SlideShare a Scribd company logo
1 of 43
Download to read offline
ครูฉวีวรรณ นาคบุตร โรงเรียนบ้านสวน(จั่นอนุสรณ์)ชลบุรี
ในอดีต ทางซีกโลกตะวันตกมีความเชือว่าโลกและสิงมีชีวตทัง
                                         ่            ่ ิ ้
มวลนั้นเกิดขึนด้วยอานุภาพของสิ่งเหนือธรรมชาติ จนกระทังใน
              ้                                         ่
ศตวรรษที่ 18 เมือวิทยาศาสตร์มความก้าวหน้ามากขึน มีการสร้าง
                  ่           ี                     ้
เครืองมือวิทยาศาสตร์ การศึกษาในห้องปฏิบตการประกอบกับการ
    ่                                        ัิ
เดินทางออกสารวจแผ่นดินใหม่ของชนชาติต่างๆ ทาให้เกิดข้อสงสัย
ในความเชือเดิมเรืองกาเนิดของสิ่งมีชีวตและเริมมีการเสนอแนวคิด
            ่       ่                ิ          ่
ใหม่เกียวกับเรื่องวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตทีเปลียนไปจากอดีต
        ่                                   ่ ่
                                                 ฉวีวรรณ นาคบุตร
ต่อมาในต้นศตวรรษที่ 19 เริ่มมีการบุกเบิกเรือง ่
การศึกษาซากดึกดาบรรพ์ของสิงมีชีวิตจากตัวอย่างที่เก็บ
                                  ่
จากทัวโลก จึงทาให้นกวิทยาศาสตร์ได้ขอมูลสนับสนุนกับ
       ่              ั                     ้
หลักฐานด้านอืนๆเพิ่มมากขึ้นจนทาให้เกิดแนวคิดปฏิวัติ
               ่
เกี่ยวกับวิวัฒนาการที่เชื่อว่าสิ่งมีชีวตน่าจะมีการเปลี่ยนแปลง
                                       ิ
ให้เข้ากับสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไปในแต่ละยุคสมัย
และยอมรับว่าสิงมีชีวตมีวิวัฒนาการจริง
                 ่ ิ

                                                 ฉวีวรรณ นาคบุตร
แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการของลามาร์ก
               • ชอง ลามาร์ก (Jean Lamarck, พ.ศ.
                 2287-2372) นักธรรมชาติวิทยาชาว
                 ฝรังเศส เป็นคนแรกๆทีได้นาเสนอแนวคิด
                       ่               ่
                 ปฏิวติเรืองวิวฒนาการจากการศึกษา
                         ั ่ ั
                 เปรียบเทียบลักษณะของสิงมีชีวิตในยุคนั้น
                                         ่
                 กับหลักฐานซากดึกดาบรรพ์ในพิพิธภัณฑ์
                 ลามาร์กได้นาเสนอแนวคิดเกียวกับ
                                           ่
                 วิวฒนาการทีสาคัญในสองประเด็นอันเป็น
                     ั         ่
                 ที่ถกเถียงกันอย่างแพร่หลาย

                                          ฉวีวรรณ นาคบุตร
แนวคิดของลามาร์ก ประเด็นที่ 1

   แนวคิดของลามาร์กประเด็นแรกกล่าวว่า สิงมีชวตมีแนวโน้มที่
                                              ่ ีิ
จะพัฒนาไปมีความซับซ้อนมากขึนและสิ่งมีชวตมีความพยายามที่
                             ้             ีิ
จะอยูรอดในธรรมชาติซึ่งจะส่งผลต่อการเปลียนแปลงด้านสรีระไป
     ่                                   ่
ในทิศทางนัน “หากอวัยวะใดที่มีการใช้งานมากในการดารงชีวต
            ้                                             ิ
จะมีขนาดใหญ่ ส่วนอวัยวะใดที่ไม่ใช้จะค่อยๆลดขนาดและอ่อนแอ
ลง และเสือมไปในที่สด” แนวคิดดังกล่าวนี้ เรียกว่า กฎการใช้
          ่        ุ
และไม่ใช้ (Law of use and disuse)
                                                ฉวีวรรณ นาคบุตร
แนวคิดของลามาร์ก ประเด็นที่ 2

    ประเด็นทีสองมีความเกี่ยวเนื่องต่อจากประเด็นแรกทีว่า
                 ่                                     ่
“การเปลี่ยนแปลงของสิ่งมีชีวตที่เกิดขึนจากการใช้และไม่ใช้
                                ิ       ้
นั้นจะคงอยูได้ และสิ่งมีชวิตสามารถถ่ายทอดลักษณะที่เกิด
               ่           ี
ใหม่นี้ไปสู่รุ่นลูกได้” แนวคิดดังกล่าว เรียกว่า กฎแห่งการ
ถ่ายทอดลักษณะที่ได้มาขณะมีชีวิตอยู่ (Law of
inheritance of acquired characteristic)
                                              ฉวีวรรณ นาคบุตร
ลามาร์กอธิบายแนวคิดของตนโดยยกตัวอย่างยีราฟ
        ซึงปัจจุบันมีคอและขาทียาวขึ้น
          ่                   ่




