SlideShare a Scribd company logo
1 of 39
แนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับยาที่มีความเสี่ยงสูง (high-alert
drugs)
คำาจำากัดความ : ยาที่มีความเสี่ยงสูง (high-alert drugs)
หมายถึงยาที่เสี่ยงสูงที่จะก่อให้เกิดอันตราย หรือผลเสียต่อผู้ป่วยที่
รุนแรง ถ้าหากมีความผิดพลาดในการสั่งใช้ยา คัดลอกคำาสั่งใช้
ยา จ่ายยา หรือการให้ยา
แนวทางปฏิบัติเมื่อมีการสั่งใช้ยาที่มีความเสี่ยงสูง
1. การสั่งใช้ยาโดยแพทย์
1.1 เขียนคำาสั่งใช้ยาอย่างครบถ้วน และชัดเจน เช่นระบุ
ความแรง วิถีทางให้ยา และความถี่ของการให้ยา
1.2 หลีกเลี่ยงการใช้คำาย่อที่ไม่เป็นสากล
1.3 หลีกเลี่ยงการสั่งจ่ายยาโดยวาจา/ทางโทรศัพท์ ถ้า
จำาเป็นให้ตรวจสอบและเซ็นต์กำากับคำาสั่งใช้ยานั้นทันทีที่
สามารถทำาได้
2. การคัดลอกคำาสั่งใช้ยา
2.1 ทบทวนคำาสั่งใช้ยาให้เข้าใจทั้งชื่อยา ขนาดยา และวิธี
การให้ยา หากไม่ชัดเจนควรติดต่อแพทย์ผู้เขียนคำาสั่ง
โดยตรง เพื่อให้ได้ข้อมูลที่ถูกต้อง ก่อนลอกคำาสั่งลงในการ์ด
ยา
2.2 คัดลอกคำาสั่งแพทย์ลงในใบสั่งยาให้ครบถ้วนทั้งชื่อยา
ขนาดยา และวิธีการให้ยา โดยหลีกเลี่ยงการใช้คำาย่อที่ไม่
เป็นสากล
3. การตรวจสอบยา และการจ่ายยา
3.1 ตรวจสอบความถูกต้องทั้งชื่อผู้ป่วย ชนิดยา ขนาดยา
และวิธีการให้ยา อย่างน้อย 2 ครั้งก่อนจ่ายยา หากไม่
ชัดเจนให้ติดต่อกลับไปที่หอผู้ป่วย หรือแพทย์ผู้สั่งใช้ยา
โดยตรง
3.2 ตรวจสอบวันหมดอายุของยา
3.3 ตรวจสอบความถูกต้องของการเตรียมยา เช่น การใช้
ตัวทำาละลายที่เหมาะสมในกรณีที่ต้องละลายหรือเจือจางยา
3.4 หลีกเลี่ยงการรับคำาสั่งใช้ยาทางโทรศัพท์ โดยคำาสั่งใช้
ยาต้องเป็นลายลักษณ์อักษร
4. การให้ยา
4.1 จัดเตรียมยาสำาหรับผู้ป่วยตามคำาสั่งแพทย์
4.2 ให้ยาอย่างถูกต้องตามหลัก 6 R คือ ถูกต้องตามชนิด
ของยา ถูกต้องตามขนาดยา ถูกต้องตามวิถีทาง ถูกต้อง
ตามเวลา ถูกต้องตามผู้ป่วย และการบันทึกการให้ยาถูก
ต้อง
4.3 ประเมินผลการตอบสนองของยานั้น และสังเกตอาการ
ไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา หากเกิดขึ้นให้รายงานแพทย์
และแจ้งให้เภสัชกรทราบ
5. การเก็บรักษา
5.1 เก็บรักษายาให้เหมาะสมกับชนิดของยา เช่น ยาที่ต้อง
แช่เย็นเก็บในตู้เย็น ยากันแสงต้องเก็บในซองสีชา หรืออยู่
ในภาชนะบรรจุที่ป้องกันแสง
5.2 ควรแยกยากลุ่มนี้ไว้ห่างกับยาที่มีรูปลักษณ์ภายนอก
ของภาชนะบรรจุที่คล้ายคลึงกัน เพื่อลดความคลาดเคลื่อน
ในการจ่าย/เตรียมยา
5.3 ติด Sticker สีแดงที่ภาชนะที่เก็บยา เพื่อให้ชัดเจน
และเพิ่มความระวังในการใช้ยามากขึ้น
รายการยา High Alert Drug แยกตาม PCT
หน้า
1. PCT อายุรกรรม
- Adrenaline injection 1
- Amiodarone ( Cordarone®
) injection, tablet
2
- Atropine injection 3
- Calcium Gluconate injection 4
- Cyclophosphamide tablet 5
- Digoxin tablet,injection 6
- Dobutamine injection 7
- Dopamine injection 8
- Enoxaparin injection 9
- Heparin injection 10
- Insulin 11
- Magnesium Sulfate Injection 12
- Methotrexate injection, tablet
13
- Nitroglycerine injection 14
- Nitroprusside Sodium injection 15
- Potassium Chloride injection
16
- Sodium bicarbonate injection
17
- Streptokinase injection 18
- Warfarin tablet 19
2. PCT ศัลยกรรมกระดูก
- Morphine Sulfate 20
- Pethidine Hydrochloride 21
3. PCT สูติ นรีเวชกรรม
- Oxytocin injection 22
- Magnesium sulfate injection 12
- Misoprostol tablet ( Cytotec®
) 23
- Methylergometrine injection 24
- Terbutaline injection 25
- Sulprostone injection (Nalador®
) 26
4. PCT EENT หน้า
- Acetazolamide (Diamox®
) 27
- Mannitol 28
5. PCT กุมารเวชกรรม
- Adrenaline 1
- Aminophylline 29
- Atropine injection 3
- Calcium Gluconate injection 4
- Deferoxamine injection 30
- Digoxin injection, Tablet, Elixir
6
- Dobutamine injection 7
- Heparin Solution 10
- Insulin 11
- Magnesium Sulfate Injection 12
- Phenobarbital injection 31
- Phenytoin injection 32
- Potassium Chloride injection 16
- Sodium bicarbonate injection
17
- Theophylline elixir (p.18) 33
6. PCT ศัลยกรรม
- Adrenaline injection 1
- Amiodarone ( Cordarone®
) injection, tablet
2
- Atropine injection 3
- Calcium Gluconate injection 4
- Cyclophosphamide tablet 5
- Digoxin tablet,injection 6
- Dobutamine injection 7
- Dopamine injection 8
- Heparin injection 10
- Insulin 11
- Magnesium Sulfate Injection 12
- Methotrexate injection, tablet
13
- Morphine Sulfate 20
PCT ศัลยกรรม(ต่อ)
- Nitroglycerine injection 14
- Nitroprusside Sodium injection 15
- Octreotide injection 33
- Pethidine Hydrochloride 21
- Potassium Chloride injection
16
- Sodium bicarbonate injection
17
- Streptokinase injection 18
- Tamoxifen 34
- Warfarin tablet 19
Adrenaline Injection
แนวทางการบริหารยา
1.ใช้ในกรณี แก้แพ้ยา หลอดลมตีบ หัวใจหยุดเต้น ความดันโลหิต
ตำ่าอย่างรุนแรง
2.ผลข้างเคียง คลื่นไส้ เบื่ออาหาร นอนไม่หลับ สั่น วิงเวียน หน้ามืด
3.ข้อควรระวัง ใจสั่น หัวใจเต้นเร็ว หยุดหายใจ อาจเกิด
ventricular fibrillation, pulmonary edema ซึ่งถึงแก่ชีวิตได้
บทบาทของพยาบาล
1.ตรวจดู vital sign: BP ทุก 3-5 นาที, pulse rate
2.รายงานแพทย์ทันทีเมื่อพบอาการ tachycardia, palpitation,
BP สูง
3.ตรวจดู IV site เพราะอาจเกิด tissue necrosis ได้ ถ้ามียารั่ว
ออกมา
Amiodarone (Cordarone®
) Injection, Tablet
แนวทางการบริหารยา
1.cardiac arrest (VF/pulseless VT)
Step 1: 300 mg. dilute 5%D/W 30 ml. IV push 3-5
นาที (ซำ้าได้อีก 150 mg. IV) สูงสุดไม่เกิน 2.2 g/ 24 hrs
2.wide complex tachycardia (stable) 24 ชั่วโมงแรก ให้ยา
1000 mg. โดยให้ตามลำาดับ ดังนี้
Step 1: 150 mg (100 ml.) ใน 10 นาทีแรก (ผสม 3 ml.
ใน 100 ml. D-5-W)
Step 2: 360 mg. (200 ml) ใน 6 ชั่วโมงถัดไป (ผสม 18
ml. ใน 500 ml. D-5-W)
Step 3: 540 mg. (300 ml.) ใน 18 ชั่วโมงถัดไป
บทบาทของพยาบาล
1.ตรวจการทำางานของหัวใจเสมอ วัดชีพจร สังเกตความแรง ความถี่
และการเป็นจังหวะ
2.เตรียม Dopamine ไว้ใช้แก้ไขยามฉุกเฉิน
3.แนะนำางดสุรา ไวน์เบียร์ งดสูบบุหรี่ เตือนผู้ป่วยให้งดคาเฟอีน ใน
ชา กาแฟ เครื่องดื่มชูกำาลัง และระวังการใช้ร่วมกับยาบางชนิด เช่น
Cafergot
4.อาจเกิด prolong QT interval (เช่นให้ร่วมกับยา
procainamide)
Atropine Injection
แนวทางการบริหารยา
1.ให้ 1 mg ฉีดเข้าทางเส้นเลือดดำาช้าๆ และให้ซำ้าได้ 3-5 นาที
หากยังไม่ตอบสนอง แต่ไม่เกิน 3 mg
2.กรณีหัวใจเต้นช้า อาจให้ขนาด 0.5-1 mg ซ้าได้ทุก 3-5 นาที
ขนาดโดยรวมไม่เกิน 3 mg หรือ 0.04mg/kg
บทบาทของพยาบาล
1.ติดตามอัตราการเต้นของหัวใจ ความดันโลหิต และ Mental
status
2.ห้ามผสมยาร่วมกับยา
Ampicillin,Chloramphenicol,Adrenaline,Heparin,Warfarin
3.อาการข้างเคียงที่อาจพบได้ เช่น ปากแห้ง,ตาพร่ามัว,หัวใจเต้น
ช้า,ชีพจรเต้นเร็ว,รูม่านตาขยายและการปรับภาพเสีย
Calcium gluconate Injection
แนวทางการบริหารยา
1.ข้อบ่งใช้ ในผู้ป่วยที่มีหรือสงสัยว่ามี Hyperkalemia (เช่น ผู้ป่วย
ไตวายเรื้อรัง) หรือภาวะ Calcium ตำ่า (เช่น หลังได้รับเลือดหลายครั้ง)
2.ค่าปกติ 4.5-5.5 mEq/L (Ionized Calcium)
- Calcium ตำ่า จะชักกระตุก ปากเบี้ยว นิ้วชา กล้ามเนื้อเป็นตะคริว
เลือดออกง่าย หัวใจบีบตัวอ่อนลง
- Calcium สูง กล้ามเนื้อจะเปลี้ย ปวดบริเวณกระดูก
บทบาทของพยาบาล
1.ควรผสม Calcium ใน D-5-W ไม่ควรใช้ NSS เพราะ sodium
ทำาให้ calcium ขับออกเร็วขึ้น
2.ห้ามผสมใน Bicarbonate เพราะจะตกตะกอน
3.ดูการใช้ยาอื่นร่วมด้วย เช่น
- Calcium เสริมฤทธิ์ digoxin
- HCTZ เสริมฤทธิ์ calcium ในเลือด
- Calcium blocker, Tatracycline, NaCl ลด Calcium ใน
เลือด
Cyclophosphamide
แนวทางการบริหารยา
1.ควรรับประทานยาพร้อมอาหารหรือหลังอาหารเพื่อลดผลข้างเคียง
ต่อระบบทางเดินอาหาร
2.ในระหว่างการใช้ยาควรดื่มนำ้าประมาณ 2-3 ลิตร/วัน และ
ปัสสาวะทิ้งบ่อยๆ เพื่อลดอัตราการเกิดเลือดออกในกระเพาะปัสสาวะ
(Hemorrhagic cystitis) ซึ่งจะมีปัสสาวะเป็นสีแดงจางหรือเป็นเลือดได้
3.ก่อนใช้ยาต้องตรวจเม็ดเลือดขาวและเกร็ดเลือด โดยเม็ดเลือดขาว
ต้องมากกว่า 3000/มม 3
และ เกร็ดเลือดมากกว่า 100,000/มม 3
4.ในผู้ป่วยที่เป็นโรคเบาหวาน ควรมีการตรวจระดับนำ้าตาลเพื่อ
ป้องกันการเกิด hypoglycemia
5.เนื่องจากยามีผลต่อการกดไขกระดูก ดังนั้นจึงควรแนะนำาให้ผู้
ป่วยระมัดระวังการติดเชื้อ หากมีไข้ เจ็บคอให้รีบมาพบแพทย์เพื่อทำาการ
ตรวจหาสาเหตุต่อไป
Digoxin Injection,Tablet ,Elixir
แนวทางการบริหารยา
1.ควรหลีกเลี่ยงการใช้ชื่อการค้า Lanoxin
2.ขนาดยารับประทานทั่วไปในผู้ใหญ่ 0.125-0.375 มิลลิกรัม/วัน
วันละครั้ง (ยกเว้นผู้ป่วยที่ต้องการยาระดับสูงทันที อาจให้เพิ่มขนาดครึ่งถึง
หนึ่งเท่าครึ่งของขนาดปกติ ทุก 6-8 ชั่วโมง ซึ่งต้องอยู่ในความดูแลของ
แพทย์)
3.ห้ามใช้ในผู้ป่วยกล้ามเนื้อหัวใจตาย โรคไตขั้นรุนแรง ผู้ป่วยที่มี K
ตำ่า
4.อาการพิษ ได้แก่ หัวใจเต้นช้า หัวใจหยุดเต้น กดสมอง อาจทำาให้
เสียชีวิตได้
บทบาทของพยาบาล
1.สอนผู้ป่วยให้จับชีพจรตนเองก่อนกินยา ถ้าตำ่ากว่า 60 ครั้ง/นาที
ต้องบอกพยาบาล/แพทย์
2.แนะนำาให้ผู้ป่วยรับประทานอาหารที่มี K สูง เช่น กล้วย ส้ม
3.เมื่อให้ยานำ้าต้องใช้หลอดหยดที่มีขีดระบุชัดเจน
4.ถ้าต้องทำา cardiovasion ในผู้ป่วยที่ได้ digoxin ไปแล้ว ต้องใช้
กำาลังไฟฟ้าตำ่า (10-20 J)
Dobutamine Injection
แนวทางการบริหารยา
1.ขนาดบริหารยาทั้งเด็กและผู้ใหญ่ แตกต่างตามวัตถุประสงค์และตำ่า
กว่า Dopamine และขนาดสูงสุด 40 mcg/kg/min IV ในผู้ใหญ่และ
เด็ก (USFDA ไม่รับรองการใช้ในเด็ก)
2.ไม่มีข้อบ่งใช้ในการรักษาผู้ป่วยความดันเลือดตำ่า
บทบาทของพยาบาล
1.จัดวางยาให้ห่างจาก dopamine
2.ไม่ควรสำารองยาบนหอผู้ป่วยเพื่อลดโอกาสสับสนกับ dopamine
เนื่องจากไม่มีข้อบ่งใช้ที่ฉุกเฉิน
3.ไม่ผสมร่วมกับ Sodium bicarbonate หรือสารละลายที่เป็นด่าง
แก่
Dopamine Injection
แนวทางการบริหารยา
1.ระวัง ห้ามใช้ร่วมกับ Dilantin เพราะทำาให้ความดันตำ่า และหัวใจ
เต้นช้าลง (Bradycardia)
2.Sodium bicarb. ทำาให้ Dopamine หมดฤทธิ์ได้ และห้ามให้ยา
ในสายเดียวกัน
3.ข้อบ่งใช้ รักษา symptomatic bradycardia ที่รักษาด้วย
atropine ไม่ได้ผล หรือรักษาภาวะความดันโลหิตตำ่า (ไม่มี
hypovolemia)
บทบาทของพยาบาล
1.ตรวจบริเวณที่ให้ยาทุก 30-60 นาที เพราะยาอาจรั่วซึม ทำาให้
เกิดเนื้อตายได้
2.ให้ทางเส้นเลือดใหญ่ เช่น central vein
3.ควรใช้ infusion pump ในการให้ยาเสมอ
4.ถ้าสารละลายเปลี่ยนสีจากสีเหลืองอ่อน ๆ ต้องทิ้ง
5.ห้ามหยุดยากะทันหัน เพราะจะทำาให้ความดันลดตำ่ามากทันที
6.การหยุดยาต้องค่อย ๆ ลดขนาดยาทีละน้อย
7.ห้ามผสมกับ Sodium bicarbonate
8.จัดวางยาให้ห่างจาก Dobutamine เพื่อป้องกันการหยิบยาผิด
Enoxaparin sodium (0.4,0.6 ml)
แนวทางการบริหารยา
1.ห้ามฉีดเข้ากล้าม
2.ห้ามใช้ยาในภาวะที่กำาลังมีเลือดออกอย่างมาก หรืออยู่ในภาวะที่มี
ความเสี่ยงสูงต่อการมีเลือดออกที่ควบคุมไม่ได้ รวมถึงเคยเกิดหลอดเลือดใน
สมองแตกเมื่อไม่นานมานี้
3.เมื่อมีการทำา Spinal/Epidural anesthesia ร่วมกับการใช้
Enoxaparin การใส่และถอด catheter ควรทำาเมื่อฤทธิ์ต้านการแข็งตัว
ของเลือดจากการให้ Enoxaparin ผ่านไปนาน 10-12 ชม.
4.ร ะ มั ด ร ะ วั ง ก า ร ใ ช้ ร่ ว ม กั บ ย า
ASA,NSAIDs,Ticlid,Dextran40,Glucocorticoids,Thrombolytics
and anticoagulants เนื่องจากจะยิ่งทำาให้มี bleed มากขึ้น
บทบาทของพยาบาล
1.ไม่ควรไล่ฟองอากาศก่อนฉีดยา ควรฉีดในขณะที่ผู้ป่วยนอนราบ
ฉีดยาเข้าใต้ผิวหนังบริเวณผนังหน้าท้องด้านข้างของลำาตัวโดยฉีดสลับด้าน
ซ้ายและขวา
2.ควรติดตามตรวจนับจำานวนของเกล็ดเลือดในระหว่างการใช้ยา ถ้า
ตำ่ากว่า 30-50%ของค่าเริ่มต้น ต้องหยุดยาทันที
3.แก้ไขภาวะการได้รับยาเกินขนาดด้วยการให้ protamine
4.หากเกิด skin necrosis บริเวณที่ฉีดยา ซึ่งมักมีอาการนำามาก่อน
เช่น มีจุดเลือดออกใต้ผิวหนัง หรือแผ่นผิวหนังเป็นรอยแดงแข็ง และเจ็บ
ปวดบริเวณนั้น ให้หยุดยาทันที
5.เฝ้าระวังอาการ bleed เช่น จำ้าเลือด,เลือดกำาเดา, เลือดออกตาม
ไรฟัน,ปัสสาวะเป็นเลือด เลือดออกในทางเดินอาหาร
Heparin
แนวทางการบริหารยา
1.ห้ามฉีดเข้ากล้ามเพราะอาจเกิดอันตรายจากการห้อเลือด
2.ห้ามใช้ในผู้ป่วยระหว่างผ่าตัดตา สมอง หรือไขสันหลัง และภาย
หลังจากการผ่าตัดเหล่านี้
3.ห้ามใช้ในผู้ป่วยโรคเลือดออก รวมทั้ง haemophilia มีการซึม
ออกของเลือดหลังผ่าตัด โรคแผลในกระเพาะอาหารหรือลำาไส้ วัณโรคที่มี
อาการรุนแรง การทำาแท้ง โรคตับและไต ดีซ่าน หรือความดันโลหิตสูงอย่าง
รุนแรง
4.ไม่ควรใช้ร่วมกัน Aspirin เนื่องจากจะไปเพิ่มฤทธิ์ของ Heparin
บทบาทของพยาบาล
1.Side effects เกร็ดเลือดตำ่า เลือดออกง่าย โปแตสเซียมสูง
2.Monitor PTT, Platelet count, Hemoglobin, สังเกตอาการ
เลือดออกที่อวัยวะต่างๆ เช่นผิวหนังมีจำ้าเลือด โดยเฉพาะเมื่อมีการให้ร่วม
กับ Warfarin
3.ห้ามผสมกับยา Amikacin,Amiodarone,Amphotericin
B,Atracurium,Ciprofloxacin, Dobutamine
4.Antidote ให้ฉีด Protamine sulfate ช้าๆ
Insulin
แนวทางการบริหารยา
1.ระวังการเกิดนำ้าตาลในเลือดตำ่าหรือสูงเกินไป ซึ่งอาจเกิดจากการ
ให้ยาผิดชนิด ผิดขนาด ให้ผิดเวลา ให้ผิดคน หรือผู้ป่วยเองรับประทาน
อาหารผิดเวลา หรือรับประทานอาหารมากหรือน้อยผิดปกติ
2.แพทย์ควรระบุชนิดของอินซูลินที่ต้องการใช้ให้ชัดเจน ควรสั่งใช้
โดยระบุชื่อสามัญทางยา ในทุกขั้นตอนของการให้ยา
บทบาทของพยาบาล
1.ตรวจสอบชนิดยาอินซุลินและวันหมดอายุของยา ก่อนให้ยาผู้ป่วย
2.สอนผู้ป่วยให้สังเกตตัวเองเวลาระดับนำ้าตาลตำ่า และสอนวิธีแก้ไข
เช่น ดื่มนำ้าหวานหรืออมลูกอมรสหวาน
3.ดู Vital sign เพราะอาจเกิด Tachycardia ได้
4.ดูระดับนำ้าตาลในเลือด ค่าปกติของนำ้าตาลในเลือด(DTX) ควรเป็น
60-100 mg/dl ในพลาสมา(FBS)ควรเป็น 70-110 mg/dl
5.สอนวิธีการดูดยาและวิธีฉีดยาที่ถูกต้อง
Magnesium sulfate inj
แนวทางการบริหารยา
1.งดการใช้ชื่อย่อที่ก่อให้เกิดความสับสนกับยาอื่น เช่น MgSO4 vs
MSO4
2.มี 2 ขนาดคือ 10%MgSO4 10 ml (MgSO4 1 g มี Mg2+
8
mEq ใน 10 ml)
50%MgSO4 2 ml (MgSO4 1 g มี Mg2+
8 mEq ใน
2 ml)
3. ระวังสับสนกับ Morphine sulphate
4.ระวังในผู้ป่วยที่ใช้ยา digoxin เนื่องจากอาจทำาให้เกิด heart
block ได้
5.ห้ามใช้ในในผู้ป่วยที่เกิด heart block หรือมี myocardial
damage,ผู้ป่วย pre-eclampsia ที่อยู่ในระหว่างการคลอด 2
ชั่วโมง,ในผู้ป่วยที่มีภาวะไตบกพร่องอย่างรุนแรง
บทบาทของพยาบาล
1.ตรวจสอบ infusion pump ขณะให้ Magnesium sulfate
เสมอ
2. การให้ IM ควรฉีดที่กล้ามเนื้อลึกๆ (deep IM) ของขนาดที่ไม่
