SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
Download to read offline
หนวยที่ ๑
                                                    ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับภาพยนตร
                                                             วิชาภาพยนตรและวีดิทัศนเบื้องตน
หนวยที่ ๑ ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับภาพยนตร
            ๑.   ความหมายของภาพยนตรและหลักการเกิดภาพเคลื่อนไหว
                                       
            ๒.   ประวัติและวิวัฒนาการของภาพยนตร
            ๓.   ประเภทของภาพยนตร
            ๔.   บทบาท และอิทธิพลของภาพยนตรตอการสื่อสาร


๑. ความหมายของภาพยนตรและหลักการเกิดภาพเคลื่อนไหว
    ๑.๑ ความหมายของภาพยนตร
         คําวา “ภาพยนตร” มีชื่อเรียกในภาษาอังกฤษอยูหลายคํา เชน Motion Picture ,
                                                     
Cinema , Film และ Movie เปนตน
            ภาพยนตรเปนกระบวนการบันทึกภาพดวยฟลม (Film) แลวนําออกฉายถายทอดเรืองราว
                                                                                      ่
ตาง ๆ ในลักษณะภาพเคลื่อนไหว (Motion Pictures) ซึงภาพทีปรากฏบนฟลมภาพยนตรเปนเพียง
                                                     ่    ่
ภาพนิ่งจํานวนมากที่มี อิริย าบถหรือการเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงไปทีละนอยเรียงตอเนื่องกัน ตาม
เรื่องราวที่ถายทําและตัดตอมา เนื้อหาของภาพยนตรอาจเปนเรื่องราวหรือเหตุการณทีเ่ กิดขึนจริง
                                                                                        ้
หรือเปนการแสดงใหเหมือนจริง หรือเปนการแสดงและสรางภาพจากจินตนาการณของผูสราง เพือให  ่
ผูชมเกิดอารมณรวมไปกับภาพยนตรในขณะที่รับชม


    ๑.๒ หลักการเกิดภาพเคลื่อนไหว
         การที่เราเห็นภาพนิ่งหลาย ๆ ภาพที่ฉายตอเนื่องกัน ดูเปนลักษณะภาพเคลื่อนไหวไดนั้น
สามารถอธิบายไดดวยหลักการเห็นภาพติดตา (Persistence of Vision) อันเปนหัวใจของหลักการ
สรางภาพยนตรเพราะภาพยนตรก็คือภาพนิ่งแตละภาพที่ตอเนื่องกันอยางมีระบบนั่นเอง
           ๑.๒.๑ ภาพหมน ( Thaumatrope )
                             ุ
                  Thaumatrope (อานวา ธัมมาโทรป) เปนของเลนที่ประดิษฐขึน เมื่อป พ.ศ.
                                                                                ้
2368 (ค.ศ. 1825) โดย ดร.วิเลียม เฮนรี่ ฟตตอน (Dr. William Henry Fitton) ซึ่งไดแนวคิดมาจาก
                                 ่
เซอรจอหน เฮอรเซล ผูที่สังเกตวาสายตามนุษยสามารถมองเห็นภาพทั้งสองดานของเหรียญที่หมุนอยู
ไดพรอมกัน
ค ว า ม รู เ บื ้อ ง ต น เ กี ่ย ว กั บ ภ า พ ย น ต ร   ห น า | ๒




                       ดร.วิเลี่ยม เฮนรี่ ฟตตอน (Dr. William Henry Fitton)
               (http://www.ireference.ca/search/William%20Henry%20Fitton/)




                                       ภาพหมุน ( Thaumatrope )
                                 (http://littleworm55.blogspot.com/)

                  Thaumatrope ทําจากกระดาษแข็งตัดเปนวงกลม โดยมีรูปภาพหรือภาพวาดทั้ง
สองดาน เชน ถาวาดภาพดานหนึ่งเปนกรงนก สวนอีกดานหนึ่งวาดเปนรูปนก เจาะรูดานซายและขวา
ของวงกลมแลวผูกเชือก เมื่อดึงเชือกใหภาพพลิกไปมาเร็ว ๆ จะเห็นภาพทังสองดานของกระดาษรวม
                                                                   ้
เปนภาพเดียวกัน นันคือจะเห็นภาพนกอยูในกรงได ซึ่งคําวา Thaumatrope มาจากภาษากรีก
                   ่                    
หมายถึง Wonder Turning หรือ มหัศจรรยแหงการหมุน จึงเปนหนึ่งในตนแบบของภาพยนตร
สามารถดูวิดีโอคลิปแสดงภาพหมุน Thaumatrope ไดจากเว็บไซต Youtube


                      ตามลิงคนี้
                      http://www.youtube.com/watch?v=B8uE67JQcvU&feature=related
                      แบงปน http://youtu.be/B8uE67JQcvU

ภาพยนตรและวีดิทัศนเบื้องตน | พิพิษณ สิทธิศักดิ์ | วิทยาลัยเพาะชาง |             Last update : 24 ส.ค. 2554
ค ว า ม รู เ บื ้อ ง ต น เ กี ่ย ว กั บ ภ า พ ย น ต ร   ห น า | ๓

                      และที่เว็บไซต AssassinDrake



                      ตามลิงคนี้ http://assassindrake.com/tt.php

            ๑.๒.๒ ทฤษฎีวาดวยการเห็นภาพติดตา (Persistence of Vision)




                                Dr. John Ayrton Paris
     (http://www.sciencephoto.com/images/download_lo_res.html?id=670064408)

                      หลักการที่อธิบายถึงการมองภาพตอเนื่องของสายตามนุษย หรือทฤษฎีการเห็น
ภาพติดตา คิดคนขึ้นในป พ.ศ. 2367 (ค.ศ. 1824) โดยนักทฤษฎีและแพทยชาวอังกฤษ ชื่อ Dr. John
Ayrton Paris ทฤษฎีดังกลาวอธิบายถึงการมองเห็นภาพตอเนื่องของสายตามนุษยไววา ธรรมชาติของ
สายตามนุษย เมื่อมองเห็นภาพใดภาพหนึ่ง หลังจากภาพนั้นหายไป สายตามนุษยจะยังคางภาพนั้นไว
ที่เรตินาในชั่วขณะหนึ่ง ประมาณ 1/15 วินาที และหากในระยะเวลาดังกลาวมีภาพใหมปรากฏขึ้นมา
แทนทีสมองของมนุษยจะเชือมโยงสองภาพเขาดวยกัน และหากมีภาพตอไปปรากฏขึ้นในเวลาไลเลี่ย
        ่                    ่
กัน ก็จะเชือมโยงภาพไปเรื่อย ๆ โดยเฉพาะอยางยิง ถาชุดภาพนิ่งทีแตละภาพนั้นมีความแตกตางกัน
            ่                                     ่               ่
เพียงเล็กนอยหรือเปนภาพที่มีลักษณะขยับเคลื่อนไหวตอเนืองกันอยูแลว เมือนํามาเคลื่อนที่ผานตา
                                                          ่              ่
เราอยางตอเนื่องในระยะเวลากระชั้นชิด เราจะสามารถเห็นภาพนั้นเคลื่อนไหวได
                      อยางไรก็ตาม มีเคล็ดลับประการหนึ่ง ก็คือ กอนที่จะเปลี่ยนภาพใหมจะตองมี
อะไรมาบังตาเราแวบหนึ่ง แลวคอยเปดใหเห็นภาพใหมมาแทนทีตําแหนงเดิม โดยอุปกรณที่บังตาคือ
                                                              ่
ซัตเตอร (Shutter) และระยะเวลาที่ซัตเตอรบังตาจะตองนอยกวาเวลาทีฉายภาพคางไวใหดู มิฉะนั้น
                                                                        ่
จะมองเห็นภาพกระพริบไป ดังนัน เมื่อเอาภาพนิงทีถายมาอยางตอเนืองหลาย ๆ ภาพมาเรียงตอกัน
                                  ้             ่ ่                   ่
แลวฉายภาพนันในเวลาสัน ๆ ภาพนิ่งเหลานันจะดูเหมือนวาเคลือนไหว หลักการนีจึงถูกนํามาใชใน
                  ้        ้                 ้                  ่               ้
การสรางภาพเคลื่อนไหว (Animation) และภาพยนตรในระยะเวลาตอมา
              (http://www.thaishortfilm.com/board/viewtopic.php?t=599 , )
     ๑.๓ ภาพเคลื่อนไหว กอนกําเนิดภาพยนตร