                                      ฉวีวรรณ นาคบุตร
ลามาร์กได้ใช้แนวคิดทั้งสองมาอธิบายการเปลี่ยนแปลง
รูปร่างของสิ่งมีชีวิต เช่น ลักษณะของยีราฟซึ่งมีคอยาว
ลามาร์กอธิบายว่าจากหลักฐานซากดึกดาบรรพ์ ยีราฟในอดีต
จะมีคอสั้นแต่เนื่องจากอาหารขาดแคลนไม่พอกิน จึงต้องกิน
ใบไม้จากต้นไม้สูงแทนหญ้า และเนื่องจากยืดคออย่างเดียว
นั้นยังไม่พอจึงต้องมีการเขย่งขาเพิ่มด้วย จึงทาให้ยีราฟมีคอ
และขาที่ยาวขึ้น ลักษณะที่เปลี่ยนแปลงไปนี้สามารถถ่ายทอด
สู่รุ่นลูกหลานยีราฟรุ่นต่อมา


                        ฉวีวรรณ นาคบุตร
ในสัตว์พวกงูที่เราจะไม่เห็นขาของมัน แต่หลักฐานจาก
การศึกษาโครงกระดูกพบว่ายังมีส่วนของกระดูกที่สันนิษฐาน
ว่าเป็นขาหลงเหลืออยู่ ซึ่งลามาร์กอธิบายว่า งูจะอาศัยอยู่ใน
พงหญ้ารกจึงใช้การเลื้อยพาให้ตัวเคลื่อนไป จึงไม่ต้องใช้ขา
และการเลื้อยทาให้ลาตัวยาวขึ้น เมื่อขาไม่ได้ใช้จึงค่อยๆลด
เล็กลงจนหายไป ลักษณะนี้ถ่ายทอดไปยังรุ่นต่อๆไปได้ เราจึง
เห็นว่างูรุ่นต่อมานั้นไม่มีขา

                                               ฉวีวรรณ นาคบุตร
ขางู




       ฉวีวรรณ นาคบุตร
ภาพ เปรียบลักษณะเท้าของนกที่หากินบนบกและในน้า




                                     ฉวีวรรณ นาคบุตร
จากแนวคิดของลามาร์ก ท่านเห็นด้วยหรือไม่ เพราะ
อะไร และจะมีวิธีการอย่างไรในการทดลองเพื่อพิสูจน์
แนวคิดของลามาร์ก

                   คาถามเหล่านี้เกิดขึ้นหลังจาก
                   ลามาร์กได้นาเสนอแนวคิดเกี่ยวกับ
                   วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตออกมา
                   นักวิทยาศาสตร์สมัยนั้นดูจะไม่ค่อย
                   ยอมรับแนวคิดของลามาร์กเพราะไม่
                   สามารถพิสูจน์ได้ในทุกกรณี
                                              ฉวีวรรณ นาคบุตร
เช่นในการทดลองของออกัส ไวส์มาน (August Weisman,
พ.ศ. 2377-2457) ได้ทดลองตัดหางหนู 20 รุ่นให้สั้นลง
แต่ปรากฏว่าหนูรุ่นที่ 21 ก็ยังคงมีหาง ไวส์มาน จึงได้เสนอ
แนวคิดค้านลามาร์กว่า ลักษณะที่ถ่ายทอดไปสู่รุ่นลูกหลานได้
นั้นต้องเกิดจากเซลล์สืบพันธุ์ไม่ใช่เซลล์ร่างกาย หรือหาก
ทฤษฎีของลามาร์กถูกต้อง ทาไมจึงยังมีสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวที่
ไม่ซับซ้อนเจริญอยู่ในสิ่งแวดล้อม


                                                ฉวีวรรณ นาคบุตร
ออกัส ไวส์มาน (August Weisman, พ.ศ. 2377-2457)




                                     ฉวีวรรณ นาคบุตร
อย่างไรก็ตามในปัจจุบันมีบางสถานการณ์ที่แนวคิดของ
ลามาร์กดูเหมือนจะถูกต้อง เช่น การเกิดมะเร็งบางชนิดที่
สามารถถ่ายทอดสู่ลูกหลานได้ โดยเฉพาะการค้นพบการ
ถ่ายทอดลักษณะไปยังลูกหลานโดยไม่มีการเปลี่ยนแปลง
ของสารพันธุกรรมซึ่งพบเป็นครั้งแรกในข้าวโพดและ
เรียกว่า epigenetics จากข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ที่
ก้าวหน้าไปมากในปัจจุบัน ทาให้แนวคิดของลามาร์กที่แต่
ก่อนดูเหมือนจะหมดความหมายทางวิชาการกลับมาคงอยู่
และท้าทายต่อการพิสูจน์ต่อไป

                                               ฉวีวรรณ นาคบุตร
แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการของดาร์วน
                                     ิ
       แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการที่ดูจะเป็นที่ยอมรับอย่าง
แพร่หลายมาจนถึงปัจจุบันนั้นเป็นของชาร์ลส์ ดาร์วิน (Charles
Darwin, พ.ศ. 2352-2428) นักธรรมชาติวิทยาชาวอังกฤษ ปีที่
ดาร์วินเกิดอยูในช่วงรัชสมัยของรัชกาลที่ 3 และในอีก 50 ปีต่อมา
               ่
ดาร์วินได้ตีพิมพ์หนังสือเรื่อง กาเนิดความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
โดยการคัดเลือกโดยธรรมชาติ (The Origin of Species by
Means of Natural Selection) ที่เขย่าวงการวิทยาศาสตร์และ
กระทบความเชื่อชาวตะวันตก จนได้รับการวิพากษ์วิจารณ์อย่าง
แพร่หลาย
                                                   ฉวีวรรณ นาคบุตร
ชาร์ลส์ ดาร์วิน