เจือจาง 50% (ในเด็กต้องเจือจางให้ความเข้มข้นไม่เกิน 20%) ส่วนการให้
IV push ต้องเจือจางและไม่ให้เร็วกว่า 150 mg/min ส่วน IV infusion
ให้ไม่เกิน 1.5 ml/min ของความเข้มข้น 10% ยกเว้นกรณีที่เป็น severe
eclampsia (อาจให้ 2 g/hr เพื่อป้องกันการเกิด hypotension กรณีที่
เป็นรุนแรงอาจให้ 4 g/hr)
3.ติดตามอาการพิษจากยา ได้แก่ หัวใจเต้นช้า, หน้าแดง, ปวด
ศีรษะ, คลื่นไส้, อาเจียน, ไม่มีแรง, หายใจสั้น เหงื่อออก, ความดัน
เลือดตำ่า, อาการไม่รู้สึก (stupor), กดการตอบสนอง (depressed
reflexes), อุณหภูมิตำ่า
การแก้พิษ:
- ดูแลเรื่องความดันโลหิตและการหายใจของผู้ป่วยให้เป็นปกติ
- ฉีด calcium gluconate ช้าๆ (Ca 5-10 mEq) หรือ 10-20
ml ของ สารละลาย 10% (อาจเจือจางด้วย 0.9% sodium
chloride) เพื่อ reverse heart block หรือ respiration
depression
- อาจทำา dialysis ถ้าการทำางานของไตผู้ป่วยลดลง
4.monitoring การทำางานของไต, อัตราการเต้นของหัวใจ, ความ
ดันโลหิต, อัตราการหายใจ, วัดระดับ Mg ในเลือด ทุก 12-24 ชม.หลัง
การ infusion
Methotrexate tablet
แนวทางการบริหารยา
1.แพทย์ควรเขียนคำาสั่งใช้ยาอย่างสมบูรณ์ และระบุขนาดยาว่า 2.5
mg ทุกครั้ง รวมทั้งวิธีการให้ยา
2.ควรมีการสั่งตรวจ Lab การทำางานของตับ (AST และ ALT) และ
ไ ต (BUN แ ล ะ Creatinine) เ ป็ น baseline ก่ อ น ไ ด้ รั บ ย า
3 3.ตรวจสอบประวัติการเป็นไวรัสตับอักเสบ ,ดีซ่าน,ตัวเหลือง,ตา
เหลือง ของผู้ป่วย
4 4. ไม่ควรใช้ตัวย่อ MTX เพราะอาจสับสนกับ MTV
5.ระวังการใช้ร่วมกับยา Salicylate,Sulfonamides,High doses
of penicillins,NSAIDS เ พ ร า ะ จ ะ เ พิ่ ม พิ ษ ข อ ง Methotrexate
6.ห้ามใช้ในคนไข้โรคตับและไตอักเสบหรือคนไข้โรคโลหิตจาง
อ ย่ า ง รุ น แ ร ง leucopenia ,thrombocytopenia,alcoholic liver
diseases,AIDS,pre-existing blood dyscrasias ห้ามใช้ในสตรีมี
ค ร ร ภ์ ห รื อ ใ ห้ น ม บุ ต ร
บทบาทของพยาบาล
1.ให้ผู้ป่วยงดการดื่มแอลกอฮอล์
2.เฝ้าระวังอาการที่แสดงว่ามีระดับยาสูง ได้แก่ ปัสสาวะมีสีส้ม
แดง,อุจจาระสีดำา ,เป็นไข้,มีแผลในปาก,มีจำ้า เลือดหรือเลือดออกผิด
ป ก ติ ,อ า เ จี ย น ,เ ท้ า ห รื อ ข้ อ เ ท้ า บ ว ม ,ชั ก
3. วิธีแก้พิษเมื่อได้รับยาเกินขนาด : โดยให้ Calcium leucovorin ทันที
ส่วนในกรณีที่ป้องกันการตกตะกอนของยา Methotrexate ในไต ควรให้
สารนำ้าและปรับปัสสาวะให้เป็นด่าง หรืออาจทำา hemodialysis หรือ
peritoneal dialysis ซึ่งสามารถช่วยให้การกำาจัด Methotrexate ดีขึ้น
Nitroglycerine injection (glyceryl trinitrate)
(50mg/10mL.)
แนวทางการบริหารยา
1.การให้ยาต้องฉีดแบบ IV Infusion เท่านั้น
2.Dilution ที่ใช้อาจจะเป็น 5% Dextrose Inj. B.P. หรือ 0.9%
NSS โดยสารละลายจะต้องอยู่ในภาชนะที่เป็นแก้วเท่านั้น เพราะภาชนะที่
เป็นพลาสติกจะดูดสารละลายยาเข้าไปได้
3.ไม่ควรให้ยากับผู้ป่วยที่เป็นโรคโลหิตจาง หรือผู้ป่วยบาดเจ็บหรือมี
เลือดออกในสมองเพราะยาอาจไปเพิ่มความดันในกระโหลกศีรษะได้, ไม่
ควรให้ยากับผู้ป่วยที่เป็นต้อหินเพราะยาอาจไปเพิ่มความดันของลูกตาได้,
ไม่ควรให้ยาร่วมกับแอลกอฮอล์เพราะอาจทำาให้ความดันโลหิตลดตำ่าลงได้
บทบาทของพยาบาล
1. Monitor Blood pressure, Heart rate, PCWP
2. ไม่ควรผสมสารละลายยา Nitroglycerin Injection กับยาตัว
อื่นๆ
3.ต้องระวังกรณีที่ผู้ป่วยมีอาการของความดันโลหิตตำ่า เช่นเป็นลม
วิงเวียน อ่อนเพลีย โดยเฉพาะความดันโลหิตตำ่าเมื่อเปลี่ยนอิริยาบทอันเนื่อง
มาจากได้รับยาเกินขนาด ต้อง consult แพทย์ เพื่อลดขนาดยาลง
Nitroprusside Sodium Injection
แนวทางการบริหารยา
1.ให้ IV เท่านั้น
2.ห้ามผสมยาอื่นใน syringe เดียวกัน
3.ระวังความดันโลหิตตำ่าลงอย่างรุนแรง หยุดหายใจ กล้ามเนื้อ
กระตุก หัวใจหยุดเต้น
บทบาทของพยาบาล
1.วิธีการบริหารยา
1.1 ละลาย sodium nitroprusside 50 mg ด้วย 5% dextrose
in water 2-3 ml (ต้องเป็น
5% dextrose in water เท่านั้น)
1.2 เจือจางด้วย 5% dextrose in water เพื่อให้ได้ความเข้มข้นที่
ต้องการ
ขนาด sodium
nitroprusside (mg)
50
ปริมาณของ 5% dextrose
in water (ml)
250 500 1000
ความเข้มข้นที่ได้
(mcg/ml)
200 100 50
หมายเหตุ บริษัทยาแนะนำาให้ใช้ 5% dextrose in water เป็นตัว
ทำาละลายเท่านั้น แต่การใช้ sterile water for injection ก็สามารถ
ใช้ได้อย่างปลอดภัย
2.หุ้มขวดหรือถุงใส่สารละลายตลอดสาย IV เพื่อกันแสง
3.ให้ยาภายใน 24 ชั่วโมง หลังผสมเสร็จ ถ้าเปลี่ยนเป็นสีนำ้าตาลเข้ม
หรือสีฟ้าห้ามใช้
4.ระวังยารั่วออกจากเส้นเลือด จะทำาให้ปวดมาก
5.ห้ามหยุดยากะทันหัน
6. metabolite ของ sodium nitroprusside คือ cyanide และ
thiocyanate ดังนั้นจึงต้องเฝ้าระวังพิษของ thiocyanate และ CO2
retention ซึ่งผู้ป่วยจะมีอาการ metabolic acidosis, confusion,
blurred vision, nausea และ ataxia4
Potassium Chloride injection (KCl20 meq/10
ml)
แนวทางการบริหารยา
1. การสั่งจ่ายต้องสั่งในหน่วย mEq เท่านั้น และให้ระบุหน่วยทุก
ครั้ง รวมทั้งปริมาณ LVP ที่ให้
2.การสั่ง Peripheral IV ห้ามเกิน 40 mEq/L ส่วน Central Line
ห้ามเกิน 80 mEq/L และต้อง monitor
3. ห้ามให้ IV push, IV bolus เพราะทำาให้หัวใจหยุดเต้นได้
บทบาทของพยาบาล
1.เมื่ออัตราเร็วในการให้ยามากกว่า 10 meq/hr ควรใช้
infusion pump
2.ผู้ป่วยที่มีการทำางานของไตบกพร่องหรือ Heart block ควรลด
อัตราเร็วในการบริหารยาลงประมาณครึ่งหนึ่ง
3.เฝ้าระวังอาการที่แสดงว่ามีระดับโปแตสเซียมสูง หากพบ Serum
potassium เกิน 5.5 meq/L ต้องตามแพทย์ ได้แก่อาการ ท้องเสีย
คลื่นไส้อาเจียน ท้องอืด หัวใจเต้นช้า ปัสสาวะบ่อย อ่อนเพลีย ชาปลายมือ
ปลายเท้า
4.การแก้ไขภาวะพิษของโปแตสเซียมสูง
-ให้ RI 10 units + 50% glucose 50-100 ml IV stat
-ให้ Sodium bicarbonate สำาหรับภาวะ acidosis
-ให้ 10% Calcium gluconate 10 ml ทาง IV ช้าๆใน 5 นาที
อาจให้ซำ้าได้อีกหลังให้ยาครั้งแรกนาน 5 นาที ถ้า EKG ยังผิดปกติ
5. monitor EKG , Vital sign
6. ถ้าปริมาณปัสสาวะน้อยกว่า 600 mg/day อาจเกิด K+ สะสมได้
Sodium Bicarbonate Injection(NaHCO3)
แนวทางการบริหารยา
1.Dosage form: 7.5% (7.5 mg/mL=8.92 mEq/ 10 mL)
ขนาดบรรจุ10 ml และ 50 ml.
2.การให้ยาในเด็กอายุ < 2 ปี การให้ยาในอัตราเร็วอาจทำาให้เกิด
ภาวะ Hypernatremia, CSF pressure ลดลง และภาวะเลือดออกใน
สมอง
3.การใช้ I.V. NaHCO3 ใช้สำา หรับภาวะ metabolic acidosis
และภาวะ Hyperkalemia ซึ่งเหนี่ยวนำาให้เกิดหัวใจวายได้
4.Cardiac arrest ไม่แนะนำาให้ใช้เป็นประจำา (โดยเฉพาะผู้ป่วยที่
CPR โดยไม่ใส่ท่อช่วยหายใจ)
-Infant &children: I.V. 0.5-1 mEq/kg/dose ให้ซำ้าทุก 10
นาที อัตราเร็วของการให้ยา ไม่
ควรเกิน 10 mEq/นาที
-Neonate &children < 2 ปี ค ว ร ไ ด้ รั บ ย า ข น า ด 4.2%
solution (0.5mEq/mL)
-Adult :I.V. bolus เ ริ่ ม ต้ น 1mEq/kg/dose 1 ค รั้ ง
,Maintenance 0.5 mEq/kg/dose ทุก 10 นาที
บทบาทของพยาบาล
1.เก็บที่อุณหภูมิห้อง ห้ามใช้เมื่อเปลี่ยนสีหรือมีตะกอน
2.Monitor -Vital sign ,pH
-Serum Na:135-147
mEq/L(Overdose:Hypernatremia >150 mEq/L การรักษา
ให้diuretic,free water supplement)
-Seizure (การรักษาให้ Diazepam 0.1-0.25 mg/kg)
3.ห้ า ม ผ ส ม ร ว ม กั บ ย า Amphotericin B,Amino
acid,Amiodarone,Atropine,Calcium gluconate,
Ciprofloxacin,Dopamine
4.flush IV line ก่อนและให้ยาระหว่าง CPR
Streptokinase injection 1.5 mIU
แนวทางการบริหารยา
1.ไม่ควรใช้ชื่อย่อ
2.ให้ยาทาง IV หรือ Intracoronary เท่านั้น (หลีกเลี่ยงการให้
IM)
3.ก่อนสั่งใช้ยา แพทย์ควรพิจารณาถึงความเสี่ยงและประโยชน์ที่จะ
ได้รับ โดยเฉพาะในรายที่มีเลือดออก หรือการใช้ร่วมกับยาที่มีผลต่อการ
ทำางานของเกล็ดเลือด ได้แก่ aspirin,NSAIDS,Ticlopidine
4.สั่งใช้ยาอย่างระมัดระวังในผู้ป่วยที่เคยใช้ Streptokinase
ภายใน 1 ปี เพราะมีการสร้าง Streptokinase antibody ขึ้น อาจจะลด
ประสิทธิภาพของยาและอาจเกิดปฏิกิริยาการแพ้ได้
บทบาทของพยาบาล
1. ควรทดสอบปฏิกิริยาการแพ้ก่อนให้ยา โดยทำา Intradermal
Skin Test. Streptokinase 100 IU หากไม่พบผลบวก หลังทดสอบ 15-
20 นาที จึงสามารถให้ยาได้
2.ควรมีการตกลงร่วมกันในการรับยาด่วนที่ห้องจ่ายยา เช่น ให้
เขียนดาวสีแดงที่หน้าชื่อยา พร้อมทั้งนำาใบสั่งยายื่นให้ถึงมือเจ้าหน้าที่ห้อง
ยา พร้อมกำาชับว่า “ยาด่วน” เพื่อขอรับยาทันที
3.วิธีเตรียมยา Streptokinase 1,500,000 IU (1 vial) ละลายใน
0.9%NSS 10 ml จนหมดโดยไม่ควรเขย่า เพราะทำาให้เกิดฟอง หลังผสม
ยาแล้วให้เก็บในตู้เย็นที่อุณหภูมิ 4 C ใช้ได้ภายใน 24 ชั่วโมง และที่ 25
C ใช้ได้ภายใน 8 ชั่วโมง
4.ในกรณีที่ต้องให้ยาโดยวิธี IV infusion ควรให้ยาผ่าน
infusion pump และตรวจสอบเครื่องให้มีประสิทธิภาพและพร้อมใช้งาน
ได้ตลอดเวลา ก่อนให้ยาควรตรวจสอบความถูกต้องของปริมาณยาที่ให้กับ
เวลาที่ใช้ในการให้ยาผ่านเครื่อง infusion pump
5. Monitor BP, PTT,aPTT, Platelet count, Hematocrit
,Sign of bleeding ติดตามการเกิดภาวะเลือดออกอย่างใกล้ชิดทุก 15
นาที ใน 1 ชั่วโมงแรกที่ให้ยา หากเกิดอาการ เช่นไอเป็นเลือด เลือดออก
ตามไรฟัน ปัสสาวะเป็นเลือด หรือมีจำ้าเลือดตามผิวหนัง ให้หยุดยา และอาจ
พิจารณาให้ Whole blood หรือ Pack Red cell
6.ไม่ควรผสมกับยาอื่น
Warfarin
แนวทางการบริหารยา
1.ห้ามใช้ในหญิงมีครรภ์
2.หากพบว่า มีการสั่งใช้ยา Warfarin มากกว่าวันละครั้ง หรือมีการ
สั่งรับประทานยามากกว่า 10 mg/day และหากเป็นการสั่งใช้ยาในเด็ก
หรือผู้สูงอายุ ให้ยืนยันความถูกต้องของใบสั่งยาว่าตรงกับผู้ป่วยอีกครั้ง
3.กรณีที่เป็นผู้ป่วยใหม่ ควรมีการประสานการติดตามค่า INR ทุกวัน
จนกว่าจะคงที่ และปรับเป็นทุกสัปดาห์หรือทุกเดือนตามความเหมาะสมใน
การติดตามผลการรักษา
4.โดยทั่วไปค่า INR ที่เหมาะสม จะอยู่ระหว่าง 2-3.5 หากแตกต่าง
จากช่วงดังกล่าวให้ปรึกษาแพทย์
บทบาทของพยาบาล
1.ติดตามระดับเกล็ดเลือดของผู้ป่วยเสมอ
2.ช่วยดูว่ามีเลือดออกในปาก เลือดกำาเดา เลือดในปัสสาวะ จำ้าเลือด
ที่ผิวหนังหรือไม่
3.ผู้สูงอายุต้องดูแลพิเศษเพราะมีผิวบาง และเส้นเลือดเปราะ
4.เตรียมยาแก้อาการเลือดออกไม่หยุดไว้ เช่น Vitamin K
5.ห้ามผู้ปวยสูบบุหรี่
6.แนะนำาผู้ป่วยให้บอกทันตแพทย์ทุกครั้งว่าใช้ยาต้านการแข็งตัว
ของเลือดอยู่
7.แนะนำาผู้ป่วยให้ระวังบาดแผล เช่น ควรใช้มีดโกนหนวดไฟฟ้า
แทนใบมีดธรรมดา
8.เขียนชื่อยาที่ใช้ติดตัวไว้เสมอเผื่อเกิดอุบัติเหตุรุนแรง
9.สอนวิธีห้ามเลือดง่ายๆ เช่นใช้ผ้าสะอดากดที่แผล 5-10 นาที
Morphine Sulfate
(Morphine Sulfate Prolonged release 30 mg/tab หรือ
injection 10mg/ml)
แนวทางการบริหารยา
1.การให้ยาทางหลอดเลือดดำาควรให้แบบ continuous infusion
2.การให้ยาโดย IV infusion ควรผสมใน NSS หรือ 5%DW ความ
เข้มข้น 50 mg/ 50 ml
บทบาทของพยาบาล
1.ยาเม็ด Morphine tab มีชื่อการค้า MST Continus®
อยู่ในรูป
Prolonged release จึงห้ามบดยานี้
2.การให้ยาทางหลอดเลือดดำาโดยตรง (IV direct) ควรฉีดช้าๆ
เพราะหากให้ยาเร็วเกินไป อาจทำาให้เกิดผลข้างเคียงเพิ่มขึ้นได้
3.ห้ามใช้ยานี้ในผู้ป่วยหอบหืด ความดันในสมองสูง ผู้ป่วยช็อค ผู้
ป่วยไตวาย
4.ผลข้างเคียงของยา จะทำาให้เบื่ออาหาร ท้องผูก วิงเวียน ตาพร่า
หัวใจเต้นช้า เหงื่อออก คัน
5.ระมัดระวังเรื่องการกดการหายใจ โดยเฉพาะเมื่อให้ร่วมกับยาอื่นที่
เพิ่มฤทธิ์กดการหายใจ เช่น ยานอนหลับ ยาคลายกล้ามเนื้อ ยาคลายกังวล
6.การสังเกตอาการผู้ป่วยที่เกิดยา Overdose ให้ตรวจดูม่านตาผู้
ป่วยจะหดเป็นรูเล็กๆ ความดันเลือด
ตำ่า เกิดภาวะหัวใจเต้นเร็ว (Bradycardia)
7.การแก้พิษยา overdose ให้ใช้ Naloxone (Narcan)
7.1 หากเกิดการกดหายใจ ให้จัดการช่วยการหายใจ
Airway support
7.2 Naloxone 2 mg IV (สำาหรับเด็กให้ขนาด 0.01
mg/kg) และให้ซำ้าหากจำาเป็น อาจให้ได้ขนาดรวมถึง 10
mg
Pethidine Hydrochloride (Injection 50
mg/ml)
แนวทางการบริหารยา
1.บริหารยาได้ทั้งIM , IV และ SC
2.กรณีฉีดเข้าหลอดเลือดดำาให้เจือจางก่อนแล้วฉีดช้าๆ (10
mg/ml)
3.การแก้พิษยา overdose ขั้นแรกหากเกิดการกดหายใจ ให้
จัดการช่วยการหายใจ Airway support หลังจากนั้นใช้ Naloxone
(Narcan) 2 mg I.V. (สำาหรับเด็กให้ขนาด 0.01 mg/kg) และให้ชำ้า
หากจำาเป็น อาจให้ได้ขนาดรวมถึง 10 mg
4.ไม่ควรใช้ในหญิงมีครรภ์ เนื่องจากยาสามารถผ่านรก และส่งผล
ต่อการหายใจและกดประสาทของทารกได้
5.ควรหลีกเลี่ยงหรือใช้อย่างระมัดระวังในผู้ป่วย COPD ,โรค
ตับ,การทำางานของไตเสียไป
บทบาทพยาบาล
1.ตรวจสอบการเปลี่ยนสีของยาและสารแปลกปลอมในผลิตภัณฑ์
ก่อนฉีด
2.ติดตามภาวะ Overdose ของยา จากการสังเกตอาการต่างๆ ซึ่ง
แสดงภาวะต่อไปนี้ CNS depression, กดการหายใจ, รูม่านตาหด,
pulmonary edema, chronic tremor, อาการชัก (seizure)
3.การแก้พิษ ให้ใช้ Naloxone (Narcan)
3.1 หากเกิดการกดการหายใจ ให้จัดการช่วยการหายใจ Airway
support
3.2Naloxone 2 mg IV (สำาหรับเด็กให้ขนาด 0.01 mg/kg )
และให้ซำ้าหากจำาเป็ฯ อาจให้ได้ขนาดรวมถึง 10 mg
Oxytocin (Synto ®
, Injection 10 IU/ 1 ml)
แนวทางการบริหารยา
1.เพื่อช่วยในการคลอด (Induction or stimulation labor):
เติม oxytocin 10 units ใน 0.9% NSS หรือใน LRS 1000 mL ให้ได้
ปริมาณของ oxytocin 10 milliunits/minute ผสมสารละลายให้เข้า
กัน (ฉีด I.V. ต้องใช้ infusion pump set)
2. สำาหรับรักษาอาการเลือดออกหลังคลอด (Postpartum
bleeding): เติม oxytocin 10-40 units ใน I.V. infusion Dose
สูงสุด 40 units/1000 mL.
3.สำาหรับห้ามเลือดในรายที่เกิดการแท้ง (Adjuctive treatment
of abortion) เติม oxytocin 10 units ใน 500 mL. ของ saline
solution หรือ D5W
4.เก็บที่อุณหภูมิ 2-8 °C (36-46°F) ห้ามแช่แข็ง ยามีอายุได้นาน 2
ปี เมื่อเก็บที่อุณหภูมิไม่เกิน 25 °C และได้นาน 3 ปี ที่อุณหภูมิ 2-15 °C
5.ทำาให้เกิด water intoxication การแก้พิษคือ หยุดยา และให้ยา
ขับปัสสาวะ เพื่อเร่งการขับถ่ายยานี้
บทบาทพยาบาล
1.ตรวจวัดระดับสารนำ้าที่ให้เข้าไป เนื่องจาก oxytocin มีฤทธิ์
antidiuretic จะทำาให้การดูดซึมนำ้ากลับจากกรวยไตเพิ่มขึ้นได้ เกิด
อาการ water intoxication ที่รุนแรง และอาการชักโคม่าจนถึงเสียชีวิต
เกิดขึ้นได้ในผู้ป่วยที่ได้รับยาโดยปล่อยเข้าหลอดเลือดช้าๆ นานกว่า 24
ชั่วโมง
2.ติดตามดูอาการผู้ป่วยอย่างใกล้ชิดหากเกิดการหดเกร็งของมดลูก
มากเกินไป การไหลเวียนของเลือดเข้ามดลูกไม่ดี มดลูกถูกทำาลาย ผู้ป่วย
อาจเกิดอาการชัก รีบแจ้งแพทย์ทันที
Misoprostol tab (Cytotec®
250mcg/tab)
แนวทางการบริหารยา
1.การใช้ยาต้องอยู่ภายใต้การควบคุมดูแลของแพทย์อย่างใกล้ชิด
2.ผลข้างเคียงที่พบได้ คือ กระตุ้นการบีบตัวของมดลูก ทำาให้ปวด
เกร็งบริเวณช่องท้องส่วนล่างหรือบริเวณกระเพาะอาหาร มีเลือดออกบริเวณ