ภาพยนตรและวีดิทัศนเบื้องตน | พิพิษณ สิทธิศักดิ์ | วิทยาลัยเพาะชาง |             Last update : 24 ส.ค. 2554
ค ว า ม รู เ บื ้อ ง ต น เ กี ่ย ว กั บ ภ า พ ย น ต ร   ห น า | ๔

            “ภาพยนตร คือภาพนิ่งแตละภาพที่ตอเนื่องกันอยางมีระบบ”

           ประวัติศาสตรของกลองถายภาพยนตร อาจศึกษายอนหลังลงไปถึงงานของ Leonardo
da Vinci ชิ้นที่เปนไดอะแกรมของ Camera Obscura อันเปนกลองเล็กๆ ที่จับภาพกลับหัวไดทีดาน    ่
ตรงขามเลนส ซึงแรกทีเดียวก็ไมมีเลนสดวยซ้าไป เปนแตรูเล็กๆเทานัน ในตอนตนศตวรรษที่ 19
                   ่                         ํ                       ้
นักวิทยาศาสตร หลายคนก็พยายามคิดคนหาแผนวัสดุทีจะมารับภาพไดอยางชัดเจนและคงทนถาวร
                                                        ่
การทดลองที่ประสบผล สําเร็จเกิดขึ้นในฝรั่งเศส ในป พ.ศ. 2382 (ค.ศ.1839) ดวยความพยายามของ
Louise-Jacques-Mande Dagyerre และ Joseph-Nicephore Niepce แตภาพแรกๆ ของดาแกร
นั้นใชเวลารับแสงนานถึง 15 นาที ในขณะที่การถาย และฉายภาพยนตรใหดูภาพเคลื่อนไหวไดเหมือน
จริงนั้น จะตองใชเวลาอยางนอยก็ 16 ภาพตอวินาที ดังนั้น ในระยะนี้ภาพยนตรจึงยังไมอาจเกิดขึ้นได

          ในป พ.ศ. 2413 (ค.ศ.1870) กลองถายภาพนิงจึงไดมีชัตเตอร (shutter) และเริมมีการใช
                                                  ่                                 ่
ความเร็วชัตเตอรถึง 1/1000 วินาที




  Eadweard Muybridge (1830-1904)                                 Amasa Leland Stanford
    (http://calitreview.com/8802)                      http://en.wikipedia.org/wiki/Leland_Stanford

            บุคคลแรกที่ไดประยุกตการถายภาพนิงใหเปนภาพยนตร ก็คือ Eadweard Muybridge
                                                  ่
นักแสวงโชค ชาวอังกฤษที่อพยพเขามาตังรกรากในรัฐแคลิฟอรเนีย เมื่อป พ.ศ. 2392 (ค.ศ.1849)
                                         ้
โดยมีอาชีพเปนชางถายรูปอยูที่ซานฟรานซิสโก และในป ค.ศ.1872 ผูวาการรัฐแคลิฟอรเนีย คือ
                                                                    
Leland Stanford ซึงเปนเจาของคอกมา และนักแขงมาไดทาพนันกับคูแขงของเขาเปนเงิน 25,000
                     ่
ดอลลารวา ในการควบวิ่งของมานั้น จะมีเวลาหนึ่งทีขาทั้งสีของมาจะลอยขึนเหนือพื้น โดยเขาได
                                                    ่    ่             ้
วาจางใหไมบริดจหาทางพิสูจนขอเท็จจริงดังกลาว



ภาพยนตรและวีดิทัศนเบื้องตน | พิพิษณ สิทธิศักดิ์ | วิทยาลัยเพาะชาง |             Last update : 24 ส.ค. 2554
ค ว า ม รู เ บื ้อ ง ต น เ กี ่ย ว กั บ ภ า พ ย น ต ร   ห น า | ๕

            หลังจากไดรับการวาจาง ไมบริดจก็หาทางอยูนาน จนกระทั่งป ค.ศ.1877 (บางตําราวา
                                                         
1878) จึง สามารถพิสูจนได โดยความชวยเหลือของเพื่อนทีเปนวิศวกรชือ John D. Isaacs โดยเขา
                                                             ่           ่
ตั้งกลอง ถายภาพนิ่ง 12 ตัว เรียงรายไวขางทางวิ่ง แลวขึงเชือกเสนเล็กๆ ขวางทางวิงไว โดยทีปลาย
                                                                                   ่         ่
ดานหนึ่งจะผูกติดกับไกชัตเตอร ของกลองโดยมีแบตเตอรี่ไฟฟาเปนตัวควบคุม เมื่อมาวิงสะดุดเชือก
                                                                                      ่
เสนหนึ่ง ไกชัตเตอรของกลองแรกก็จะทํางาน และเรียงลําดับไปจนครบ 12 ตัว




                           วิธีการถายภาพมาวิ่งของ Eadweard Muybridge
                       (http://impresssnow.com/349/349_lecture04.html)




ภาพยนตรและวีดิทัศนเบื้องตน | พิพิษณ สิทธิศักดิ์ | วิทยาลัยเพาะชาง |             Last update : 24 ส.ค. 2554
ค ว า ม รู เ บื ้อ ง ต น เ กี ่ย ว กั บ ภ า พ ย น ต ร   ห น า | ๖




                            Galloping Horse; Eadweard Muybridge, 1878
              (http://andrewcatsaras.blogspot.com/p/iconic-photographs.html)

           หลังจากถายภาพไดแลว ไมบริดจ (Muybridge) ก็นําภาพที่ไดมาติดบนวงลอหมุน แลว
ฉายดวยแมจิก แลนเทิรน (magic lantern) ทําใหเห็นภาพการเคลือนไหวของมาตอเนืองเหมือนของ
                                                               ่               ่
จริง และหลังจากไดทดสอบซ้าอีกโดยใชกลอง 24 ตัว ไมบริดจ (Muybridge) ก็สามารถพิสูจนไดวา
                            ํ
ในเวลาที่มาควบไปเร็วๆ นั้น ขาทั้งสี่ของมันจะลอยขึ้นเหนือพื้นดินในเวลาหนึ่งจริงๆ แตประดิษฐ
กรรม ของไมบริดจก็ยังไมถือวาเปนภาพยนตร เนืองจากวามันถายทําดวยกลองถายภาพนิง และตอง
                                              ่                                   ่
ใชกลอง เปนจํานวนมากตั้งแต 12 หรอ 20 หรือบางทีถึง 40 ตัวทีเดียว
                                   ื




ภาพยนตรและวีดิทัศนเบื้องตน | พิพิษณ สิทธิศักดิ์ | วิทยาลัยเพาะชาง |             Last update : 24 ส.ค. 2554
ค ว า ม รู เ บื ้อ ง ต น เ กี ่ย ว กั บ ภ า พ ย น ต ร   ห น า | ๗

ศึกษาเพิ่มเติม

The Life and Work of Eadweard Muybridge




Californaia Literary Review, Alix McKenna (May 7th, 2010). The Life and Work of
          Eadweard Muybridge [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://calitreview.com/8802
          (วันที่คนขอมูล : 8 พฤษภาคม 2554).