            ชาร์ลส์ ดาร์วิน   หนังสือกาเนิดความหลากหลายของสิงมีชีวิต
                                                            ่
                              โดยการคัดเลือกโดยธรรมชาติ
ฉวีวรรณ นาคบุตร
ดาร์วินเกิดเมื่อวันที่ 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2352 ที่เมือง
ชรูเบอรี่ (Shrewsbury) ประเทศอังกฤษ ในครอบครัวที่มี
ฐานะมั่งคั่ง บิดาของดาร์วินอยากให้เขาเรียนแพทย์แต่
เนื่องจากนั่นไม่ได้มาจากความชอบส่วนตัว เขาจึงไม่สนใจ
เรียนเพราะฝักใฝ่สนใจกับการศึกษาธรรมชาติรอบตัว และ
มักชอบเดินทางเป็นระยะทางไกลเพื่อเก็บสะสมแมลงต่างๆ
     ดาร์วินเรียนแพทย์ได้เพียงสองปีเท่านั้นก็ลาออกมา
บิดาจึงส่งให้ดาร์วินไปเรียนต่อวิชาเกี่ยวกับศาสนาที่
มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์จนจบการศึกษา
                                                   ฉวีวรรณ นาคบุตร
ในปีพ.ศ. 2374 ดาร์วนซึ่งมีอายุเพียง 22 ปี ได้รับการฝากฝัง
                         ิ
โดยศาสตราจารย์จอห์น เฮนสโลว์ (John Henslow) ให้เดินทาง
ไปกับเรือหลวงบีเกิ้ล (H.M.S.Beagle) ในฐานะนักธรรมชาติวิทยา
ประจาเรือ การเดินทางครั้งนี้เป็นโครงการของราชนาวีอังกฤษ ซึ่งมี
เป้าหมายในการเดินทางเพื่อสารวจภูมิประเทศบริเวณชายฝั่งทะเล
ของทวีปอเมริกาใต้และหมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟกซึ่งยังไม่มีใคร
                                               ิ
เคยไปสารวจมาก่อน

                                                 ฉวีวรรณ นาคบุตร
ภาพวาดเรือหลวงบีเกิล
                   ้




                       ฉวีวรรณ นาคบุตร
เส้นทางการเดินทางของเรือหลวงบีเกิล (เส้นทางตามลูกศรสีแดง)
                                 ้




                                             ฉวีวรรณ นาคบุตร
ในระหว่างการเดินทางดาร์วินได้สังเกตเห็นความหลากหลายของ
สิ่งมีชีวิตทั้งพืชและสัตว์ที่อาศัยอยู่ในสภาพแวดล้อมที่แตกต่างกัน
รวมไปถึงวิถีความเป็นอยู่ที่แตกต่างกันออกไปของกลุ่มคนในที่ต่างๆ
นอกจากนี้ระหว่างการรอนแรมอยู่ในเรือดาร์วินยังได้ศึกษาแนวคิด
ของญาติผู้ใหญ่ชื่อชาร์ลส์ ไลแอลล์ (Charles Lyell, พ.ศ. 2340-
2518) จากหนังสือเรื่อง หลักธรณีวิทยา (The Principles of
Geology) ที่กล่าวถึงการเปลี่ยนแปลงของโลกที่เกิดขึ้นอย่างค่อย
เป็นค่อยไป แม้ว่าจะโลกจะเกิดขึ้นมานานหลายพันล้านปีก็ตาม การ
เปลี่ยนแปลงนี้ก็ยังคงเกิดขึ้นอยู่เสมอ ซึ่งนี่เองนับเป็นการจุด
ประกาย ความสงสัยของดาร์วินว่าสิ่งมีชีวิตเองก็น่าจะมีการ
เปลี่ยนแปลงได้เช่นเดียวกับเปลือกโลกเช่นกัน
                                                     ฉวีวรรณ นาคบุตร
หนังสือเรื่อง หลักธรณีวิทยาของชาร์ลส์ ไลแอล

ชาร์ลส์ ไลแอล
                                              ฉวีวรรณ นาคบุตร
ในปี พ.ศ.2378 เรือหลวงบีเกิ้ลเดินทางมาถึงหมู่เกาะกาลา
ปากอส ซึ่งเป็นหมู่เกาะที่อยู่ห่างจากแผ่นดินทวีปอเมริกาใต้
ไปทางตะวันตกประมาณ 960 กิโลเมตร ที่หมู่เกาะนี้ดาร์วิน
ได้พบสิ่งมีชีวิตทั้งพืชและสัตว์หลากชนิดที่ไม่เคยพบจากที่ใด
มาก่อน เขาได้สังเกตนกฟินช์ (finch) ที่พบแพร่กระจายอยู่
ตามหมู่เกาะต่างๆ ถึง 14 ชนิด ในขณะที่บนแผ่นดินใหญ่เขา
พบเพียง 1 ชนิด
                                                ฉวีวรรณ นาคบุตร
ดาร์วนพบว่านกฟินช์แต่ละชนิดมีขนาดและรูปร่างของ
           ิ
จงอยปาก ที่แตกต่างกันตามความเหมาะสมแก่การที่จะใช้กิน
อาหารแต่ละประเภท ตามสภาพแวดล้อมของเกาะนั้นๆ
ดาร์วินเชื่อว่าบรรพบุรุษของนกฟินช์บนเกาะกาลาปากอส
น่าจะสืบเชื้อสายมาจากนกฟินช์บนแผ่นดินใหญ่ และเมื่อมีการ
เปลี่ยนแปลงทางธรณีวิทยาจนทาให้หมู่เกาะแยกออกจาก
แผ่นดินใหญ่ ทาให้เกิดการแปรผันทางพันธุกรรมของ
บรรพบุรุษนกฟินช์ เมื่อเวลายิ่งผ่านยาวนานขึ้นทาให้เกิด
วิวัฒนาการกลายเป็นนกฟินช์สปีชีส์ใหม่ขึ้น
                                             ฉวีวรรณ นาคบุตร
หมู่เกาะกาลาปากอส