ช่องคลอด อาจมีอาการปวดศีรษะ ผลต่อระบบทางเดินอาหาร เช่น ปวดท้อง
ท้องเสีย ท้องผูก dyspepsia คลื่นไส้ อาเจียน
3.อาการเมื่อยาเกินขนาด คือ ปวดท้อง หัวใจเต้นช้า ท้องเสีย
dyspepsia (หายใจลำาบาก) มีไข้ ความดันโลหิตตำ่า ใจสั่น ง่วง ชัก สั่น
(tremor)
4.การรักษาเมื่อใช้ยาเกินขนาด ให้รักษาตามอาการไม่มีการรักษาที่
จำาเพาะเจาะจง
5.monitoring parameters คือ การบีบตัวของมดลูก อาการปวด
เกร็งที่ช่องท้อง ผลทางระบบทางเดินอาหาร อัตราการเต้นของหัวใจ
ความดันโลหิต
Methylergometrine (Methergin ®
Injection 0.2
mg/ml)
แนวทางการบริหารยา
1.การฉีดเข้ากล้าม (I.M.) 0.2mg. ถ้าจำาเป็นให้ยาซำ้าได้ ทุก 2-4
ชั่วโมง แต่ไม่ควรให้ยาเกิน 5 ครั้ง ส่วน I.V.: dose เหมือนกับ I.M. แต่
ต้องระมัดระวัง ความดันเลือดที่อาจะสูงผิดปกติเฉียบพลัน และการทำาลาย
หลอดเลือดที่ไปเลี้ยงสมอง (cerebrovascular ccidents)
2. อาการพิษที่สำาคัญ คือ ชักและเนื้อตายเน่า ซึ่งเกิดได้มากที่นิ้วมือ
และนิ้วเท้า อาการอื่นๆ ได้แก่ อาเจียน ท้องร่วง เวียนศีรษะ ความดัน
เลือดเพิ่มหรือลด ชีพจรอ่อน การแข็งตัวของเลือดเร็วผิดปกติ การแก้พิษ
ทำาได้ดังนี้
- ล้างท้องหรือทำาให้อาเจียนทันที หรือให้รับประทาน
activated charcoal และยาระบาย magnesium sulfate
- ถ้ามีอาการชักควรให้ยาระงับการชัก เช่น diazepam เข้า
I.V.
- แก้ไขอาการเลือดแข็งตัวเร็วผิดปกติ โดยให้ heparin และ
อาจให้ยาขยายหลอดเลือด เช่น tolazoline
3.เก็บในภาชนะปิดสนิทแน่น ในบรรยากาศของก๊าซไนโตรเจนหรือ
ก๊าซที่เหมาะสม ป้องกันอากาศและแสง เก็บที่อุณหภูมิไม่เกิน 8°C
บทบาทพยาบาล
1.ถ้าสารละลายใน ampules เกิดการเปลี่ยนสีเป็นไม่มีสีไม่ควรใช้
2.ตรวจวัดความดันโลหิตเป็นระยะๆ เนื่องจากอาการไม่พึงประสงค์
อาจพบอย่างเฉียบพลันและรุนแรง คือภาวะความดันเลือดสูง ซึ่งอาจเกิด
เพราะ ผู้ป่วยมีภาวะเป็นพิษแห่งครรภ์ มีประวัตความดันเลือดสูง จากการ
ฉีดยาเข้า I.V. หรือให้ยาชาเฉพาะที่ๆมี ยาทำาให้หลอดเลือดหดตัวผสมอยู่
ด้วย อาการเหล่านี้แก้ไขได้ด้วยการฉีด Chlorpromazine เข้า I.V.
Terbutaline inj( Bricanyl®)(0.5 mg/ml)
แนวทางการสั่งใช้ยา
1.ขนาดยาที่ใช้ในทางสูตินรีเวช คือ 0.25 mg ฉีด
subcutaneous ให้ทุก 1-6 ชั่วโมง หรือให้ IV infusion 0.01
mg/min อาจเพิ่มขนาดอีก 0.005 mg/min ทุก 10 นาทีจนกระทั่งการ
หดตัวของกล้ามเนื้อมดลูกหยุดหรือขนาดยาสูงสุด 0.025 mg/min
2.ห้ามใช้ในผู้ป่วยที่มี cardiac arrhythmias ที่เกี่ยวข้องกับหัวใจ
เต้นไว (tachycardia)
3.ผลข้างเคียงที่พบได้บ่อย คือ ใจสั่น หัวใจเต้นไว
4.อาการเมื่อยาเกินขนาด คือ เจ็บหน้าอก หัวใจเต้นผิดจังหวะ มึนงง
ปากแห้ง เหนื่อย ปวดศีรษะ ความดันโลหิตสูงหรือตำ่า นำ้าตาลในเลือดสูง
โปแตสเซียมในเลือดตำ่า นอนไม่หลับ คลื่นไส้ สั่น (tremor) หัวใจเต้นไว
มากถึง 200 ครั้ง/min
5.monitoring parameters คือ ระดับโปแตสเซียมในเลือด อัตรา
การเต้นของหัวใจ ความดันโลหิต อัตราการหายใจ
Sulprostone inj (Nalador®
500 mcg/amp)
แนวทางการบริหารยา
1.การรักษาที่เริ่มด้วยยานี้ ต้องทำาให้จบลงด้วยการสิ้นสุดของการตั้ง
ครรภ์ จึงแนะนำาให้ขูดมดลูกภายหลังการตั้งครรภ์สิ้นสุดเสมอ
2.ข้อห้ามใช้ : โรคหอบหืด หลอดลมอักเสบและหดเกร็ง อาการขั้น
แรกของโรคหัวใจ ความดันโลหิตสูงอย่างรุนแรง ตับหรือไตทำางานผิดปกติ
รุนแรง โรคเบาหวานชนิด decompensated อาการชักที่เกิดจากสมอง
ต้อหิน คอพอกเป็นพิษ การอักเสบของอุ้งเชิงกรานชนิดเฉียบพลัน ลำาไส้
อักเสบเป็นแผล แผลในกระเพาะอาหารเฉียบพลัน โรคโลหิตจางชนิด
sickle-cell Thalassaemia
3.อาการข้างเคียง : คลื่นไส้ อาเจียน อาการหดเกร็งตัวของอวัยวะ
บริเวณลิ้นปี่และสะดือ ท้องเสีย มึนงง ปวดศีรษะ หลอดลมหดเกร็ง มีแรงดัน
การไหลเวียนเลือดของปอด (ระยะรุนแรงอาจมีการบวมของเนื้อเยื่อปอด)
บทบาทของพยาบาล
1.ให้ยาโดยการหยดเข้าหลอดเลือดดำา (ผสมยา Sulprostone 500
mcg ในนำ้าเกลือ 250 ml)
2.ไม่ควรฉีดยาทั้งหมดครั้งเดียว (bolus) เนื่องจากการให้ยาครั้ง
เดียวอาจทำาให้ระดับยาในพลาสมาสูงอย่างรวดเร็วซึ่งมีอันตรายจากการ
เพิ่มแรงดันในการไหลเวียนของเลือดจากหัวใจไปปอด
3.ขนาดและวิธีการให้ยาขึ้นอยู่กับข้อบ่งใช้ ดังนี้
-การชักนำาให้เกิดการสิ้นสุดการตั้งครรภ์ในสภาวะที่มีพยาธิสภาพ
หรือการชักนำาให้เกิดการสิ้นสุดของการตั้งครรภ์ในกรณีที่มีทารกตายใน
ครรภ์: ให้ยา Sulprostone โดยใช้อัตราเร็ว 100 mcg/hr (ประมาณ
1.7 mcg/min หรือ 17 หยด/min) หยดได้นาน 10 hr หากได้ผลยังไม่
เป็นที่พอใจอาจเพิ่มถึง 80 หยด/min (ประมาณ 500 mcg/hr หรือ 8.3
mcg/min)
-การรักษาอาการตกเลือด เนื่องจากมดลูกไม่หดตัวหลังการคลอด
บุตร: ให้ยา Sulprostone โดยใช้อัตราเร็ว 500 mcg ในเวลา 30-120
min (ประมาณ 40-160 หยด/min) ถ้าเลือดยังไม่หยุดหรือไม่ลดลงอย่าง
เห็นได้ชัด ค่อยๆ เพิ่มอัตราการหยดให้เร็วขึ้น (สูงสุดไม่เกินประมาณ 330
หยด/min)
4.ควรมีการตรวจหัวใจและระบบไหลเวียนเลือด เช่น ความดันโลหิต
อัตราการเต้นของหัวใจ อุณหภูมิ การหายใจ ปริมาณเลือดที่ออกมาทาง
ช่องคลอด อาการปวดท้อง คลื่นไส้อาเจียน
Acetazolamide (Diamox®
, 250 mg/tab)
บทบาทของพยาบาล
1 1.ห้ามใช้ในผู้ที่แพ้ยากลุ่มซัลโฟนาไมด์ ผู้ป่วยที่มีระดับโซเดียมและ
โปแตสเซียมในเลือดตำ่า ผู้ป่วยที่
เป็นโรคตับหรือไตวาย
2.ควรระวังในผู้ป่วยโรคเบาหวาน โรคปอดเรื้อรัง และผู้ป่วยที่มีแนว
โน้มจะเกิดภาวะเลือดเป็นกรด
2 3.ผลข้างเคียงที่พบได้ คือ เบื่ออาหาร ชาปลายมือ ปลายเท้า รอบๆ
ปาก หรือเป็นเหน็บ กระหายนำ้า
และปัสสาวะมากผิดปกติ ง่วง ปวดศีรษะ สับสน การใช้ยานี้เป็นเวลานาน
อาจทำาให้มีการสูญเสียโปแตสเซียมและโซเดียม เกิดภาวะเลือดเป็นกรด
และ มีระดับโปแตสเซียมตำ่าได้ เกิดนิ่วในทางเดินปัสสาวะ
3 4.หากมีผื่น เลือดออกในปัสสาวะ ปวดเวลาปัสสาวะ ตัวเหลือง หรือ
ตาเหลือง ให้พบแพทย์ทันที
4 5.ควรรับประทานนำ้าอย่างน้อย 1.5 – 2.5 ลิตรต่อวัน เพื่อลดความ
เสี่ยงต่อการเกิดนิ่วที่ไต
Mannitol inj (20%w/v ขนาด 100 และ 500 ml)
แนวทางการบริหารยา
ใช้หยดเข้าหลอดเลือดดำาเท่านั้น หากใช้ลดความดันลูกตา ระยะเวลา
การให้คือ 30 – 60 นาที
บทบาทของพยาบาล
5 1.ไม่ควรใช้ร่วมกับ whole blood เพราะจะทำาให้เม็ดเลือดแดงแตก
6 2.ห้ามใช้เมื่อสารละลายมีการตกตะกอน ซึ่งการเติมอิเล็กโตรไลท์อื่น
อาจทำาให้สารละลายตกตะกอน
ได้
7 3.ใช้อย่างระมัดระวังในหญิงตั้งครรภ์ ผู้ป่วยโรคหัวใจที่ค่อนข้าง
รุนแรง ในผู้ป่วยที่ปัสสาวะไม่ออก
(Anuria) และในผู้ป่วยที่มีภาวะขาดนำ้า (Dehydration)
8 4.ไม่ควรใช้ยานี้ในผู้ป่วยที่มีเลือดคั่งในปอดหรือมีนำ้าคั่งในปอด
เลือดออกในสมองและโรคหัวใจล้ม
เหลว
9 5.ควรหมั่นตรวจสอบบริเวณที่ให้ยา เนื่องจากอาจเกิดการรั่วของยา
ทำาให้เกิดเนื้อตายได้
10 6.ผลข้างเคียง ได้แก่ คลื่นไส้ อาเจียน กระหายนำ้า ปวดศีรษะ มึนงง
สั่น มีไข้ หัวใจเต้นแรง เจ็บหน้าอก
ภาวะขาดสมดุลของของเหลวและเกลือแร่ในร่างกาย ขาดนำ้า อาจเกิดความ
ดันเลือดสูงหรือตำ่าได้
11 7.อาการแสดงของภาวะขาดนำ้าและการขาดสมดุลของเกลือแร่ :
ปากแห้ง กระหายนำ้า อ่อนเพลีย
ปวดกล้ามเนื้อ
12 8.Monitor: renal function, daily fluid input/output,
serum electrolytes, serum and urine
osmolality
Aminophylline , Theophylline
(Aminophylline 100 mg/tab หรือ injection 250 mg/10ml,
(Theophylline sustained release 200 mg/tab หรือ elixir 50
mg/5ml ขนาด 60 ml,)
แนวทางการบริหารยา
1. การให้ยาทางหลอดเลือดดำาควรให้แบบ continuous infusion
2.การให้ยาทางหลอดเลือดดำา ควรฉีดอย่างช้าๆ อย่างน้อย 5 นาที
เนื่องจากการฉีดเร็วจะทำาให้หัวใจหยุดเต้นได้
3.ห้ามฉีดยาเข้ากล้ามเนื้อ เพราะผู้ป่วยจะปวดมาก
บทบาทของพยาบาล
1.อาการข้างเคียงที่พบได้ ดังนี้
อาการที่เกิดขึ้น ข้อปฏิบัติและการแก้ไข
- คลื่นไส้ อาเจียน มีแผลในกระเพาะ
อาหาร ท้องเป็นตะคริว สูญเสียความ
รู้สึกอยากอาหาร
- ให้รับประทานยาพร้อมอาหาร
หรือ หลังอาหารทันที หรือ พร้อม
ยาลดกรด หรือ พร้อมนำ้า 1 แก้ว
ถ้าปฏิบัติตามนี้แล้วยังมีปัญหาอยู่ให้
พบแพทย์
- ปวดศีรษะ นอนไม่หลับ มีอาการตื่น
เต้น หน้ามืด ปัสสาวะบ่อย มือและนิ้ว
กระตุก
- ถ้าอาการเหล่านี้รุนแรง ให้พบ
แพทย์
- การสั่นของหัวใจ หัวใจเต้นเร็ว
หายใจเร็ว นอนไม่หลับ
- พบแพทย์ เพื่อปรับขนาดยา
- ความดันโลหิตตำ่า หัวใจเต้นไม่เป็น
จังหวะ ชัก
- พบแพทย์ทันที
- ผื่นขึ้นที่ผิวหนัง (อาการแพ้) - พบแพทย์ทันที
2.ไม่ควรใช้ยา aminophylline ร่วมกับยา theophylline
เนื่องจากอาจทำาให้เกิดอาการตื่นเต้น นอนไม่
หลับ คลื่นไส้ อาเจียน หรือการได้รับขนาดยาเกิน
3.หญิงตั้งครรภ์ หญิงให้นมบุตร ผู้ป่วยโรคต้อหิน มะเร็ง โรคต่อมธัย
รอยด์ โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคตับ โรคไต โรคหัวใจ โรค
หลอดเลือด ควรบอกแพทย์ถึงสภาวะของตนเองก่อนใช้ยาตัวนี้
Desferoxamine (Desferal®) (500 mg/ vial)
แนวทางการบริหารยา
1.การให้ยาโดยหยดทางหลอดเลือดดำาอย่างเร็วอาจทำาให้ความดัน
โลหิตตำ่าลง และเกิดช๊อกได้ (เช่นหน้าแดง คอแดง หัวใจเต้นเร็วผิดปกติ
เป็นลม หมดสติ และผื่นลมพิษ)
2.การให้ยา desferal ในขนาดสูง และมีระดับ Ferritin ตำ่าร่วม
ด้วย อาจนำาไปสู่การรบกวนการมองเห็น และการได้ยิน
3.การให้ยาขนาดสูงเกินมากๆ ทางหลอดเลือดดำา อาจทำาให้เกิด
อาการผิดปกติเฉียบพลันเกี่ยวกับทางเดินหายใจ
4.การรักษาในเด็กอายุตำ่ากว่า 3 ปี ต้องมีการติดตามดูการเจริญ
เติบโตของเด็กอย่างระมัดระวัง และขนาดยาที่ให้เฉลี่ยต่อวันไม่ควรเกิน 40
mg/kg ควรมีการชั่งนำ้าหนักและวัดส่วนสูงทุก 3 เดือน
บทบาทพยาบาล
1.การเตรียมสารละลายให้ใช้นำ้ากลั่นสำาหรับฉีดยา (sterile water
for injection)เท่านั้น เป็นตัวทำาละลายผงแห้ง โดยฉีดนำ้ากลั่น 5 ml ลง
ในขวดยา หลังจากนั้นสามารถนำาสารละลาย desferal ไปเจือจางต่อโดย
ผสมกับสารละลายที่ใช้สำาหรับหยดที่ใช้อยู่เป็นประจำา (0.9% NaCl ,
Ringer’s solution,Ringer lactate solution, glucose 5%)
2.สามารถให้ยาโดยหยดเข้าใต้ผิวหนัง แต่วิธีโดยทั่วไปให้หยดทาง
หลอดเลือดดำาอย่างต่อเนื่อง (Intravenous Infusion) ระวังเรื่องการเร่ง
อัตราการหยดยา เพราะทำาให้ความดันโลหิตตำ่าลง และ shock ได้ อัตรา
การหยดที่แนะนำาคือ 15 mg/kg/h นาน  4-6 ชั่วโมง
3.การหยดยาทางหลอดเลือดดำาระหว่างถ่ายเลือด ไม่ควรใส่
สารละลาย desferal ลงไปในถุงเลือดโดยตรง แต่อาจใส่เข้าไปทางสายให้
เลือดโดยใช้ Y adapter
4.การเก็บรักษา : เก็บในตู้เย็น ควรใช้ยาที่ผสมเสร็จทันที ยาที่ผสม
แล้วสามารถเก็บไว้ได้ประมาณ 24 ชั่วโมงที่อุณหภูมิห้อง (25 °C)
Phenobarbital (Phenobarb ®
, Gardenal
Sodium ®
)
Elixir 20mg/5 ml ,Tablet 30 mg, 60 mg ,Injection 20 % w/v
แนวทางการบริหารยา
1.รูปแบบ Injection สามารถให้ได้ทั้ง IM, IV และ SC
2.ควรปรับขนาดยาในผู้ป่วยโรคไต ถ้า Clcr < 10 ml/min ควรให้
ทุก 12-16 ชั่วโมง
3.ยามีอันตรกิริยากับยาอื่นหลายตัว เนื่องจากผ่านการเมตาบอลิสึม
โดย enzyme หลายชนิด เช่น
CYP-450, 2B6 และ 2D6 เป็นต้น ยกตัวอย่างเช่น มีผลลดฤทธิ์ของยา
warfarin, griseofluvin และ oral contraceptive เป็นต้น นอกจากนี้
ยังสามารถเพิ่มฤทธิ์ยาบางตัว เช่น Valproic acid ได้
4.เก็บรักษายาในที่ปราศจากแสง
5.การได้รับยาเกินขนาด ถ้ามีสติพยายามทำาให้อาเจียน ถ้าหมดสติ
ให้ล้างท้อง หรือ activate charcoal 30 g และนำ้า 1 แก้ว ให้ยาถ่ายให้
ขับยาออกเร็วขึ้น เร่งการขับปัสสาวะ ในรายที่เกิด shock อาจต้องทำา
hemodialysis หรือ hemoperfusion พยายามตะแคงตัวสลับข้างทุก
30 นาที
บ ท บ า ท พ ย า บ า ล
1.เนื่องจากยามี Therapeutic index อยู่ในช่วงแคบ ดังนั้นจึงควร
ติดตาม vital sign, mental status และ seizure activity อย่างใกล้
ชิด เพื่อป้องกันหรือแก้ไขอาการผิกปกติที่เกิดขึ้นได้ทันที
Phenytion injection (250 mg./ 5 ml.)
แนวทางการบริหารยา
ห้ามใช้ในผู้ป่วยที่มีประวัติแพ้ยา, sinus bradycardia, sinus
atrial block, second and third degree A-V Block และ Adams-
Stokes syndrome
บทบาทของพยาบาล
1.ไม่ควรเจือจางในสารละลายที่มี dextrose เป็นส่วนประกอบ และ
ไม่ควรให้ร่วมกับยาชนิดอื่นๆ เพราะอาจทำาให้ยาตกตะกอนได้ ดังนั้นจึงใช้
ตัวทำาละลายได้เฉพาะ Normal saline เท่านั้น
2.เนื่องจากยามีฤทธิ์เป็นด่าง การฉีดเข้าหลอดเลือดอาจก่อให้เกิด
การระคายเคือง และทำาให้เส้นเลือดดำาบริเวณที่ฉีดยาอักเสบ ควรให้นำ้า
เกลือก่อนและหลังตรงบริเวณเส้นเลือดที่ฉีดยาเข้าไป
3.Side effects ความดันโลหิตตำ่า,หัวใจเต้นช้า,หัวใจเต้นไม่เป็น
จังหวะ
4. การให้ยาทางหลอดเลือดดำา ต้องควบคุม vital constants และ
EKG ควบคู่กันไป
5.ยามี Therapeutic index แคบ ต้องติดตามภาวะ Overdose
จากอาการลูกตากระตุก Ataxia สั่น ง่วงนอน พูดจาติดขัด คลื่นไส้อาเจียน
ควรแก้ไขโดยการลดขนาดยา หรือหยุดการให้ยา อาจให้ออกซิเจน เพื่อ
ช่วยในการหายใจ หรือถ่ายเลือด และดูแลผู้ป่วยอย่างใกล้ชิด
6.ระวังการให้ยาร่วมกับ Dopamine เพราะทำาให้ความดันตำ่า หัวใจ
เต้นช้าลง อาจเกิดภาวะหัวใจหยุดเต้น และการใช้ร่วมกับ Lidocaine
injection จะกดการทำางานของหัวใจ
Octreotide Acetate ( Sandostatin ®
, Injection
0.1 mg/ml )
แนวทางการบริหารยา
1.สำาหรับ esophageal varice ใช้ IV bolus: 25-50 mcg ตาม
ด้วย IV infusion: 25-50 mcg/hr
2.การหยดเข้าหลอดเลือดดำา ควรเจือจางด้วยสารละลาย normal
saline ปราศจากเชื้อมากกว่า
สารละลาย dextrose เพราะยามีผลต่อการเกิด glucose
homeostasis
3.ละลายยา 0.5 mg ในสารละลาย normal saline 60 ml
ควรหยดสารละลายเข้าหลอดเลือดดำาโดยใช้ Infusion pump ในความ
เข้มข้นตำ่า ๆ ควรให้มากกว่า 15-30 นาที สำาหรับ iv push ควรให้
มากกว่า 3 นาที
4.เข้ากันไม่ได้กับสารละลายของอาหารที่ให้ทางสายยาง
(Parenteral Nutrition) เพราะจะเกิดการสร้าง glycosyl octreotide
conjugate
5.สารละลายที่เจือจางแล้วมีความคงตัวทางกายภาพและเคมี 24
ชั่วโมงที่อุณหภูมิห้อง (25° C )เก็บพ้นแสง และควรใช้สารละลายทันที
ถ้ายังไม่ใช้ทันที ควรเก็บที่อุณหภูมิ 2-8° C จะอยู่ได้ 48 ชั่วโมง (ก่อนใช้
สารละลายควรตั้งทิ้งไว้ให้ใกล้เคียงกับอุณหภูมิห้อง)
บทบาทพยาบาล
1.ควรติดตามระดับนำ้าตาลในเลือดเพราะยามีผลเปลี่ยนแปลงระดับ
นำ้าตาลในเลือด
2.ควรทำาอุลตราซาวด์ตรวจถุงนำ้าดีก่อนที่จะใช้ยาและทุก 6-12
เดือน เพราะการใช้ยาระยะนานอาจก่อให้เกิดพิษในถุงนำ้าดี
Tamoxifen tab (10 mg/tab)
บทบาทของพยาบาล
13 1.ผลข้างเคียงที่รุนแรง คือ endometrial cancer,
thromboembolic และ cataract formation
14 2.ตรวจดู vaginal discharge, leg swelling และ change in
vision
3. สำาหรับผู้ป่วยที่มีประจำาเดือนผิดปกติ ก่อนเริ่มต้นใช้ยานี้ควรมีการ
ตรวจสอบ pregnancy test เนื่อง
จากยาอาจมีผลต่อทารกได้ (pregnancy category D)
15 4.ห้ามใช้ในผู้ที่มีประวัติ Deep vein thrombosis หรือ
Pulmonary embolism เนื่องจากยาจะเพิ่มอุบัติ
การณ์การเกิด thromboembolic event

More Related Content

What's hot

Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058Aphisit Aunbusdumberdor
 
การพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดเอ-ออร์ตาในช่องท้องโป่งพอง
การพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดเอ-ออร์ตาในช่องท้องโป่งพองการพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดเอ-ออร์ตาในช่องท้องโป่งพอง
การพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดเอ-ออร์ตาในช่องท้องโป่งพองChutchavarn Wongsaree
 
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)Aiman Sadeeyamu
 
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์Utai Sukviwatsirikul
 
PALS manual 2009
PALS manual 2009PALS manual 2009
PALS manual 2009taem
 
Principles of Pharmacotherapy in Chronic Heart Failure 56 01 30
Principles of Pharmacotherapy in Chronic Heart Failure 56 01 30Principles of Pharmacotherapy in Chronic Heart Failure 56 01 30
Principles of Pharmacotherapy in Chronic Heart Failure 56 01 30Utai Sukviwatsirikul
 
ติวเด็ก
 ติวเด็ก ติวเด็ก
ติวเด็กRofus Yakoh
 
Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition techno UCH
 
การประเมินระบบไหลเวียนเลือดและความดันโลหิตในผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินระยะเฉียบพลันเ...
การประเมินระบบไหลเวียนเลือดและความดันโลหิตในผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินระยะเฉียบพลันเ...การประเมินระบบไหลเวียนเลือดและความดันโลหิตในผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินระยะเฉียบพลันเ...
การประเมินระบบไหลเวียนเลือดและความดันโลหิตในผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินระยะเฉียบพลันเ...Chutchavarn Wongsaree
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfMaytinee Beudam
 
Clinical practice-guidelines-for-traumatic-brain-injury
Clinical practice-guidelines-for-traumatic-brain-injuryClinical practice-guidelines-for-traumatic-brain-injury
Clinical practice-guidelines-for-traumatic-brain-injuryUtai Sukviwatsirikul
 

What's hot (20)

Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
 
Pharmacotherapy stroke
Pharmacotherapy strokePharmacotherapy stroke
Pharmacotherapy stroke
 
การพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดเอ-ออร์ตาในช่องท้องโป่งพอง
การพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดเอ-ออร์ตาในช่องท้องโป่งพองการพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดเอ-ออร์ตาในช่องท้องโป่งพอง
การพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดเอ-ออร์ตาในช่องท้องโป่งพอง
 
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
 
Berodual salbutamol solution
Berodual salbutamol solutionBerodual salbutamol solution
Berodual salbutamol solution
 
Ppt. HAD
Ppt. HADPpt. HAD
Ppt. HAD
 
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
 
อาหาร Dm
อาหาร Dmอาหาร Dm
อาหาร Dm
 
PALS manual 2009
PALS manual 2009PALS manual 2009
PALS manual 2009
 
Septic Shock
Septic ShockSeptic Shock
Septic Shock
 
Genogram
GenogramGenogram
Genogram
 
ภาวะซีด
ภาวะซีดภาวะซีด
ภาวะซีด
 
Thai nihss
Thai nihssThai nihss
Thai nihss
 
Principles of Pharmacotherapy in Chronic Heart Failure 56 01 30
Principles of Pharmacotherapy in Chronic Heart Failure 56 01 30Principles of Pharmacotherapy in Chronic Heart Failure 56 01 30
Principles of Pharmacotherapy in Chronic Heart Failure 56 01 30
 
ติวเด็ก
 ติวเด็ก ติวเด็ก
ติวเด็ก
 
Ppt. stroke1
Ppt. stroke1Ppt. stroke1
Ppt. stroke1
 
Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition
 
การประเมินระบบไหลเวียนเลือดและความดันโลหิตในผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินระยะเฉียบพลันเ...
การประเมินระบบไหลเวียนเลือดและความดันโลหิตในผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินระยะเฉียบพลันเ...การประเมินระบบไหลเวียนเลือดและความดันโลหิตในผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินระยะเฉียบพลันเ...
การประเมินระบบไหลเวียนเลือดและความดันโลหิตในผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินระยะเฉียบพลันเ...
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhf
 
Clinical practice-guidelines-for-traumatic-brain-injury
Clinical practice-guidelines-for-traumatic-brain-injuryClinical practice-guidelines-for-traumatic-brain-injury
Clinical practice-guidelines-for-traumatic-brain-injury
 

Similar to แนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับยาที่มีความเสี่ยงสูง (High Alert Drugs)

Adverse Drug Reactions and Drug Allergy Adverse Drug Reactions and Drug All...
Adverse Drug Reactions and Drug Allergy 	 Adverse Drug Reactions and Drug All...Adverse Drug Reactions and Drug Allergy 	 Adverse Drug Reactions and Drug All...
Adverse Drug Reactions and Drug Allergy Adverse Drug Reactions and Drug All...MedicineAndHealth
 
การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับยาเคมีที่มีความเสี่ยงสูง
การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับยาเคมีที่มีความเสี่ยงสูงการดูแลผู้ป่วยที่ได้รับยาเคมีที่มีความเสี่ยงสูง
การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับยาเคมีที่มีความเสี่ยงสูงtechno UCH
 
ตอบคำถามจาก Soap note กรณีศึกษา Hypertension non compliance.
ตอบคำถามจาก Soap note กรณีศึกษา Hypertension non compliance.ตอบคำถามจาก Soap note กรณีศึกษา Hypertension non compliance.
ตอบคำถามจาก Soap note กรณีศึกษา Hypertension non compliance.Ziwapohn Peecharoensap
 
Siriraj Poison Control Center: Antidote pocket guide v.3 หนังสือ ยาต้านพิษ เล...
Siriraj Poison Control Center: Antidote pocket guide v.3 หนังสือ ยาต้านพิษ เล...Siriraj Poison Control Center: Antidote pocket guide v.3 หนังสือ ยาต้านพิษ เล...
Siriraj Poison Control Center: Antidote pocket guide v.3 หนังสือ ยาต้านพิษ เล...Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการรักษาไข้มาลาเรีย ประเทศไทย 2558
แนวทางการรักษาไข้มาลาเรีย ประเทศไทย 2558แนวทางการรักษาไข้มาลาเรีย ประเทศไทย 2558
แนวทางการรักษาไข้มาลาเรีย ประเทศไทย 2558Utai Sukviwatsirikul
 
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554Utai Sukviwatsirikul
 
สอนการป้องกันความคลาดเคลื่อนสำหรับเจ้าหน้าที่ห้องยา
สอนการป้องกันความคลาดเคลื่อนสำหรับเจ้าหน้าที่ห้องยาสอนการป้องกันความคลาดเคลื่อนสำหรับเจ้าหน้าที่ห้องยา
สอนการป้องกันความคลาดเคลื่อนสำหรับเจ้าหน้าที่ห้องยาduangkaew
 
ยาสามัญประจำบ้าน ฉบับที่4
ยาสามัญประจำบ้าน ฉบับที่4ยาสามัญประจำบ้าน ฉบับที่4
ยาสามัญประจำบ้าน ฉบับที่4Surang Judistprasert
 
คู่มือการจ่ายยาเด็ก (Drugs in Pediatrics)
คู่มือการจ่ายยาเด็ก  (Drugs in Pediatrics)คู่มือการจ่ายยาเด็ก  (Drugs in Pediatrics)
คู่มือการจ่ายยาเด็ก (Drugs in Pediatrics)Utai Sukviwatsirikul
 
Wed11May201115444AM -SOAP_OPD_warfarin overdose.doc
Wed11May201115444AM -SOAP_OPD_warfarin overdose.docWed11May201115444AM -SOAP_OPD_warfarin overdose.doc
Wed11May201115444AM -SOAP_OPD_warfarin overdose.docjiratiyarapong
 
Guideline For the Early Management Of Patients with ischemic Stroke
Guideline For the Early Management Of Patients with ischemic  StrokeGuideline For the Early Management Of Patients with ischemic  Stroke
Guideline For the Early Management Of Patients with ischemic StrokeKanyanat Taew
 
Ischemicstrokeyaya 140908125834-phpapp02
Ischemicstrokeyaya 140908125834-phpapp02Ischemicstrokeyaya 140908125834-phpapp02
Ischemicstrokeyaya 140908125834-phpapp02Angkana Chongjarearn
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบันยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบันUtai Sukviwatsirikul
 
PC03 : Pain management in pc
PC03 : Pain management in pcPC03 : Pain management in pc
PC03 : Pain management in pcCAPD AngThong
 

Similar to แนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับยาที่มีความเสี่ยงสูง (High Alert Drugs) (20)

Adverse Drug Reactions and Drug Allergy Adverse Drug Reactions and Drug All...
Adverse Drug Reactions and Drug Allergy 	 Adverse Drug Reactions and Drug All...Adverse Drug Reactions and Drug Allergy 	 Adverse Drug Reactions and Drug All...
Adverse Drug Reactions and Drug Allergy Adverse Drug Reactions and Drug All...
 
การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับยาเคมีที่มีความเสี่ยงสูง
การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับยาเคมีที่มีความเสี่ยงสูงการดูแลผู้ป่วยที่ได้รับยาเคมีที่มีความเสี่ยงสูง
การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับยาเคมีที่มีความเสี่ยงสูง
 
Had12may2014 2
Had12may2014  2Had12may2014  2
Had12may2014 2
 
ตอบคำถามจาก Soap note กรณีศึกษา Hypertension non compliance.
ตอบคำถามจาก Soap note กรณีศึกษา Hypertension non compliance.ตอบคำถามจาก Soap note กรณีศึกษา Hypertension non compliance.
ตอบคำถามจาก Soap note กรณีศึกษา Hypertension non compliance.
 
Siriraj Poison Control Center: Antidote pocket guide v.3 หนังสือ ยาต้านพิษ เล...
Siriraj Poison Control Center: Antidote pocket guide v.3 หนังสือ ยาต้านพิษ เล...Siriraj Poison Control Center: Antidote pocket guide v.3 หนังสือ ยาต้านพิษ เล...
Siriraj Poison Control Center: Antidote pocket guide v.3 หนังสือ ยาต้านพิษ เล...
 