ประวัติภาพเคลื่อนไหว กอนกําเนิดภาพยนตร




[ART 349] COMPUTER ART (ม.ป.ป.). A History of Motion – Pre-cinema [ออนไลน]. เขาถึง
         ไดจาก : http://impresssnow.com/349/349_lecture04.html (วันที่คนขอมูล : 21
         พฤษภาคม 2554).




ภาพยนตรและวีดิทัศนเบื้องตน | พิพิษณ สิทธิศักดิ์ | วิทยาลัยเพาะชาง |             Last update : 24 ส.ค. 2554
ค ว า ม รู เ บื ้อ ง ต น เ กี ่ย ว กั บ ภ า พ ย น ต ร   ห น า | ๘

                                                เอกสารอางอิง


เอกสารอางอิง ๑.๑ ความหมายของภาพยนตร




วิกีพีเดีย สารานุกรมเสรี (5 พฤษภาคม 2554). เทคโนโลยีภาพยนตร [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก :
            http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%9E%E0%B8
            %A2%E0%B8%99%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B9%8C (วันที่คนขอมูล : 21
            พฤษภาคม 2554).




BlogGang.com : human99 (27 ธันวาคม 2550). ความหมายของภาพยนตร [ออนไลน] . เขาถึงได
        จาก : http://www.bloggang.com/viewdiary.php?id=human99&month=12-
        2007&date=27&group=1&gblog=1 (วันที่คนขอมูล : 21 พฤษภาคม 2554).




Video man studio (7 พฤศจิกายน 2553). คณคาของภาพยนตร [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก :
                                          ุ
        http://www.videomanstudio.com/webboard-
        %E0%B8%84%E0%B8%B8%E0%B8%93%E0%B8%84%E0%B9%88%E0%B8%
        B2%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B
        8%9E%E0%B8%A2%E0%B8%99%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B9%8C-1-
        294224-1.html (วันที่คนขอมูล : 21 พฤษภาคม 2554).




ภาพยนตรและวีดิทัศนเบื้องตน | พิพิษณ สิทธิศักดิ์ | วิทยาลัยเพาะชาง |             Last update : 24 ส.ค. 2554
ค ว า ม รู เ บื ้อ ง ต น เ กี ่ย ว กั บ ภ า พ ย น ต ร   ห น า | ๙

เอกสารอางอิงง ๑.๒ หลักการเกิดภาพเคลื่อนไหว




หอภาพยนตร (องคการมหาชน) (ม.ป.พ.). มหัศจรรยแหงการหมุน [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก :
              http://www.fapot.org/index.php/monthlyexhibition/86-wonderturning
              (วันที่คนขอมูล : 9 เมษายน 2554).


นวกานต ราชานาค (17 เมษายน 2553). Thaumatrope คออะไร [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก :
                                                   ื
                 http://www.bloggang.com/viewdiary.php?id=navagan&month=10-
                 2008&date=03&group=5&gblog=4 (วันที่คนขอมูล : 8 เมษายน 2554).
นิติวัฒน เจตนา (28 มกราคม พ.ศ. 2552). ประวัติภาพยนตรโลก [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก :
                http://kiramura.blogspot.com/2009/01/blog-post_28.html       (วันทีคน
                                                                                   ่
                ขอมูล : 20 เมษายน 2554).


เอกสารอางอิง ๑.๒.๒ ทฤษฎีวาดวยการเห็นภาพติดตา (Persistence of Vision)




หอภาพยนตร (องคการมหาชน) (ม.ป.พ.). มหัศจรรยแหงการหมุน [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก :
              http://www.fapot.org/index.php/monthlyexhibition/86-wonderturning
              (วันที่คนขอมูล : 9 เมษายน 2554).




ภาพยนตรและวีดิทัศนเบื้องตน | พิพิษณ สิทธิศักดิ์ | วิทยาลัยเพาะชาง |             Last update : 24 ส.ค. 2554
ค ว า ม รู เ บื ้อ ง ต น เ กี ่ย ว กั บ ภ า พ ย น ต ร   ห น า | ๑๐




bloggang, นวกานต ราชานาค (กันยายน 2549). Concept และ หลักการ ของงาน (หนัง)ทดลอง
         เรื่อง Thaumatrope [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก :
         http://www.bloggang.com/viewdiary.php?id=navagan&month=10-
         2008&date=03&group=5&gblog=4 (วันที่คนขอมูล : 25 มนาคม 2554).
                                                             ี



นิติวัฒน เจตนา (28 มกราคม พ.ศ. 2552). ประวัติภาพยนตรโลก [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก :
                http://kiramura.blogspot.com/2009/01/blog-post_28.html      (วันทีคน
                                                                                  ่
                ขอมูล : 20 เมษายน 2554).




guru.google.co.th (2 ก.พ. 2553). ในการสรางภาพยนตรใหเกิดภาพเคลื่อนไหวได เราใชหลักการ
               อะไร? [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก :
               http://guru.google.co.th/guru/thread?tid=1f1767f41d5df7a6 (วันที่คน
               ขอมูล : 9 เมษายน 2554).


เอกสารอางอิง ๑.๓ ภาพเคลื่อนไหว กอนกําเนิดภาพยนตร
ประวัติศาสตรภาพยนตรโลก ตอนที่ ๑




postproduction52 (22 กุมภาพันธ 2553). ประวัติศาสตรภาพยนตรโลก ตอนที่ ๑ [ออนไลน].
        เขาถึงไดจาก : http://postproduction52.wordpress.com/2010/02/22 (วันที่คน
        ขอมูล : 8 พฤษภาคม 2554).




ภาพยนตรและวีดิทัศนเบื้องตน | พิพิษณ สิทธิศักดิ์ | วิทยาลัยเพาะชาง |              Last update : 24 ส.ค. 2554

More Related Content

Viewers also liked

Chapter7 5-pr5-mac-title-pdf
Chapter7 5-pr5-mac-title-pdfChapter7 5-pr5-mac-title-pdf
Chapter7 5-pr5-mac-title-pdfPipit Sitthisak
 
Chapter7 3-pr5-mac-transition
Chapter7 3-pr5-mac-transitionChapter7 3-pr5-mac-transition
Chapter7 3-pr5-mac-transitionPipit Sitthisak
 
การแปลง Dvd video เป็นไฟล์ avi ด้วยโปรแกรม dvd2 avi ver3
การแปลง Dvd video เป็นไฟล์ avi ด้วยโปรแกรม dvd2 avi ver3การแปลง Dvd video เป็นไฟล์ avi ด้วยโปรแกรม dvd2 avi ver3
การแปลง Dvd video เป็นไฟล์ avi ด้วยโปรแกรม dvd2 avi ver3Pipit Sitthisak
 
Chapter7 6-pr5-exporting movies-pdf
Chapter7 6-pr5-exporting movies-pdfChapter7 6-pr5-exporting movies-pdf
Chapter7 6-pr5-exporting movies-pdfPipit Sitthisak
 
การแปลง Dvd video เป็นไฟล์ avi ด้วยโปรแกรม dvd2 avi
การแปลง Dvd video เป็นไฟล์ avi ด้วยโปรแกรม dvd2 aviการแปลง Dvd video เป็นไฟล์ avi ด้วยโปรแกรม dvd2 avi
การแปลง Dvd video เป็นไฟล์ avi ด้วยโปรแกรม dvd2 aviPipit Sitthisak
 
Imv unit7-1-pr3-introduction-pdf
Imv unit7-1-pr3-introduction-pdfImv unit7-1-pr3-introduction-pdf
Imv unit7-1-pr3-introduction-pdfPipit Sitthisak
 
