวควบกลา้ ได้แก่ ตัว ส ศ ควบกับ ร เช่น แสร้ง(แส้ง) เสร็จ(เส็ด) ศรัทธา(สัด-ทา) กา สรวล(กา -สวน) สระ (สะ) ถ้าอ่าน สะ-หระนั้นจะอ่านแบบอักษรนา ตัวท ควบกับ ร เปลี่ยน เสียง ทร ให้เป็น ซ เช่น ทรัพย์สิน (ซับ-สิน) พุทรา (พุด-ซา) ทรุดโทรม(ซุด-โซม) ทราบ(ซาบ)
  • 8. ลองอ่านออกเสียงตัว รและ ตัว ล แบบฝึกอ่านออกเสียงตัว ร • ฤทธิรุทธทางานอย่างรวดเร็วและ รอบคอบ • เรารักโรงเรียนเรามาก • อยากร่งุเรืองต้องเร่งเรียนรู้ • วันนี้ระรินมีเรื่องราวร้ายแรงแจ้งให้ เพื่อนรับรู้ • ฤดูร้อนมีพายุแรงๆเราควรร่วมกัน ระวัง แบบฝึกอ่านออกเสียงตัว ล • ลิงลมปีนต้นลัน่ทมสูงลิบลิ่ว • เขาชอบลอกเลียนลวดลายที่เพื่อน วาดไปแล้ว • ลีลาเป็นลูกลัดดาเป็นหลานละออง • ลาจวนชอบกินลองกอง ลางสาด ละมุด ลูกตาล • เขาละเลยหน้าที่เพราะชอบเล่นลิเกที่ ลานวัด
  • 9. แบบฝึกหัดออกเสียง ร , ล นักเรียนชอบล้อเลียน พื้นโล่งเตียนเลี่ยนเรียบดี ลีลาอย่ารอรี เราเริงรื่นลื่นล้มลง พวกเราเล่าเรื่องราว ร้องเพลงลาวคราวชมดง ไปไร่วิ่งไล่หลง ร้องเรียกเพื่อนเลื่อนลอยหาย ลมโชยโรยกลิ่นอวล มาลีล้วนงามเรียงราย รื่นรมย์ชมลวดลาย วิไลลักษณ์น่ารักจริง ของรักใครลอบลัก ลุกลนนักนะลูกลิง เรือล่องร้องประวิง เหล่านักเลงเร่งราวี รักเร่เล่ห์ลมลวง ดอกโรยร่วงปวงมาลี ร่า ไรอาลัยมีมาโลมเล้าเราร้อนรน เรไรร้องจาเรียง ลองไล่เลียงเสียงสับสน รูปร่างช่างชอบกล คนเรียบเรียงเลี่ยงแล้วเอย
  • 10. หลักการเขียนสะกดคาให้ถูกต้อง ๑.หลักการประวิสรรชนีย์ในภาษาไทย คาที่ขึ้นต้นด้วยกระ/กะ ในภาษาไทยให้ประวิสรรชนีย์ เช่น กระเช้า กระเซ้า กระแส กระโปรง กระทรวง กระทะ กระพริบ กะปิ เป็นต้น ๒. คาที่เป็นคาประสมที่คาหน้าก่อนเป็นเสียงอะ ให้ประวิสรรชนีย์ เช่น ตาวัน เป็น ตะวัน ฉันนนั้ เป็น ฉะนนั้ ฉันนี้ เป็นฉะนี้ หมากม่วง เป็น มะม่วง สาวใภ้ เป็น สะใภ้ วับวับ เป็น วะวับ เรื่อยเรื่อย เป็น ระเรื่อย เป็นต้น ๓. คาที่ยืมมาจากภาษาบาลี สันสกฤต ตัวท้ายที่ออกเสียง อะ ต้องประ วิสรรชนีย์ เช่นศิลปะ มรณะ วาระ ๔. คาที่ยืมมาจากภาษาชวา ถ้าออกเสียง อะ ต้องประวิสรรชนีย์ เช่น กะหมังกุหนิง ระเด่น ระตู เป็นต้น ๕. คาที่พยัญชนะต้น ออกเสียงอะ แต่ไม่ใช่อักษรนา ต้องประวิสรรชณีย์ เช่น ขะมุกขะมอม ขะมักเขม้น ทะเล่อทะล่า เป็นต้น
  • 11. คาที่มักเขียนผิด : จาได้ เขียนไม่ผิด บันดาลลงบันได บันทึกให้ดูจงดี รื่นเริงบันเทิงมี เสียงบันลือสนั่นดัง สบงแลสไบ สราญใจได้สดับ สบู่สกัดจับ สกาวหลับข้างสดา พม่าพนายพัก อิงพนักกับพยาน เพยียพยุงหลาน ทาพยักเพยิดยอม พยับกับพบู พนมคู่กับพนอม พนันพญาตรอม พนังค่อมข้างพาชี ชนวนชวนชนาง ชนกข้างเคียงชบา ชมดชม้อยตา ทาชม้ายชไมเหมือน
  • 12. ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ทา แบบฝึกหัดเรื่อง การสะกดคา ด้านหลังเอกสารประกอบการเรียนนะลูก