ฉวีวรรณ นาคบุตร
จงอยปากของนกฟินช์ทแตกต่างกันตามความเหมะสมในการกินอาหาร
                  ี่




                                             ฉวีวรรณ นาคบุตร
ภายหลังจากการเดินทางกับเรือหลวงบีเกิ้ลยาวนานถึง 5 ปี เมื่อเดินทาง
กลับมาถึงประเทศอังกฤษ ดาร์วนจึงได้เริ่มศึกษาเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิตที่เขาได้
                                   ิ
บันทึกและเก็บรวบรวบข้อมูลมายาวนานตลอดการเดินทาง รวมถึงการอ่าน
บทความของโทมัส มัลทัส (Thomas Malthus, พ.ศ. 2309-2377) ที่
กล่าวถึงอัตราการเพิ่มของประชากรว่ามีอัตราที่เร็วกว่าการเพิ่มของอาหาร
หลายเท่า โดยที่อัตราการเกิดของประชากรเพิ่มในอันดับเรขาคณิต ส่วน
อัตราการเพิ่มของอาหารเพิ่มตามอันดับเลขคณิต จากบทความนี้ทาให้
ดาร์วินคิดว่าการที่สิ่งมีชวิตนันมีจานวนเกือบคงที่แทนที่จะมีจานวนลูกหลาน
                          ี ้
เพิ่มขึ้นเรื่อยๆนันน่าจะต้องมีปจจัยบางอย่างมาจากัดจานวนประชากรของ
                  ้             ั
สิ่งมีชวิต
        ี


                                                             ฉวีวรรณ นาคบุตร
โทมัส มัลทัส กับแนวคิดอัตราการเพิมของประชากร
                                 ่




                                      ฉวีวรรณ นาคบุตร
จากข้อมูลข้างต้นนี้เองทาให้ดาร์วินเริ่มเข้าใจเกี่ยวกับกลไกการ
       เกิดวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตที่เขาคิดว่าสิ่งมีชีวิตมีความหลากหลาย
       ตามธรรมชาติ และปัจจัยทางธรรมชาติ เช่น ปริมาณอาหารและน้า
       ที่จากัด ทาให้สิ่งมีชีวิตตัวที่เหมาะสมเท่านั้นที่จะมีชีวิตอยู่รอด
       (survival of the fittest) และถ่ายทอดลักษณะที่เหมาะสมกับ
       สภาพแวดล้อมนั้นไปสู่ลูกหลาน แนวคิดของดาร์วนดังกล่าว เรียกว่า
                                                           ิ
       ทฤษฏีการคัดเลือกโดยธรรมชาติ (theory of natural
       selection)

ฉวีวรรณ นาคบุตร
ในเวลาต่อมามีนกธรรมชาติวิทยาชาวอังกฤษอีกคนหนึ่งคือ อัลเฟรด รัสเซล
                ั
วอลเลซ (Alfred Russel Wallace, พ.ศ. 2366 - 2456) ผู้ศึกษาความ
หลากหลายของสิ่งมีชีวิตแถบหมู่เกาะอินโดนีเซีย เขาได้เขียนจดหมายเล่าให้
ดาร์วินฟังถึงแนวคิดเรื่องทฤษฎีวิวัฒนาการของเขาเองซึ่งตรงกับแนวคิด
ของดาร์วนในเรื่องของกลไกของวิวัฒนาการที่เกิดจากการคัดเลือกโดย
          ิ
ธรรมชาติ ในปี พ.ศ.2401 ทั้งสองจึงได้นาเสนอผลงานดังกล่าวนี้ในที่ประชุม
วิทยาศาสตร์ และในปี พ.ศ.2402 ดาร์วินก็ได้ตีพิมพ์หนังสือ เรื่อง กาเนิด
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตโดยการคัดเลือกโดยธรรมชาติ (The Origin
of Species by Means of Natural Selection)

                                                       ฉวีวรรณ นาคบุตร
ซึ่งแม้ในเนื้อหาจะขัดต่อความเชื่อของชาวตะวันตกอย่างรุนแรง
เพราะดาร์วินแสดงให้เห็นว่าสิ่งมีชีวิตมีการเปลี่ยนแปลงมาจาก
บรรพบุรุษ และนาไปสู่ความคิดที่ว่ามนุษย์เองก็ไม่ได้มหน้าตาอย่างที่
                                                    ี
เห็นในปัจจุบันมาตั้งแต่แรกเริ่ม แต่เนื่องด้วยข้อมูลและหลักฐาน
ประกอบที่เป็นไปตามระเบียบวิธีทางวิทยาศาสตร์ทาให้สิ่งที่ดาร์วน ิ
เสนอได้รับความสนใจและเป็นที่ถกเถียงกันอย่างกว้างขวางเช่นกัน