การเพิ่ม User ใน wordpress
การเพิ่ม User ใน wordpressการเพิ่ม User ใน wordpress
การเพิ่ม User ใน wordpressPipit Sitthisak
 
Unit 3 1 basic to television pdf
Unit 3 1  basic to television pdfUnit 3 1  basic to television pdf
Unit 3 1 basic to television pdfPipit Sitthisak
 
Unit 3 2 basic to video-pdf
Unit 3 2  basic to video-pdfUnit 3 2  basic to video-pdf
Unit 3 2 basic to video-pdfPipit Sitthisak
 
4 คุณลักษณะ บทบาทหน้าที่และอิทธิพลของภาพยนตร์
4 คุณลักษณะ บทบาทหน้าที่และอิทธิพลของภาพยนตร์4 คุณลักษณะ บทบาทหน้าที่และอิทธิพลของภาพยนตร์
4 คุณลักษณะ บทบาทหน้าที่และอิทธิพลของภาพยนตร์Pipit Sitthisak
 

Viewers also liked (10)

Chapter7 5-pr5-mac-title-pdf
Chapter7 5-pr5-mac-title-pdfChapter7 5-pr5-mac-title-pdf
Chapter7 5-pr5-mac-title-pdf
 
Chapter7 3-pr5-mac-transition
Chapter7 3-pr5-mac-transitionChapter7 3-pr5-mac-transition
Chapter7 3-pr5-mac-transition
 
การแปลง Dvd video เป็นไฟล์ avi ด้วยโปรแกรม dvd2 avi ver3
การแปลง Dvd video เป็นไฟล์ avi ด้วยโปรแกรม dvd2 avi ver3การแปลง Dvd video เป็นไฟล์ avi ด้วยโปรแกรม dvd2 avi ver3
การแปลง Dvd video เป็นไฟล์ avi ด้วยโปรแกรม dvd2 avi ver3
 
Chapter7 6-pr5-exporting movies-pdf
Chapter7 6-pr5-exporting movies-pdfChapter7 6-pr5-exporting movies-pdf
Chapter7 6-pr5-exporting movies-pdf
 
การแปลง Dvd video เป็นไฟล์ avi ด้วยโปรแกรม dvd2 avi
การแปลง Dvd video เป็นไฟล์ avi ด้วยโปรแกรม dvd2 aviการแปลง Dvd video เป็นไฟล์ avi ด้วยโปรแกรม dvd2 avi
การแปลง Dvd video เป็นไฟล์ avi ด้วยโปรแกรม dvd2 avi
 
Imv unit7-1-pr3-introduction-pdf
Imv unit7-1-pr3-introduction-pdfImv unit7-1-pr3-introduction-pdf
Imv unit7-1-pr3-introduction-pdf
 
การเพิ่ม User ใน wordpress
การเพิ่ม User ใน wordpressการเพิ่ม User ใน wordpress
การเพิ่ม User ใน wordpress
 
Unit 3 1 basic to television pdf
Unit 3 1  basic to television pdfUnit 3 1  basic to television pdf
Unit 3 1 basic to television pdf
 
Unit 3 2 basic to video-pdf
Unit 3 2  basic to video-pdfUnit 3 2  basic to video-pdf
Unit 3 2 basic to video-pdf
 
4 คุณลักษณะ บทบาทหน้าที่และอิทธิพลของภาพยนตร์
4 คุณลักษณะ บทบาทหน้าที่และอิทธิพลของภาพยนตร์4 คุณลักษณะ บทบาทหน้าที่และอิทธิพลของภาพยนตร์
4 คุณลักษณะ บทบาทหน้าที่และอิทธิพลของภาพยนตร์
 

Similar to 101 introduction to movie

ประวัติกล้อง
ประวัติกล้องประวัติกล้อง
ประวัติกล้องKru_sawang
 
กล้องจุลทรรศน์ เซลล์และการค้นพบเซลล์
กล้องจุลทรรศน์ เซลล์และการค้นพบเซลล์กล้องจุลทรรศน์ เซลล์และการค้นพบเซลล์
กล้องจุลทรรศน์ เซลล์และการค้นพบเซลล์dnavaroj
 
แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการ
แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการแนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการ
แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการWan Ngamwongwan
 
แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการ
แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการแนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการ
แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการWan Ngamwongwan
 
โครงงานกล้องจุลทรรษร์
โครงงานกล้องจุลทรรษร์โครงงานกล้องจุลทรรษร์
โครงงานกล้องจุลทรรษร์krupornpana55
 
ทฤษฎีความอลวน.Pdf
ทฤษฎีความอลวน.Pdfทฤษฎีความอลวน.Pdf
ทฤษฎีความอลวน.Pdfmosumos
 
ทฤษฎีความอลวน.Pdf
ทฤษฎีความอลวน.Pdfทฤษฎีความอลวน.Pdf
ทฤษฎีความอลวน.Pdfmosumos
 
ทฤษฎีความอลวน.Pdf
ทฤษฎีความอลวน.Pdfทฤษฎีความอลวน.Pdf
ทฤษฎีความอลวน.Pdfmosumos
 
C:\Fakepath\ทฤษฎีความอลวน Pdf
C:\Fakepath\ทฤษฎีความอลวน PdfC:\Fakepath\ทฤษฎีความอลวน Pdf
C:\Fakepath\ทฤษฎีความอลวน Pdfmosumos
 
ปลายภาค ม4
ปลายภาค ม4ปลายภาค ม4
ปลายภาค ม4peter dontoom
 

Similar to 101 introduction to movie (11)

ประวัติกล้อง
ประวัติกล้องประวัติกล้อง
ประวัติกล้อง
 
สาระวิทย์ ฉบับที่ 26, พฤษภาคม 2558
สาระวิทย์ ฉบับที่ 26, พฤษภาคม 2558สาระวิทย์ ฉบับที่ 26, พฤษภาคม 2558
สาระวิทย์ ฉบับที่ 26, พฤษภาคม 2558
 
กล้องจุลทรรศน์ เซลล์และการค้นพบเซลล์
กล้องจุลทรรศน์ เซลล์และการค้นพบเซลล์กล้องจุลทรรศน์ เซลล์และการค้นพบเซลล์
กล้องจุลทรรศน์ เซลล์และการค้นพบเซลล์
 
แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการ
แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการแนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการ
แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการ
 
แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการ
แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการแนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการ
แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการ
 
โครงงานกล้องจุลทรรษร์
โครงงานกล้องจุลทรรษร์โครงงานกล้องจุลทรรษร์
โครงงานกล้องจุลทรรษร์
 
ทฤษฎีความอลวน.Pdf
ทฤษฎีความอลวน.Pdfทฤษฎีความอลวน.Pdf
ทฤษฎีความอลวน.Pdf
 
ทฤษฎีความอลวน.Pdf
ทฤษฎีความอลวน.Pdfทฤษฎีความอลวน.Pdf
ทฤษฎีความอลวน.Pdf
 
ทฤษฎีความอลวน.Pdf
ทฤษฎีความอลวน.Pdfทฤษฎีความอลวน.Pdf
ทฤษฎีความอลวน.Pdf
 
C:\Fakepath\ทฤษฎีความอลวน Pdf
C:\Fakepath\ทฤษฎีความอลวน PdfC:\Fakepath\ทฤษฎีความอลวน Pdf
C:\Fakepath\ทฤษฎีความอลวน Pdf
 
ปลายภาค ม4
ปลายภาค ม4ปลายภาค ม4
ปลายภาค ม4
 

More from Pipit Sitthisak

การบันทึกเสียงด้วยโปรแกรม Sound forge 7
การบันทึกเสียงด้วยโปรแกรม Sound forge 7การบันทึกเสียงด้วยโปรแกรม Sound forge 7
การบันทึกเสียงด้วยโปรแกรม Sound forge 7Pipit Sitthisak
 
การใส่ลิงก์ (link) และจัดหมวดหมู่ของลิงก์ใน wordpress
การใส่ลิงก์ (link) และจัดหมวดหมู่ของลิงก์ใน wordpressการใส่ลิงก์ (link) และจัดหมวดหมู่ของลิงก์ใน wordpress
การใส่ลิงก์ (link) และจัดหมวดหมู่ของลิงก์ใน wordpressPipit Sitthisak
 
การสมัครเป็นสมาชิก Google
การสมัครเป็นสมาชิก Googleการสมัครเป็นสมาชิก Google
การสมัครเป็นสมาชิก GooglePipit Sitthisak
 
Part 2.2 ส่วนประกอบของกล้องถ่ายภาพ
Part 2.2 ส่วนประกอบของกล้องถ่ายภาพPart 2.2 ส่วนประกอบของกล้องถ่ายภาพ
Part 2.2 ส่วนประกอบของกล้องถ่ายภาพPipit Sitthisak
 
การใช้ Google+ เพื่อการแชร์ (Share) ภาพ
การใช้ Google+ เพื่อการแชร์ (Share) ภาพการใช้ Google+ เพื่อการแชร์ (Share) ภาพ
การใช้ Google+ เพื่อการแชร์ (Share) ภาพPipit Sitthisak
 
1.3 แนวภาพยนตร์
1.3 แนวภาพยนตร์1.3 แนวภาพยนตร์
1.3 แนวภาพยนตร์Pipit Sitthisak
 
4 การแชร์ไฟล์จาก slideshare ไปยังเว็บบล็อก
4 การแชร์ไฟล์จาก slideshare ไปยังเว็บบล็อก4 การแชร์ไฟล์จาก slideshare ไปยังเว็บบล็อก
4 การแชร์ไฟล์จาก slideshare ไปยังเว็บบล็อกPipit Sitthisak
 
การใส่ลายน้ำแสดงลิขสิทธ์และใส่รหัสป้องกัน
การใส่ลายน้ำแสดงลิขสิทธ์และใส่รหัสป้องกันการใส่ลายน้ำแสดงลิขสิทธ์และใส่รหัสป้องกัน
การใส่ลายน้ำแสดงลิขสิทธ์และใส่รหัสป้องกันPipit Sitthisak
 
การสมัครเป็นสมาชิก slideshare
การสมัครเป็นสมาชิก slideshareการสมัครเป็นสมาชิก slideshare
การสมัครเป็นสมาชิก slidesharePipit Sitthisak
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์แมคอินทอช Ver2
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์แมคอินทอช Ver2ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์แมคอินทอช Ver2
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์แมคอินทอช Ver2Pipit Sitthisak
 
สอบปฏิบัติ ปลายภาค 1-2554
สอบปฏิบัติ ปลายภาค 1-2554สอบปฏิบัติ ปลายภาค 1-2554
สอบปฏิบัติ ปลายภาค 1-2554Pipit Sitthisak
 
Project 1 การสื่อความหมายด้วยภาพ
Project 1 การสื่อความหมายด้วยภาพProject 1 การสื่อความหมายด้วยภาพ
Project 1 การสื่อความหมายด้วยภาพPipit Sitthisak
 
Project 2 final project -p3
Project 2  final project -p3Project 2  final project -p3
Project 2 final project -p3Pipit Sitthisak
 
Project 1 การสื่อความหมายด้วยภาพ
Project 1 การสื่อความหมายด้วยภาพProject 1 การสื่อความหมายด้วยภาพ
Project 1 การสื่อความหมายด้วยภาพPipit Sitthisak
 
Chapter7 2-pr5-mac-capturing-importing
Chapter7 2-pr5-mac-capturing-importingChapter7 2-pr5-mac-capturing-importing
Chapter7 2-pr5-mac-capturing-importingPipit Sitthisak
 
Chapter1 pr5-mac-introduction-pdf
Chapter1 pr5-mac-introduction-pdfChapter1 pr5-mac-introduction-pdf
Chapter1 pr5-mac-introduction-pdfPipit Sitthisak
 
การสร้างเนื้อเพลง Karaoke ด้วยโปรแกรม photo shop cs5
การสร้างเนื้อเพลง Karaoke ด้วยโปรแกรม photo shop cs5การสร้างเนื้อเพลง Karaoke ด้วยโปรแกรม photo shop cs5
การสร้างเนื้อเพลง Karaoke ด้วยโปรแกรม photo shop cs5Pipit Sitthisak
 
การแปลงไฟล์ Dat เป็นไฟล์ mpeg –1 ด้วย tmpg enc plus
การแปลงไฟล์ Dat เป็นไฟล์ mpeg –1 ด้วย tmpg enc plusการแปลงไฟล์ Dat เป็นไฟล์ mpeg –1 ด้วย tmpg enc plus
การแปลงไฟล์ Dat เป็นไฟล์ mpeg –1 ด้วย tmpg enc plusPipit Sitthisak
 
Imv unit7-5-pr3-title-pdf
Imv unit7-5-pr3-title-pdfImv unit7-5-pr3-title-pdf
Imv unit7-5-pr3-title-pdfPipit Sitthisak
 

More from Pipit Sitthisak (20)

การบันทึกเสียงด้วยโปรแกรม Sound forge 7
การบันทึกเสียงด้วยโปรแกรม Sound forge 7การบันทึกเสียงด้วยโปรแกรม Sound forge 7
การบันทึกเสียงด้วยโปรแกรม Sound forge 7
 
การใส่ลิงก์ (link) และจัดหมวดหมู่ของลิงก์ใน wordpress
การใส่ลิงก์ (link) และจัดหมวดหมู่ของลิงก์ใน wordpressการใส่ลิงก์ (link) และจัดหมวดหมู่ของลิงก์ใน wordpress
การใส่ลิงก์ (link) และจัดหมวดหมู่ของลิงก์ใน wordpress
 
การสมัครเป็นสมาชิก Google
การสมัครเป็นสมาชิก Googleการสมัครเป็นสมาชิก Google
การสมัครเป็นสมาชิก Google
 
Part 2.2 ส่วนประกอบของกล้องถ่ายภาพ
Part 2.2 ส่วนประกอบของกล้องถ่ายภาพPart 2.2 ส่วนประกอบของกล้องถ่ายภาพ
Part 2.2 ส่วนประกอบของกล้องถ่ายภาพ
 
การใช้ Google+ เพื่อการแชร์ (Share) ภาพ
การใช้ Google+ เพื่อการแชร์ (Share) ภาพการใช้ Google+ เพื่อการแชร์ (Share) ภาพ
การใช้ Google+ เพื่อการแชร์ (Share) ภาพ
 
1.3 แนวภาพยนตร์
1.3 แนวภาพยนตร์1.3 แนวภาพยนตร์
1.3 แนวภาพยนตร์
 
4 การแชร์ไฟล์จาก slideshare ไปยังเว็บบล็อก
4 การแชร์ไฟล์จาก slideshare ไปยังเว็บบล็อก4 การแชร์ไฟล์จาก slideshare ไปยังเว็บบล็อก
4 การแชร์ไฟล์จาก slideshare ไปยังเว็บบล็อก
 
การใส่ลายน้ำแสดงลิขสิทธ์และใส่รหัสป้องกัน
การใส่ลายน้ำแสดงลิขสิทธ์และใส่รหัสป้องกันการใส่ลายน้ำแสดงลิขสิทธ์และใส่รหัสป้องกัน
การใส่ลายน้ำแสดงลิขสิทธ์และใส่รหัสป้องกัน
 
การสมัครเป็นสมาชิก slideshare
การสมัครเป็นสมาชิก slideshareการสมัครเป็นสมาชิก slideshare
การสมัครเป็นสมาชิก slideshare
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์แมคอินทอช Ver2
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์แมคอินทอช Ver2ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์แมคอินทอช Ver2
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์แมคอินทอช Ver2
 
สอบปฏิบัติ ปลายภาค 1-2554
สอบปฏิบัติ ปลายภาค 1-2554สอบปฏิบัติ ปลายภาค 1-2554
สอบปฏิบัติ ปลายภาค 1-2554
 
Project 1 การสื่อความหมายด้วยภาพ
Project 1 การสื่อความหมายด้วยภาพProject 1 การสื่อความหมายด้วยภาพ
Project 1 การสื่อความหมายด้วยภาพ
 
Project 2 final project -p3
Project 2  final project -p3Project 2  final project -p3
Project 2 final project -p3
 
Project 1 การสื่อความหมายด้วยภาพ
Project 1 การสื่อความหมายด้วยภาพProject 1 การสื่อความหมายด้วยภาพ
Project 1 การสื่อความหมายด้วยภาพ
 
Chapter7 2-pr5-mac-capturing-importing
Chapter7 2-pr5-mac-capturing-importingChapter7 2-pr5-mac-capturing-importing
Chapter7 2-pr5-mac-capturing-importing
 
Chapter1 pr5-mac-introduction-pdf
Chapter1 pr5-mac-introduction-pdfChapter1 pr5-mac-introduction-pdf
Chapter1 pr5-mac-introduction-pdf
 
การสร้างเนื้อเพลง Karaoke ด้วยโปรแกรม photo shop cs5
การสร้างเนื้อเพลง Karaoke ด้วยโปรแกรม photo shop cs5การสร้างเนื้อเพลง Karaoke ด้วยโปรแกรม photo shop cs5
การสร้างเนื้อเพลง Karaoke ด้วยโปรแกรม photo shop cs5
 
การแปลงไฟล์ Dat เป็นไฟล์ mpeg –1 ด้วย tmpg enc plus
การแปลงไฟล์ Dat เป็นไฟล์ mpeg –1 ด้วย tmpg enc plusการแปลงไฟล์ Dat เป็นไฟล์ mpeg –1 ด้วย tmpg enc plus
การแปลงไฟล์ Dat เป็นไฟล์ mpeg –1 ด้วย tmpg enc plus
 
Chapter 1 set mac os
Chapter 1 set mac osChapter 1 set mac os
Chapter 1 set mac os
 
Imv unit7-5-pr3-title-pdf
Imv unit7-5-pr3-title-pdfImv unit7-5-pr3-title-pdf
Imv unit7-5-pr3-title-pdf
 

101 introduction to movie

  • 1. หนวยที่ ๑ ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับภาพยนตร วิชาภาพยนตรและวีดิทัศนเบื้องตน หนวยที่ ๑ ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับภาพยนตร ๑. ความหมายของภาพยนตรและหลักการเกิดภาพเคลื่อนไหว  ๒. ประวัติและวิวัฒนาการของภาพยนตร ๓. ประเภทของภาพยนตร ๔. บทบาท และอิทธิพลของภาพยนตรตอการสื่อสาร ๑. ความหมายของภาพยนตรและหลักการเกิดภาพเคลื่อนไหว ๑.๑ ความหมายของภาพยนตร คําวา “ภาพยนตร” มีชื่อเรียกในภาษาอังกฤษอยูหลายคํา เชน Motion Picture ,  Cinema , Film และ Movie เปนตน ภาพยนตรเปนกระบวนการบันทึกภาพดวยฟลม (Film) แลวนําออกฉายถายทอดเรืองราว ่ ตาง ๆ ในลักษณะภาพเคลื่อนไหว (Motion Pictures) ซึงภาพทีปรากฏบนฟลมภาพยนตรเปนเพียง ่ ่ ภาพนิ่งจํานวนมากที่มี อิริย าบถหรือการเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงไปทีละนอยเรียงตอเนื่องกัน ตาม เรื่องราวที่ถายทําและตัดตอมา เนื้อหาของภาพยนตรอาจเปนเรื่องราวหรือเหตุการณทีเ่ กิดขึนจริง ้ หรือเปนการแสดงใหเหมือนจริง หรือเปนการแสดงและสรางภาพจากจินตนาการณของผูสราง เพือให ่ ผูชมเกิดอารมณรวมไปกับภาพยนตรในขณะที่รับชม ๑.๒ หลักการเกิดภาพเคลื่อนไหว การที่เราเห็นภาพนิ่งหลาย ๆ ภาพที่ฉายตอเนื่องกัน ดูเปนลักษณะภาพเคลื่อนไหวไดนั้น สามารถอธิบายไดดวยหลักการเห็นภาพติดตา (Persistence of Vision) อันเปนหัวใจของหลักการ สรางภาพยนตรเพราะภาพยนตรก็คือภาพนิ่งแตละภาพที่ตอเนื่องกันอยางมีระบบนั่นเอง ๑.๒.๑ ภาพหมน ( Thaumatrope ) ุ Thaumatrope (อานวา ธัมมาโทรป) เปนของเลนที่ประดิษฐขึน เมื่อป พ.ศ. ้ 2368 (ค.ศ. 1825) โดย ดร.วิเลียม เฮนรี่ ฟตตอน (Dr. William Henry Fitton) ซึ่งไดแนวคิดมาจาก ่ เซอรจอหน เฮอรเซล ผูที่สังเกตวาสายตามนุษยสามารถมองเห็นภาพทั้งสองดานของเหรียญที่หมุนอยู ไดพรอมกัน
  • 2. ค ว า ม รู เ บื ้อ ง ต น เ กี ่ย ว กั บ ภ า พ ย น ต ร ห น า | ๒ ดร.วิเลี่ยม เฮนรี่ ฟตตอน (Dr. William Henry Fitton) (http://www.ireference.ca/search/William%20Henry%20Fitton/) ภาพหมุน ( Thaumatrope ) (http://littleworm55.blogspot.com/) Thaumatrope ทําจากกระดาษแข็งตัดเปนวงกลม โดยมีรูปภาพหรือภาพวาดทั้ง สองดาน เชน ถาวาดภาพดานหนึ่งเปนกรงนก สวนอีกดานหนึ่งวาดเปนรูปนก เจาะรูดานซายและขวา ของวงกลมแลวผูกเชือก เมื่อดึงเชือกใหภาพพลิกไปมาเร็ว ๆ จะเห็นภาพทังสองดานของกระดาษรวม ้ เปนภาพเดียวกัน นันคือจะเห็นภาพนกอยูในกรงได ซึ่งคําวา Thaumatrope มาจากภาษากรีก ่  หมายถึง Wonder Turning หรือ มหัศจรรยแหงการหมุน จึงเปนหนึ่งในตนแบบของภาพยนตร สามารถดูวิดีโอคลิปแสดงภาพหมุน Thaumatrope ไดจากเว็บไซต Youtube ตามลิงคนี้ http://www.youtube.com/watch?v=B8uE67JQcvU&feature=related แบงปน http://youtu.be/B8uE67JQcvU ภาพยนตรและวีดิทัศนเบื้องตน | พิพิษณ สิทธิศักดิ์ | วิทยาลัยเพาะชาง | Last update : 24 ส.ค. 2554
  • 3. ค ว า ม รู เ บื ้อ ง ต น เ กี ่ย ว กั บ ภ า พ ย น ต ร ห น า | ๓ และที่เว็บไซต AssassinDrake ตามลิงคนี้ http://assassindrake.com/tt.php ๑.๒.๒ ทฤษฎีวาดวยการเห็นภาพติดตา (Persistence of Vision) Dr. John Ayrton Paris (http://www.sciencephoto.com/images/download_lo_res.html?id=670064408) หลักการที่อธิบายถึงการมองภาพตอเนื่องของสายตามนุษย หรือทฤษฎีการเห็น ภาพติดตา คิดคนขึ้นในป พ.ศ. 2367 (ค.ศ. 1824) โดยนักทฤษฎีและแพทยชาวอังกฤษ ชื่อ Dr. John Ayrton Paris ทฤษฎีดังกลาวอธิบายถึงการมองเห็นภาพตอเนื่องของสายตามนุษยไววา ธรรมชาติของ สายตามนุษย เมื่อมองเห็นภาพใดภาพหนึ่ง หลังจากภาพนั้นหายไป สายตามนุษยจะยังคางภาพนั้นไว ที่เรตินาในชั่วขณะหนึ่ง ประมาณ 1/15 วินาที และหากในระยะเวลาดังกลาวมีภาพใหมปรากฏขึ้นมา แทนทีสมองของมนุษยจะเชือมโยงสองภาพเขาดวยกัน และหากมีภาพตอไปปรากฏขึ้นในเวลาไลเลี่ย ่ ่ กัน ก็จะเชือมโยงภาพไปเรื่อย ๆ โดยเฉพาะอยางยิง ถาชุดภาพนิ่งทีแตละภาพนั้นมีความแตกตางกัน ่ ่ ่ เพียงเล็กนอยหรือเปนภาพที่มีลักษณะขยับเคลื่อนไหวตอเนืองกันอยูแลว เมือนํามาเคลื่อนที่ผานตา ่  ่ เราอยางตอเนื่องในระยะเวลากระชั้นชิด เราจะสามารถเห็นภาพนั้นเคลื่อนไหวได อยางไรก็ตาม มีเคล็ดลับประการหนึ่ง ก็คือ กอนที่จะเปลี่ยนภาพใหมจะตองมี อะไรมาบังตาเราแวบหนึ่ง แลวคอยเปดใหเห็นภาพใหมมาแทนทีตําแหนงเดิม โดยอุปกรณที่บังตาคือ ่ ซัตเตอร (Shutter) และระยะเวลาที่ซัตเตอรบังตาจะตองนอยกวาเวลาทีฉายภาพคางไวใหดู มิฉะนั้น ่ จะมองเห็นภาพกระพริบไป ดังนัน เมื่อเอาภาพนิงทีถายมาอยางตอเนืองหลาย ๆ ภาพมาเรียงตอกัน ้ ่ ่ ่ แลวฉายภาพนันในเวลาสัน ๆ ภาพนิ่งเหลานันจะดูเหมือนวาเคลือนไหว หลักการนีจึงถูกนํามาใชใน ้ ้ ้ ่ ้ การสรางภาพเคลื่อนไหว (Animation) และภาพยนตรในระยะเวลาตอมา (http://www.thaishortfilm.com/board/viewtopic.php?t=599 , ) ๑.๓ ภาพเคลื่อนไหว กอนกําเนิดภาพยนตร ภาพยนตรและวีดิทัศนเบื้องตน | พิพิษณ สิทธิศักดิ์ | วิทยาลัยเพาะชาง | Last update : 24 ส.ค. 2554
  • 4. ค ว า ม รู เ บื ้อ ง ต น เ กี ่ย ว กั บ ภ า พ ย น ต ร ห น า | ๔ “ภาพยนตร คือภาพนิ่งแตละภาพที่ตอเนื่องกันอยางมีระบบ” ประวัติศาสตรของกลองถายภาพยนตร อาจศึกษายอนหลังลงไปถึงงานของ Leonardo da Vinci ชิ้นที่เปนไดอะแกรมของ Camera Obscura อันเปนกลองเล็กๆ ที่จับภาพกลับหัวไดทีดาน ่ ตรงขามเลนส ซึงแรกทีเดียวก็ไมมีเลนสดวยซ้าไป เปนแตรูเล็กๆเทานัน ในตอนตนศตวรรษที่ 19 ่ ํ ้ นักวิทยาศาสตร หลายคนก็พยายามคิดคนหาแผนวัสดุทีจะมารับภาพไดอยางชัดเจนและคงทนถาวร ่ การทดลองที่ประสบผล สําเร็จเกิดขึ้นในฝรั่งเศส ในป พ.ศ. 2382 (ค.ศ.1839) ดวยความพยายามของ Louise-Jacques-Mande Dagyerre และ Joseph-Nicephore Niepce แตภาพแรกๆ ของดาแกร นั้นใชเวลารับแสงนานถึง 15 นาที ในขณะที่การถาย และฉายภาพยนตรใหดูภาพเคลื่อนไหวไดเหมือน จริงนั้น จะตองใชเวลาอยางนอยก็ 16 ภาพตอวินาที ดังนั้น ในระยะนี้ภาพยนตรจึงยังไมอาจเกิดขึ้นได ในป พ.ศ. 2413 (ค.ศ.1870) กลองถายภาพนิงจึงไดมีชัตเตอร (shutter) และเริมมีการใช ่ ่ ความเร็วชัตเตอรถึง 1/1000 วินาที Eadweard Muybridge (1830-1904) Amasa Leland Stanford (http://calitreview.com/8802) http://en.wikipedia.org/wiki/Leland_Stanford บุคคลแรกที่ไดประยุกตการถายภาพนิงใหเปนภาพยนตร ก็คือ Eadweard Muybridge ่ นักแสวงโชค ชาวอังกฤษที่อพยพเขามาตังรกรากในรัฐแคลิฟอรเนีย เมื่อป พ.ศ. 2392 (ค.ศ.1849) ้ โดยมีอาชีพเปนชางถายรูปอยูที่ซานฟรานซิสโก และในป ค.ศ.1872 ผูวาการรัฐแคลิฟอรเนีย คือ  Leland Stanford ซึงเปนเจาของคอกมา และนักแขงมาไดทาพนันกับคูแขงของเขาเปนเงิน 25,000 ่ ดอลลารวา ในการควบวิ่งของมานั้น จะมีเวลาหนึ่งทีขาทั้งสีของมาจะลอยขึนเหนือพื้น โดยเขาได ่ ่ ้ วาจางใหไมบริดจหาทางพิสูจนขอเท็จจริงดังกลาว ภาพยนตรและวีดิทัศนเบื้องตน | พิพิษณ สิทธิศักดิ์ | วิทยาลัยเพาะชาง | Last update : 24 ส.ค. 2554