A003
A003A003
A003
 
Antidote pocket guide v.3
Antidote pocket guide v.3Antidote pocket guide v.3
Antidote pocket guide v.3
 
แนวทางการรักษาไข้มาลาเรีย ประเทศไทย 2558
แนวทางการรักษาไข้มาลาเรีย ประเทศไทย 2558แนวทางการรักษาไข้มาลาเรีย ประเทศไทย 2558
แนวทางการรักษาไข้มาลาเรีย ประเทศไทย 2558
 
Drug induced liver injury
Drug induced liver injuryDrug induced liver injury
Drug induced liver injury
 
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
 
สอนการป้องกันความคลาดเคลื่อนสำหรับเจ้าหน้าที่ห้องยา
สอนการป้องกันความคลาดเคลื่อนสำหรับเจ้าหน้าที่ห้องยาสอนการป้องกันความคลาดเคลื่อนสำหรับเจ้าหน้าที่ห้องยา
สอนการป้องกันความคลาดเคลื่อนสำหรับเจ้าหน้าที่ห้องยา
 
Adverse drug reaction 09
Adverse drug reaction 09Adverse drug reaction 09
Adverse drug reaction 09
 
ยาสามัญประจำบ้าน ฉบับที่4
ยาสามัญประจำบ้าน ฉบับที่4ยาสามัญประจำบ้าน ฉบับที่4
ยาสามัญประจำบ้าน ฉบับที่4
 
คู่มือการจ่ายยาเด็ก (Drugs in Pediatrics)
คู่มือการจ่ายยาเด็ก  (Drugs in Pediatrics)คู่มือการจ่ายยาเด็ก  (Drugs in Pediatrics)
คู่มือการจ่ายยาเด็ก (Drugs in Pediatrics)
 
cardiac drugs and tests
cardiac drugs and testscardiac drugs and tests
cardiac drugs and tests
 
Wed11May201115444AM -SOAP_OPD_warfarin overdose.doc
Wed11May201115444AM -SOAP_OPD_warfarin overdose.docWed11May201115444AM -SOAP_OPD_warfarin overdose.doc
Wed11May201115444AM -SOAP_OPD_warfarin overdose.doc
 
Guideline For the Early Management Of Patients with ischemic Stroke
Guideline For the Early Management Of Patients with ischemic  StrokeGuideline For the Early Management Of Patients with ischemic  Stroke
Guideline For the Early Management Of Patients with ischemic Stroke
 
Ischemicstrokeyaya 140908125834-phpapp02
Ischemicstrokeyaya 140908125834-phpapp02Ischemicstrokeyaya 140908125834-phpapp02
Ischemicstrokeyaya 140908125834-phpapp02
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบันยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
 
PC03 : Pain management in pc
PC03 : Pain management in pcPC03 : Pain management in pc
PC03 : Pain management in pc
 

More from Aiman Sadeeyamu

การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับยาละลายลิ่มเลือด Thrombolytic Agent
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับยาละลายลิ่มเลือด Thrombolytic Agentการพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับยาละลายลิ่มเลือด Thrombolytic Agent
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับยาละลายลิ่มเลือด Thrombolytic AgentAiman Sadeeyamu
 
การยื่นคำร้องขอรับเงินช่วยเหลือเบื้องต้น กรณีผู้รับบริการได้รับความเสียหายจาก...
การยื่นคำร้องขอรับเงินช่วยเหลือเบื้องต้น กรณีผู้รับบริการได้รับความเสียหายจาก...การยื่นคำร้องขอรับเงินช่วยเหลือเบื้องต้น กรณีผู้รับบริการได้รับความเสียหายจาก...
การยื่นคำร้องขอรับเงินช่วยเหลือเบื้องต้น กรณีผู้รับบริการได้รับความเสียหายจาก...Aiman Sadeeyamu
 
คำสั่งประกาศยกเลิก รับสมัคร รปภ รพ.กรงปินัง
คำสั่งประกาศยกเลิก รับสมัคร รปภ รพ.กรงปินังคำสั่งประกาศยกเลิก รับสมัคร รปภ รพ.กรงปินัง
คำสั่งประกาศยกเลิก รับสมัคร รปภ รพ.กรงปินังAiman Sadeeyamu
 
ประกาศ ช่างไฟฟ้าอิเลค ยาม รพ.กรงปินัง
ประกาศ ช่างไฟฟ้าอิเลค ยาม รพ.กรงปินังประกาศ ช่างไฟฟ้าอิเลค ยาม รพ.กรงปินัง
ประกาศ ช่างไฟฟ้าอิเลค ยาม รพ.กรงปินังAiman Sadeeyamu
 
สิทธิประโยชน์ขั้นพื้นฐานสาธารณสุข กับบุคคลที่มีปัญหาสาถานะและสิทธิ
สิทธิประโยชน์ขั้นพื้นฐานสาธารณสุข กับบุคคลที่มีปัญหาสาถานะและสิทธิสิทธิประโยชน์ขั้นพื้นฐานสาธารณสุข กับบุคคลที่มีปัญหาสาถานะและสิทธิ
สิทธิประโยชน์ขั้นพื้นฐานสาธารณสุข กับบุคคลที่มีปัญหาสาถานะและสิทธิAiman Sadeeyamu
 
ประกาศกำหนดการสอบ โภชนากร
ประกาศกำหนดการสอบ โภชนากรประกาศกำหนดการสอบ โภชนากร
ประกาศกำหนดการสอบ โภชนากรAiman Sadeeyamu
 
ประกาศผู้มีสิทธิสอบ จพ
ประกาศผู้มีสิทธิสอบ จพประกาศผู้มีสิทธิสอบ จพ
ประกาศผู้มีสิทธิสอบ จพAiman Sadeeyamu
 
รายชื่อผู้มีสิทธิสอบพนักงานทำความสะอาด 20 4 60
รายชื่อผู้มีสิทธิสอบพนักงานทำความสะอาด 20 4 60รายชื่อผู้มีสิทธิสอบพนักงานทำความสะอาด 20 4 60
รายชื่อผู้มีสิทธิสอบพนักงานทำความสะอาด 20 4 60Aiman Sadeeyamu
 
รายชื่อผู้มีสิทธิสอบจพ.ธุรการ20 4 60
รายชื่อผู้มีสิทธิสอบจพ.ธุรการ20 4 60รายชื่อผู้มีสิทธิสอบจพ.ธุรการ20 4 60
รายชื่อผู้มีสิทธิสอบจพ.ธุรการ20 4 60Aiman Sadeeyamu
 
รับสมัคร ธุรการ+แม่บ้าน
รับสมัคร ธุรการ+แม่บ้านรับสมัคร ธุรการ+แม่บ้าน
รับสมัคร ธุรการ+แม่บ้านAiman Sadeeyamu
 
ประกาศกำหนดการสอบ พยาบาล แผนไทย พนักงานพิมพ์
ประกาศกำหนดการสอบ พยาบาล แผนไทย พนักงานพิมพ์ประกาศกำหนดการสอบ พยาบาล แผนไทย พนักงานพิมพ์
ประกาศกำหนดการสอบ พยาบาล แผนไทย พนักงานพิมพ์Aiman Sadeeyamu
 
ประกาศรับสมัคร พยาบาลวิชาชีพ แพทย์ไทย พนักงานพิมพ์
ประกาศรับสมัคร พยาบาลวิชาชีพ แพทย์ไทย พนักงานพิมพ์ประกาศรับสมัคร พยาบาลวิชาชีพ แพทย์ไทย พนักงานพิมพ์
ประกาศรับสมัคร พยาบาลวิชาชีพ แพทย์ไทย พนักงานพิมพ์Aiman Sadeeyamu
 

More from Aiman Sadeeyamu (20)

It slide
It slideIt slide
It slide
 
Point it
Point itPoint it
Point it
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับยาละลายลิ่มเลือด Thrombolytic Agent
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับยาละลายลิ่มเลือด Thrombolytic Agentการพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับยาละลายลิ่มเลือด Thrombolytic Agent
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับยาละลายลิ่มเลือด Thrombolytic Agent
 
การยื่นคำร้องขอรับเงินช่วยเหลือเบื้องต้น กรณีผู้รับบริการได้รับความเสียหายจาก...
การยื่นคำร้องขอรับเงินช่วยเหลือเบื้องต้น กรณีผู้รับบริการได้รับความเสียหายจาก...การยื่นคำร้องขอรับเงินช่วยเหลือเบื้องต้น กรณีผู้รับบริการได้รับความเสียหายจาก...
การยื่นคำร้องขอรับเงินช่วยเหลือเบื้องต้น กรณีผู้รับบริการได้รับความเสียหายจาก...
 
คำสั่งประกาศยกเลิก รับสมัคร รปภ รพ.กรงปินัง
คำสั่งประกาศยกเลิก รับสมัคร รปภ รพ.กรงปินังคำสั่งประกาศยกเลิก รับสมัคร รปภ รพ.กรงปินัง
คำสั่งประกาศยกเลิก รับสมัคร รปภ รพ.กรงปินัง
 
ประกาศ ช่างไฟฟ้าอิเลค ยาม รพ.กรงปินัง
ประกาศ ช่างไฟฟ้าอิเลค ยาม รพ.กรงปินังประกาศ ช่างไฟฟ้าอิเลค ยาม รพ.กรงปินัง
ประกาศ ช่างไฟฟ้าอิเลค ยาม รพ.กรงปินัง
 
สิทธิประโยชน์ขั้นพื้นฐานสาธารณสุข กับบุคคลที่มีปัญหาสาถานะและสิทธิ
สิทธิประโยชน์ขั้นพื้นฐานสาธารณสุข กับบุคคลที่มีปัญหาสาถานะและสิทธิสิทธิประโยชน์ขั้นพื้นฐานสาธารณสุข กับบุคคลที่มีปัญหาสาถานะและสิทธิ
สิทธิประโยชน์ขั้นพื้นฐานสาธารณสุข กับบุคคลที่มีปัญหาสาถานะและสิทธิ
 
ประกาศกำหนดการสอบ โภชนากร
ประกาศกำหนดการสอบ โภชนากรประกาศกำหนดการสอบ โภชนากร
ประกาศกำหนดการสอบ โภชนากร
 
Form accident 94689
Form accident 94689Form accident 94689
Form accident 94689
 
ประกาศผู้มีสิทธิสอบ จพ
ประกาศผู้มีสิทธิสอบ จพประกาศผู้มีสิทธิสอบ จพ
ประกาศผู้มีสิทธิสอบ จพ
 
รายชื่อผู้มีสิทธิสอบพนักงานทำความสะอาด 20 4 60
รายชื่อผู้มีสิทธิสอบพนักงานทำความสะอาด 20 4 60รายชื่อผู้มีสิทธิสอบพนักงานทำความสะอาด 20 4 60
รายชื่อผู้มีสิทธิสอบพนักงานทำความสะอาด 20 4 60
 
รายชื่อผู้มีสิทธิสอบจพ.ธุรการ20 4 60
รายชื่อผู้มีสิทธิสอบจพ.ธุรการ20 4 60รายชื่อผู้มีสิทธิสอบจพ.ธุรการ20 4 60
รายชื่อผู้มีสิทธิสอบจพ.ธุรการ20 4 60
 
รับสมัคร ธุรการ+แม่บ้าน
รับสมัคร ธุรการ+แม่บ้านรับสมัคร ธุรการ+แม่บ้าน
รับสมัคร ธุรการ+แม่บ้าน
 
ประกาศกำหนดการสอบ พยาบาล แผนไทย พนักงานพิมพ์
ประกาศกำหนดการสอบ พยาบาล แผนไทย พนักงานพิมพ์ประกาศกำหนดการสอบ พยาบาล แผนไทย พนักงานพิมพ์
ประกาศกำหนดการสอบ พยาบาล แผนไทย พนักงานพิมพ์
 
Risk management-manual
Risk management-manualRisk management-manual
Risk management-manual
 
ประกาศรับสมัคร พยาบาลวิชาชีพ แพทย์ไทย พนักงานพิมพ์
ประกาศรับสมัคร พยาบาลวิชาชีพ แพทย์ไทย พนักงานพิมพ์ประกาศรับสมัคร พยาบาลวิชาชีพ แพทย์ไทย พนักงานพิมพ์
ประกาศรับสมัคร พยาบาลวิชาชีพ แพทย์ไทย พนักงานพิมพ์
 
Measles kpn 2017
Measles kpn 2017Measles kpn 2017
Measles kpn 2017
 
Rn3
Rn3Rn3
Rn3
 
Rn2
Rn2Rn2
Rn2
 
Rn1
Rn1Rn1
Rn1
 

แนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับยาที่มีความเสี่ยงสูง (High Alert Drugs)

  • 1. แนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับยาที่มีความเสี่ยงสูง (high-alert drugs) คำาจำากัดความ : ยาที่มีความเสี่ยงสูง (high-alert drugs) หมายถึงยาที่เสี่ยงสูงที่จะก่อให้เกิดอันตราย หรือผลเสียต่อผู้ป่วยที่ รุนแรง ถ้าหากมีความผิดพลาดในการสั่งใช้ยา คัดลอกคำาสั่งใช้ ยา จ่ายยา หรือการให้ยา แนวทางปฏิบัติเมื่อมีการสั่งใช้ยาที่มีความเสี่ยงสูง 1. การสั่งใช้ยาโดยแพทย์ 1.1 เขียนคำาสั่งใช้ยาอย่างครบถ้วน และชัดเจน เช่นระบุ ความแรง วิถีทางให้ยา และความถี่ของการให้ยา 1.2 หลีกเลี่ยงการใช้คำาย่อที่ไม่เป็นสากล 1.3 หลีกเลี่ยงการสั่งจ่ายยาโดยวาจา/ทางโทรศัพท์ ถ้า จำาเป็นให้ตรวจสอบและเซ็นต์กำากับคำาสั่งใช้ยานั้นทันทีที่ สามารถทำาได้ 2. การคัดลอกคำาสั่งใช้ยา 2.1 ทบทวนคำาสั่งใช้ยาให้เข้าใจทั้งชื่อยา ขนาดยา และวิธี การให้ยา หากไม่ชัดเจนควรติดต่อแพทย์ผู้เขียนคำาสั่ง โดยตรง เพื่อให้ได้ข้อมูลที่ถูกต้อง ก่อนลอกคำาสั่งลงในการ์ด ยา 2.2 คัดลอกคำาสั่งแพทย์ลงในใบสั่งยาให้ครบถ้วนทั้งชื่อยา ขนาดยา และวิธีการให้ยา โดยหลีกเลี่ยงการใช้คำาย่อที่ไม่ เป็นสากล 3. การตรวจสอบยา และการจ่ายยา 3.1 ตรวจสอบความถูกต้องทั้งชื่อผู้ป่วย ชนิดยา ขนาดยา และวิธีการให้ยา อย่างน้อย 2 ครั้งก่อนจ่ายยา หากไม่ ชัดเจนให้ติดต่อกลับไปที่หอผู้ป่วย หรือแพทย์ผู้สั่งใช้ยา โดยตรง 3.2 ตรวจสอบวันหมดอายุของยา 3.3 ตรวจสอบความถูกต้องของการเตรียมยา เช่น การใช้ ตัวทำาละลายที่เหมาะสมในกรณีที่ต้องละลายหรือเจือจางยา 3.4 หลีกเลี่ยงการรับคำาสั่งใช้ยาทางโทรศัพท์ โดยคำาสั่งใช้ ยาต้องเป็นลายลักษณ์อักษร
  • 2. 4. การให้ยา 4.1 จัดเตรียมยาสำาหรับผู้ป่วยตามคำาสั่งแพทย์ 4.2 ให้ยาอย่างถูกต้องตามหลัก 6 R คือ ถูกต้องตามชนิด ของยา ถูกต้องตามขนาดยา ถูกต้องตามวิถีทาง ถูกต้อง ตามเวลา ถูกต้องตามผู้ป่วย และการบันทึกการให้ยาถูก ต้อง 4.3 ประเมินผลการตอบสนองของยานั้น และสังเกตอาการ ไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา หากเกิดขึ้นให้รายงานแพทย์ และแจ้งให้เภสัชกรทราบ 5. การเก็บรักษา 5.1 เก็บรักษายาให้เหมาะสมกับชนิดของยา เช่น ยาที่ต้อง แช่เย็นเก็บในตู้เย็น ยากันแสงต้องเก็บในซองสีชา หรืออยู่ ในภาชนะบรรจุที่ป้องกันแสง 5.2 ควรแยกยากลุ่มนี้ไว้ห่างกับยาที่มีรูปลักษณ์ภายนอก ของภาชนะบรรจุที่คล้ายคลึงกัน เพื่อลดความคลาดเคลื่อน ในการจ่าย/เตรียมยา 5.3 ติด Sticker สีแดงที่ภาชนะที่เก็บยา เพื่อให้ชัดเจน และเพิ่มความระวังในการใช้ยามากขึ้น
  • 3. รายการยา High Alert Drug แยกตาม PCT หน้า 1. PCT อายุรกรรม - Adrenaline injection 1 - Amiodarone ( Cordarone® ) injection, tablet 2 - Atropine injection 3 - Calcium Gluconate injection 4 - Cyclophosphamide tablet 5 - Digoxin tablet,injection 6 - Dobutamine injection 7 - Dopamine injection 8 - Enoxaparin injection 9 - Heparin injection 10 - Insulin 11 - Magnesium Sulfate Injection 12 - Methotrexate injection, tablet 13 - Nitroglycerine injection 14 - Nitroprusside Sodium injection 15 - Potassium Chloride injection 16 - Sodium bicarbonate injection 17 - Streptokinase injection 18 - Warfarin tablet 19 2. PCT ศัลยกรรมกระดูก - Morphine Sulfate 20 - Pethidine Hydrochloride 21 3. PCT สูติ นรีเวชกรรม - Oxytocin injection 22 - Magnesium sulfate injection 12 - Misoprostol tablet ( Cytotec® ) 23 - Methylergometrine injection 24 - Terbutaline injection 25
  • 4. - Sulprostone injection (Nalador® ) 26 4. PCT EENT หน้า - Acetazolamide (Diamox® ) 27 - Mannitol 28 5. PCT กุมารเวชกรรม - Adrenaline 1 - Aminophylline 29 - Atropine injection 3 - Calcium Gluconate injection 4 - Deferoxamine injection 30 - Digoxin injection, Tablet, Elixir 6 - Dobutamine injection 7 - Heparin Solution 10 - Insulin 11 - Magnesium Sulfate Injection 12 - Phenobarbital injection 31 - Phenytoin injection 32 - Potassium Chloride injection 16 - Sodium bicarbonate injection 17 - Theophylline elixir (p.18) 33 6. PCT ศัลยกรรม - Adrenaline injection 1 - Amiodarone ( Cordarone® ) injection, tablet 2 - Atropine injection 3 - Calcium Gluconate injection 4 - Cyclophosphamide tablet 5 - Digoxin tablet,injection 6 - Dobutamine injection 7 - Dopamine injection 8 - Heparin injection 10 - Insulin 11 - Magnesium Sulfate Injection 12
  • 5. - Methotrexate injection, tablet 13 - Morphine Sulfate 20 PCT ศัลยกรรม(ต่อ) - Nitroglycerine injection 14 - Nitroprusside Sodium injection 15 - Octreotide injection 33 - Pethidine Hydrochloride 21 - Potassium Chloride injection 16 - Sodium bicarbonate injection 17 - Streptokinase injection 18 - Tamoxifen 34 - Warfarin tablet 19 Adrenaline Injection
  • 6. แนวทางการบริหารยา 1.ใช้ในกรณี แก้แพ้ยา หลอดลมตีบ หัวใจหยุดเต้น ความดันโลหิต ตำ่าอย่างรุนแรง 2.ผลข้างเคียง คลื่นไส้ เบื่ออาหาร นอนไม่หลับ สั่น วิงเวียน หน้ามืด 3.ข้อควรระวัง ใจสั่น หัวใจเต้นเร็ว หยุดหายใจ อาจเกิด ventricular fibrillation, pulmonary edema ซึ่งถึงแก่ชีวิตได้ บทบาทของพยาบาล 1.ตรวจดู vital sign: BP ทุก 3-5 นาที, pulse rate 2.รายงานแพทย์ทันทีเมื่อพบอาการ tachycardia, palpitation, BP สูง 3.ตรวจดู IV site เพราะอาจเกิด tissue necrosis ได้ ถ้ามียารั่ว ออกมา
  • 7. Amiodarone (Cordarone® ) Injection, Tablet แนวทางการบริหารยา 1.cardiac arrest (VF/pulseless VT) Step 1: 300 mg. dilute 5%D/W 30 ml. IV push 3-5 นาที (ซำ้าได้อีก 150 mg. IV) สูงสุดไม่เกิน 2.2 g/ 24 hrs 2.wide complex tachycardia (stable) 24 ชั่วโมงแรก ให้ยา 1000 mg. โดยให้ตามลำาดับ ดังนี้ Step 1: 150 mg (100 ml.) ใน 10 นาทีแรก (ผสม 3 ml. ใน 100 ml. D-5-W) Step 2: 360 mg. (200 ml) ใน 6 ชั่วโมงถัดไป (ผสม 18 ml. ใน 500 ml. D-5-W) Step 3: 540 mg. (300 ml.) ใน 18 ชั่วโมงถัดไป บทบาทของพยาบาล 1.ตรวจการทำางานของหัวใจเสมอ วัดชีพจร สังเกตความแรง ความถี่ และการเป็นจังหวะ 2.เตรียม Dopamine ไว้ใช้แก้ไขยามฉุกเฉิน 3.แนะนำางดสุรา ไวน์เบียร์ งดสูบบุหรี่ เตือนผู้ป่วยให้งดคาเฟอีน ใน ชา กาแฟ เครื่องดื่มชูกำาลัง และระวังการใช้ร่วมกับยาบางชนิด เช่น Cafergot 4.อาจเกิด prolong QT interval (เช่นให้ร่วมกับยา procainamide)
  • 8. Atropine Injection แนวทางการบริหารยา 1.ให้ 1 mg ฉีดเข้าทางเส้นเลือดดำาช้าๆ และให้ซำ้าได้ 3-5 นาที หากยังไม่ตอบสนอง แต่ไม่เกิน 3 mg 2.กรณีหัวใจเต้นช้า อาจให้ขนาด 0.5-1 mg ซ้าได้ทุก 3-5 นาที ขนาดโดยรวมไม่เกิน 3 mg หรือ 0.04mg/kg บทบาทของพยาบาล 1.ติดตามอัตราการเต้นของหัวใจ ความดันโลหิต และ Mental status 2.ห้ามผสมยาร่วมกับยา Ampicillin,Chloramphenicol,Adrenaline,Heparin,Warfarin 3.อาการข้างเคียงที่อาจพบได้ เช่น ปากแห้ง,ตาพร่ามัว,หัวใจเต้น ช้า,ชีพจรเต้นเร็ว,รูม่านตาขยายและการปรับภาพเสีย
  • 9. Calcium gluconate Injection แนวทางการบริหารยา 1.ข้อบ่งใช้ ในผู้ป่วยที่มีหรือสงสัยว่ามี Hyperkalemia (เช่น ผู้ป่วย ไตวายเรื้อรัง) หรือภาวะ Calcium ตำ่า (เช่น หลังได้รับเลือดหลายครั้ง) 2.ค่าปกติ 4.5-5.5 mEq/L (Ionized Calcium) - Calcium ตำ่า จะชักกระตุก ปากเบี้ยว นิ้วชา กล้ามเนื้อเป็นตะคริว เลือดออกง่าย หัวใจบีบตัวอ่อนลง - Calcium สูง กล้ามเนื้อจะเปลี้ย ปวดบริเวณกระดูก บทบาทของพยาบาล 1.ควรผสม Calcium ใน D-5-W ไม่ควรใช้ NSS เพราะ sodium ทำาให้ calcium ขับออกเร็วขึ้น 2.ห้ามผสมใน Bicarbonate เพราะจะตกตะกอน 3.ดูการใช้ยาอื่นร่วมด้วย เช่น - Calcium เสริมฤทธิ์ digoxin - HCTZ เสริมฤทธิ์ calcium ในเลือด - Calcium blocker, Tatracycline, NaCl ลด Calcium ใน เลือด
  • 10. Cyclophosphamide แนวทางการบริหารยา 1.ควรรับประทานยาพร้อมอาหารหรือหลังอาหารเพื่อลดผลข้างเคียง ต่อระบบทางเดินอาหาร 2.ในระหว่างการใช้ยาควรดื่มนำ้าประมาณ 2-3 ลิตร/วัน และ ปัสสาวะทิ้งบ่อยๆ เพื่อลดอัตราการเกิดเลือดออกในกระเพาะปัสสาวะ (Hemorrhagic cystitis) ซึ่งจะมีปัสสาวะเป็นสีแดงจางหรือเป็นเลือดได้ 3.ก่อนใช้ยาต้องตรวจเม็ดเลือดขาวและเกร็ดเลือด โดยเม็ดเลือดขาว ต้องมากกว่า 3000/มม 3 และ เกร็ดเลือดมากกว่า 100,000/มม 3 4.ในผู้ป่วยที่เป็นโรคเบาหวาน ควรมีการตรวจระดับนำ้าตาลเพื่อ ป้องกันการเกิด hypoglycemia 5.เนื่องจากยามีผลต่อการกดไขกระดูก ดังนั้นจึงควรแนะนำาให้ผู้ ป่วยระมัดระวังการติดเชื้อ หากมีไข้ เจ็บคอให้รีบมาพบแพทย์เพื่อทำาการ ตรวจหาสาเหตุต่อไป
  • 11. Digoxin Injection,Tablet ,Elixir แนวทางการบริหารยา 1.ควรหลีกเลี่ยงการใช้ชื่อการค้า Lanoxin 2.ขนาดยารับประทานทั่วไปในผู้ใหญ่ 0.125-0.375 มิลลิกรัม/วัน วันละครั้ง (ยกเว้นผู้ป่วยที่ต้องการยาระดับสูงทันที อาจให้เพิ่มขนาดครึ่งถึง หนึ่งเท่าครึ่งของขนาดปกติ ทุก 6-8 ชั่วโมง ซึ่งต้องอยู่ในความดูแลของ แพทย์) 3.ห้ามใช้ในผู้ป่วยกล้ามเนื้อหัวใจตาย โรคไตขั้นรุนแรง ผู้ป่วยที่มี K ตำ่า 4.อาการพิษ ได้แก่ หัวใจเต้นช้า หัวใจหยุดเต้น กดสมอง อาจทำาให้ เสียชีวิตได้ บทบาทของพยาบาล 1.สอนผู้ป่วยให้จับชีพจรตนเองก่อนกินยา ถ้าตำ่ากว่า 60 ครั้ง/นาที ต้องบอกพยาบาล/แพทย์ 2.แนะนำาให้ผู้ป่วยรับประทานอาหารที่มี K สูง เช่น กล้วย ส้ม 3.เมื่อให้ยานำ้าต้องใช้หลอดหยดที่มีขีดระบุชัดเจน 4.ถ้าต้องทำา cardiovasion ในผู้ป่วยที่ได้ digoxin ไปแล้ว ต้องใช้ กำาลังไฟฟ้าตำ่า (10-20 J)
  • 12. Dobutamine Injection แนวทางการบริหารยา 1.ขนาดบริหารยาทั้งเด็กและผู้ใหญ่ แตกต่างตามวัตถุประสงค์และตำ่า กว่า Dopamine และขนาดสูงสุด 40 mcg/kg/min IV ในผู้ใหญ่และ เด็ก (USFDA ไม่รับรองการใช้ในเด็ก) 2.ไม่มีข้อบ่งใช้ในการรักษาผู้ป่วยความดันเลือดตำ่า บทบาทของพยาบาล 1.จัดวางยาให้ห่างจาก dopamine 2.ไม่ควรสำารองยาบนหอผู้ป่วยเพื่อลดโอกาสสับสนกับ dopamine เนื่องจากไม่มีข้อบ่งใช้ที่ฉุกเฉิน 3.ไม่ผสมร่วมกับ Sodium bicarbonate หรือสารละลายที่เป็นด่าง แก่
  • 13. Dopamine Injection แนวทางการบริหารยา 1.ระวัง ห้ามใช้ร่วมกับ Dilantin เพราะทำาให้ความดันตำ่า และหัวใจ เต้นช้าลง (Bradycardia) 2.Sodium bicarb. ทำาให้ Dopamine หมดฤทธิ์ได้ และห้ามให้ยา ในสายเดียวกัน 3.ข้อบ่งใช้ รักษา symptomatic bradycardia ที่รักษาด้วย atropine ไม่ได้ผล หรือรักษาภาวะความดันโลหิตตำ่า (ไม่มี hypovolemia) บทบาทของพยาบาล 1.ตรวจบริเวณที่ให้ยาทุก 30-60 นาที เพราะยาอาจรั่วซึม ทำาให้ เกิดเนื้อตายได้ 2.ให้ทางเส้นเลือดใหญ่ เช่น central vein 3.ควรใช้ infusion pump ในการให้ยาเสมอ 4.ถ้าสารละลายเปลี่ยนสีจากสีเหลืองอ่อน ๆ ต้องทิ้ง 5.ห้ามหยุดยากะทันหัน เพราะจะทำาให้ความดันลดตำ่ามากทันที 6.การหยุดยาต้องค่อย ๆ ลดขนาดยาทีละน้อย 7.ห้ามผสมกับ Sodium bicarbonate 8.จัดวางยาให้ห่างจาก Dobutamine เพื่อป้องกันการหยิบยาผิด
  • 14. Enoxaparin sodium (0.4,0.6 ml) แนวทางการบริหารยา 1.ห้ามฉีดเข้ากล้าม 2.ห้ามใช้ยาในภาวะที่กำาลังมีเลือดออกอย่างมาก หรืออยู่ในภาวะที่มี ความเสี่ยงสูงต่อการมีเลือดออกที่ควบคุมไม่ได้ รวมถึงเคยเกิดหลอดเลือดใน สมองแตกเมื่อไม่นานมานี้ 3.เมื่อมีการทำา Spinal/Epidural anesthesia ร่วมกับการใช้ Enoxaparin การใส่และถอด catheter ควรทำาเมื่อฤทธิ์ต้านการแข็งตัว ของเลือดจากการให้ Enoxaparin ผ่านไปนาน 10-12 ชม. 4.ร ะ มั ด ร ะ วั ง ก า ร ใ ช้ ร่ ว ม กั บ ย า ASA,NSAIDs,Ticlid,Dextran40,Glucocorticoids,Thrombolytics and anticoagulants เนื่องจากจะยิ่งทำาให้มี bleed มากขึ้น บทบาทของพยาบาล 1.ไม่ควรไล่ฟองอากาศก่อนฉีดยา ควรฉีดในขณะที่ผู้ป่วยนอนราบ ฉีดยาเข้าใต้ผิวหนังบริเวณผนังหน้าท้องด้านข้างของลำาตัวโดยฉีดสลับด้าน ซ้ายและขวา 2.ควรติดตามตรวจนับจำานวนของเกล็ดเลือดในระหว่างการใช้ยา ถ้า ตำ่ากว่า 30-50%ของค่าเริ่มต้น ต้องหยุดยาทันที 3.แก้ไขภาวะการได้รับยาเกินขนาดด้วยการให้ protamine 4.หากเกิด skin necrosis บริเวณที่ฉีดยา ซึ่งมักมีอาการนำามาก่อน เช่น มีจุดเลือดออกใต้ผิวหนัง หรือแผ่นผิวหนังเป็นรอยแดงแข็ง และเจ็บ ปวดบริเวณนั้น ให้หยุดยาทันที 5.เฝ้าระวังอาการ bleed เช่น จำ้าเลือด,เลือดกำาเดา, เลือดออกตาม ไรฟัน,ปัสสาวะเป็นเลือด เลือดออกในทางเดินอาหาร
  • 15. Heparin แนวทางการบริหารยา 1.ห้ามฉีดเข้ากล้ามเพราะอาจเกิดอันตรายจากการห้อเลือด 2.ห้ามใช้ในผู้ป่วยระหว่างผ่าตัดตา สมอง หรือไขสันหลัง และภาย หลังจากการผ่าตัดเหล่านี้ 3.ห้ามใช้ในผู้ป่วยโรคเลือดออก รวมทั้ง haemophilia มีการซึม ออกของเลือดหลังผ่าตัด โรคแผลในกระเพาะอาหารหรือลำาไส้ วัณโรคที่มี อาการรุนแรง การทำาแท้ง โรคตับและไต ดีซ่าน หรือความดันโลหิตสูงอย่าง รุนแรง 4.ไม่ควรใช้ร่วมกัน Aspirin เนื่องจากจะไปเพิ่มฤทธิ์ของ Heparin บทบาทของพยาบาล 1.Side effects เกร็ดเลือดตำ่า เลือดออกง่าย โปแตสเซียมสูง 2.Monitor PTT, Platelet count, Hemoglobin, สังเกตอาการ เลือดออกที่อวัยวะต่างๆ เช่นผิวหนังมีจำ้าเลือด โดยเฉพาะเมื่อมีการให้ร่วม กับ Warfarin 3.ห้ามผสมกับยา Amikacin,Amiodarone,Amphotericin B,Atracurium,Ciprofloxacin, Dobutamine 4.Antidote ให้ฉีด Protamine sulfate ช้าๆ
  • 16. Insulin แนวทางการบริหารยา 1.ระวังการเกิดนำ้าตาลในเลือดตำ่าหรือสูงเกินไป ซึ่งอาจเกิดจากการ ให้ยาผิดชนิด ผิดขนาด ให้ผิดเวลา ให้ผิดคน หรือผู้ป่วยเองรับประทาน อาหารผิดเวลา หรือรับประทานอาหารมากหรือน้อยผิดปกติ 2.แพทย์ควรระบุชนิดของอินซูลินที่ต้องการใช้ให้ชัดเจน ควรสั่งใช้ โดยระบุชื่อสามัญทางยา ในทุกขั้นตอนของการให้ยา บทบาทของพยาบาล 1.ตรวจสอบชนิดยาอินซุลินและวันหมดอายุของยา ก่อนให้ยาผู้ป่วย 2.สอนผู้ป่วยให้สังเกตตัวเองเวลาระดับนำ้าตาลตำ่า และสอนวิธีแก้ไข เช่น ดื่มนำ้าหวานหรืออมลูกอมรสหวาน 3.ดู Vital sign เพราะอาจเกิด Tachycardia ได้ 4.ดูระดับนำ้าตาลในเลือด ค่าปกติของนำ้าตาลในเลือด(DTX) ควรเป็น 60-100 mg/dl ในพลาสมา(FBS)ควรเป็น 70-110 mg/dl 5.สอนวิธีการดูดยาและวิธีฉีดยาที่ถูกต้อง