                                                    ฉวีวรรณ นาคบุตร
อัลเฟรด วอลเลซ และชาร์ลส์ ดาร์วิน

                                ภาพการ์ตูนล้อเลียนดาร์วินในแมกกาซีนสมัยนั้น

                                                           ฉวีวรรณ นาคบุตร
แอร์นสต์ ไมเออร์ (Ernst Mayr, พ.ศ. 2447-2548) นักชีววิทยาวิวัฒนาการชาว
เยอรมัน ได้วิเคราะห์และสรุปทฤษฎีการคัดเลือกโดยธรรมชาติของดาร์วินที่ปรากฏอยู่ใน
หนังสือ The Origin of Species by Means of Natural Selection โดย
สามารถสร้างข้อสรุปทฤษฏีของดาร์วินในประเด็นหลักๆ ดังนี้
       1. สิ่งมีชีวิตย่อมมีลักษณะที่แตกต่างกันบ้างเล็กน้อยในสปีชีส์เดียวกัน เรียกความ
แตกต่างนี้ว่า การแปรผัน (variation)
       2. สิ่งมีชีวิตมีจานวนประชากรแต่ละสปีชีส์ในแต่ละรุ่นจานวนเกือบคงที่ เพราะมี
สิ่งมีชีวิตจานวนหนึ่งตายไป
       3. สิ่งมีชีวิตต้องมีการต่อสู้เพื่อความอยู่รอด หากลักษณะที่แปรผันของสิ่งมีชีวิตนั้น
เหมาะสมกับสิ่งแวดล้อม สิ่งมีชีวิตนั้นจะสามารถดารงชีวิตอยู่และถ่ายทอดลักษณะดังกล่าว
ไปยังลูกหลาน
       4. สิ่งมีชีวิตตัวที่เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมที่สุดจะอยู่รอด และสามารถดารง
เผ่าพันธุ์ไว้ ทาให้เกิดความแตกต่างไปจากสปีชีส์เดิมมากขึ้นจนในที่สุดเกิดสิ่งมีชีวิตสปีชีส์
ใหม่
                                                                      ฉวีวรรณ นาคบุตร
ท่านจะอธิบายเกี่ยวกับการที่ยีราฟคอยาวโดยใช้
        ทฤษฎีของดาร์วินได้อย่างไร?




                                    ฉวีวรรณ นาคบุตร
ช่วงเวลาหลังจากที่ดาร์วินได้ออกหนังสือ The Origin of
Species มีผู้ยอมรับและเชื่อใน Darwinism อย่างมาก ผู้ที่
สนับสนุนแนวคิดของดาร์วินที่สาคัญได้แก่ ที เอช ฮักซ์เลย์ (T.H.
Huxley) เฮอร์เบิร์ท สเปนเซอร์ (Herbert Spencer) จอร์จ
โรแมนส์ (George Romans) แอร์นสต์ เฮคเคล (Ernst
Haeckel) และ ออกัส ไวส์มาน (August Weisman) ซึ่งยุคที่
ความเชื่อใน Darwinism รุ่งเรืองนั้นเรียกว่ายุคโรแมนติค อยู่
ระหว่าง พ.ศ. 2403-2446

                                                  ฉวีวรรณ นาคบุตร
ไม่นานหลังจากการเสนอทฤษฎีของดาร์วิน ก็มีผู้คนพบซากดึกดาบรรพ์ของ
                                                   ้
สัตว์เลื้อยคลานที่มีขนและปีกเหมือนนก สัตว์ชนิดนี้ได้ชื่อว่าอาร์คออปเทอริก
                                                                ี
(Archaeopteryx – เป็นภาษากรีกแปลว่าปีกโบราณ) ซึ่งมีลักษณะอยู่
กึ่งกลางระหว่างไดโนเสาร์และนกปัจจุบัน ข้อเท็จจริงนี้พสูจน์ให้เห็นอย่าง
                                                          ิ
ชัดเจนว่าสัตว์เลื้อยคลานน่าจะเป็นบรรพบุรุษของนก และ ทฤษฎีของ
ดาร์วนถูกต้อง ที่ว่าสิ่งมีชีวิตมีกาเนิดจากบรรพบุรุษดึกดาบรรพ์ ไม่ได้เกิด
      ิ
ขึ้นมามีหน้าตาเหมือนในปัจจุบันโดยทันที

                                                          ฉวีวรรณ นาคบุตร
การคัดเลือกของมนุษย์ (Artificial selection)

ดาร์วิน- “การคัดเลือก เป็นแรงผลักดันที่ก่อให้เกิด
          วิวัฒนาการ”