  • 5. ค ว า ม รู เ บื ้อ ง ต น เ กี ่ย ว กั บ ภ า พ ย น ต ร ห น า | ๕ หลังจากไดรับการวาจาง ไมบริดจก็หาทางอยูนาน จนกระทั่งป ค.ศ.1877 (บางตําราวา  1878) จึง สามารถพิสูจนได โดยความชวยเหลือของเพื่อนทีเปนวิศวกรชือ John D. Isaacs โดยเขา ่ ่ ตั้งกลอง ถายภาพนิ่ง 12 ตัว เรียงรายไวขางทางวิ่ง แลวขึงเชือกเสนเล็กๆ ขวางทางวิงไว โดยทีปลาย ่ ่ ดานหนึ่งจะผูกติดกับไกชัตเตอร ของกลองโดยมีแบตเตอรี่ไฟฟาเปนตัวควบคุม เมื่อมาวิงสะดุดเชือก ่ เสนหนึ่ง ไกชัตเตอรของกลองแรกก็จะทํางาน และเรียงลําดับไปจนครบ 12 ตัว วิธีการถายภาพมาวิ่งของ Eadweard Muybridge (http://impresssnow.com/349/349_lecture04.html) ภาพยนตรและวีดิทัศนเบื้องตน | พิพิษณ สิทธิศักดิ์ | วิทยาลัยเพาะชาง | Last update : 24 ส.ค. 2554
  • 6. ค ว า ม รู เ บื ้อ ง ต น เ กี ่ย ว กั บ ภ า พ ย น ต ร ห น า | ๖ Galloping Horse; Eadweard Muybridge, 1878 (http://andrewcatsaras.blogspot.com/p/iconic-photographs.html) หลังจากถายภาพไดแลว ไมบริดจ (Muybridge) ก็นําภาพที่ไดมาติดบนวงลอหมุน แลว ฉายดวยแมจิก แลนเทิรน (magic lantern) ทําใหเห็นภาพการเคลือนไหวของมาตอเนืองเหมือนของ ่ ่ จริง และหลังจากไดทดสอบซ้าอีกโดยใชกลอง 24 ตัว ไมบริดจ (Muybridge) ก็สามารถพิสูจนไดวา ํ ในเวลาที่มาควบไปเร็วๆ นั้น ขาทั้งสี่ของมันจะลอยขึ้นเหนือพื้นดินในเวลาหนึ่งจริงๆ แตประดิษฐ กรรม ของไมบริดจก็ยังไมถือวาเปนภาพยนตร เนืองจากวามันถายทําดวยกลองถายภาพนิง และตอง ่ ่ ใชกลอง เปนจํานวนมากตั้งแต 12 หรอ 20 หรือบางทีถึง 40 ตัวทีเดียว ื ภาพยนตรและวีดิทัศนเบื้องตน | พิพิษณ สิทธิศักดิ์ | วิทยาลัยเพาะชาง | Last update : 24 ส.ค. 2554
  • 7. ค ว า ม รู เ บื ้อ ง ต น เ กี ่ย ว กั บ ภ า พ ย น ต ร ห น า | ๗ ศึกษาเพิ่มเติม The Life and Work of Eadweard Muybridge Californaia Literary Review, Alix McKenna (May 7th, 2010). The Life and Work of Eadweard Muybridge [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://calitreview.com/8802 (วันที่คนขอมูล : 8 พฤษภาคม 2554). ประวัติภาพเคลื่อนไหว กอนกําเนิดภาพยนตร [ART 349] COMPUTER ART (ม.ป.ป.). A History of Motion – Pre-cinema [ออนไลน]. เขาถึง ไดจาก : http://impresssnow.com/349/349_lecture04.html (วันที่คนขอมูล : 21 พฤษภาคม 2554). ภาพยนตรและวีดิทัศนเบื้องตน | พิพิษณ สิทธิศักดิ์ | วิทยาลัยเพาะชาง | Last update : 24 ส.ค. 2554
  • 8. ค ว า ม รู เ บื ้อ ง ต น เ กี ่ย ว กั บ ภ า พ ย น ต ร ห น า | ๘ เอกสารอางอิง เอกสารอางอิง ๑.๑ ความหมายของภาพยนตร วิกีพีเดีย สารานุกรมเสรี (5 พฤษภาคม 2554). เทคโนโลยีภาพยนตร [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%9E%E0%B8 %A2%E0%B8%99%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B9%8C (วันที่คนขอมูล : 21 พฤษภาคม 2554). BlogGang.com : human99 (27 ธันวาคม 2550). ความหมายของภาพยนตร [ออนไลน] . เขาถึงได จาก : http://www.bloggang.com/viewdiary.php?id=human99&month=12- 2007&date=27&group=1&gblog=1 (วันที่คนขอมูล : 21 พฤษภาคม 2554). Video man studio (7 พฤศจิกายน 2553). คณคาของภาพยนตร [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : ุ http://www.videomanstudio.com/webboard- %E0%B8%84%E0%B8%B8%E0%B8%93%E0%B8%84%E0%B9%88%E0%B8% B2%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B 8%9E%E0%B8%A2%E0%B8%99%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B9%8C-1- 294224-1.html (วันที่คนขอมูล : 21 พฤษภาคม 2554). ภาพยนตรและวีดิทัศนเบื้องตน | พิพิษณ สิทธิศักดิ์ | วิทยาลัยเพาะชาง | Last update : 24 ส.ค. 2554
  • 9. ค ว า ม รู เ บื ้อ ง ต น เ กี ่ย ว กั บ ภ า พ ย น ต ร ห น า | ๙ เอกสารอางอิงง ๑.๒ หลักการเกิดภาพเคลื่อนไหว หอภาพยนตร (องคการมหาชน) (ม.ป.พ.). มหัศจรรยแหงการหมุน [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.fapot.org/index.php/monthlyexhibition/86-wonderturning (วันที่คนขอมูล : 9 เมษายน 2554). นวกานต ราชานาค (17 เมษายน 2553). Thaumatrope คออะไร [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : ื http://www.bloggang.com/viewdiary.php?id=navagan&month=10- 2008&date=03&group=5&gblog=4 (วันที่คนขอมูล : 8 เมษายน 2554). นิติวัฒน เจตนา (28 มกราคม พ.ศ. 2552). ประวัติภาพยนตรโลก [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://kiramura.blogspot.com/2009/01/blog-post_28.html (วันทีคน ่ ขอมูล : 20 เมษายน 2554). เอกสารอางอิง ๑.๒.๒ ทฤษฎีวาดวยการเห็นภาพติดตา (Persistence of Vision) หอภาพยนตร (องคการมหาชน) (ม.ป.พ.). มหัศจรรยแหงการหมุน [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.fapot.org/index.php/monthlyexhibition/86-wonderturning (วันที่คนขอมูล : 9 เมษายน 2554). ภาพยนตรและวีดิทัศนเบื้องตน | พิพิษณ สิทธิศักดิ์ | วิทยาลัยเพาะชาง | Last update : 24 ส.ค. 2554
  • 10. ค ว า ม รู เ บื ้อ ง ต น เ กี ่ย ว กั บ ภ า พ ย น ต ร ห น า | ๑๐ bloggang, นวกานต ราชานาค (กันยายน 2549). Concept และ หลักการ ของงาน (หนัง)ทดลอง เรื่อง Thaumatrope [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.bloggang.com/viewdiary.php?id=navagan&month=10- 2008&date=03&group=5&gblog=4 (วันที่คนขอมูล : 25 มนาคม 2554). ี นิติวัฒน เจตนา (28 มกราคม พ.ศ. 2552). ประวัติภาพยนตรโลก [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://kiramura.blogspot.com/2009/01/blog-post_28.html (วันทีคน ่ ขอมูล : 20 เมษายน 2554). guru.google.co.th (2 ก.พ. 2553). ในการสรางภาพยนตรใหเกิดภาพเคลื่อนไหวได เราใชหลักการ อะไร? [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://guru.google.co.th/guru/thread?tid=1f1767f41d5df7a6 (วันที่คน ขอมูล : 9 เมษายน 2554). เอกสารอางอิง ๑.๓ ภาพเคลื่อนไหว กอนกําเนิดภาพยนตร ประวัติศาสตรภาพยนตรโลก ตอนที่ ๑ postproduction52 (22 กุมภาพันธ 2553). ประวัติศาสตรภาพยนตรโลก ตอนที่ ๑ [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://postproduction52.wordpress.com/2010/02/22 (วันที่คน ขอมูล : 8 พฤษภาคม 2554). ภาพยนตรและวีดิทัศนเบื้องตน | พิพิษณ สิทธิศักดิ์ | วิทยาลัยเพาะชาง | Last update : 24 ส.ค. 2554