  • 17. Magnesium sulfate inj แนวทางการบริหารยา 1.งดการใช้ชื่อย่อที่ก่อให้เกิดความสับสนกับยาอื่น เช่น MgSO4 vs MSO4 2.มี 2 ขนาดคือ 10%MgSO4 10 ml (MgSO4 1 g มี Mg2+ 8 mEq ใน 10 ml) 50%MgSO4 2 ml (MgSO4 1 g มี Mg2+ 8 mEq ใน 2 ml) 3. ระวังสับสนกับ Morphine sulphate 4.ระวังในผู้ป่วยที่ใช้ยา digoxin เนื่องจากอาจทำาให้เกิด heart block ได้ 5.ห้ามใช้ในในผู้ป่วยที่เกิด heart block หรือมี myocardial damage,ผู้ป่วย pre-eclampsia ที่อยู่ในระหว่างการคลอด 2 ชั่วโมง,ในผู้ป่วยที่มีภาวะไตบกพร่องอย่างรุนแรง บทบาทของพยาบาล 1.ตรวจสอบ infusion pump ขณะให้ Magnesium sulfate เสมอ 2. การให้ IM ควรฉีดที่กล้ามเนื้อลึกๆ (deep IM) ของขนาดที่ไม่ เจือจาง 50% (ในเด็กต้องเจือจางให้ความเข้มข้นไม่เกิน 20%) ส่วนการให้ IV push ต้องเจือจางและไม่ให้เร็วกว่า 150 mg/min ส่วน IV infusion ให้ไม่เกิน 1.5 ml/min ของความเข้มข้น 10% ยกเว้นกรณีที่เป็น severe eclampsia (อาจให้ 2 g/hr เพื่อป้องกันการเกิด hypotension กรณีที่ เป็นรุนแรงอาจให้ 4 g/hr) 3.ติดตามอาการพิษจากยา ได้แก่ หัวใจเต้นช้า, หน้าแดง, ปวด ศีรษะ, คลื่นไส้, อาเจียน, ไม่มีแรง, หายใจสั้น เหงื่อออก, ความดัน เลือดตำ่า, อาการไม่รู้สึก (stupor), กดการตอบสนอง (depressed reflexes), อุณหภูมิตำ่า การแก้พิษ: - ดูแลเรื่องความดันโลหิตและการหายใจของผู้ป่วยให้เป็นปกติ - ฉีด calcium gluconate ช้าๆ (Ca 5-10 mEq) หรือ 10-20 ml ของ สารละลาย 10% (อาจเจือจางด้วย 0.9% sodium chloride) เพื่อ reverse heart block หรือ respiration depression - อาจทำา dialysis ถ้าการทำางานของไตผู้ป่วยลดลง 4.monitoring การทำางานของไต, อัตราการเต้นของหัวใจ, ความ ดันโลหิต, อัตราการหายใจ, วัดระดับ Mg ในเลือด ทุก 12-24 ชม.หลัง การ infusion
  • 18. Methotrexate tablet แนวทางการบริหารยา 1.แพทย์ควรเขียนคำาสั่งใช้ยาอย่างสมบูรณ์ และระบุขนาดยาว่า 2.5 mg ทุกครั้ง รวมทั้งวิธีการให้ยา 2.ควรมีการสั่งตรวจ Lab การทำางานของตับ (AST และ ALT) และ ไ ต (BUN แ ล ะ Creatinine) เ ป็ น baseline ก่ อ น ไ ด้ รั บ ย า 3 3.ตรวจสอบประวัติการเป็นไวรัสตับอักเสบ ,ดีซ่าน,ตัวเหลือง,ตา เหลือง ของผู้ป่วย 4 4. ไม่ควรใช้ตัวย่อ MTX เพราะอาจสับสนกับ MTV 5.ระวังการใช้ร่วมกับยา Salicylate,Sulfonamides,High doses of penicillins,NSAIDS เ พ ร า ะ จ ะ เ พิ่ ม พิ ษ ข อ ง Methotrexate 6.ห้ามใช้ในคนไข้โรคตับและไตอักเสบหรือคนไข้โรคโลหิตจาง อ ย่ า ง รุ น แ ร ง leucopenia ,thrombocytopenia,alcoholic liver diseases,AIDS,pre-existing blood dyscrasias ห้ามใช้ในสตรีมี ค ร ร ภ์ ห รื อ ใ ห้ น ม บุ ต ร บทบาทของพยาบาล 1.ให้ผู้ป่วยงดการดื่มแอลกอฮอล์ 2.เฝ้าระวังอาการที่แสดงว่ามีระดับยาสูง ได้แก่ ปัสสาวะมีสีส้ม แดง,อุจจาระสีดำา ,เป็นไข้,มีแผลในปาก,มีจำ้า เลือดหรือเลือดออกผิด ป ก ติ ,อ า เ จี ย น ,เ ท้ า ห รื อ ข้ อ เ ท้ า บ ว ม ,ชั ก 3. วิธีแก้พิษเมื่อได้รับยาเกินขนาด : โดยให้ Calcium leucovorin ทันที ส่วนในกรณีที่ป้องกันการตกตะกอนของยา Methotrexate ในไต ควรให้ สารนำ้าและปรับปัสสาวะให้เป็นด่าง หรืออาจทำา hemodialysis หรือ peritoneal dialysis ซึ่งสามารถช่วยให้การกำาจัด Methotrexate ดีขึ้น
  • 19. Nitroglycerine injection (glyceryl trinitrate) (50mg/10mL.) แนวทางการบริหารยา 1.การให้ยาต้องฉีดแบบ IV Infusion เท่านั้น 2.Dilution ที่ใช้อาจจะเป็น 5% Dextrose Inj. B.P. หรือ 0.9% NSS โดยสารละลายจะต้องอยู่ในภาชนะที่เป็นแก้วเท่านั้น เพราะภาชนะที่ เป็นพลาสติกจะดูดสารละลายยาเข้าไปได้ 3.ไม่ควรให้ยากับผู้ป่วยที่เป็นโรคโลหิตจาง หรือผู้ป่วยบาดเจ็บหรือมี เลือดออกในสมองเพราะยาอาจไปเพิ่มความดันในกระโหลกศีรษะได้, ไม่ ควรให้ยากับผู้ป่วยที่เป็นต้อหินเพราะยาอาจไปเพิ่มความดันของลูกตาได้, ไม่ควรให้ยาร่วมกับแอลกอฮอล์เพราะอาจทำาให้ความดันโลหิตลดตำ่าลงได้ บทบาทของพยาบาล 1. Monitor Blood pressure, Heart rate, PCWP 2. ไม่ควรผสมสารละลายยา Nitroglycerin Injection กับยาตัว อื่นๆ 3.ต้องระวังกรณีที่ผู้ป่วยมีอาการของความดันโลหิตตำ่า เช่นเป็นลม วิงเวียน อ่อนเพลีย โดยเฉพาะความดันโลหิตตำ่าเมื่อเปลี่ยนอิริยาบทอันเนื่อง มาจากได้รับยาเกินขนาด ต้อง consult แพทย์ เพื่อลดขนาดยาลง
  • 20. Nitroprusside Sodium Injection แนวทางการบริหารยา 1.ให้ IV เท่านั้น 2.ห้ามผสมยาอื่นใน syringe เดียวกัน 3.ระวังความดันโลหิตตำ่าลงอย่างรุนแรง หยุดหายใจ กล้ามเนื้อ กระตุก หัวใจหยุดเต้น บทบาทของพยาบาล 1.วิธีการบริหารยา 1.1 ละลาย sodium nitroprusside 50 mg ด้วย 5% dextrose in water 2-3 ml (ต้องเป็น 5% dextrose in water เท่านั้น) 1.2 เจือจางด้วย 5% dextrose in water เพื่อให้ได้ความเข้มข้นที่ ต้องการ ขนาด sodium nitroprusside (mg) 50 ปริมาณของ 5% dextrose in water (ml) 250 500 1000 ความเข้มข้นที่ได้ (mcg/ml) 200 100 50 หมายเหตุ บริษัทยาแนะนำาให้ใช้ 5% dextrose in water เป็นตัว ทำาละลายเท่านั้น แต่การใช้ sterile water for injection ก็สามารถ ใช้ได้อย่างปลอดภัย 2.หุ้มขวดหรือถุงใส่สารละลายตลอดสาย IV เพื่อกันแสง 3.ให้ยาภายใน 24 ชั่วโมง หลังผสมเสร็จ ถ้าเปลี่ยนเป็นสีนำ้าตาลเข้ม หรือสีฟ้าห้ามใช้ 4.ระวังยารั่วออกจากเส้นเลือด จะทำาให้ปวดมาก 5.ห้ามหยุดยากะทันหัน 6. metabolite ของ sodium nitroprusside คือ cyanide และ thiocyanate ดังนั้นจึงต้องเฝ้าระวังพิษของ thiocyanate และ CO2 retention ซึ่งผู้ป่วยจะมีอาการ metabolic acidosis, confusion, blurred vision, nausea และ ataxia4
  • 21. Potassium Chloride injection (KCl20 meq/10 ml) แนวทางการบริหารยา 1. การสั่งจ่ายต้องสั่งในหน่วย mEq เท่านั้น และให้ระบุหน่วยทุก ครั้ง รวมทั้งปริมาณ LVP ที่ให้ 2.การสั่ง Peripheral IV ห้ามเกิน 40 mEq/L ส่วน Central Line ห้ามเกิน 80 mEq/L และต้อง monitor 3. ห้ามให้ IV push, IV bolus เพราะทำาให้หัวใจหยุดเต้นได้ บทบาทของพยาบาล 1.เมื่ออัตราเร็วในการให้ยามากกว่า 10 meq/hr ควรใช้ infusion pump 2.ผู้ป่วยที่มีการทำางานของไตบกพร่องหรือ Heart block ควรลด อัตราเร็วในการบริหารยาลงประมาณครึ่งหนึ่ง 3.เฝ้าระวังอาการที่แสดงว่ามีระดับโปแตสเซียมสูง หากพบ Serum potassium เกิน 5.5 meq/L ต้องตามแพทย์ ได้แก่อาการ ท้องเสีย คลื่นไส้อาเจียน ท้องอืด หัวใจเต้นช้า ปัสสาวะบ่อย อ่อนเพลีย ชาปลายมือ ปลายเท้า 4.การแก้ไขภาวะพิษของโปแตสเซียมสูง -ให้ RI 10 units + 50% glucose 50-100 ml IV stat -ให้ Sodium bicarbonate สำาหรับภาวะ acidosis -ให้ 10% Calcium gluconate 10 ml ทาง IV ช้าๆใน 5 นาที อาจให้ซำ้าได้อีกหลังให้ยาครั้งแรกนาน 5 นาที ถ้า EKG ยังผิดปกติ 5. monitor EKG , Vital sign 6. ถ้าปริมาณปัสสาวะน้อยกว่า 600 mg/day อาจเกิด K+ สะสมได้
  • 22. Sodium Bicarbonate Injection(NaHCO3) แนวทางการบริหารยา 1.Dosage form: 7.5% (7.5 mg/mL=8.92 mEq/ 10 mL) ขนาดบรรจุ10 ml และ 50 ml. 2.การให้ยาในเด็กอายุ < 2 ปี การให้ยาในอัตราเร็วอาจทำาให้เกิด ภาวะ Hypernatremia, CSF pressure ลดลง และภาวะเลือดออกใน สมอง 3.การใช้ I.V. NaHCO3 ใช้สำา หรับภาวะ metabolic acidosis และภาวะ Hyperkalemia ซึ่งเหนี่ยวนำาให้เกิดหัวใจวายได้ 4.Cardiac arrest ไม่แนะนำาให้ใช้เป็นประจำา (โดยเฉพาะผู้ป่วยที่ CPR โดยไม่ใส่ท่อช่วยหายใจ) -Infant &children: I.V. 0.5-1 mEq/kg/dose ให้ซำ้าทุก 10 นาที อัตราเร็วของการให้ยา ไม่ ควรเกิน 10 mEq/นาที -Neonate &children < 2 ปี ค ว ร ไ ด้ รั บ ย า ข น า ด 4.2% solution (0.5mEq/mL) -Adult :I.V. bolus เ ริ่ ม ต้ น 1mEq/kg/dose 1 ค รั้ ง ,Maintenance 0.5 mEq/kg/dose ทุก 10 นาที บทบาทของพยาบาล 1.เก็บที่อุณหภูมิห้อง ห้ามใช้เมื่อเปลี่ยนสีหรือมีตะกอน 2.Monitor -Vital sign ,pH -Serum Na:135-147 mEq/L(Overdose:Hypernatremia >150 mEq/L การรักษา ให้diuretic,free water supplement) -Seizure (การรักษาให้ Diazepam 0.1-0.25 mg/kg) 3.ห้ า ม ผ ส ม ร ว ม กั บ ย า Amphotericin B,Amino acid,Amiodarone,Atropine,Calcium gluconate, Ciprofloxacin,Dopamine 4.flush IV line ก่อนและให้ยาระหว่าง CPR
  • 23. Streptokinase injection 1.5 mIU แนวทางการบริหารยา 1.ไม่ควรใช้ชื่อย่อ 2.ให้ยาทาง IV หรือ Intracoronary เท่านั้น (หลีกเลี่ยงการให้ IM) 3.ก่อนสั่งใช้ยา แพทย์ควรพิจารณาถึงความเสี่ยงและประโยชน์ที่จะ ได้รับ โดยเฉพาะในรายที่มีเลือดออก หรือการใช้ร่วมกับยาที่มีผลต่อการ ทำางานของเกล็ดเลือด ได้แก่ aspirin,NSAIDS,Ticlopidine 4.สั่งใช้ยาอย่างระมัดระวังในผู้ป่วยที่เคยใช้ Streptokinase ภายใน 1 ปี เพราะมีการสร้าง Streptokinase antibody ขึ้น อาจจะลด ประสิทธิภาพของยาและอาจเกิดปฏิกิริยาการแพ้ได้ บทบาทของพยาบาล 1. ควรทดสอบปฏิกิริยาการแพ้ก่อนให้ยา โดยทำา Intradermal Skin Test. Streptokinase 100 IU หากไม่พบผลบวก หลังทดสอบ 15- 20 นาที จึงสามารถให้ยาได้ 2.ควรมีการตกลงร่วมกันในการรับยาด่วนที่ห้องจ่ายยา เช่น ให้ เขียนดาวสีแดงที่หน้าชื่อยา พร้อมทั้งนำาใบสั่งยายื่นให้ถึงมือเจ้าหน้าที่ห้อง ยา พร้อมกำาชับว่า “ยาด่วน” เพื่อขอรับยาทันที 3.วิธีเตรียมยา Streptokinase 1,500,000 IU (1 vial) ละลายใน 0.9%NSS 10 ml จนหมดโดยไม่ควรเขย่า เพราะทำาให้เกิดฟอง หลังผสม ยาแล้วให้เก็บในตู้เย็นที่อุณหภูมิ 4 C ใช้ได้ภายใน 24 ชั่วโมง และที่ 25 C ใช้ได้ภายใน 8 ชั่วโมง 4.ในกรณีที่ต้องให้ยาโดยวิธี IV infusion ควรให้ยาผ่าน infusion pump และตรวจสอบเครื่องให้มีประสิทธิภาพและพร้อมใช้งาน ได้ตลอดเวลา ก่อนให้ยาควรตรวจสอบความถูกต้องของปริมาณยาที่ให้กับ เวลาที่ใช้ในการให้ยาผ่านเครื่อง infusion pump 5. Monitor BP, PTT,aPTT, Platelet count, Hematocrit ,Sign of bleeding ติดตามการเกิดภาวะเลือดออกอย่างใกล้ชิดทุก 15 นาที ใน 1 ชั่วโมงแรกที่ให้ยา หากเกิดอาการ เช่นไอเป็นเลือด เลือดออก ตามไรฟัน ปัสสาวะเป็นเลือด หรือมีจำ้าเลือดตามผิวหนัง ให้หยุดยา และอาจ พิจารณาให้ Whole blood หรือ Pack Red cell 6.ไม่ควรผสมกับยาอื่น
  • 24. Warfarin แนวทางการบริหารยา 1.ห้ามใช้ในหญิงมีครรภ์ 2.หากพบว่า มีการสั่งใช้ยา Warfarin มากกว่าวันละครั้ง หรือมีการ สั่งรับประทานยามากกว่า 10 mg/day และหากเป็นการสั่งใช้ยาในเด็ก หรือผู้สูงอายุ ให้ยืนยันความถูกต้องของใบสั่งยาว่าตรงกับผู้ป่วยอีกครั้ง 3.กรณีที่เป็นผู้ป่วยใหม่ ควรมีการประสานการติดตามค่า INR ทุกวัน จนกว่าจะคงที่ และปรับเป็นทุกสัปดาห์หรือทุกเดือนตามความเหมาะสมใน การติดตามผลการรักษา 4.โดยทั่วไปค่า INR ที่เหมาะสม จะอยู่ระหว่าง 2-3.5 หากแตกต่าง จากช่วงดังกล่าวให้ปรึกษาแพทย์ บทบาทของพยาบาล 1.ติดตามระดับเกล็ดเลือดของผู้ป่วยเสมอ 2.ช่วยดูว่ามีเลือดออกในปาก เลือดกำาเดา เลือดในปัสสาวะ จำ้าเลือด ที่ผิวหนังหรือไม่ 3.ผู้สูงอายุต้องดูแลพิเศษเพราะมีผิวบาง และเส้นเลือดเปราะ 4.เตรียมยาแก้อาการเลือดออกไม่หยุดไว้ เช่น Vitamin K 5.ห้ามผู้ปวยสูบบุหรี่ 6.แนะนำาผู้ป่วยให้บอกทันตแพทย์ทุกครั้งว่าใช้ยาต้านการแข็งตัว ของเลือดอยู่ 7.แนะนำาผู้ป่วยให้ระวังบาดแผล เช่น ควรใช้มีดโกนหนวดไฟฟ้า แทนใบมีดธรรมดา 8.เขียนชื่อยาที่ใช้ติดตัวไว้เสมอเผื่อเกิดอุบัติเหตุรุนแรง 9.สอนวิธีห้ามเลือดง่ายๆ เช่นใช้ผ้าสะอดากดที่แผล 5-10 นาที
  • 25. Morphine Sulfate (Morphine Sulfate Prolonged release 30 mg/tab หรือ injection 10mg/ml) แนวทางการบริหารยา 1.การให้ยาทางหลอดเลือดดำาควรให้แบบ continuous infusion 2.การให้ยาโดย IV infusion ควรผสมใน NSS หรือ 5%DW ความ เข้มข้น 50 mg/ 50 ml บทบาทของพยาบาล 1.ยาเม็ด Morphine tab มีชื่อการค้า MST Continus® อยู่ในรูป Prolonged release จึงห้ามบดยานี้ 2.การให้ยาทางหลอดเลือดดำาโดยตรง (IV direct) ควรฉีดช้าๆ เพราะหากให้ยาเร็วเกินไป อาจทำาให้เกิดผลข้างเคียงเพิ่มขึ้นได้ 3.ห้ามใช้ยานี้ในผู้ป่วยหอบหืด ความดันในสมองสูง ผู้ป่วยช็อค ผู้ ป่วยไตวาย 4.ผลข้างเคียงของยา จะทำาให้เบื่ออาหาร ท้องผูก วิงเวียน ตาพร่า หัวใจเต้นช้า เหงื่อออก คัน 5.ระมัดระวังเรื่องการกดการหายใจ โดยเฉพาะเมื่อให้ร่วมกับยาอื่นที่ เพิ่มฤทธิ์กดการหายใจ เช่น ยานอนหลับ ยาคลายกล้ามเนื้อ ยาคลายกังวล 6.การสังเกตอาการผู้ป่วยที่เกิดยา Overdose ให้ตรวจดูม่านตาผู้ ป่วยจะหดเป็นรูเล็กๆ ความดันเลือด ตำ่า เกิดภาวะหัวใจเต้นเร็ว (Bradycardia) 7.การแก้พิษยา overdose ให้ใช้ Naloxone (Narcan) 7.1 หากเกิดการกดหายใจ ให้จัดการช่วยการหายใจ Airway support 7.2 Naloxone 2 mg IV (สำาหรับเด็กให้ขนาด 0.01 mg/kg) และให้ซำ้าหากจำาเป็น อาจให้ได้ขนาดรวมถึง 10 mg
  • 26. Pethidine Hydrochloride (Injection 50 mg/ml) แนวทางการบริหารยา 1.บริหารยาได้ทั้งIM , IV และ SC 2.กรณีฉีดเข้าหลอดเลือดดำาให้เจือจางก่อนแล้วฉีดช้าๆ (10 mg/ml) 3.การแก้พิษยา overdose ขั้นแรกหากเกิดการกดหายใจ ให้ จัดการช่วยการหายใจ Airway support หลังจากนั้นใช้ Naloxone (Narcan) 2 mg I.V. (สำาหรับเด็กให้ขนาด 0.01 mg/kg) และให้ชำ้า หากจำาเป็น อาจให้ได้ขนาดรวมถึง 10 mg 4.ไม่ควรใช้ในหญิงมีครรภ์ เนื่องจากยาสามารถผ่านรก และส่งผล ต่อการหายใจและกดประสาทของทารกได้ 5.ควรหลีกเลี่ยงหรือใช้อย่างระมัดระวังในผู้ป่วย COPD ,โรค ตับ,การทำางานของไตเสียไป บทบาทพยาบาล 1.ตรวจสอบการเปลี่ยนสีของยาและสารแปลกปลอมในผลิตภัณฑ์ ก่อนฉีด 2.ติดตามภาวะ Overdose ของยา จากการสังเกตอาการต่างๆ ซึ่ง แสดงภาวะต่อไปนี้ CNS depression, กดการหายใจ, รูม่านตาหด, pulmonary edema, chronic tremor, อาการชัก (seizure) 3.การแก้พิษ ให้ใช้ Naloxone (Narcan) 3.1 หากเกิดการกดการหายใจ ให้จัดการช่วยการหายใจ Airway support 3.2Naloxone 2 mg IV (สำาหรับเด็กให้ขนาด 0.01 mg/kg ) และให้ซำ้าหากจำาเป็ฯ อาจให้ได้ขนาดรวมถึง 10 mg
  • 27. Oxytocin (Synto ® , Injection 10 IU/ 1 ml) แนวทางการบริหารยา 1.เพื่อช่วยในการคลอด (Induction or stimulation labor): เติม oxytocin 10 units ใน 0.9% NSS หรือใน LRS 1000 mL ให้ได้ ปริมาณของ oxytocin 10 milliunits/minute ผสมสารละลายให้เข้า กัน (ฉีด I.V. ต้องใช้ infusion pump set) 2. สำาหรับรักษาอาการเลือดออกหลังคลอด (Postpartum bleeding): เติม oxytocin 10-40 units ใน I.V. infusion Dose สูงสุด 40 units/1000 mL. 3.สำาหรับห้ามเลือดในรายที่เกิดการแท้ง (Adjuctive treatment of abortion) เติม oxytocin 10 units ใน 500 mL. ของ saline solution หรือ D5W 4.เก็บที่อุณหภูมิ 2-8 °C (36-46°F) ห้ามแช่แข็ง ยามีอายุได้นาน 2 ปี เมื่อเก็บที่อุณหภูมิไม่เกิน 25 °C และได้นาน 3 ปี ที่อุณหภูมิ 2-15 °C 5.ทำาให้เกิด water intoxication การแก้พิษคือ หยุดยา และให้ยา ขับปัสสาวะ เพื่อเร่งการขับถ่ายยานี้ บทบาทพยาบาล 1.ตรวจวัดระดับสารนำ้าที่ให้เข้าไป เนื่องจาก oxytocin มีฤทธิ์ antidiuretic จะทำาให้การดูดซึมนำ้ากลับจากกรวยไตเพิ่มขึ้นได้ เกิด อาการ water intoxication ที่รุนแรง และอาการชักโคม่าจนถึงเสียชีวิต เกิดขึ้นได้ในผู้ป่วยที่ได้รับยาโดยปล่อยเข้าหลอดเลือดช้าๆ นานกว่า 24 ชั่วโมง 2.ติดตามดูอาการผู้ป่วยอย่างใกล้ชิดหากเกิดการหดเกร็งของมดลูก มากเกินไป การไหลเวียนของเลือดเข้ามดลูกไม่ดี มดลูกถูกทำาลาย ผู้ป่วย อาจเกิดอาการชัก รีบแจ้งแพทย์ทันที
  • 28. Misoprostol tab (Cytotec® 250mcg/tab) แนวทางการบริหารยา 1.การใช้ยาต้องอยู่ภายใต้การควบคุมดูแลของแพทย์อย่างใกล้ชิด 2.ผลข้างเคียงที่พบได้ คือ กระตุ้นการบีบตัวของมดลูก ทำาให้ปวด เกร็งบริเวณช่องท้องส่วนล่างหรือบริเวณกระเพาะอาหาร มีเลือดออกบริเวณ ช่องคลอด อาจมีอาการปวดศีรษะ ผลต่อระบบทางเดินอาหาร เช่น ปวดท้อง ท้องเสีย ท้องผูก dyspepsia คลื่นไส้ อาเจียน 3.อาการเมื่อยาเกินขนาด คือ ปวดท้อง หัวใจเต้นช้า ท้องเสีย dyspepsia (หายใจลำาบาก) มีไข้ ความดันโลหิตตำ่า ใจสั่น ง่วง ชัก สั่น (tremor) 4.การรักษาเมื่อใช้ยาเกินขนาด ให้รักษาตามอาการไม่มีการรักษาที่ จำาเพาะเจาะจง 5.monitoring parameters คือ การบีบตัวของมดลูก อาการปวด เกร็งที่ช่องท้อง ผลทางระบบทางเดินอาหาร อัตราการเต้นของหัวใจ ความดันโลหิต
  • 29. Methylergometrine (Methergin ® Injection 0.2 mg/ml) แนวทางการบริหารยา 1.การฉีดเข้ากล้าม (I.M.) 0.2mg. ถ้าจำาเป็นให้ยาซำ้าได้ ทุก 2-4 ชั่วโมง แต่ไม่ควรให้ยาเกิน 5 ครั้ง ส่วน I.V.: dose เหมือนกับ I.M. แต่ ต้องระมัดระวัง ความดันเลือดที่อาจะสูงผิดปกติเฉียบพลัน และการทำาลาย หลอดเลือดที่ไปเลี้ยงสมอง (cerebrovascular ccidents) 2. อาการพิษที่สำาคัญ คือ ชักและเนื้อตายเน่า ซึ่งเกิดได้มากที่นิ้วมือ และนิ้วเท้า อาการอื่นๆ ได้แก่ อาเจียน ท้องร่วง เวียนศีรษะ ความดัน เลือดเพิ่มหรือลด ชีพจรอ่อน การแข็งตัวของเลือดเร็วผิดปกติ การแก้พิษ ทำาได้ดังนี้ - ล้างท้องหรือทำาให้อาเจียนทันที หรือให้รับประทาน activated charcoal และยาระบาย magnesium sulfate - ถ้ามีอาการชักควรให้ยาระงับการชัก เช่น diazepam เข้า I.V. - แก้ไขอาการเลือดแข็งตัวเร็วผิดปกติ โดยให้ heparin และ อาจให้ยาขยายหลอดเลือด เช่น tolazoline 3.เก็บในภาชนะปิดสนิทแน่น ในบรรยากาศของก๊าซไนโตรเจนหรือ ก๊าซที่เหมาะสม ป้องกันอากาศและแสง เก็บที่อุณหภูมิไม่เกิน 8°C บทบาทพยาบาล 1.ถ้าสารละลายใน ampules เกิดการเปลี่ยนสีเป็นไม่มีสีไม่ควรใช้ 2.ตรวจวัดความดันโลหิตเป็นระยะๆ เนื่องจากอาการไม่พึงประสงค์ อาจพบอย่างเฉียบพลันและรุนแรง คือภาวะความดันเลือดสูง ซึ่งอาจเกิด เพราะ ผู้ป่วยมีภาวะเป็นพิษแห่งครรภ์ มีประวัตความดันเลือดสูง จากการ ฉีดยาเข้า I.V. หรือให้ยาชาเฉพาะที่ๆมี ยาทำาให้หลอดเลือดหดตัวผสมอยู่ ด้วย อาการเหล่านี้แก้ไขได้ด้วยการฉีด Chlorpromazine เข้า I.V.
  • 30. Terbutaline inj( Bricanyl®)(0.5 mg/ml) แนวทางการสั่งใช้ยา 1.ขนาดยาที่ใช้ในทางสูตินรีเวช คือ 0.25 mg ฉีด subcutaneous ให้ทุก 1-6 ชั่วโมง หรือให้ IV infusion 0.01 mg/min อาจเพิ่มขนาดอีก 0.005 mg/min ทุก 10 นาทีจนกระทั่งการ หดตัวของกล้ามเนื้อมดลูกหยุดหรือขนาดยาสูงสุด 0.025 mg/min 2.ห้ามใช้ในผู้ป่วยที่มี cardiac arrhythmias ที่เกี่ยวข้องกับหัวใจ เต้นไว (tachycardia) 3.ผลข้างเคียงที่พบได้บ่อย คือ ใจสั่น หัวใจเต้นไว 4.อาการเมื่อยาเกินขนาด คือ เจ็บหน้าอก หัวใจเต้นผิดจังหวะ มึนงง ปากแห้ง เหนื่อย ปวดศีรษะ ความดันโลหิตสูงหรือตำ่า นำ้าตาลในเลือดสูง โปแตสเซียมในเลือดตำ่า นอนไม่หลับ คลื่นไส้ สั่น (tremor) หัวใจเต้นไว มากถึง 200 ครั้ง/min 5.monitoring parameters คือ ระดับโปแตสเซียมในเลือด อัตรา การเต้นของหัวใจ ความดันโลหิต อัตราการหายใจ
  • 31. Sulprostone inj (Nalador® 500 mcg/amp) แนวทางการบริหารยา 1.การรักษาที่เริ่มด้วยยานี้ ต้องทำาให้จบลงด้วยการสิ้นสุดของการตั้ง ครรภ์ จึงแนะนำาให้ขูดมดลูกภายหลังการตั้งครรภ์สิ้นสุดเสมอ 2.ข้อห้ามใช้ : โรคหอบหืด หลอดลมอักเสบและหดเกร็ง อาการขั้น แรกของโรคหัวใจ ความดันโลหิตสูงอย่างรุนแรง ตับหรือไตทำางานผิดปกติ รุนแรง โรคเบาหวานชนิด decompensated อาการชักที่เกิดจากสมอง ต้อหิน คอพอกเป็นพิษ การอักเสบของอุ้งเชิงกรานชนิดเฉียบพลัน ลำาไส้ อักเสบเป็นแผล แผลในกระเพาะอาหารเฉียบพลัน โรคโลหิตจางชนิด sickle-cell Thalassaemia 3.อาการข้างเคียง : คลื่นไส้ อาเจียน อาการหดเกร็งตัวของอวัยวะ บริเวณลิ้นปี่และสะดือ ท้องเสีย มึนงง ปวดศีรษะ หลอดลมหดเกร็ง มีแรงดัน การไหลเวียนเลือดของปอด (ระยะรุนแรงอาจมีการบวมของเนื้อเยื่อปอด) บทบาทของพยาบาล 1.ให้ยาโดยการหยดเข้าหลอดเลือดดำา (ผสมยา Sulprostone 500 mcg ในนำ้าเกลือ 250 ml) 2.ไม่ควรฉีดยาทั้งหมดครั้งเดียว (bolus) เนื่องจากการให้ยาครั้ง เดียวอาจทำาให้ระดับยาในพลาสมาสูงอย่างรวดเร็วซึ่งมีอันตรายจากการ เพิ่มแรงดันในการไหลเวียนของเลือดจากหัวใจไปปอด 3.ขนาดและวิธีการให้ยาขึ้นอยู่กับข้อบ่งใช้ ดังนี้ -การชักนำาให้เกิดการสิ้นสุดการตั้งครรภ์ในสภาวะที่มีพยาธิสภาพ หรือการชักนำาให้เกิดการสิ้นสุดของการตั้งครรภ์ในกรณีที่มีทารกตายใน ครรภ์: ให้ยา Sulprostone โดยใช้อัตราเร็ว 100 mcg/hr (ประมาณ 1.7 mcg/min หรือ 17 หยด/min) หยดได้นาน 10 hr หากได้ผลยังไม่ เป็นที่พอใจอาจเพิ่มถึง 80 หยด/min (ประมาณ 500 mcg/hr หรือ 8.3 mcg/min) -การรักษาอาการตกเลือด เนื่องจากมดลูกไม่หดตัวหลังการคลอด บุตร: ให้ยา Sulprostone โดยใช้อัตราเร็ว 500 mcg ในเวลา 30-120 min (ประมาณ 40-160 หยด/min) ถ้าเลือดยังไม่หยุดหรือไม่ลดลงอย่าง เห็นได้ชัด ค่อยๆ เพิ่มอัตราการหยดให้เร็วขึ้น (สูงสุดไม่เกินประมาณ 330 หยด/min) 4.ควรมีการตรวจหัวใจและระบบไหลเวียนเลือด เช่น ความดันโลหิต อัตราการเต้นของหัวใจ อุณหภูมิ การหายใจ ปริมาณเลือดที่ออกมาทาง ช่องคลอด อาการปวดท้อง คลื่นไส้อาเจียน
  • 32. Acetazolamide (Diamox® , 250 mg/tab) บทบาทของพยาบาล 1 1.ห้ามใช้ในผู้ที่แพ้ยากลุ่มซัลโฟนาไมด์ ผู้ป่วยที่มีระดับโซเดียมและ โปแตสเซียมในเลือดตำ่า ผู้ป่วยที่ เป็นโรคตับหรือไตวาย 2.ควรระวังในผู้ป่วยโรคเบาหวาน โรคปอดเรื้อรัง และผู้ป่วยที่มีแนว โน้มจะเกิดภาวะเลือดเป็นกรด 2 3.ผลข้างเคียงที่พบได้ คือ เบื่ออาหาร ชาปลายมือ ปลายเท้า รอบๆ ปาก หรือเป็นเหน็บ กระหายนำ้า และปัสสาวะมากผิดปกติ ง่วง ปวดศีรษะ สับสน การใช้ยานี้เป็นเวลานาน อาจทำาให้มีการสูญเสียโปแตสเซียมและโซเดียม เกิดภาวะเลือดเป็นกรด และ มีระดับโปแตสเซียมตำ่าได้ เกิดนิ่วในทางเดินปัสสาวะ 3 4.หากมีผื่น เลือดออกในปัสสาวะ ปวดเวลาปัสสาวะ ตัวเหลือง หรือ ตาเหลือง ให้พบแพทย์ทันที 4 5.ควรรับประทานนำ้าอย่างน้อย 1.5 – 2.5 ลิตรต่อวัน เพื่อลดความ เสี่ยงต่อการเกิดนิ่วที่ไต
  • 33. Mannitol inj (20%w/v ขนาด 100 และ 500 ml) แนวทางการบริหารยา ใช้หยดเข้าหลอดเลือดดำาเท่านั้น หากใช้ลดความดันลูกตา ระยะเวลา การให้คือ 30 – 60 นาที บทบาทของพยาบาล 5 1.ไม่ควรใช้ร่วมกับ whole blood เพราะจะทำาให้เม็ดเลือดแดงแตก 6 2.ห้ามใช้เมื่อสารละลายมีการตกตะกอน ซึ่งการเติมอิเล็กโตรไลท์อื่น อาจทำาให้สารละลายตกตะกอน ได้ 7 3.ใช้อย่างระมัดระวังในหญิงตั้งครรภ์ ผู้ป่วยโรคหัวใจที่ค่อนข้าง รุนแรง ในผู้ป่วยที่ปัสสาวะไม่ออก (Anuria) และในผู้ป่วยที่มีภาวะขาดนำ้า (Dehydration) 8 4.ไม่ควรใช้ยานี้ในผู้ป่วยที่มีเลือดคั่งในปอดหรือมีนำ้าคั่งในปอด เลือดออกในสมองและโรคหัวใจล้ม เหลว 9 5.ควรหมั่นตรวจสอบบริเวณที่ให้ยา เนื่องจากอาจเกิดการรั่วของยา ทำาให้เกิดเนื้อตายได้ 10 6.ผลข้างเคียง ได้แก่ คลื่นไส้ อาเจียน กระหายนำ้า ปวดศีรษะ มึนงง สั่น มีไข้ หัวใจเต้นแรง เจ็บหน้าอก ภาวะขาดสมดุลของของเหลวและเกลือแร่ในร่างกาย ขาดนำ้า อาจเกิดความ ดันเลือดสูงหรือตำ่าได้ 11 7.อาการแสดงของภาวะขาดนำ้าและการขาดสมดุลของเกลือแร่ : ปากแห้ง กระหายนำ้า อ่อนเพลีย ปวดกล้ามเนื้อ 12 8.Monitor: renal function, daily fluid input/output, serum electrolytes, serum and urine osmolality
  • 34. Aminophylline , Theophylline (Aminophylline 100 mg/tab หรือ injection 250 mg/10ml, (Theophylline sustained release 200 mg/tab หรือ elixir 50 mg/5ml ขนาด 60 ml,) แนวทางการบริหารยา 1. การให้ยาทางหลอดเลือดดำาควรให้แบบ continuous infusion 2.การให้ยาทางหลอดเลือดดำา ควรฉีดอย่างช้าๆ อย่างน้อย 5 นาที เนื่องจากการฉีดเร็วจะทำาให้หัวใจหยุดเต้นได้ 3.ห้ามฉีดยาเข้ากล้ามเนื้อ เพราะผู้ป่วยจะปวดมาก บทบาทของพยาบาล 1.อาการข้างเคียงที่พบได้ ดังนี้ อาการที่เกิดขึ้น ข้อปฏิบัติและการแก้ไข - คลื่นไส้ อาเจียน มีแผลในกระเพาะ อาหาร ท้องเป็นตะคริว สูญเสียความ รู้สึกอยากอาหาร - ให้รับประทานยาพร้อมอาหาร หรือ หลังอาหารทันที หรือ พร้อม ยาลดกรด หรือ พร้อมนำ้า 1 แก้ว ถ้าปฏิบัติตามนี้แล้วยังมีปัญหาอยู่ให้ พบแพทย์ - ปวดศีรษะ นอนไม่หลับ มีอาการตื่น เต้น หน้ามืด ปัสสาวะบ่อย มือและนิ้ว กระตุก - ถ้าอาการเหล่านี้รุนแรง ให้พบ แพทย์ - การสั่นของหัวใจ หัวใจเต้นเร็ว หายใจเร็ว นอนไม่หลับ - พบแพทย์ เพื่อปรับขนาดยา - ความดันโลหิตตำ่า หัวใจเต้นไม่เป็น จังหวะ ชัก - พบแพทย์ทันที - ผื่นขึ้นที่ผิวหนัง (อาการแพ้) - พบแพทย์ทันที 2.ไม่ควรใช้ยา aminophylline ร่วมกับยา theophylline เนื่องจากอาจทำาให้เกิดอาการตื่นเต้น นอนไม่ หลับ คลื่นไส้ อาเจียน หรือการได้รับขนาดยาเกิน 3.หญิงตั้งครรภ์ หญิงให้นมบุตร ผู้ป่วยโรคต้อหิน มะเร็ง โรคต่อมธัย รอยด์ โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคตับ โรคไต โรคหัวใจ โรค หลอดเลือด ควรบอกแพทย์ถึงสภาวะของตนเองก่อนใช้ยาตัวนี้
  • 35. Desferoxamine (Desferal®) (500 mg/ vial) แนวทางการบริหารยา 1.การให้ยาโดยหยดทางหลอดเลือดดำาอย่างเร็วอาจทำาให้ความดัน โลหิตตำ่าลง และเกิดช๊อกได้ (เช่นหน้าแดง คอแดง หัวใจเต้นเร็วผิดปกติ เป็นลม หมดสติ และผื่นลมพิษ) 2.การให้ยา desferal ในขนาดสูง และมีระดับ Ferritin ตำ่าร่วม ด้วย อาจนำาไปสู่การรบกวนการมองเห็น และการได้ยิน 3.การให้ยาขนาดสูงเกินมากๆ ทางหลอดเลือดดำา อาจทำาให้เกิด อาการผิดปกติเฉียบพลันเกี่ยวกับทางเดินหายใจ 4.การรักษาในเด็กอายุตำ่ากว่า 3 ปี ต้องมีการติดตามดูการเจริญ เติบโตของเด็กอย่างระมัดระวัง และขนาดยาที่ให้เฉลี่ยต่อวันไม่ควรเกิน 40 mg/kg ควรมีการชั่งนำ้าหนักและวัดส่วนสูงทุก 3 เดือน บทบาทพยาบาล 1.การเตรียมสารละลายให้ใช้นำ้ากลั่นสำาหรับฉีดยา (sterile water for injection)เท่านั้น เป็นตัวทำาละลายผงแห้ง โดยฉีดนำ้ากลั่น 5 ml ลง ในขวดยา หลังจากนั้นสามารถนำาสารละลาย desferal ไปเจือจางต่อโดย ผสมกับสารละลายที่ใช้สำาหรับหยดที่ใช้อยู่เป็นประจำา (0.9% NaCl , Ringer’s solution,Ringer lactate solution, glucose 5%) 2.สามารถให้ยาโดยหยดเข้าใต้ผิวหนัง แต่วิธีโดยทั่วไปให้หยดทาง หลอดเลือดดำาอย่างต่อเนื่อง (Intravenous Infusion) ระวังเรื่องการเร่ง อัตราการหยดยา เพราะทำาให้ความดันโลหิตตำ่าลง และ shock ได้ อัตรา การหยดที่แนะนำาคือ 15 mg/kg/h นาน  4-6 ชั่วโมง 3.การหยดยาทางหลอดเลือดดำาระหว่างถ่ายเลือด ไม่ควรใส่ สารละลาย desferal ลงไปในถุงเลือดโดยตรง แต่อาจใส่เข้าไปทางสายให้ เลือดโดยใช้ Y adapter 4.การเก็บรักษา : เก็บในตู้เย็น ควรใช้ยาที่ผสมเสร็จทันที ยาที่ผสม แล้วสามารถเก็บไว้ได้ประมาณ 24 ชั่วโมงที่อุณหภูมิห้อง (25 °C)
  • 36. Phenobarbital (Phenobarb ® , Gardenal Sodium ® ) Elixir 20mg/5 ml ,Tablet 30 mg, 60 mg ,Injection 20 % w/v แนวทางการบริหารยา 1.รูปแบบ Injection สามารถให้ได้ทั้ง IM, IV และ SC 2.ควรปรับขนาดยาในผู้ป่วยโรคไต ถ้า Clcr < 10 ml/min ควรให้ ทุก 12-16 ชั่วโมง 3.ยามีอันตรกิริยากับยาอื่นหลายตัว เนื่องจากผ่านการเมตาบอลิสึม โดย enzyme หลายชนิด เช่น CYP-450, 2B6 และ 2D6 เป็นต้น ยกตัวอย่างเช่น มีผลลดฤทธิ์ของยา warfarin, griseofluvin และ oral contraceptive เป็นต้น นอกจากนี้ ยังสามารถเพิ่มฤทธิ์ยาบางตัว เช่น Valproic acid ได้ 4.เก็บรักษายาในที่ปราศจากแสง 5.การได้รับยาเกินขนาด ถ้ามีสติพยายามทำาให้อาเจียน ถ้าหมดสติ ให้ล้างท้อง หรือ activate charcoal 30 g และนำ้า 1 แก้ว ให้ยาถ่ายให้ ขับยาออกเร็วขึ้น เร่งการขับปัสสาวะ ในรายที่เกิด shock อาจต้องทำา hemodialysis หรือ hemoperfusion พยายามตะแคงตัวสลับข้างทุก 30 นาที บ ท บ า ท พ ย า บ า ล 1.เนื่องจากยามี Therapeutic index อยู่ในช่วงแคบ ดังนั้นจึงควร ติดตาม vital sign, mental status และ seizure activity อย่างใกล้ ชิด เพื่อป้องกันหรือแก้ไขอาการผิกปกติที่เกิดขึ้นได้ทันที
  • 37. Phenytion injection (250 mg./ 5 ml.) แนวทางการบริหารยา ห้ามใช้ในผู้ป่วยที่มีประวัติแพ้ยา, sinus bradycardia, sinus atrial block, second and third degree A-V Block และ Adams- Stokes syndrome บทบาทของพยาบาล 1.ไม่ควรเจือจางในสารละลายที่มี dextrose เป็นส่วนประกอบ และ ไม่ควรให้ร่วมกับยาชนิดอื่นๆ เพราะอาจทำาให้ยาตกตะกอนได้ ดังนั้นจึงใช้ ตัวทำาละลายได้เฉพาะ Normal saline เท่านั้น 2.เนื่องจากยามีฤทธิ์เป็นด่าง การฉีดเข้าหลอดเลือดอาจก่อให้เกิด การระคายเคือง และทำาให้เส้นเลือดดำาบริเวณที่ฉีดยาอักเสบ ควรให้นำ้า เกลือก่อนและหลังตรงบริเวณเส้นเลือดที่ฉีดยาเข้าไป 3.Side effects ความดันโลหิตตำ่า,หัวใจเต้นช้า,หัวใจเต้นไม่เป็น จังหวะ 4. การให้ยาทางหลอดเลือดดำา ต้องควบคุม vital constants และ EKG ควบคู่กันไป 5.ยามี Therapeutic index แคบ ต้องติดตามภาวะ Overdose จากอาการลูกตากระตุก Ataxia สั่น ง่วงนอน พูดจาติดขัด คลื่นไส้อาเจียน ควรแก้ไขโดยการลดขนาดยา หรือหยุดการให้ยา อาจให้ออกซิเจน เพื่อ ช่วยในการหายใจ หรือถ่ายเลือด และดูแลผู้ป่วยอย่างใกล้ชิด 6.ระวังการให้ยาร่วมกับ Dopamine เพราะทำาให้ความดันตำ่า หัวใจ เต้นช้าลง อาจเกิดภาวะหัวใจหยุดเต้น และการใช้ร่วมกับ Lidocaine injection จะกดการทำางานของหัวใจ
  • 38. Octreotide Acetate ( Sandostatin ® , Injection 0.1 mg/ml ) แนวทางการบริหารยา 1.สำาหรับ esophageal varice ใช้ IV bolus: 25-50 mcg ตาม ด้วย IV infusion: 25-50 mcg/hr 2.การหยดเข้าหลอดเลือดดำา ควรเจือจางด้วยสารละลาย normal saline ปราศจากเชื้อมากกว่า สารละลาย dextrose เพราะยามีผลต่อการเกิด glucose homeostasis 3.ละลายยา 0.5 mg ในสารละลาย normal saline 60 ml ควรหยดสารละลายเข้าหลอดเลือดดำาโดยใช้ Infusion pump ในความ เข้มข้นตำ่า ๆ ควรให้มากกว่า 15-30 นาที สำาหรับ iv push ควรให้ มากกว่า 3 นาที 4.เข้ากันไม่ได้กับสารละลายของอาหารที่ให้ทางสายยาง (Parenteral Nutrition) เพราะจะเกิดการสร้าง glycosyl octreotide conjugate 5.สารละลายที่เจือจางแล้วมีความคงตัวทางกายภาพและเคมี 24 ชั่วโมงที่อุณหภูมิห้อง (25° C )เก็บพ้นแสง และควรใช้สารละลายทันที ถ้ายังไม่ใช้ทันที ควรเก็บที่อุณหภูมิ 2-8° C จะอยู่ได้ 48 ชั่วโมง (ก่อนใช้ สารละลายควรตั้งทิ้งไว้ให้ใกล้เคียงกับอุณหภูมิห้อง) บทบาทพยาบาล 1.ควรติดตามระดับนำ้าตาลในเลือดเพราะยามีผลเปลี่ยนแปลงระดับ นำ้าตาลในเลือด 2.ควรทำาอุลตราซาวด์ตรวจถุงนำ้าดีก่อนที่จะใช้ยาและทุก 6-12 เดือน เพราะการใช้ยาระยะนานอาจก่อให้เกิดพิษในถุงนำ้าดี
  • 39. Tamoxifen tab (10 mg/tab) บทบาทของพยาบาล 13 1.ผลข้างเคียงที่รุนแรง คือ endometrial cancer, thromboembolic และ cataract formation 14 2.ตรวจดู vaginal discharge, leg swelling และ change in vision 3. สำาหรับผู้ป่วยที่มีประจำาเดือนผิดปกติ ก่อนเริ่มต้นใช้ยานี้ควรมีการ ตรวจสอบ pregnancy test เนื่อง จากยาอาจมีผลต่อทารกได้ (pregnancy category D) 15 4.ห้ามใช้ในผู้ที่มีประวัติ Deep vein thrombosis หรือ Pulmonary embolism เนื่องจากยาจะเพิ่มอุบัติ การณ์การเกิด thromboembolic event