                                          ฉวีวรรณ นาคบุตร
กระหล่าป่า


ฉวีวรรณ นาคบุตร
ฉวีวรรณ นาคบุตร
                  สุนัขป่าดิงโก
แม้ว่าดาร์วินและนักวิทยาศาสตร์คนอื่นๆจะสังเกตเห็นความหลากหลาย
ของสิ่งมีชีวิตในธรรมชาติ แต่ดาร์วินก็ยังไม่สามารถอธิบายได้ว่าความ
หลากหลายนันเกิดขึ้นได้อย่างไร จนกระทั่ง เกรเกอร์ เมนเดล
               ้
(Gregor Mendel, พ.ศ.2365-2427) พระชาวออสเตรีย ที่เมืองบรุน
(Brno) ปัจจุบนอยูในสาธารณรัฐเช็ค ซึ่งเริ่มทาการทดลองผสมพันธุ์ถั่ว
                 ั ่
ในช่วงปี พ.ศ. 2399-2406 และเมลเดลได้พบว่ามีการถ่ายทอดลักษณะ
ของรุ่นพ่อแม่ผ่านไปยังลูกด้วยสัดส่วนที่คงที่ และเขายังทานายว่าน่าจะมี
บางสิ่งบางอย่างที่สามารถส่งผ่านลักษณะของบรรพบุรุษไปยังลูกหลานได้
ซึ่งนี่เองนับเป็นจุดเริ่มต้นอันนามาสู่การเปิดเผยเรื่องสารพันธุกรรม ที่ทาให้
เกิดการค้นพบว่าวิวัฒนาการมีการทางานจริงๆอย่างไร
                                                             ฉวีวรรณ นาคบุตร
เกรเกอร์ เมนเดล




                  ฉวีวรรณ นาคบุตร
The End


          ฉวีวรรณ นาคบุตร

More Related Content

What's hot

กำเนิดสปีชีส์
กำเนิดสปีชีส์กำเนิดสปีชีส์
กำเนิดสปีชีส์Wan Ngamwongwan
 
มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)Wan Ngamwongwan
 
แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการ
แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการแนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการ
แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการWan Ngamwongwan
 
พันธุกรรม ประถม
พันธุกรรม ประถมพันธุกรรม ประถม
พันธุกรรม ประถมTa Lattapol
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าThaweekoon Intharachai
 
อาณาจักรโพรติสตา
อาณาจักรโพรติสตาอาณาจักรโพรติสตา
อาณาจักรโพรติสตาPinutchaya Nakchumroon
 
ใบกิจกรรมที่ 11 ระบบภูมิคุ้มกันและความผิดปกติ
ใบกิจกรรมที่ 11 ระบบภูมิคุ้มกันและความผิดปกติใบกิจกรรมที่ 11 ระบบภูมิคุ้มกันและความผิดปกติ
ใบกิจกรรมที่ 11 ระบบภูมิคุ้มกันและความผิดปกติAomiko Wipaporn
 
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศTa Lattapol
 
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
บทที่  16  ยีนและโครโมโซมบทที่  16  ยีนและโครโมโซม
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซมPinutchaya Nakchumroon
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3Wuttipong Tubkrathok
 
บทที่ 6 เทคโนโลยีดีเอ็นเอ
บทที่ 6 เทคโนโลยีดีเอ็นเอบทที่ 6 เทคโนโลยีดีเอ็นเอ
บทที่ 6 เทคโนโลยีดีเอ็นเอYaovaree Nornakhum
 
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPower point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรมThanyamon Chat.
 
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1Yaovaree Nornakhum
 
บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2
บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2
บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2Wichai Likitponrak
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศSupaluk Juntap
 
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการเอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการBiobiome
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้าPinutchaya Nakchumroon
 
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bondพันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent BondSaipanya school
 
ใบกิจกรรมที่ 5การรักษาดุลยภาพของน้ำและสารต่างๆ ของร่างกาย
ใบกิจกรรมที่ 5การรักษาดุลยภาพของน้ำและสารต่างๆ ของร่างกายใบกิจกรรมที่ 5การรักษาดุลยภาพของน้ำและสารต่างๆ ของร่างกาย
ใบกิจกรรมที่ 5การรักษาดุลยภาพของน้ำและสารต่างๆ ของร่างกายAomiko Wipaporn
 

What's hot (20)

กำเนิดสปีชีส์
กำเนิดสปีชีส์กำเนิดสปีชีส์
กำเนิดสปีชีส์
 
มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)
 
แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการ
แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการแนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการ
แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการ
 
พันธุกรรม ประถม
พันธุกรรม ประถมพันธุกรรม ประถม
พันธุกรรม ประถม
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
อาณาจักรโพรติสตา
อาณาจักรโพรติสตาอาณาจักรโพรติสตา
อาณาจักรโพรติสตา
 
คลื่น
คลื่นคลื่น
คลื่น
 
ใบกิจกรรมที่ 11 ระบบภูมิคุ้มกันและความผิดปกติ
ใบกิจกรรมที่ 11 ระบบภูมิคุ้มกันและความผิดปกติใบกิจกรรมที่ 11 ระบบภูมิคุ้มกันและความผิดปกติ
ใบกิจกรรมที่ 11 ระบบภูมิคุ้มกันและความผิดปกติ
 
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
 
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
บทที่  16  ยีนและโครโมโซมบทที่  16  ยีนและโครโมโซม
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3
 
บทที่ 6 เทคโนโลยีดีเอ็นเอ
บทที่ 6 เทคโนโลยีดีเอ็นเอบทที่ 6 เทคโนโลยีดีเอ็นเอ
บทที่ 6 เทคโนโลยีดีเอ็นเอ
 
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPower point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
 
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1
 
บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2
บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2
บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการเอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
เอกสารประกอบการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
 
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bondพันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
 
ใบกิจกรรมที่ 5การรักษาดุลยภาพของน้ำและสารต่างๆ ของร่างกาย
ใบกิจกรรมที่ 5การรักษาดุลยภาพของน้ำและสารต่างๆ ของร่างกายใบกิจกรรมที่ 5การรักษาดุลยภาพของน้ำและสารต่างๆ ของร่างกาย
ใบกิจกรรมที่ 5การรักษาดุลยภาพของน้ำและสารต่างๆ ของร่างกาย
 

Viewers also liked

การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDna
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDnaการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDna
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDnaWan Ngamwongwan
 
โครโมโซม
โครโมโซมโครโมโซม
โครโมโซมWan Ngamwongwan
 
สมบัติของสารพันธุกรรม
สมบัติของสารพันธุกรรมสมบัติของสารพันธุกรรม
สมบัติของสารพันธุกรรมWan Ngamwongwan
 
พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางDna
พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางDnaพันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางDna
พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางDnaWan Ngamwongwan
 
ระบบหายใจ1
ระบบหายใจ1ระบบหายใจ1
ระบบหายใจ1Wan Ngamwongwan
 
dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
 dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5 dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5Wan Ngamwongwan
 
การขับถ่ายของคน
การขับถ่ายของคนการขับถ่ายของคน
การขับถ่ายของคนWan Ngamwongwan
 
Dnaกับลักษณะทางพันธุกรรม
DnaกับลักษณะทางพันธุกรรมDnaกับลักษณะทางพันธุกรรม
DnaกับลักษณะทางพันธุกรรมWan Ngamwongwan
 
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน Wan Ngamwongwan
 
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊สWan Ngamwongwan
 
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือด
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือดหลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือด
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือดWan Ngamwongwan
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่ายระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่ายWan Ngamwongwan
 

Viewers also liked (13)

การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDna
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDnaการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDna
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDna
 
โครโมโซม
โครโมโซมโครโมโซม
โครโมโซม
 
สมบัติของสารพันธุกรรม
สมบัติของสารพันธุกรรมสมบัติของสารพันธุกรรม
สมบัติของสารพันธุกรรม
 
พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางDna
พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางDnaพันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางDna
พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางDna
 
ระบบหายใจ1
ระบบหายใจ1ระบบหายใจ1
ระบบหายใจ1
 
dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
 dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5 dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
 
การขับถ่ายของคน
การขับถ่ายของคนการขับถ่ายของคน
การขับถ่ายของคน
 
Dnaกับลักษณะทางพันธุกรรม
DnaกับลักษณะทางพันธุกรรมDnaกับลักษณะทางพันธุกรรม
Dnaกับลักษณะทางพันธุกรรม
 
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน
 
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
 
หัวใจคน
หัวใจคนหัวใจคน
หัวใจคน
 
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือด
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือดหลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือด
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือด
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่ายระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย
 

Similar to แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการ

วิวัฒนาการ
วิวัฒนาการวิวัฒนาการ
วิวัฒนาการsupreechafkk
 
วิวัฒนาการ
วิวัฒนาการวิวัฒนาการ
วิวัฒนาการLPRU
 
บทที่ 19 วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 19 วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตบทที่ 19 วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 19 วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตฟลุ๊ค ลำพูน
 
บทที่ 7 เอกภพและกาแล็กซี.pptx
บทที่ 7 เอกภพและกาแล็กซี.pptxบทที่ 7 เอกภพและกาแล็กซี.pptx
บทที่ 7 เอกภพและกาแล็กซี.pptxssuserfffbdb
 
ใบกิจกรรม เรื่อง ศาสตร์
ใบกิจกรรม  เรื่อง ศาสตร์ใบกิจกรรม  เรื่อง ศาสตร์
ใบกิจกรรม เรื่อง ศาสตร์sirirak Ruangsak
 
ใบกิจกรรม เรื่อง ศาสตร์
ใบกิจกรรม  เรื่อง ศาสตร์ใบกิจกรรม  เรื่อง ศาสตร์
ใบกิจกรรม เรื่อง ศาสตร์sirirak Ruangsak
 
ไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนา
ไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนาไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนา
ไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนาmocxx
 
Astronomy 03
Astronomy 03Astronomy 03
Astronomy 03Chay Kung
 
โครงงานกล้องจุลทรรษร์
โครงงานกล้องจุลทรรษร์โครงงานกล้องจุลทรรษร์
โครงงานกล้องจุลทรรษร์krupornpana55
 
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิดศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิดpentanino
 
101 introduction to movie
101  introduction to movie101  introduction to movie
101 introduction to moviePipit Sitthisak
 

Similar to แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการ (20)

วิวัฒนาการ
วิวัฒนาการวิวัฒนาการ
วิวัฒนาการ
 
วิวัฒนาการ
วิวัฒนาการวิวัฒนาการ
วิวัฒนาการ
 
บทที่ 19 วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 19 วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตบทที่ 19 วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 19 วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต
 
บทที่ 7 เอกภพและกาแล็กซี.pptx
บทที่ 7 เอกภพและกาแล็กซี.pptxบทที่ 7 เอกภพและกาแล็กซี.pptx
บทที่ 7 เอกภพและกาแล็กซี.pptx
 
Contentastrounit2
Contentastrounit2Contentastrounit2
Contentastrounit2
 
ใบกิจกรรม เรื่อง ศาสตร์
ใบกิจกรรม  เรื่อง ศาสตร์ใบกิจกรรม  เรื่อง ศาสตร์
ใบกิจกรรม เรื่อง ศาสตร์
 
ใบกิจกรรม เรื่อง ศาสตร์
ใบกิจกรรม  เรื่อง ศาสตร์ใบกิจกรรม  เรื่อง ศาสตร์
ใบกิจกรรม เรื่อง ศาสตร์
 
P (1)
P (1)P (1)
P (1)
 
กำเนิดเอกภพ
กำเนิดเอกภพกำเนิดเอกภพ
กำเนิดเอกภพ
 
Lesson7
Lesson7Lesson7
Lesson7
 
กำเนิดเอกภพ
กำเนิดเอกภพกำเนิดเอกภพ
กำเนิดเอกภพ
 
ไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนา
ไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนาไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนา
ไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนา
 
ดาราศาสตร์
ดาราศาสตร์ดาราศาสตร์
ดาราศาสตร์
 
Astronomy 03
Astronomy 03Astronomy 03
Astronomy 03
 
Pisa
PisaPisa
Pisa
 
Contentastrounit1
Contentastrounit1Contentastrounit1
Contentastrounit1
 
ธรณีประวัติ
ธรณีประวัติธรณีประวัติ
ธรณีประวัติ
 
โครงงานกล้องจุลทรรษร์
โครงงานกล้องจุลทรรษร์โครงงานกล้องจุลทรรษร์
โครงงานกล้องจุลทรรษร์
 
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิดศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
 
101 introduction to movie
101  introduction to movie101  introduction to movie
101 introduction to movie
 

More from Wan Ngamwongwan

3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊สWan Ngamwongwan
 
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาดหน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาดWan Ngamwongwan
 
หน่วยที่1ชายหาด
หน่วยที่1ชายหาดหน่วยที่1ชายหาด
หน่วยที่1ชายหาดWan Ngamwongwan
 
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
----งานหลัก-----
 ----งานหลัก----- ----งานหลัก-----
----งานหลัก-----Wan Ngamwongwan
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่1
รณรงค์งดสูบบุหรี่1รณรงค์งดสูบบุหรี่1
รณรงค์งดสูบบุหรี่1Wan Ngamwongwan
 
หยุดสูบบุหรี่
หยุดสูบบุหรี่หยุดสูบบุหรี่
หยุดสูบบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
งดบุหรี่
งดบุหรี่งดบุหรี่
งดบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
หยุดทำร้ายผู้อื่น
หยุดทำร้ายผู้อื่นหยุดทำร้ายผู้อื่น
หยุดทำร้ายผู้อื่นWan Ngamwongwan
 
โรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจโรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจWan Ngamwongwan
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
กระดูกพรุน 4 3
กระดูกพรุน 4 3กระดูกพรุน 4 3
กระดูกพรุน 4 3Wan Ngamwongwan
 
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)Wan Ngamwongwan
 
มะเร็งหลังโพรงจมูก
มะเร็งหลังโพรงจมูกมะเร็งหลังโพรงจมูก
มะเร็งหลังโพรงจมูกWan Ngamwongwan
 
แผลในกระเพาะอาหาร (1)
แผลในกระเพาะอาหาร (1)แผลในกระเพาะอาหาร (1)
แผลในกระเพาะอาหาร (1)Wan Ngamwongwan
 
โรคหลอดลมอักเสบ
โรคหลอดลมอักเสบโรคหลอดลมอักเสบ
โรคหลอดลมอักเสบWan Ngamwongwan
 
วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)Wan Ngamwongwan
 

More from Wan Ngamwongwan (20)

2 genetic material
2 genetic material2 genetic material
2 genetic material
 
1chrmosome
1chrmosome1chrmosome
1chrmosome
 
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
 
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาดหน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
 
หน่วยที่1ชายหาด
หน่วยที่1ชายหาดหน่วยที่1ชายหาด
หน่วยที่1ชายหาด
 
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่
 
----งานหลัก-----
 ----งานหลัก----- ----งานหลัก-----
----งานหลัก-----
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่1
รณรงค์งดสูบบุหรี่1รณรงค์งดสูบบุหรี่1
รณรงค์งดสูบบุหรี่1
 
หยุดสูบบุหรี่
หยุดสูบบุหรี่หยุดสูบบุหรี่
หยุดสูบบุหรี่
 
งดบุหรี่
งดบุหรี่งดบุหรี่
งดบุหรี่
 
หยุดทำร้ายผู้อื่น
หยุดทำร้ายผู้อื่นหยุดทำร้ายผู้อื่น
หยุดทำร้ายผู้อื่น
 
โรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจโรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจ
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่
 
กระดูกพรุน 4 3
กระดูกพรุน 4 3กระดูกพรุน 4 3
กระดูกพรุน 4 3
 
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
 
มะเร็งหลังโพรงจมูก
มะเร็งหลังโพรงจมูกมะเร็งหลังโพรงจมูก
มะเร็งหลังโพรงจมูก
 
แผลในกระเพาะอาหาร (1)
แผลในกระเพาะอาหาร (1)แผลในกระเพาะอาหาร (1)
แผลในกระเพาะอาหาร (1)
 
โรคหลอดลมอักเสบ
โรคหลอดลมอักเสบโรคหลอดลมอักเสบ
โรคหลอดลมอักเสบ
 
วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)
 

แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการ