SlideShare a Scribd company logo
1 of 21
Download to read offline
“สรางความคิดความเห็นใหกลมกลืนกับธรรมะไมใชอยูในโลก
จะเอาแตโลกอยางเดียว เราพึ่งไดแคไหน พอทุกขขึ้นมาจริง ๆ พึ่งไมได
ซักอยาง เปนเหตุใหกระทบกระเทือนจิตใจซํ้าซาก”
ขอความขางตนเปนสวนหนึ่งของคําเทศนาของหลวงพอรูปหนึ่ง
ที่ตรงใจผูเขียนมากระหวางที่ลงมือเขียนหนังสือเลมนี้ผูเขียนตั้งใจจะให
“กาวทุกวันดวยจิตวิทยาและธรรมะ”ซึ่งมีเนื้อหาทางจิตวิทยาในหัวขอ
ที่ไดเจาะจงเลือกเปนหนังสือเพื่อใหผูอานเกิดความเขาใจในตัวเองและ
ผูอื่น มีชีวิต มีทาทีที่ถูกตองเกิดความเขาใจในตัวเองในเรื่องตาง ๆ สง
ผลใหกาวหนาทุกวันในภาระ (งาน) ที่รับผิดชอบ และกาวหนายิ่งขึ้น
ทางจิตวิญญาณซึ่งชวยใหมีความสุขที่สงบ โลกและธรรมตางพึ่งพิงกัน
การจัดการไดเหมาะสมในทางโลกดวยวิถีทางจิตวิทยา จะเอื้อใหเกิด
ความกาวหนากาวไดไกลในวิถีของธรรมะ (การปฏิบัติธรรม) ดวย
บทนํา
2 กาวทุกวันดวยจิตวิทยาและธรรมะ
องคสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจาไดเปรียบชีวิตคนเราวาเหมือน
เทียนไขที่จุดแลวสวาง เปลวไฟจะลุกกินไขเทียนและไสไปเรื่อย ๆ
เทียนไขสวางไดเพราะอาศัยปจจัยคือไขเทียนและไส ชีวิตคนเราก็
เหมือนกันเรามีชีวิตไดเพราะอาศัยปจจัยสี่แตก็ไมพอเพียงเพราะวาเรา
อยูในโลกของวัตถุนิยม โลกที่ไรพรมแดน โลกของเทคโนโลยีที่ขาวสาร
สื่อถึงกันอยางรวดเร็ว เราจึงตองอาศัยปจจัยอื่นที่เปนสากล ไดแก
ปจจัยความรูสึกมั่นคงในที่อยูอาศัย ปจจัยความรูสึกไดรับความรักหรือ
เปนสวนหนึ่งของกลุมปจจัยความรูสึกภาคภูมิใจปจจัยความตองการมี
อํานาจและปจจัยความตองการใชศักยภาพอยางสูงสุด(Selfactualization)
บางครั้งใชคําวา ความตองการตระหนักรูในตน
เทียนไขสวางไดเพราะอาศัยปจจัยที่ไมซับซอนมากเหมือน
การดํารงชีวิตมนุษย ชีวิตมนุษยที่หลงอยูในทุกขเพราะติด “กับดัก”
ปจจัยที่ทําใหชีวิตสวางไสว พระพุทธเจาบอกวา เราตองอาศัยปจจัย
ชีวิตจึงจะเดินอยูได ทรงสอนใหอาศัยปจจัยอยางพอประมาณ ใหตั้งอยู
ในทางสายกลางไมใหหยอนไป หรือตึงเกินไป ชีวิตเราที่ทุกขอยูทุกวันนี้
เพราะวาเราตั้งความคิด ความเชื่อ ความเห็นไวผิดวา ตองอาศัยปจจัย
เหลานี้มาก ๆ ชีวิตจึงจะสวางไสวโชติชวง บานที่อยูอาศัยตองไมนอยหนา
เพื่อนบานคนอื่นๆยิ่งใหญยิ่งดีตองมีคนมารักมานิยมชมชอบในตัวของ
เราเราตองมีตําแหนงหนาที่การงานที่ทําใหเกิดภาคภูมิใจหรือเราตองมี
อํานาจ มีขาวของสมบัติเยอะ ๆ ตามที่คนรวยเขามีกัน เพราะคนอื่น ๆ
จะไดยอมรับในตัวเรา และเราตองเปนคนเกง เกงมาก ๆ ดวย
ที่ตรงกันขามกับการตั้งความเห็นที่ผิดวาตองอาศัยปจจัยใหมาก
คือการตั้งความเห็นที่หยอนเกินไปวาชีวิตคนเราไมตองอาศัยปจจัยเหลา
นี้ก็ไดความเห็นเชนนี้อาจจะสวนกระแสของโลกที่ทําใหทุกขแตก็ไมใช
บทนํา 3
วาการมีความเห็นผิดตรงกันขามจะทําใหสุขได เทียนไขถาไมมีไขเทียน
อยางพอเพียงและไมมีไสที่ดีก็ดับได ชีวิตคนเราก็เหมือนกัน ถาหยอน
เกินไปโดยไมตองอาศัยปจจัยอะไรเลย เชน ไมตองมีบานของตนเอง
ไมตองใหคนมารัก ไมตองมีความภาคภูมิใจกับงาน ชีวิตของคนผูนั้นก็
อยูไมได เกิดความซึมเศรา มองโลกในแงราย หอเหี่ยวและคอย ๆ ดับ
ไปเหมือนเทียนไขเชนกัน
การเอาแตธรรมะอยางเดียวเมื่อยังมีอยูในโลกของฆราวาสก็
ไมใชสิ่งที่พระพุทธเจาทรงสนับสนุน ความจริงแลวความผิดอยูที่การ
ตีความของคนเราเอง เชน ฆราวาสไปนําเอาขอปฏิบัติของพระภิกษุ
มาใช เมื่อไดโอกาสไปเขาคอรสปฏิบัติภาวนา รูสึกอิ่มเอิบในความสุข
ที่ไดรับเหมือนเพิ่งไดกินอาหารที่แสนอรอยจนมีความสุขมาก ก็นํามา
ปฏิบัติตอที่บานหรือที่ทํางาน จนละเลยภาระหนาความรับผิดชอบของ
ฆราวาสบางคน ลูก ๆ พาลเกลียดพระภิกษุ เพราะเขาใจผิดตามประสา
เด็กวา พระทําใหมารดาของตนไมอยูบาน ไปอยูที่วัดเปนสวนใหญ หรือ
บางคนลูกศิษยพากันหนีไมอยากลงเรียนดวยเพราะทุกครั้งที่ยกตัวอยาง
หรือพูดถึงเนื้อหาจะขามไปเอาเรื่องของธรรมะมาพูดจนนักศึกษาสับสน
ในวิชาที่ลงเรียน
การปฏิบัติภาวนาเปนสิ่งที่พระพุทธเจาทรงสรรเสริญใหกระทํา
ทั้งบริษัทสี่ คือ ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสกและอุบาสิกา การไมกลมกลืนของ
การนําธรรมะมาใชในชีวิตโลก ทําใหแทนที่จะพนทุกข ก็กลับไปสราง
ทุกขใหคนอื่นอีก ซึ่งก็จะยอนกลับมาทําใหเราไมพนทุกขซักที ทั้งที่
อุตสาหเขาหาธรรมะแลว
จากการเปนผูสอนวิชาจิตวิทยาการใหการปรึกษา ซึ่งแนนอนวา
ผูเขียนยอมนําทฤษฎีที่เจาตัวมีความเชื่อและศรัทธามาปฏิบัติใชกับ
4 กาวทุกวันดวยจิตวิทยาและธรรมะ
ตนเองทุกครั้งที่อานตําราจิตวิทยาไมวาจะเปนจิตวิทยาแขนงใดผูเขียน
จะเชื่อมโยงตัวอยางหรือทฤษฎีเขากับตัวเองหรือครอบครัวมีหลายเรื่อง
ที่ทําใหรูสึกดีและเชนกัน มีหลายเรื่องที่ทําใหเจ็บปวด เพราะเรื่องของ
ตัวเองตรงกับที่ทฤษฎีกลาวมา จิตวิทยาตะวันตกสอนใหคนเรายอมรับ
อารมณที่ผานเขามาไมควรปฏิเสธและอธิบายกระบวนการของอารมณ
ลบ (เชน อารมณเสียใจมาก) วามีขั้นตอนอยางไร จึงจะลดลงหรือดับ
ไป ตามคําที่ใชกันในธรรมะการนําจิตวิทยาตะวันตกมาใชในโลก เปน
ประโยชนกับผูเขียนมาก เพราะเมื่อไดตกลงใจที่จะนําเอาธรรมมาใชใน
ชีวิตมากขึ้น ผูเขียนพบวาจิตวิทยาตะวันตกและจิตวิทยาตะวันออกมี
รอยตอเนื่องกันอยางพอดี และที่เขียนหนังสือเลมนี้ เพราะตองการ
ถายทอดสิ่งกลาวมาอาจเปนแนวทางที่เกิดประโยชนตอผูสนใจ ที่จะใช
หลักคิดสําคัญของตะวันออกคือหลักธรรมคําสอนของพระพุทธศาสนา
และศาสตรทางตะวันตกคือศาสตรทางจิตวิทยา ทานจะเชื่อในสิ่งที่
ผูเขียนพูด ถาทานไดวิเคราะหตนเองไปดวย เมื่ออานในแตละหัวขอ
รวมทั้งมีการกระทําการอานไดความรูเปนแคสุตมยปญญาปญญาที่เกิด
จากการไดอาน ไดฟง การวิเคราะหตามเปนจินตามยปญญา ปญญาที่
เกิดจากการไดไตรตรอง สําหรับการพิสูจนตามสมมุติฐานของคนอื่น
และการลงมือปฏิบัติจนไดผลกับตนเองเปนภาวนามยปญญา ปญญา
ที่เกิดจากการปฏิบัติ และเปนปญญาที่พระพุทธเจาทรงสรรเสริญมาก
เมื่อผูเขียนไดตกลงใจที่จะไปเขาหลักสูตรอบรมกรรมฐานอยาง
เปนทางการ เพราะจิตใจมีความพรอมที่จะเรียนรู ผูเขียนไดสอบถาม
เพื่อนที่เคยไปปฏิบัติกรรมฐานเธอนุงหมขาววันถือศีล ไปศาลเจาคอนขาง
ประจํา วาจะไปที่ไหนดีระหวางสถานปฏิบัติธรรม 2 แหงที่ไดเลือกไว
บทนํา 5
แลวในใจ เธอแนะนําวาดีทั้ง 2 ที่ พรอมใหขอเสนอแนะซึ่งทําใหผูเขียน
ตัดสินใจเลือกไปที่กรุงเทพฯ แทนการไปยังสถานที่หนึ่ง ซึ่งอยูไกลไป
อีก จากประสบการณ 10 วันของการปฏิบัติภาวนาอยางเขมขน ผูเขียน
คอนขางประหลาดใจตนเองที่มีความกาวหนามากเพราะสามารถทําได
คอนขางดี ตั้งแตวันแรกที่อาจารยสอนใหใชจิตดูลมหายใจเขาออกตรง
รูจมูก ตลอด 3 วันเปนการฝกปฏิบัติสมถะภาวนา เฝาดูสัมผัสของ
ลมหายใจเทานั้น ถาจิตเผลอไปคิดเรื่องอื่น เมื่อรูตัวก็ใหดึงกลับมาอยู
กับลมหายใจ เมื่อเริ่มวันที่ 4 จนถึงวันที่ 10 เปนการฝกปฏิบัติวิปสสนา
รับรูเวทนาตามรางกาย ผูเขียนพบวาเวทนาที่รับรูตามกายมีกระแส
เหมือนคลื่นไหลลื่นตลอดกาย แทบไมไดติดขัดเลย เกิดขึ้นตั้งแตเริ่ม
ปฏิบัติวันที่ 4 แตก็ไมไดเลาใหผูใดฟง ในหลักสูตรนี้จะเขมงวดมาก
หามไมใหมีการสื่อสารทั้งภาษาพูดและภาษาทาทาง ไมมีการยิ้ม หรือ
สบตาทักทาย พูดงาย ๆ คือ ใหทําตนเหมือนอยูคนเดียว อนุญาตให
พูดกันไดเฉพาะวันสุดทาย การไปอวดอางประสบการณกับคนที่เพิ่งจะ
พูดกันไดเพียงวันเดียวก็กระไรอยู และปกติก็ไมใชนิสัยของผูเขียนที่จะ
โออวด เพื่อนสนิทจะรูนิสัยนี้ดีและผูเขียนไมกลาที่จะบอกกับอาจารย
ดวยเพราะเกรงวาจะเปนการแสดงตัวอะไรเนี่ยเพียงวันแรกก็สามารถ
รับรูสึกถึงกระแสสั่นสะเทือนไดทั่วรางกาย
จากประสบการณที่ผูเขียนสามารถปฏิบัติไดดี คิดวาตนเอง
กาวหนามาก ตลอด 10 วันของการปฏิบัติภาวนา วันละประมาณ
10 ชั่วโมง ผูเขียนจึงตั้งขอสันนิษฐานวา การมีความเขาใจในจิตวิทยา
ตะวันตกและนํามาประยุกตใชกับตนเองในชีวิตประจําวัน มีผลให
อารมณที่เกี่ยวกับโทสะ ราคะ โลภะ โมหะ ไมออกมาอาละวาดระหวาง
6 กาวทุกวันดวยจิตวิทยาและธรรมะ
ที่นั่งสมาธิอารมณเหลานั้นไดรับการจัดการทางจิตวิทยาและมีชองทาง
ใหระบายออกอยางเหมาะสม ไมเชนนั้นแลว ผูเขียนคงจะไมกาวหนา
อยางรวดเร็วในการปฏิบัติเพียงครั้งแรก
ผูเขียนขอเชิญชวนผูอานมากาวไปดวยกันเพื่อทบทวนการรูจัก
ตนเอง การเขาใจผูอื่น การปรับปรุงตนโดยใชจิตวิทยาและธรรมะ โดย
การนําเสนอจิตวิทยาในรูปของคําศัพท ที่คัดเลือกจากแนวคิดตาง ๆ
รวมถึงเรื่องเลา และหลักคิดทางธรรมะควบคูไปดวยกัน
กาวทันจิตวิทยา กาวใกลธรรม กลาที่จะกาว กาวไดไกล
ดวงมณี จงรักษ
“ดูบานนั้นซิ ลูกแตละคนเรียนสูง ๆ กันทั้งนั้น ไมหยิ่งดวยนะ
มีนํ้าใจ และใจบุญกันทั้งบาน”
“พอเปนผอ.โรงเรียนดวยนะแตลูกไปกันคนละทิศละทางรูสึก
วาจะติดยาคนหนึ่ง”
ครอบครัวมีบทบาทตอพัฒนาการของเด็กที่จะเติบโตเปนวัยรุน
เปนผูใหญ ที่เปนทั้งคนดีและคนเกง พอแมควรเลี้ยงอบรมดูลูกอยางไร
นักจิตวิทยาแบงการอบรมเลี้ยงดูของพอแมออกเปน2มิติใหญ
คือมิติยอมรับ/ตอบสนองกลับ (Parental aceptance/responsive)
และมิติเรียกรอง/ควบคุม (Parental demandingness/control)
1.1 ทฤษฎีการอบรมเลี้ยงดู
(Parenting Theory)
บทที่ 1
ทฤษฎีทางจิตวิทยา
8 กาวทุกวันดวยจิตวิทยาและธรรมะ
มิติการยอมรับ/การตอบสนองกลับ หมายถึง การใหการ
สนับสนุน การใหกําลังใจ การแสดงออกซึ่งความรัก พอแมที่จัดวาอยู
ในมิตินี้ จะมีพฤติกรรมดังตอไปนี้ ยิ้มใหลูกบอยมีการชมเชย ใหกําลังใจ
สนับสนุน แสดงความอบอุนอยางมากแมในยามที่ดูวากลาวเมื่อลูก
ทําความผิดสําหรับพอแมที่มีการยอมรับ/การตอบสนองกลับตํ่ามักเปน
พอแมที่ไวตอการวิจารณลูก ดูถูกดูแคลน ลงโทษและเพิกเฉยไมสนใจ
ไมรูจักสื่อสารใหลูกรับรูวา ลูกเปนเด็กที่พอแมรัก หรือรูสึกวามีคุณคา
ผลการวิจัยพบวาการยอมรับ/ตอบสนองกลับตอลูกสูงมีความ
สัมพันธกับผลในทางบวกหลายประการเชนลูกมีการผูกพันทางอารมณ
แบบมั่นคง มีพฤติกรรมเอื้อเฟอชวยเหลือ มีสัมพันธภาพที่ดีกับเพื่อนฝูง
มีความภาคภูมิใจสูง รวมทั้งมีคุณธรรมที่เขมแข็ง ลูกมีความตองการ
ตอบแทนพอแมที่แสดงการยอมรับและตอบสนองกลับตอความตองการ
ของตนเอง ดังนั้นจึงมีแรงจูงใจทําใหสิ่งที่พอแมคาดหวังและพยายาม
เรียนรูในสิ่งที่พอแมสั่งสอนในทางกลับกันหากมิติทางดานนี้ตํ่าพอหรือ
แมหรือทั้งสองคนแสดงใหลูกรับรูวาเขาไมมีคุณคาที่จะไดรับความสนใจ
หรือความรักลูกมีแนวโนมที่จะมีความรูสึกซึมเศรามีปญหาการปรับตัว
มีความสัมพันธที่ไมดีกับเพื่อนฝูงและลูกจะไมพัฒนาตนใหงอกงามเมื่อ
เขาถูกปฏิเสธบอย ๆ หรือไมไดรับความสนใจ
มิติการเรียกรอง/การควบคุม หมายถึง การกําหนดกฎเกณฑ
รวมทั้งการสั่งสอนดูแลพฤติกรรม พอแมที่เรียกรองและควบคุมลูกเปน
ผูที่กําหนดปริมาณความมีอิสระในการแสดงออก โดยเรียกรองสิ่งที่
พอแมตองการใหลูกทําและมักตรวจตราดูวา ลูกไดทําตามกฎที่วางไว
หรือไมพอแมที่มีมิตินี้ตํ่าเปนผูที่วางกฎเกณฑนอยกวาไมคอยเรียกรอง
บทที่ 1 ทฤษฎีทางจิตวิทยา 9
สิ่งที่ตองทําหรือไมตองทําจากลูกมากเทาใด ยินยอมใหลูกมีอิสระทําใน
สิ่งที่ลูกมีความสนใจและตัดสินใจดวยตนเอง
นักจิตวิทยาสตรี Diana Baumrind ไดจัดรูปแบบการอบรม
เลี้ยงดูของพอแมตามมิติการยอมรับ/การตอบสนองกลับ และมิติเรียกรอง/
ควบคุม ระดับสูงและตํ่าได 3 แบบ จากการศึกษากลุมตัวอยางที่เปน
เด็กกอนเขาเรียนและผูปกครองเด็ก สถานรับฝากดูเด็กและที่บาน เธอ
ไดสัมภาษณพอแมรวมทั้งสังเกตปฏิสัมพันธที่มีกับลูก ขอมูลที่นํามา
สรุปผลการศึกษาคือ การวิเคราะหพฤติกรรมที่ไดจากการสังเกตเด็กใน
ดานการมีสังคม การพึ่งตนเอง ความสัมฤทธิ์ในงาน ภาวะอารมณและ
การควบคุมตนเอง และพบวาพอแมจะใชรูปแบบการอบรมเลี้ยงดูแบบ
ใดแบบหนึ่ง จากผลการสรุปที่ได 3 แบบ คือ 1. การอบรมเลี้ยงดูแบบ
แสดงอํานาจ (Authoritarian parenting) 2. การอบรมเลี้ยงดูแบบ
แสดงกฎเกณฑ (Authoritative parenting) 3. การอบรมเลี้ยงดูแบบ
ปลอยตามใจ (Permissive parenting) กลุมตัวอยางของ Baumrind
ไมพบพอแมที่มีการอบรมเลี้ยงดูแบบไมยุงเกี่ยว(Uninvolvedparenting)
การอบรมเลี้ยงดูแบบแสดงอํานาจ เปนการเลี้ยงดูที่เขมงวด มี
กฎมากมายใหปฏิบัติตองเชื่อฟงอยางเขมงวดโดยนอยครั้งที่จะอธิบาย
เหตุผล ที่ตองทําตามกฎเกณฑที่วางไวและชอบใชวิธีการลงโทษ หรือ
ยุทธวิธีการบังคับ เชน ถอดถอนความรัก หรือใชอํานาจใหปฏิบัติตาม
พอแมแสดงอํานาจจะไมมีความไวรับรูมุมมองที่ลูกรูสึกวาขัดแยง และ
คาดหวังวาลูกตองยอมรับโลกของพอแมอยางเปนกฎและตองเคารพ
คําสั่ง
10 กาวทุกวันดวยจิตวิทยาและธรรมะ
เด็กที่ไดรับการอบรมเลี้ยงดูแบบแสดงอํานาจมีคุณสมบัติของ
การเปนเด็กเจาอารมณ ดูเหมือนจะไมคอยมีความสุข หงุดหงิดงาย
ไมเปนมิตร ดูเหมือนไมมีเปาหมายและเมื่ออยูดวยไมรูสึกเพลิดเพลิน
การติดตามเด็กกลุมนี้ในชวงอายุ 8-9 ป พบวามีทักษะทางสังคมและมี
การรูคิดในระดับปานกลาง ถึงคอนขางตํ่ากวาปานกลาง
การอบรมเลี้ยงดูแบบแสดงกฎเกณฑ เปนการเลี้ยงดูที่ควบคุม
แตยืดหยุน โดยที่พอแมใหเหตุผลตอสิ่งที่พอแมเรียกรองคาดหวังจาก
ลูก พอแมรูจักใชเหตุผลอธิบายตอกฎเกณฑที่กําหนดกับลูก เพื่อใหลูก
คลอยตามและทําตามกฎที่กําหนดไว มีความไวตอการรับรูทัศนคติที่
แตกตางของลูก และยอมรับไดมากกวาพอแมประเภทแรก นอกจากนี้
ยังใหลูกมีสวนรวมในการตัดสินใจ เปนพอแมที่ใหความอบอุน ยอมรับ
ลูก โดยควบคุมใหคําแนะนําอยางใชเหตุผล
เด็กที่ไดรับการอบรมเลี้ยงดูแบบแสดงกฎเกณฑมีพัฒนาการ
คอนขางดี ราเริง มีความรับผิดชอบทางสังคม พึ่งตนเอง มุงสัมฤทธิ์และ
ใหความรวมมือกับเพื่อนและผูใหญในชวงอายุ 8-9 ปพบวาเด็กกลุมนี้
ยังมีความสามารถทางการคิด แรงจูงใจมุงสัมฤทธิ์ และทักษะทางสังคม
ในระดับสูง ซึ่งคุณลักษณะนี้ยังคงปรากฏเมื่อเด็กเขาสูวัยรุน และเปน
วัยรุนที่หางไกลจากยาเสพติด หรือพฤติกรรมที่เปนปญหา
การอบรมเลี้ยงดูแบบปลอยตามใจ เปนการเลี้ยงดูที่แสดง
การยอมรับ แตพอแมไมคอยมีกฎกับลูก หรือคาดหวังอะไรกับลูกมาก
ปลอยใหลูกแสดงความรูสึกและสัญชาตญาณ ไมควบคุมดูแลการเลน
การเรียน หรือการทํากิจกรรมของลูก แทบจะไมแสดงการควบคุมที่เอา
จริงกับพฤติกรรมตาง ๆ เด็กกลุมนี้มักทําอะไรตามอําเภอใจ ไมควบคุม
บทที่ 1 ทฤษฎีทางจิตวิทยา 11
ความตองการกาวราว โดยเฉพาะถาเปนเด็กผูชาย มีแนวโนมเอาตนเอง
เปนหลักและเจากี้เจาการขาดการควบคุมตนเองมีความเปนอิสระและ
แรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์คอนขางตํ่า
การอบรมเลี้ยงดูแบบไมยุงเกี่ยว เปนการเลี้ยงดูที่พอแมแสดง
ความหละหลวมกับลูกมาก ไมมีการเรียกรองอะไร พอแมที่เลี้ยงดูลูก
แบบนี้ มักเปนพอแมที่ปฏิเสธ ไมยอมรับในตัวลูก หรือไมก็เปนพอแม
ที่จมอยูกับความเครียดหรือปญหาของตนอยางมาก จนไมมีเวลาใหกับ
การเลี้ยงดู เด็กไดรับการเลี้ยงดูแบบไมยุงเกี่ยว เมื่อมีอายุ 3 ขวบ เด็ก
จะแสดงความกาวราวคอนขางสูง และมักระเบิดอารมณ เมื่อเขาเรียน
มักจะมีผลการเรียนที่ไมดี แสดงพฤติกรรมที่เปนปญหา เมื่อเติบโตเปน
วัยรุนบอยครั้งมีบุคลิกภาพมุงรายเปนศัตรูเห็นแกตัวมีลักษณะตอตาน
ขาดเปาหมายระยะยาวที่มีความหมายมีแนวโนมแสดงพฤติกรรมที่เปน
ปญหาเชน เกเร เสพยา มีเพศสัมพันธ หนีเรียน และทําผิดทางกฎหมาย
เด็กกลุมนี้ถูกทอดทิ้ง เสมือนกับไดยินพอแมกลาววา “ฉันไมสนใจใน
ตัวแก ไมสนใจวาแกจะทําอะไร” การรับรูในทํานองนี้ สรางความรูสึก
โกรธ และพรอมจะตอบโตกลับกับสิ่งแวดลอม หรือตัวแทนของอํานาจ
ที่ปฏิบัติกับเด็กอยางเหินหาง
12 กาวทุกวันดวยจิตวิทยาและธรรมะ
การยอมรับ/การตอบสนอง
สูง
สูง
ตํ่า
ตํ่า
แบบแสดงกฎเกณฑ
เรียกรองอยางมีเหตุผล
บังคับอยางสมํ่าเสมอ ไว
ตอความรูสึกและใหการ
ยอมรับ
แบบปลอยตามใจมี
กฎขอเรียกรองนอย ให
อิสระมากเกินไป ตามใจ
เกินเหตุ
แบบแสดงอํานาจตั้ง
กฎและขอเรียกรอง
มากมายไมคอยอธิบายมี
ความไวตอความตองการ
และความคิดกอน
แบบไมยุงเกี่ยว มีกฎ
ขอเรียกรองนอย ไมสนใจ
และไมมีความไวตอความ
ตองการของเด็ก
สรุปรูปแบบการอบรมเลี้ยงดูทั้ง 4 แบบใน 2 มิติ (Maccoby
& Martin, 1983) ดังนี้
เรียกรอง/ควบคุม
บทที่ 1 ทฤษฎีทางจิตวิทยา 13
สําหรับผลการอบรมเลี้ยงดู สรุปเปนแผนผังดังนี้คือ (Baumrind,
1977, 1997)
ผลลัพธ
รูปแบบการเลี้ยงดู วัยเด็ก วัยรุน
ความสามารถทาง
สังคมและการรูคิด
สูง
ความสามารถทาง
สังคมและการรูคิด
ปานกลาง
ความสามารถทาง
สังคม และการรูคิด
ตํ่า
ความภาคภูมิใจสูง
ทักษะทางสังคมดี
ศีลธรรมเขมแข็ง
เอื้อเฟอเห็นใจ แรง
จูงใจใฝสัมฤทธิ์ทาง
การศึกษาสูง
การศึกษา ทักษะทาง
สังคมปานกลาง ยอม
ทําตามสังคม
การศึกษาตํ่า ใชสาร
เสพติดมากกวาวัยรุน
ที่เลี้ยงดูแบบอื่น ๆ
การแสดงกฎเกณฑ
การแสดงอํานาจ
การปลอยตามใจ
14 กาวทุกวันดวยจิตวิทยาและธรรมะ
การอบรมเลี้ยงดูแบบแสดงอํานาจ เปนรูปแบบที่พอแมสวนมาก
เขาใจผิดวา จะสามารถควบคุมพฤติกรรมของลูกได การบังคับและ
กฎเกณฑที่เครงครัดมักลมเหลวตอการเลี้ยงดูบุตรใหเปนดั่งใจ เพราะ
อํานาจไมสามารถเอาชนะควบคุมจิตใจได
นิทานชาดกเรื่องหนึ่งเลาวา มีหญิงสาวคนหนึ่งเติบโตดวยการ
เลี้ยงดูของผูหญิงลวน ๆ บิดามารดาที่เปนเศรษฐีเลี้ยงดูอยางเขมงวด
เพราะกลัววาบุตรเมื่อเติบโตเปนสาวอาจชิงสุกกอนหามหรือไปชอบพอ
กับผูชายที่ชาติตระกูลไมเทาเทียมและอาจไปชอบพอกับคนรับใชที่เปน
บุรุษ ดังนั้น บานของเศรษฐีจึงมีแตบริวารที่เปนสตรีเมื่อนางเติบโตเปน
สาว เศรษฐีจึงใหแตงงานกับลูกชายของเพื่อน ที่รํ่ารวยเหมือนกับตน
นางไมไดมีความรักใครเพราะไมไดมีปฏิสัมพันธกันมากอนเลย ฝายสามี
ของนาง เมื่อไดนางเปนภรรยา ก็มีความรูสึกหึงหวงนาง ไมอยากใหนาง
ไดมีโอกาสพบปะกับบุรุษ เพราะนางอาจปนใจไปใหชายอื่นได เขาจึง
เลี้ยงดูนางเหมือนที่บิดาของนางกระทํา คือใหอยูคฤหาสนเจ็ดชั้น มี
ประตูเขาออกเจ็ดทาง และยามที่รักษาประตูลวนเปนสตรี แตในที่สุด
นางไมอาจทนตอสภาพที่ไดรับ และไดลอบหนีออกจากคฤหาสนดวย
ความรวมมือของบริวารนั้นเอง
ในทางพระพุทธศาสนา การเลี้ยงดูที่ดีของพอแม คือการทํา
หนาที่เปนปรโตโฆสะกับลูก ปรโตโฆสะ หมายถึงการบอกสิ่งที่ดี ไดแก
การบอกใหลูกหลีกเลี่ยงจากอบายมุข ชี้ใหลูกเห็นวาเพื่อนที่ดีคือเพื่อน
อยางไร ทําตัวเปนเยี่ยงอยางที่ดีกับลูก พอแมพึงเปนกัลยาณมิตรของ
ลูกดวย
ปญหาที่พบมากในสังคมปจจุบันสวนหนึ่งเปนผลจากการอบรม
เลี้ยงดูที่พอแมแสดงอํานาจ ปลอยตามใจ ไมยุงเกี่ยว ถาเราเปนพอแม
บทที่ 1 ทฤษฎีทางจิตวิทยา 15
เราคงตองการใหลูกเปนคนเกง และเปนคนดี ถาเรารูตัว และปรับการ
เลี้ยงดูแบบพอดีคือแสดงกฎเกณฑที่มีความรักความเขาใจเหตุผลและ
ความยืดหยุนประคับประคอง เราไดลูกที่เปนคนเกงและดีแนนอน อยา
ปลอยใหยีนเปนตัวกําหนดความเกงของลูก และอยาใหเปนเพียงหนาที่
ของครูหรือพระที่สอนใหลูกเปนคนดี คําดามักกลาวหาพอแมไมใชครู
หรือพระมันทําใหลูกผูถูกดาเจ็บใจบางรายบันดาลโทสะทํารายรางกาย
ถึงเสียชีวิต นี่แสดงวา แมลูกจะไมดี แตก็ยังรูจักเจ็บใจ ถาใครมาวา
กลาวพอแมของตนใหอภัยตนเองถาเราบังเอิญไมไดเลี้ยงลูกแบบพอดี
และใหอภัยลูก ถาไมไดดั่งใจเรา ปรับตนเองตอนนี้ก็ยังดีกวาไมปรับเลย
สําหรับผูที่เปนลูกอยานอยใจหรือโทษพอแมถาเราไมไดเกงหรือดีมาก
มาลมกระดาน เริ่มตนใหมเปนคนดี คนเกงตามวิถีเรา สําหรับ
คนที่ไมมีลูก หรือไมไดแตงงาน สามารถนํารูปแบบการอบรมเลี้ยงดู
ไปประยุกตใชในที่ทํางานกับลูกนอง คนงานและลูกศิษยลูกหาได
กาวทุกวันใหถูก จะดีไหม
16 กาวทุกวันดวยจิตวิทยาและธรรมะ
1.2 ทฤษฎีสามเหลี่ยมของความรัก
(A Triangular Theory of Love)
“รัก เอย จริงหรือที่วาหวาน หรือทรมานใจคน
ความรัก รอยเลหกล รักเอยลวงลอใจคน
หลอกจนตายใจ รักนี่ มีสุขทุกขเคลาไป
ใครหยั่งถึงเจาได คงไมชํ้า ฤดี.................
ขืนหาม ความรักคงไมได
กลัว หมองไหม ใจสิ้นสุขเอย”
“เมื่อความรักรองเรียก เธอจงตามมันไป
แมวาทางของมันนั้น จะขรุขระและชันเพียงไร
บทที่ 1 ทฤษฎีทางจิตวิทยา 17
และเมื่อปกของมัน โอบรอบกายเธอ จงยอมทน
แมวาหนามแหลมอันซอนอยูในปกนั้น จะเสียดแทงเธอ
และเมื่อมันพูดกับเธอ จงเชื่อตาม
แมวาเสียงของมันจะทําลายความฝนของเธอ
ดังลมเหนือพัดกระหนํ่าสวนดอกไมใหแหลกลาญไป
ฉะนั้น”
เนื้อหาแรกเปนเพลง สําหรับเนื้อหาสวนที่สอง เปนทอนหนึ่ง
ของปรัชญาชีวิต ในเรื่องความรักโดยคาลิล ยิบราน ในสวนของเพลง
นี้มีคนโพสตในเว็บวา “สมัยชั้น ป.7 รุนสุดทายรองเพลงนี้เพราะไป
หลงรักเด็กรุนนองนารักชะมัดพอเราจะจบ เธอใหรูปมาดวย นั่งดูรูป
รองเพลงนี้บนรถสามลอถีบที่เขาจอดรอรับคนหนาสถานีรถไฟ และได
ไปรองเพลงนี้อีกครั้ง ตอนจะจบ ปวช. แตตอนนั้น รองไป นํ้าตาไหล
ไป อกหักอยางแรง นี้ก็กะจะรองเพลงนี้ในงานแตงหลานละ” อานแลว
พอจะบอกไดหรือไมวา เนื้อหาของความรักตาง ๆ ขางตน เปนความรัก
แบบใด มาไลเรียงทําความรูจักกับความรักประเภทตาง ๆ กัน
รักตัณหา (Passionate love) เปนความรักที่มีความตองการ
ความรูสึกอยางเขมขน ที่จะเขาใกลชิดสัมผัสทางกายในสมองเฝาคิดถึง
จินตนาการไปตาง ๆ ในคนที่รักในสัมพันธภาพมีความปรารถนาที่จะ
เขาใกล ปรารถนาที่จะรูเรื่องของคนที่รัก รางกายรูสึกถูกกระตุนเรา
ทางเพศ มีพฤติกรรมเขาหาชวยเหลือ
รักโรแมนติก(Romanticlove)เปนความรักคลายรักแรกพบ
รูสึกวาความรักนั้นปนความรักที่แท กลาเผชิญอุปสรรคทั้งหมด รับรูวา
18 กาวทุกวันดวยจิตวิทยาและธรรมะ
ความรักของตนเกือบสมบูรณคิดวาตนและคนรักตางมีสารในรางกายที่
ดึงดูดระหวางกัน เผลอ ๆ คิดวาสัมพันธภาพของตนดีกวาผูอื่น
รักแบบเพื่อน (Companionate love)เปนความรักผูกพันที่
ใหความสําคัญกับการเอาใจใส ความไววางใจ ความอดทนตอจุดออน
ของแตละฝายอารมณรักใหความรูสึกอบอุนมากกวาเสนหาทางเพศมัก
เปนความรักที่คอย ๆ พัฒนาจากสัมพันธภาพแบบเพื่อน
คุณRobertSternbergเสนอวาความรักไมวาจะเปนแบบไหน
จะตองมีสวนขององคประกอบ 3 อยางที่เกิดขึ้นกับทั้งสองฝาย ไดแก
ความสนิทสนมใกลชิด (Intimacy) ความรูสึกเสนหาทางเพศ
(Passion) และการตกลงใจผูกมัด (Commitment)
ความสนิทสนมใกลชิด เปนความรูสึกใกลชิด เชื่อมโยง
ตอกัน แตละฝายตางมีความเขาใจอีกฝายหนึ่งแบบลึกซึ้ง ตางหวงใยใน
สวัสดิภาพและความสุขตอกัน แสดงความเอาใจใสแตละฝายเปดเผย
ตนเอง แลกเปลี่ยนความคิด ความรูสึกและปญหาของตน
ความรูสึกเสนหาทางเพศเปนความรูสึกดึงดูดใจแบบโรแมนติก
รางกายรูสึกกระตุนเราเมื่อเขาใกลหัวใจเตนแรงหรือขนลุกอยากสัมผัส
ถูกเนื้อตองตัว ความตองการทางเพศถูกเรา
การตกลงใจผูกมัดเปนการตัดสินใจที่จะมีสัมพันธภาพกับคนที่
ตนรักเพียงผูเดียวทั้งในปจจุบันและในระยะยาว ดังนั้นมีการตัดสินใจที่
จะแตงงานอยูรวมกัน
ทั้งนี้ องคประกอบทั้ง 3 อยางจะมีมากนอยตางกัน ในความรัก
ประเภทตาง ๆ ลองมาตรวจสอบกันดูหนอย คิดวาถูกไหม
ความรักแบบหวือหวา (Infatuated love) หรือ Puppy
love มีแตความรูสึกเสนหาทางเพศ สวนความสนิทสนมใกลชิดและ
บทที่ 1 ทฤษฎีทางจิตวิทยา 19
การตกลงใจผูกมัดเปนศูนย ตัวอยางเชน เด็กและวัยรุนที่หลงรักดารา
นักรองที่ตนชื่นชม
รักวางเปลา(Emptylove)มีการตกลงใจผูกมัดแตปราศจาก
ความสนิทสนมใกลชิด ความรูสึกเสนหาทางเพศเชนคูที่ตองอยูดวยกัน
ตามประเพณี นาน ๆ ไปไมไดมีอะไรตอกันทางเพศ และทั้งสองฝายไมมี
การแลกเปลี่ยนความคิดความรูสึกที่แทจริง
รักโรแมนติกมีความสนิทสนมใกลชิดความรูสึกเสนหาทางเพศ
แตปราศจากการตกลงใจผูกมัด เพราะวาไมไดแตงงานดวยกัน
รักแบบเพื่อน มีความสนิทสนมใกลชิด การตกลงใจผูกมัด
แตความรูสึกเสนหาทางเพศอาจเหลือศูนยเชนคูรักที่แตงงานกันมานาน
รักลวงตา (Fatuous love) มีความรูสึกเสนหาทางเพศ การ
ตกลงใจผูกมัด แตไมมีความสนิทสนมใกลชิด เชน คูที่แตงงานกันอยาง
จําใจ ฝายชายอาจมีเพศสัมพันธกับฝายหญิง แตทั้งคูไมสามารถพูดคุย
ถึงความคิด ความตองการของตนอยางแทจริง
นอกจากนี้ องคประกอบทั้ง 3 มีระดับสูงตํ่าที่แตกตางกัน
ตามเวลา นั่นคือ ความรูสึกเสนหาทางเพศ จะเกิดอยางรวดเร็วและ
คอยจางลง ขณะที่ความสนิทสนมใกลชิดคอย ๆ เกิดอยางชา ๆ และ
เพิ่มดีกรีมากขึ้นเมื่อเวลาผานไป สําหรับการตกลงใจผูกมัดมีปริมาณ
เทาเดิมและระยะยาว อาจลดลงในคูที่ความรักลมเหลว ความรักที่ทั้ง
คูอยูกันแกเฒาอยางมีความสุข คือความรักแบบเพื่อนหรือรักแท หรือ
ความรักที่พอแมมีตอลูก
ความรูสึกเสนหาทางเพศ เปนองคประกอบของความรักที่มี
อิทธิพลรุนแรงมาก ในสมัยพุทธกาล นางสิริมานองสาวหมอชีวกเปน
ชาวนครที่มีรูปรางงดงามและกริยาออนชอย นางเปนผูที่ชอบนิมนต
20 กาวทุกวันดวยจิตวิทยาและธรรมะ
ภิกษุสงฆและถวายทานจํานวนมาก ภิกษุที่ไปรับนิมนตที่บานนางเมื่อ
กลับมาถึงที่พัก จะสาธยายคุณงามความดีและรูปรางงดงามของนางให
บรรดาภิกษุรูปอื่นฟงภิกษุรูปหนึ่งพอฟงก็เกิดความอยากที่จะเห็นตัวจริง
จึงบอกวา ตนจะไปรับภักษาที่บานนาง บังเอิญวันที่ภิกษุหนุมรูปนี้ไป
บานนาง พรอมภิกษุรูปอื่นนั้น นางสิริมาไดลมปวยนอนซม ไมสามารถ
ลุกมานิมนตภิกษุสงฆได นางจึงใหสาวใชมาถวายทานแทน เมื่อเหลา
ภิกษุฉันอาหารเสร็จนางใหสาวใชพยุงนางเพื่อไหวพระภิกษุทันทีที่เห็น
นางภิกษุหนุมคิดในใจวาขนาดปวยยังงามเลยถานางสบายดีไมรูจะงาม
อีกกี่เทา เมื่อกลับมาถึงที่พัก ภิกษุหนุมเฝาคิดถึงนาง ขนาดฉันอาหาร
ไมลง เพื่อนภิกษุมาออนวอนก็ไมยอมฉัน ในวันตอมานางสิริมาไดเสีย
ชีวิตจากการปวย พระพุทธเจาทรงทราบและทรงสั่งไมใหเผานางกอน
ใหเอาศพไปเก็บรอที่ปาชา ในสองสามวันศพยังไมมีอะไรเปลี่ยนแปลง
มากนัก พอเขาวันที่สี่ ศพก็เริ่มอืด สงกลิ่นเหม็นเนา พระพุทธองครับสั่ง
ใหพระภิกษุทั้งหมดเตรียมตัวไปที่ปาชาเมื่อเพื่อนภิกษุมาชวนภิกษุหนุม
มีเรี่ยวแรงลุกจากเตียงไปปาชาดวย ไดมีประกาศใหมารับรางนางสิริมา
ที่สงกลิ่นเหม็นไปทั่ว แตไมปรากฏวามีผูใดมารับศพไป พระพุทธองค
ทรงตรัสใหคติวา นางสิริมาเคยเปนที่รักใครของใคร ๆ มากอน มาบัดนี้
ใหนางเปลาโดยไมเสียอะไร ก็ไมมีใครอยากได สังขารเปนอยางนี้ ยอม
มีความสิ้นเสื่อมกันทุกคน
รักแมนี้ไมมีวันหมด ขาวคุณแมดูแลบุตรชายซึ่งพิการมาเปน
เวลา 20 ป นางใชเงินสงเคราะหเดือนละ 340 หยวนและปฏิเสธ
เงินบริจาคจํานวน 100,000 หยวนจากนักธุรกิจ ภาพที่นางจังในสภาพ
คนชราอายุ 96 ป ปอนขาวและเช็ดตัวลูกชายอายุ 59 ป ใหความรูสึก
ตื้นตัน และนํ้าตาซึมอีก
บทที่ 1 ทฤษฎีทางจิตวิทยา 21
คนที่ไมสมหวังในรัก บางคนยอมสละชีวิตและอธิษฐานใหตน
ไดสมหวังในรักในชาติหนา คนที่สมหวังแลวบางคูก็หวังวาชาติตอไป
จะไดเปนเนื้อคูกันอีก ในพระไตรปฎกแนะไววา สามีภรรยาที่จะเจอกัน
อีกในชาติหนานั้น ตองมีองคประกอบ 4 อยางเสมอกัน คือ ศรัทธา ศีล
ทาน และปญญา ใครที่รักหลงเขาขางเดียว ปรารถนาความรักที่สมหวัง
ในชาติหนา ขอแนะใหนําเอาองคประกอบทั้ง 4 ขอนี้ไปไตรตรอง สอง
กลองขยายใหเห็นกันชัด ๆ เราศรัทธาวา ทําดีไดดี ทําชั่วไดชั่ว คนที่เรา
รักเชื่อวาทําชั่วก็ไดดี เรามีศีลครบ แตเขามีศีลขาด ๆ วิ่น ๆ เราทําบุญ
เปนประจํา เขาทําเฉพาะเทศกาล เราบริจาคโลหิต เขาบริจาคของไมใช
แลว เราดูขาว เขาดูเกมส เออนะ ! แลวแบบนี้จะไดเจอกันชาติหนา ปะ
วันนี้ กาวดวยการเพิ่มองคประกอบของความรัก
กาวพรอมกับคนที่เรารักดวยศรัทธา ศีล ทาน และ
ปญญาที่เสมอกัน
กาวดวยความรักผูอื่น แตไมลืม
รักนี้ ที่ไมมีวันหมดของบิดามารดา

More Related Content

What's hot

ชีวิตใหม่
ชีวิตใหม่ชีวิตใหม่
ชีวิตใหม่Thamma Dlife
 
ธรรมะเสวนา หลวงปู่เทสก์ เทสรังสี
ธรรมะเสวนา หลวงปู่เทสก์ เทสรังสีธรรมะเสวนา หลวงปู่เทสก์ เทสรังสี
ธรรมะเสวนา หลวงปู่เทสก์ เทสรังสีTaweedham Dhamtawee
 
หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต ขันธะวิมุติสะมังคีธรรม
หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต    ขันธะวิมุติสะมังคีธรรมหลวงปู่มั่น ภูริทัตโต    ขันธะวิมุติสะมังคีธรรม
หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต ขันธะวิมุติสะมังคีธรรมTongsamut vorasan
 
3 ตามรอยธรรม dhamatrail
3 ตามรอยธรรม dhamatrail3 ตามรอยธรรม dhamatrail
3 ตามรอยธรรม dhamatrailTongsamut vorasan
 
อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)
อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)
อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)Padvee Academy
 
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิตกลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิตfreelance
 
คำสอนหลวงปู่เจี๊ยะ จุนฺโท
คำสอนหลวงปู่เจี๊ยะ จุนฺโทคำสอนหลวงปู่เจี๊ยะ จุนฺโท
คำสอนหลวงปู่เจี๊ยะ จุนฺโทMI
 
คำนำทำ 2 (ตามดูรู้จิต)
คำนำทำ 2 (ตามดูรู้จิต)คำนำทำ 2 (ตามดูรู้จิต)
คำนำทำ 2 (ตามดูรู้จิต)Songsarid Ruecha
 
รวมหลักธรรมสำหรับท่องจำแบบย่อ ธศ ตรี
รวมหลักธรรมสำหรับท่องจำแบบย่อ ธศ ตรีรวมหลักธรรมสำหรับท่องจำแบบย่อ ธศ ตรี
รวมหลักธรรมสำหรับท่องจำแบบย่อ ธศ ตรีTheeraphisith Candasaro
 
กฏแห่งกรรม
กฏแห่งกรรมกฏแห่งกรรม
กฏแห่งกรรมjune_yenta4
 
พระพุทธศาสนากับสัตว์ป่า
พระพุทธศาสนากับสัตว์ป่าพระพุทธศาสนากับสัตว์ป่า
พระพุทธศาสนากับสัตว์ป่าKasetsart University
 
Luangpoo on
Luangpoo onLuangpoo on
Luangpoo onMI
 
สำนักปฏิบัติธรรมสุธัมมสถาน มงคลสามสิบแปด
สำนักปฏิบัติธรรมสุธัมมสถาน   มงคลสามสิบแปดสำนักปฏิบัติธรรมสุธัมมสถาน   มงคลสามสิบแปด
สำนักปฏิบัติธรรมสุธัมมสถาน มงคลสามสิบแปดTongsamut vorasan
 
Design for Inspiration บทที่ 4: Sense and Intent การรับรู้ได้ถึงการเปลี่ยนแปล...
Design for Inspiration บทที่ 4: Sense and Intent การรับรู้ได้ถึงการเปลี่ยนแปล...Design for Inspiration บทที่ 4: Sense and Intent การรับรู้ได้ถึงการเปลี่ยนแปล...
Design for Inspiration บทที่ 4: Sense and Intent การรับรู้ได้ถึงการเปลี่ยนแปล...Banyapon Poolsawas
 
พุทธภาษิตนักเรียน
พุทธภาษิตนักเรียนพุทธภาษิตนักเรียน
พุทธภาษิตนักเรียนniralai
 
สังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิดสังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิดPadvee Academy
 
ใบความรู้ จิตตปัญญาศึกษา
ใบความรู้  จิตตปัญญาศึกษาใบความรู้  จิตตปัญญาศึกษา
ใบความรู้ จิตตปัญญาศึกษาsaengpet
 

What's hot (19)

ชีวิตใหม่
ชีวิตใหม่ชีวิตใหม่
ชีวิตใหม่
 
ธรรมะเสวนา หลวงปู่เทสก์ เทสรังสี
ธรรมะเสวนา หลวงปู่เทสก์ เทสรังสีธรรมะเสวนา หลวงปู่เทสก์ เทสรังสี
ธรรมะเสวนา หลวงปู่เทสก์ เทสรังสี
 
หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต ขันธะวิมุติสะมังคีธรรม
หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต    ขันธะวิมุติสะมังคีธรรมหลวงปู่มั่น ภูริทัตโต    ขันธะวิมุติสะมังคีธรรม
หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต ขันธะวิมุติสะมังคีธรรม
 
3 ตามรอยธรรม dhamatrail
3 ตามรอยธรรม dhamatrail3 ตามรอยธรรม dhamatrail
3 ตามรอยธรรม dhamatrail
 
อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)
อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)
อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)
 
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิตกลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
 
คำสอนหลวงปู่เจี๊ยะ จุนฺโท
คำสอนหลวงปู่เจี๊ยะ จุนฺโทคำสอนหลวงปู่เจี๊ยะ จุนฺโท
คำสอนหลวงปู่เจี๊ยะ จุนฺโท
 
คำนำทำ 2 (ตามดูรู้จิต)
คำนำทำ 2 (ตามดูรู้จิต)คำนำทำ 2 (ตามดูรู้จิต)
คำนำทำ 2 (ตามดูรู้จิต)
 
รวมหลักธรรมสำหรับท่องจำแบบย่อ ธศ ตรี
รวมหลักธรรมสำหรับท่องจำแบบย่อ ธศ ตรีรวมหลักธรรมสำหรับท่องจำแบบย่อ ธศ ตรี
รวมหลักธรรมสำหรับท่องจำแบบย่อ ธศ ตรี
 
กฏแห่งกรรม
กฏแห่งกรรมกฏแห่งกรรม
กฏแห่งกรรม
 
พระพุทธศาสนากับสัตว์ป่า
พระพุทธศาสนากับสัตว์ป่าพระพุทธศาสนากับสัตว์ป่า
พระพุทธศาสนากับสัตว์ป่า
 
Luangpoo on
Luangpoo onLuangpoo on
Luangpoo on
 
Ariyasaj begin 2
Ariyasaj begin 2Ariyasaj begin 2
Ariyasaj begin 2
 
สำนักปฏิบัติธรรมสุธัมมสถาน มงคลสามสิบแปด
สำนักปฏิบัติธรรมสุธัมมสถาน   มงคลสามสิบแปดสำนักปฏิบัติธรรมสุธัมมสถาน   มงคลสามสิบแปด
สำนักปฏิบัติธรรมสุธัมมสถาน มงคลสามสิบแปด
 
ปฏิจจสมุปบาท
ปฏิจจสมุปบาท ปฏิจจสมุปบาท
ปฏิจจสมุปบาท
 
Design for Inspiration บทที่ 4: Sense and Intent การรับรู้ได้ถึงการเปลี่ยนแปล...
Design for Inspiration บทที่ 4: Sense and Intent การรับรู้ได้ถึงการเปลี่ยนแปล...Design for Inspiration บทที่ 4: Sense and Intent การรับรู้ได้ถึงการเปลี่ยนแปล...
Design for Inspiration บทที่ 4: Sense and Intent การรับรู้ได้ถึงการเปลี่ยนแปล...
 
พุทธภาษิตนักเรียน
พุทธภาษิตนักเรียนพุทธภาษิตนักเรียน
พุทธภาษิตนักเรียน
 
สังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิดสังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิด
 
ใบความรู้ จิตตปัญญาศึกษา
ใบความรู้  จิตตปัญญาศึกษาใบความรู้  จิตตปัญญาศึกษา
ใบความรู้ จิตตปัญญาศึกษา
 

Viewers also liked

9789740333395
97897403333959789740333395
9789740333395CUPress
 
9789740335252
97897403352529789740335252
9789740335252CUPress
 
9789740335252
97897403352529789740335252
9789740335252CUPress
 
9749740331698
97497403316989749740331698
9749740331698CUPress
 
9789740333449
97897403334499789740333449
9789740333449CUPress
 
9789740335832
97897403358329789740335832
9789740335832CUPress
 
หนังสือการสอนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติ
หนังสือการสอนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติหนังสือการสอนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติ
หนังสือการสอนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติSutat Inpa
 
การสอนภาษาไทย ในฐานะภาษาต่างประเทศ
การสอนภาษาไทย ในฐานะภาษาต่างประเทศการสอนภาษาไทย ในฐานะภาษาต่างประเทศ
การสอนภาษาไทย ในฐานะภาษาต่างประเทศJanjira Kunnapan
 
9789740335726
97897403357269789740335726
9789740335726CUPress
 
Learn Thai - FSI Basic Course (Part 2)
Learn Thai - FSI Basic Course (Part 2)Learn Thai - FSI Basic Course (Part 2)
Learn Thai - FSI Basic Course (Part 2)101_languages
 
Learn Thai - FSI Basic Course (Part 1)
Learn Thai - FSI Basic Course (Part 1)Learn Thai - FSI Basic Course (Part 1)
Learn Thai - FSI Basic Course (Part 1)101_languages
 
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศการสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศจีระภา ตราโชว์
 
How to Become a Thought Leader in Your Niche
How to Become a Thought Leader in Your NicheHow to Become a Thought Leader in Your Niche
How to Become a Thought Leader in Your NicheLeslie Samuel
 

Viewers also liked (16)

9789740333395
97897403333959789740333395
9789740333395
 
9789740335252
97897403352529789740335252
9789740335252
 
9789740335252
97897403352529789740335252
9789740335252
 
9749740331698
97497403316989749740331698
9749740331698
 
9789740333449
97897403334499789740333449
9789740333449
 
9789740335832
97897403358329789740335832
9789740335832
 
หนังสือการสอนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติ
หนังสือการสอนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติหนังสือการสอนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติ
หนังสือการสอนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติ
 
การสอนภาษาไทย ในฐานะภาษาต่างประเทศ
การสอนภาษาไทย ในฐานะภาษาต่างประเทศการสอนภาษาไทย ในฐานะภาษาต่างประเทศ
การสอนภาษาไทย ในฐานะภาษาต่างประเทศ
 
How to say in Thai
How to say in ThaiHow to say in Thai
How to say in Thai
 
9789740335726
97897403357269789740335726
9789740335726
 
Learn Thai - FSI Basic Course (Part 2)
Learn Thai - FSI Basic Course (Part 2)Learn Thai - FSI Basic Course (Part 2)
Learn Thai - FSI Basic Course (Part 2)
 
Learn Thai - FSI Basic Course (Part 1)
Learn Thai - FSI Basic Course (Part 1)Learn Thai - FSI Basic Course (Part 1)
Learn Thai - FSI Basic Course (Part 1)
 
Myanmar EP 1
Myanmar EP 1Myanmar EP 1
Myanmar EP 1
 
Thai Language pdf
Thai Language pdfThai Language pdf
Thai Language pdf
 
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศการสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
 
How to Become a Thought Leader in Your Niche
How to Become a Thought Leader in Your NicheHow to Become a Thought Leader in Your Niche
How to Become a Thought Leader in Your Niche
 

Similar to 9789740335467

พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะPadvee Academy
 
Luangta mahabua1
Luangta mahabua1Luangta mahabua1
Luangta mahabua1MI
 
การไม ตัดสินใจ
การไม ตัดสินใจการไม ตัดสินใจ
การไม ตัดสินใจTanapat Tanakulpaisal
 
กลยุทธ์การส่งเสริมการอ่านสำกรับวัยรุ่น
กลยุทธ์การส่งเสริมการอ่านสำกรับวัยรุ่นกลยุทธ์การส่งเสริมการอ่านสำกรับวัยรุ่น
กลยุทธ์การส่งเสริมการอ่านสำกรับวัยรุ่นSilpakorn University
 
จิตปัญญาศึกษา จำเรียง
จิตปัญญาศึกษา  จำเรียงจิตปัญญาศึกษา  จำเรียง
จิตปัญญาศึกษา จำเรียงchamriang
 
ตามรอยบูรพาจารย์4
ตามรอยบูรพาจารย์4ตามรอยบูรพาจารย์4
ตามรอยบูรพาจารย์4MI
 
คิดต่าง สร้างใหม่
คิดต่าง  สร้างใหม่คิดต่าง  สร้างใหม่
คิดต่าง สร้างใหม่Chu Ching
 
ชวิตนี้มีแต่สุข_อ.เฉลิมชัย
ชวิตนี้มีแต่สุข_อ.เฉลิมชัยชวิตนี้มีแต่สุข_อ.เฉลิมชัย
ชวิตนี้มีแต่สุข_อ.เฉลิมชัยAchara Sritavarit
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)Padvee Academy
 
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์pentanino
 
เครียดได้ก็หายได้
เครียดได้ก็หายได้เครียดได้ก็หายได้
เครียดได้ก็หายได้Phairot Odthon
 
Why not the best? draft 2.0-29-9-59
Why not the best? draft 2.0-29-9-59Why not the best? draft 2.0-29-9-59
Why not the best? draft 2.0-29-9-59Pramook Boothsamarn
 

Similar to 9789740335467 (13)

พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
 
Luangta mahabua1
Luangta mahabua1Luangta mahabua1
Luangta mahabua1
 
การไม ตัดสินใจ
การไม ตัดสินใจการไม ตัดสินใจ
การไม ตัดสินใจ
 
กลยุทธ์การส่งเสริมการอ่านสำกรับวัยรุ่น
กลยุทธ์การส่งเสริมการอ่านสำกรับวัยรุ่นกลยุทธ์การส่งเสริมการอ่านสำกรับวัยรุ่น
กลยุทธ์การส่งเสริมการอ่านสำกรับวัยรุ่น
 
จิตปัญญาศึกษา จำเรียง
จิตปัญญาศึกษา  จำเรียงจิตปัญญาศึกษา  จำเรียง
จิตปัญญาศึกษา จำเรียง
 
ตามรอยบูรพาจารย์4
ตามรอยบูรพาจารย์4ตามรอยบูรพาจารย์4
ตามรอยบูรพาจารย์4
 
การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]
การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]
การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]
 
คิดต่าง สร้างใหม่
คิดต่าง  สร้างใหม่คิดต่าง  สร้างใหม่
คิดต่าง สร้างใหม่
 
ชวิตนี้มีแต่สุข_อ.เฉลิมชัย
ชวิตนี้มีแต่สุข_อ.เฉลิมชัยชวิตนี้มีแต่สุข_อ.เฉลิมชัย
ชวิตนี้มีแต่สุข_อ.เฉลิมชัย
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
 
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
 
เครียดได้ก็หายได้
เครียดได้ก็หายได้เครียดได้ก็หายได้
เครียดได้ก็หายได้
 
Why not the best? draft 2.0-29-9-59
Why not the best? draft 2.0-29-9-59Why not the best? draft 2.0-29-9-59
Why not the best? draft 2.0-29-9-59
 

More from CUPress

9789740337737
97897403377379789740337737
9789740337737CUPress
 
9789740337560
97897403375609789740337560
9789740337560CUPress
 
9789740337478
97897403374789789740337478
9789740337478CUPress
 
9789740337270
97897403372709789740337270
9789740337270CUPress
 
9789740337102
97897403371029789740337102
9789740337102CUPress
 
9789740337096
97897403370969789740337096
9789740337096CUPress
 
9789740337072
97897403370729789740337072
9789740337072CUPress
 
9789740337027
97897403370279789740337027
9789740337027CUPress
 
9789740336914
97897403369149789740336914
9789740336914CUPress
 
9789740336907
97897403369079789740336907
9789740336907CUPress
 
9789740336686
97897403366869789740336686
9789740336686CUPress
 
9789740336457
97897403364579789740336457
9789740336457CUPress
 
9789740336440
97897403364409789740336440
9789740336440CUPress
 
9789740336389
97897403363899789740336389
9789740336389CUPress
 
9789740336280
97897403362809789740336280
9789740336280CUPress
 
9789740336365
97897403363659789740336365
9789740336365CUPress
 
9789740336303
97897403363039789740336303
9789740336303CUPress
 
9789740336242
97897403362429789740336242
9789740336242CUPress
 
9789740336235
97897403362359789740336235
9789740336235CUPress
 
9789740336099
97897403360999789740336099
9789740336099CUPress
 

More from CUPress (20)

9789740337737
97897403377379789740337737
9789740337737
 
9789740337560
97897403375609789740337560
9789740337560
 
9789740337478
97897403374789789740337478
9789740337478
 
9789740337270
97897403372709789740337270
9789740337270
 
9789740337102
97897403371029789740337102
9789740337102
 
9789740337096
97897403370969789740337096
9789740337096
 
9789740337072
97897403370729789740337072
9789740337072
 
9789740337027
97897403370279789740337027
9789740337027
 
9789740336914
97897403369149789740336914
9789740336914
 
9789740336907
97897403369079789740336907
9789740336907
 
9789740336686
97897403366869789740336686
9789740336686
 
9789740336457
97897403364579789740336457
9789740336457
 
9789740336440
97897403364409789740336440
9789740336440
 
9789740336389
97897403363899789740336389
9789740336389
 
9789740336280
97897403362809789740336280
9789740336280
 
9789740336365
97897403363659789740336365
9789740336365
 
9789740336303
97897403363039789740336303
9789740336303
 
9789740336242
97897403362429789740336242
9789740336242
 
9789740336235
97897403362359789740336235
9789740336235
 
9789740336099
97897403360999789740336099
9789740336099
 

9789740335467

  • 1. “สรางความคิดความเห็นใหกลมกลืนกับธรรมะไมใชอยูในโลก จะเอาแตโลกอยางเดียว เราพึ่งไดแคไหน พอทุกขขึ้นมาจริง ๆ พึ่งไมได ซักอยาง เปนเหตุใหกระทบกระเทือนจิตใจซํ้าซาก” ขอความขางตนเปนสวนหนึ่งของคําเทศนาของหลวงพอรูปหนึ่ง ที่ตรงใจผูเขียนมากระหวางที่ลงมือเขียนหนังสือเลมนี้ผูเขียนตั้งใจจะให “กาวทุกวันดวยจิตวิทยาและธรรมะ”ซึ่งมีเนื้อหาทางจิตวิทยาในหัวขอ ที่ไดเจาะจงเลือกเปนหนังสือเพื่อใหผูอานเกิดความเขาใจในตัวเองและ ผูอื่น มีชีวิต มีทาทีที่ถูกตองเกิดความเขาใจในตัวเองในเรื่องตาง ๆ สง ผลใหกาวหนาทุกวันในภาระ (งาน) ที่รับผิดชอบ และกาวหนายิ่งขึ้น ทางจิตวิญญาณซึ่งชวยใหมีความสุขที่สงบ โลกและธรรมตางพึ่งพิงกัน การจัดการไดเหมาะสมในทางโลกดวยวิถีทางจิตวิทยา จะเอื้อใหเกิด ความกาวหนากาวไดไกลในวิถีของธรรมะ (การปฏิบัติธรรม) ดวย บทนํา
  • 2. 2 กาวทุกวันดวยจิตวิทยาและธรรมะ องคสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจาไดเปรียบชีวิตคนเราวาเหมือน เทียนไขที่จุดแลวสวาง เปลวไฟจะลุกกินไขเทียนและไสไปเรื่อย ๆ เทียนไขสวางไดเพราะอาศัยปจจัยคือไขเทียนและไส ชีวิตคนเราก็ เหมือนกันเรามีชีวิตไดเพราะอาศัยปจจัยสี่แตก็ไมพอเพียงเพราะวาเรา อยูในโลกของวัตถุนิยม โลกที่ไรพรมแดน โลกของเทคโนโลยีที่ขาวสาร สื่อถึงกันอยางรวดเร็ว เราจึงตองอาศัยปจจัยอื่นที่เปนสากล ไดแก ปจจัยความรูสึกมั่นคงในที่อยูอาศัย ปจจัยความรูสึกไดรับความรักหรือ เปนสวนหนึ่งของกลุมปจจัยความรูสึกภาคภูมิใจปจจัยความตองการมี อํานาจและปจจัยความตองการใชศักยภาพอยางสูงสุด(Selfactualization) บางครั้งใชคําวา ความตองการตระหนักรูในตน เทียนไขสวางไดเพราะอาศัยปจจัยที่ไมซับซอนมากเหมือน การดํารงชีวิตมนุษย ชีวิตมนุษยที่หลงอยูในทุกขเพราะติด “กับดัก” ปจจัยที่ทําใหชีวิตสวางไสว พระพุทธเจาบอกวา เราตองอาศัยปจจัย ชีวิตจึงจะเดินอยูได ทรงสอนใหอาศัยปจจัยอยางพอประมาณ ใหตั้งอยู ในทางสายกลางไมใหหยอนไป หรือตึงเกินไป ชีวิตเราที่ทุกขอยูทุกวันนี้ เพราะวาเราตั้งความคิด ความเชื่อ ความเห็นไวผิดวา ตองอาศัยปจจัย เหลานี้มาก ๆ ชีวิตจึงจะสวางไสวโชติชวง บานที่อยูอาศัยตองไมนอยหนา เพื่อนบานคนอื่นๆยิ่งใหญยิ่งดีตองมีคนมารักมานิยมชมชอบในตัวของ เราเราตองมีตําแหนงหนาที่การงานที่ทําใหเกิดภาคภูมิใจหรือเราตองมี อํานาจ มีขาวของสมบัติเยอะ ๆ ตามที่คนรวยเขามีกัน เพราะคนอื่น ๆ จะไดยอมรับในตัวเรา และเราตองเปนคนเกง เกงมาก ๆ ดวย ที่ตรงกันขามกับการตั้งความเห็นที่ผิดวาตองอาศัยปจจัยใหมาก คือการตั้งความเห็นที่หยอนเกินไปวาชีวิตคนเราไมตองอาศัยปจจัยเหลา นี้ก็ไดความเห็นเชนนี้อาจจะสวนกระแสของโลกที่ทําใหทุกขแตก็ไมใช
  • 3. บทนํา 3 วาการมีความเห็นผิดตรงกันขามจะทําใหสุขได เทียนไขถาไมมีไขเทียน อยางพอเพียงและไมมีไสที่ดีก็ดับได ชีวิตคนเราก็เหมือนกัน ถาหยอน เกินไปโดยไมตองอาศัยปจจัยอะไรเลย เชน ไมตองมีบานของตนเอง ไมตองใหคนมารัก ไมตองมีความภาคภูมิใจกับงาน ชีวิตของคนผูนั้นก็ อยูไมได เกิดความซึมเศรา มองโลกในแงราย หอเหี่ยวและคอย ๆ ดับ ไปเหมือนเทียนไขเชนกัน การเอาแตธรรมะอยางเดียวเมื่อยังมีอยูในโลกของฆราวาสก็ ไมใชสิ่งที่พระพุทธเจาทรงสนับสนุน ความจริงแลวความผิดอยูที่การ ตีความของคนเราเอง เชน ฆราวาสไปนําเอาขอปฏิบัติของพระภิกษุ มาใช เมื่อไดโอกาสไปเขาคอรสปฏิบัติภาวนา รูสึกอิ่มเอิบในความสุข ที่ไดรับเหมือนเพิ่งไดกินอาหารที่แสนอรอยจนมีความสุขมาก ก็นํามา ปฏิบัติตอที่บานหรือที่ทํางาน จนละเลยภาระหนาความรับผิดชอบของ ฆราวาสบางคน ลูก ๆ พาลเกลียดพระภิกษุ เพราะเขาใจผิดตามประสา เด็กวา พระทําใหมารดาของตนไมอยูบาน ไปอยูที่วัดเปนสวนใหญ หรือ บางคนลูกศิษยพากันหนีไมอยากลงเรียนดวยเพราะทุกครั้งที่ยกตัวอยาง หรือพูดถึงเนื้อหาจะขามไปเอาเรื่องของธรรมะมาพูดจนนักศึกษาสับสน ในวิชาที่ลงเรียน การปฏิบัติภาวนาเปนสิ่งที่พระพุทธเจาทรงสรรเสริญใหกระทํา ทั้งบริษัทสี่ คือ ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสกและอุบาสิกา การไมกลมกลืนของ การนําธรรมะมาใชในชีวิตโลก ทําใหแทนที่จะพนทุกข ก็กลับไปสราง ทุกขใหคนอื่นอีก ซึ่งก็จะยอนกลับมาทําใหเราไมพนทุกขซักที ทั้งที่ อุตสาหเขาหาธรรมะแลว จากการเปนผูสอนวิชาจิตวิทยาการใหการปรึกษา ซึ่งแนนอนวา ผูเขียนยอมนําทฤษฎีที่เจาตัวมีความเชื่อและศรัทธามาปฏิบัติใชกับ
  • 4. 4 กาวทุกวันดวยจิตวิทยาและธรรมะ ตนเองทุกครั้งที่อานตําราจิตวิทยาไมวาจะเปนจิตวิทยาแขนงใดผูเขียน จะเชื่อมโยงตัวอยางหรือทฤษฎีเขากับตัวเองหรือครอบครัวมีหลายเรื่อง ที่ทําใหรูสึกดีและเชนกัน มีหลายเรื่องที่ทําใหเจ็บปวด เพราะเรื่องของ ตัวเองตรงกับที่ทฤษฎีกลาวมา จิตวิทยาตะวันตกสอนใหคนเรายอมรับ อารมณที่ผานเขามาไมควรปฏิเสธและอธิบายกระบวนการของอารมณ ลบ (เชน อารมณเสียใจมาก) วามีขั้นตอนอยางไร จึงจะลดลงหรือดับ ไป ตามคําที่ใชกันในธรรมะการนําจิตวิทยาตะวันตกมาใชในโลก เปน ประโยชนกับผูเขียนมาก เพราะเมื่อไดตกลงใจที่จะนําเอาธรรมมาใชใน ชีวิตมากขึ้น ผูเขียนพบวาจิตวิทยาตะวันตกและจิตวิทยาตะวันออกมี รอยตอเนื่องกันอยางพอดี และที่เขียนหนังสือเลมนี้ เพราะตองการ ถายทอดสิ่งกลาวมาอาจเปนแนวทางที่เกิดประโยชนตอผูสนใจ ที่จะใช หลักคิดสําคัญของตะวันออกคือหลักธรรมคําสอนของพระพุทธศาสนา และศาสตรทางตะวันตกคือศาสตรทางจิตวิทยา ทานจะเชื่อในสิ่งที่ ผูเขียนพูด ถาทานไดวิเคราะหตนเองไปดวย เมื่ออานในแตละหัวขอ รวมทั้งมีการกระทําการอานไดความรูเปนแคสุตมยปญญาปญญาที่เกิด จากการไดอาน ไดฟง การวิเคราะหตามเปนจินตามยปญญา ปญญาที่ เกิดจากการไดไตรตรอง สําหรับการพิสูจนตามสมมุติฐานของคนอื่น และการลงมือปฏิบัติจนไดผลกับตนเองเปนภาวนามยปญญา ปญญา ที่เกิดจากการปฏิบัติ และเปนปญญาที่พระพุทธเจาทรงสรรเสริญมาก เมื่อผูเขียนไดตกลงใจที่จะไปเขาหลักสูตรอบรมกรรมฐานอยาง เปนทางการ เพราะจิตใจมีความพรอมที่จะเรียนรู ผูเขียนไดสอบถาม เพื่อนที่เคยไปปฏิบัติกรรมฐานเธอนุงหมขาววันถือศีล ไปศาลเจาคอนขาง ประจํา วาจะไปที่ไหนดีระหวางสถานปฏิบัติธรรม 2 แหงที่ไดเลือกไว
  • 5. บทนํา 5 แลวในใจ เธอแนะนําวาดีทั้ง 2 ที่ พรอมใหขอเสนอแนะซึ่งทําใหผูเขียน ตัดสินใจเลือกไปที่กรุงเทพฯ แทนการไปยังสถานที่หนึ่ง ซึ่งอยูไกลไป อีก จากประสบการณ 10 วันของการปฏิบัติภาวนาอยางเขมขน ผูเขียน คอนขางประหลาดใจตนเองที่มีความกาวหนามากเพราะสามารถทําได คอนขางดี ตั้งแตวันแรกที่อาจารยสอนใหใชจิตดูลมหายใจเขาออกตรง รูจมูก ตลอด 3 วันเปนการฝกปฏิบัติสมถะภาวนา เฝาดูสัมผัสของ ลมหายใจเทานั้น ถาจิตเผลอไปคิดเรื่องอื่น เมื่อรูตัวก็ใหดึงกลับมาอยู กับลมหายใจ เมื่อเริ่มวันที่ 4 จนถึงวันที่ 10 เปนการฝกปฏิบัติวิปสสนา รับรูเวทนาตามรางกาย ผูเขียนพบวาเวทนาที่รับรูตามกายมีกระแส เหมือนคลื่นไหลลื่นตลอดกาย แทบไมไดติดขัดเลย เกิดขึ้นตั้งแตเริ่ม ปฏิบัติวันที่ 4 แตก็ไมไดเลาใหผูใดฟง ในหลักสูตรนี้จะเขมงวดมาก หามไมใหมีการสื่อสารทั้งภาษาพูดและภาษาทาทาง ไมมีการยิ้ม หรือ สบตาทักทาย พูดงาย ๆ คือ ใหทําตนเหมือนอยูคนเดียว อนุญาตให พูดกันไดเฉพาะวันสุดทาย การไปอวดอางประสบการณกับคนที่เพิ่งจะ พูดกันไดเพียงวันเดียวก็กระไรอยู และปกติก็ไมใชนิสัยของผูเขียนที่จะ โออวด เพื่อนสนิทจะรูนิสัยนี้ดีและผูเขียนไมกลาที่จะบอกกับอาจารย ดวยเพราะเกรงวาจะเปนการแสดงตัวอะไรเนี่ยเพียงวันแรกก็สามารถ รับรูสึกถึงกระแสสั่นสะเทือนไดทั่วรางกาย จากประสบการณที่ผูเขียนสามารถปฏิบัติไดดี คิดวาตนเอง กาวหนามาก ตลอด 10 วันของการปฏิบัติภาวนา วันละประมาณ 10 ชั่วโมง ผูเขียนจึงตั้งขอสันนิษฐานวา การมีความเขาใจในจิตวิทยา ตะวันตกและนํามาประยุกตใชกับตนเองในชีวิตประจําวัน มีผลให อารมณที่เกี่ยวกับโทสะ ราคะ โลภะ โมหะ ไมออกมาอาละวาดระหวาง
  • 6. 6 กาวทุกวันดวยจิตวิทยาและธรรมะ ที่นั่งสมาธิอารมณเหลานั้นไดรับการจัดการทางจิตวิทยาและมีชองทาง ใหระบายออกอยางเหมาะสม ไมเชนนั้นแลว ผูเขียนคงจะไมกาวหนา อยางรวดเร็วในการปฏิบัติเพียงครั้งแรก ผูเขียนขอเชิญชวนผูอานมากาวไปดวยกันเพื่อทบทวนการรูจัก ตนเอง การเขาใจผูอื่น การปรับปรุงตนโดยใชจิตวิทยาและธรรมะ โดย การนําเสนอจิตวิทยาในรูปของคําศัพท ที่คัดเลือกจากแนวคิดตาง ๆ รวมถึงเรื่องเลา และหลักคิดทางธรรมะควบคูไปดวยกัน กาวทันจิตวิทยา กาวใกลธรรม กลาที่จะกาว กาวไดไกล ดวงมณี จงรักษ
  • 7. “ดูบานนั้นซิ ลูกแตละคนเรียนสูง ๆ กันทั้งนั้น ไมหยิ่งดวยนะ มีนํ้าใจ และใจบุญกันทั้งบาน” “พอเปนผอ.โรงเรียนดวยนะแตลูกไปกันคนละทิศละทางรูสึก วาจะติดยาคนหนึ่ง” ครอบครัวมีบทบาทตอพัฒนาการของเด็กที่จะเติบโตเปนวัยรุน เปนผูใหญ ที่เปนทั้งคนดีและคนเกง พอแมควรเลี้ยงอบรมดูลูกอยางไร นักจิตวิทยาแบงการอบรมเลี้ยงดูของพอแมออกเปน2มิติใหญ คือมิติยอมรับ/ตอบสนองกลับ (Parental aceptance/responsive) และมิติเรียกรอง/ควบคุม (Parental demandingness/control) 1.1 ทฤษฎีการอบรมเลี้ยงดู (Parenting Theory) บทที่ 1 ทฤษฎีทางจิตวิทยา
  • 8. 8 กาวทุกวันดวยจิตวิทยาและธรรมะ มิติการยอมรับ/การตอบสนองกลับ หมายถึง การใหการ สนับสนุน การใหกําลังใจ การแสดงออกซึ่งความรัก พอแมที่จัดวาอยู ในมิตินี้ จะมีพฤติกรรมดังตอไปนี้ ยิ้มใหลูกบอยมีการชมเชย ใหกําลังใจ สนับสนุน แสดงความอบอุนอยางมากแมในยามที่ดูวากลาวเมื่อลูก ทําความผิดสําหรับพอแมที่มีการยอมรับ/การตอบสนองกลับตํ่ามักเปน พอแมที่ไวตอการวิจารณลูก ดูถูกดูแคลน ลงโทษและเพิกเฉยไมสนใจ ไมรูจักสื่อสารใหลูกรับรูวา ลูกเปนเด็กที่พอแมรัก หรือรูสึกวามีคุณคา ผลการวิจัยพบวาการยอมรับ/ตอบสนองกลับตอลูกสูงมีความ สัมพันธกับผลในทางบวกหลายประการเชนลูกมีการผูกพันทางอารมณ แบบมั่นคง มีพฤติกรรมเอื้อเฟอชวยเหลือ มีสัมพันธภาพที่ดีกับเพื่อนฝูง มีความภาคภูมิใจสูง รวมทั้งมีคุณธรรมที่เขมแข็ง ลูกมีความตองการ ตอบแทนพอแมที่แสดงการยอมรับและตอบสนองกลับตอความตองการ ของตนเอง ดังนั้นจึงมีแรงจูงใจทําใหสิ่งที่พอแมคาดหวังและพยายาม เรียนรูในสิ่งที่พอแมสั่งสอนในทางกลับกันหากมิติทางดานนี้ตํ่าพอหรือ แมหรือทั้งสองคนแสดงใหลูกรับรูวาเขาไมมีคุณคาที่จะไดรับความสนใจ หรือความรักลูกมีแนวโนมที่จะมีความรูสึกซึมเศรามีปญหาการปรับตัว มีความสัมพันธที่ไมดีกับเพื่อนฝูงและลูกจะไมพัฒนาตนใหงอกงามเมื่อ เขาถูกปฏิเสธบอย ๆ หรือไมไดรับความสนใจ มิติการเรียกรอง/การควบคุม หมายถึง การกําหนดกฎเกณฑ รวมทั้งการสั่งสอนดูแลพฤติกรรม พอแมที่เรียกรองและควบคุมลูกเปน ผูที่กําหนดปริมาณความมีอิสระในการแสดงออก โดยเรียกรองสิ่งที่ พอแมตองการใหลูกทําและมักตรวจตราดูวา ลูกไดทําตามกฎที่วางไว หรือไมพอแมที่มีมิตินี้ตํ่าเปนผูที่วางกฎเกณฑนอยกวาไมคอยเรียกรอง
  • 9. บทที่ 1 ทฤษฎีทางจิตวิทยา 9 สิ่งที่ตองทําหรือไมตองทําจากลูกมากเทาใด ยินยอมใหลูกมีอิสระทําใน สิ่งที่ลูกมีความสนใจและตัดสินใจดวยตนเอง นักจิตวิทยาสตรี Diana Baumrind ไดจัดรูปแบบการอบรม เลี้ยงดูของพอแมตามมิติการยอมรับ/การตอบสนองกลับ และมิติเรียกรอง/ ควบคุม ระดับสูงและตํ่าได 3 แบบ จากการศึกษากลุมตัวอยางที่เปน เด็กกอนเขาเรียนและผูปกครองเด็ก สถานรับฝากดูเด็กและที่บาน เธอ ไดสัมภาษณพอแมรวมทั้งสังเกตปฏิสัมพันธที่มีกับลูก ขอมูลที่นํามา สรุปผลการศึกษาคือ การวิเคราะหพฤติกรรมที่ไดจากการสังเกตเด็กใน ดานการมีสังคม การพึ่งตนเอง ความสัมฤทธิ์ในงาน ภาวะอารมณและ การควบคุมตนเอง และพบวาพอแมจะใชรูปแบบการอบรมเลี้ยงดูแบบ ใดแบบหนึ่ง จากผลการสรุปที่ได 3 แบบ คือ 1. การอบรมเลี้ยงดูแบบ แสดงอํานาจ (Authoritarian parenting) 2. การอบรมเลี้ยงดูแบบ แสดงกฎเกณฑ (Authoritative parenting) 3. การอบรมเลี้ยงดูแบบ ปลอยตามใจ (Permissive parenting) กลุมตัวอยางของ Baumrind ไมพบพอแมที่มีการอบรมเลี้ยงดูแบบไมยุงเกี่ยว(Uninvolvedparenting) การอบรมเลี้ยงดูแบบแสดงอํานาจ เปนการเลี้ยงดูที่เขมงวด มี กฎมากมายใหปฏิบัติตองเชื่อฟงอยางเขมงวดโดยนอยครั้งที่จะอธิบาย เหตุผล ที่ตองทําตามกฎเกณฑที่วางไวและชอบใชวิธีการลงโทษ หรือ ยุทธวิธีการบังคับ เชน ถอดถอนความรัก หรือใชอํานาจใหปฏิบัติตาม พอแมแสดงอํานาจจะไมมีความไวรับรูมุมมองที่ลูกรูสึกวาขัดแยง และ คาดหวังวาลูกตองยอมรับโลกของพอแมอยางเปนกฎและตองเคารพ คําสั่ง
  • 10. 10 กาวทุกวันดวยจิตวิทยาและธรรมะ เด็กที่ไดรับการอบรมเลี้ยงดูแบบแสดงอํานาจมีคุณสมบัติของ การเปนเด็กเจาอารมณ ดูเหมือนจะไมคอยมีความสุข หงุดหงิดงาย ไมเปนมิตร ดูเหมือนไมมีเปาหมายและเมื่ออยูดวยไมรูสึกเพลิดเพลิน การติดตามเด็กกลุมนี้ในชวงอายุ 8-9 ป พบวามีทักษะทางสังคมและมี การรูคิดในระดับปานกลาง ถึงคอนขางตํ่ากวาปานกลาง การอบรมเลี้ยงดูแบบแสดงกฎเกณฑ เปนการเลี้ยงดูที่ควบคุม แตยืดหยุน โดยที่พอแมใหเหตุผลตอสิ่งที่พอแมเรียกรองคาดหวังจาก ลูก พอแมรูจักใชเหตุผลอธิบายตอกฎเกณฑที่กําหนดกับลูก เพื่อใหลูก คลอยตามและทําตามกฎที่กําหนดไว มีความไวตอการรับรูทัศนคติที่ แตกตางของลูก และยอมรับไดมากกวาพอแมประเภทแรก นอกจากนี้ ยังใหลูกมีสวนรวมในการตัดสินใจ เปนพอแมที่ใหความอบอุน ยอมรับ ลูก โดยควบคุมใหคําแนะนําอยางใชเหตุผล เด็กที่ไดรับการอบรมเลี้ยงดูแบบแสดงกฎเกณฑมีพัฒนาการ คอนขางดี ราเริง มีความรับผิดชอบทางสังคม พึ่งตนเอง มุงสัมฤทธิ์และ ใหความรวมมือกับเพื่อนและผูใหญในชวงอายุ 8-9 ปพบวาเด็กกลุมนี้ ยังมีความสามารถทางการคิด แรงจูงใจมุงสัมฤทธิ์ และทักษะทางสังคม ในระดับสูง ซึ่งคุณลักษณะนี้ยังคงปรากฏเมื่อเด็กเขาสูวัยรุน และเปน วัยรุนที่หางไกลจากยาเสพติด หรือพฤติกรรมที่เปนปญหา การอบรมเลี้ยงดูแบบปลอยตามใจ เปนการเลี้ยงดูที่แสดง การยอมรับ แตพอแมไมคอยมีกฎกับลูก หรือคาดหวังอะไรกับลูกมาก ปลอยใหลูกแสดงความรูสึกและสัญชาตญาณ ไมควบคุมดูแลการเลน การเรียน หรือการทํากิจกรรมของลูก แทบจะไมแสดงการควบคุมที่เอา จริงกับพฤติกรรมตาง ๆ เด็กกลุมนี้มักทําอะไรตามอําเภอใจ ไมควบคุม
  • 11. บทที่ 1 ทฤษฎีทางจิตวิทยา 11 ความตองการกาวราว โดยเฉพาะถาเปนเด็กผูชาย มีแนวโนมเอาตนเอง เปนหลักและเจากี้เจาการขาดการควบคุมตนเองมีความเปนอิสระและ แรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์คอนขางตํ่า การอบรมเลี้ยงดูแบบไมยุงเกี่ยว เปนการเลี้ยงดูที่พอแมแสดง ความหละหลวมกับลูกมาก ไมมีการเรียกรองอะไร พอแมที่เลี้ยงดูลูก แบบนี้ มักเปนพอแมที่ปฏิเสธ ไมยอมรับในตัวลูก หรือไมก็เปนพอแม ที่จมอยูกับความเครียดหรือปญหาของตนอยางมาก จนไมมีเวลาใหกับ การเลี้ยงดู เด็กไดรับการเลี้ยงดูแบบไมยุงเกี่ยว เมื่อมีอายุ 3 ขวบ เด็ก จะแสดงความกาวราวคอนขางสูง และมักระเบิดอารมณ เมื่อเขาเรียน มักจะมีผลการเรียนที่ไมดี แสดงพฤติกรรมที่เปนปญหา เมื่อเติบโตเปน วัยรุนบอยครั้งมีบุคลิกภาพมุงรายเปนศัตรูเห็นแกตัวมีลักษณะตอตาน ขาดเปาหมายระยะยาวที่มีความหมายมีแนวโนมแสดงพฤติกรรมที่เปน ปญหาเชน เกเร เสพยา มีเพศสัมพันธ หนีเรียน และทําผิดทางกฎหมาย เด็กกลุมนี้ถูกทอดทิ้ง เสมือนกับไดยินพอแมกลาววา “ฉันไมสนใจใน ตัวแก ไมสนใจวาแกจะทําอะไร” การรับรูในทํานองนี้ สรางความรูสึก โกรธ และพรอมจะตอบโตกลับกับสิ่งแวดลอม หรือตัวแทนของอํานาจ ที่ปฏิบัติกับเด็กอยางเหินหาง
  • 12. 12 กาวทุกวันดวยจิตวิทยาและธรรมะ การยอมรับ/การตอบสนอง สูง สูง ตํ่า ตํ่า แบบแสดงกฎเกณฑ เรียกรองอยางมีเหตุผล บังคับอยางสมํ่าเสมอ ไว ตอความรูสึกและใหการ ยอมรับ แบบปลอยตามใจมี กฎขอเรียกรองนอย ให อิสระมากเกินไป ตามใจ เกินเหตุ แบบแสดงอํานาจตั้ง กฎและขอเรียกรอง มากมายไมคอยอธิบายมี ความไวตอความตองการ และความคิดกอน แบบไมยุงเกี่ยว มีกฎ ขอเรียกรองนอย ไมสนใจ และไมมีความไวตอความ ตองการของเด็ก สรุปรูปแบบการอบรมเลี้ยงดูทั้ง 4 แบบใน 2 มิติ (Maccoby & Martin, 1983) ดังนี้ เรียกรอง/ควบคุม
  • 13. บทที่ 1 ทฤษฎีทางจิตวิทยา 13 สําหรับผลการอบรมเลี้ยงดู สรุปเปนแผนผังดังนี้คือ (Baumrind, 1977, 1997) ผลลัพธ รูปแบบการเลี้ยงดู วัยเด็ก วัยรุน ความสามารถทาง สังคมและการรูคิด สูง ความสามารถทาง สังคมและการรูคิด ปานกลาง ความสามารถทาง สังคม และการรูคิด ตํ่า ความภาคภูมิใจสูง ทักษะทางสังคมดี ศีลธรรมเขมแข็ง เอื้อเฟอเห็นใจ แรง จูงใจใฝสัมฤทธิ์ทาง การศึกษาสูง การศึกษา ทักษะทาง สังคมปานกลาง ยอม ทําตามสังคม การศึกษาตํ่า ใชสาร เสพติดมากกวาวัยรุน ที่เลี้ยงดูแบบอื่น ๆ การแสดงกฎเกณฑ การแสดงอํานาจ การปลอยตามใจ
  • 14. 14 กาวทุกวันดวยจิตวิทยาและธรรมะ การอบรมเลี้ยงดูแบบแสดงอํานาจ เปนรูปแบบที่พอแมสวนมาก เขาใจผิดวา จะสามารถควบคุมพฤติกรรมของลูกได การบังคับและ กฎเกณฑที่เครงครัดมักลมเหลวตอการเลี้ยงดูบุตรใหเปนดั่งใจ เพราะ อํานาจไมสามารถเอาชนะควบคุมจิตใจได นิทานชาดกเรื่องหนึ่งเลาวา มีหญิงสาวคนหนึ่งเติบโตดวยการ เลี้ยงดูของผูหญิงลวน ๆ บิดามารดาที่เปนเศรษฐีเลี้ยงดูอยางเขมงวด เพราะกลัววาบุตรเมื่อเติบโตเปนสาวอาจชิงสุกกอนหามหรือไปชอบพอ กับผูชายที่ชาติตระกูลไมเทาเทียมและอาจไปชอบพอกับคนรับใชที่เปน บุรุษ ดังนั้น บานของเศรษฐีจึงมีแตบริวารที่เปนสตรีเมื่อนางเติบโตเปน สาว เศรษฐีจึงใหแตงงานกับลูกชายของเพื่อน ที่รํ่ารวยเหมือนกับตน นางไมไดมีความรักใครเพราะไมไดมีปฏิสัมพันธกันมากอนเลย ฝายสามี ของนาง เมื่อไดนางเปนภรรยา ก็มีความรูสึกหึงหวงนาง ไมอยากใหนาง ไดมีโอกาสพบปะกับบุรุษ เพราะนางอาจปนใจไปใหชายอื่นได เขาจึง เลี้ยงดูนางเหมือนที่บิดาของนางกระทํา คือใหอยูคฤหาสนเจ็ดชั้น มี ประตูเขาออกเจ็ดทาง และยามที่รักษาประตูลวนเปนสตรี แตในที่สุด นางไมอาจทนตอสภาพที่ไดรับ และไดลอบหนีออกจากคฤหาสนดวย ความรวมมือของบริวารนั้นเอง ในทางพระพุทธศาสนา การเลี้ยงดูที่ดีของพอแม คือการทํา หนาที่เปนปรโตโฆสะกับลูก ปรโตโฆสะ หมายถึงการบอกสิ่งที่ดี ไดแก การบอกใหลูกหลีกเลี่ยงจากอบายมุข ชี้ใหลูกเห็นวาเพื่อนที่ดีคือเพื่อน อยางไร ทําตัวเปนเยี่ยงอยางที่ดีกับลูก พอแมพึงเปนกัลยาณมิตรของ ลูกดวย ปญหาที่พบมากในสังคมปจจุบันสวนหนึ่งเปนผลจากการอบรม เลี้ยงดูที่พอแมแสดงอํานาจ ปลอยตามใจ ไมยุงเกี่ยว ถาเราเปนพอแม
  • 15. บทที่ 1 ทฤษฎีทางจิตวิทยา 15 เราคงตองการใหลูกเปนคนเกง และเปนคนดี ถาเรารูตัว และปรับการ เลี้ยงดูแบบพอดีคือแสดงกฎเกณฑที่มีความรักความเขาใจเหตุผลและ ความยืดหยุนประคับประคอง เราไดลูกที่เปนคนเกงและดีแนนอน อยา ปลอยใหยีนเปนตัวกําหนดความเกงของลูก และอยาใหเปนเพียงหนาที่ ของครูหรือพระที่สอนใหลูกเปนคนดี คําดามักกลาวหาพอแมไมใชครู หรือพระมันทําใหลูกผูถูกดาเจ็บใจบางรายบันดาลโทสะทํารายรางกาย ถึงเสียชีวิต นี่แสดงวา แมลูกจะไมดี แตก็ยังรูจักเจ็บใจ ถาใครมาวา กลาวพอแมของตนใหอภัยตนเองถาเราบังเอิญไมไดเลี้ยงลูกแบบพอดี และใหอภัยลูก ถาไมไดดั่งใจเรา ปรับตนเองตอนนี้ก็ยังดีกวาไมปรับเลย สําหรับผูที่เปนลูกอยานอยใจหรือโทษพอแมถาเราไมไดเกงหรือดีมาก มาลมกระดาน เริ่มตนใหมเปนคนดี คนเกงตามวิถีเรา สําหรับ คนที่ไมมีลูก หรือไมไดแตงงาน สามารถนํารูปแบบการอบรมเลี้ยงดู ไปประยุกตใชในที่ทํางานกับลูกนอง คนงานและลูกศิษยลูกหาได กาวทุกวันใหถูก จะดีไหม
  • 16. 16 กาวทุกวันดวยจิตวิทยาและธรรมะ 1.2 ทฤษฎีสามเหลี่ยมของความรัก (A Triangular Theory of Love) “รัก เอย จริงหรือที่วาหวาน หรือทรมานใจคน ความรัก รอยเลหกล รักเอยลวงลอใจคน หลอกจนตายใจ รักนี่ มีสุขทุกขเคลาไป ใครหยั่งถึงเจาได คงไมชํ้า ฤดี................. ขืนหาม ความรักคงไมได กลัว หมองไหม ใจสิ้นสุขเอย” “เมื่อความรักรองเรียก เธอจงตามมันไป แมวาทางของมันนั้น จะขรุขระและชันเพียงไร
  • 17. บทที่ 1 ทฤษฎีทางจิตวิทยา 17 และเมื่อปกของมัน โอบรอบกายเธอ จงยอมทน แมวาหนามแหลมอันซอนอยูในปกนั้น จะเสียดแทงเธอ และเมื่อมันพูดกับเธอ จงเชื่อตาม แมวาเสียงของมันจะทําลายความฝนของเธอ ดังลมเหนือพัดกระหนํ่าสวนดอกไมใหแหลกลาญไป ฉะนั้น” เนื้อหาแรกเปนเพลง สําหรับเนื้อหาสวนที่สอง เปนทอนหนึ่ง ของปรัชญาชีวิต ในเรื่องความรักโดยคาลิล ยิบราน ในสวนของเพลง นี้มีคนโพสตในเว็บวา “สมัยชั้น ป.7 รุนสุดทายรองเพลงนี้เพราะไป หลงรักเด็กรุนนองนารักชะมัดพอเราจะจบ เธอใหรูปมาดวย นั่งดูรูป รองเพลงนี้บนรถสามลอถีบที่เขาจอดรอรับคนหนาสถานีรถไฟ และได ไปรองเพลงนี้อีกครั้ง ตอนจะจบ ปวช. แตตอนนั้น รองไป นํ้าตาไหล ไป อกหักอยางแรง นี้ก็กะจะรองเพลงนี้ในงานแตงหลานละ” อานแลว พอจะบอกไดหรือไมวา เนื้อหาของความรักตาง ๆ ขางตน เปนความรัก แบบใด มาไลเรียงทําความรูจักกับความรักประเภทตาง ๆ กัน รักตัณหา (Passionate love) เปนความรักที่มีความตองการ ความรูสึกอยางเขมขน ที่จะเขาใกลชิดสัมผัสทางกายในสมองเฝาคิดถึง จินตนาการไปตาง ๆ ในคนที่รักในสัมพันธภาพมีความปรารถนาที่จะ เขาใกล ปรารถนาที่จะรูเรื่องของคนที่รัก รางกายรูสึกถูกกระตุนเรา ทางเพศ มีพฤติกรรมเขาหาชวยเหลือ รักโรแมนติก(Romanticlove)เปนความรักคลายรักแรกพบ รูสึกวาความรักนั้นปนความรักที่แท กลาเผชิญอุปสรรคทั้งหมด รับรูวา
  • 18. 18 กาวทุกวันดวยจิตวิทยาและธรรมะ ความรักของตนเกือบสมบูรณคิดวาตนและคนรักตางมีสารในรางกายที่ ดึงดูดระหวางกัน เผลอ ๆ คิดวาสัมพันธภาพของตนดีกวาผูอื่น รักแบบเพื่อน (Companionate love)เปนความรักผูกพันที่ ใหความสําคัญกับการเอาใจใส ความไววางใจ ความอดทนตอจุดออน ของแตละฝายอารมณรักใหความรูสึกอบอุนมากกวาเสนหาทางเพศมัก เปนความรักที่คอย ๆ พัฒนาจากสัมพันธภาพแบบเพื่อน คุณRobertSternbergเสนอวาความรักไมวาจะเปนแบบไหน จะตองมีสวนขององคประกอบ 3 อยางที่เกิดขึ้นกับทั้งสองฝาย ไดแก ความสนิทสนมใกลชิด (Intimacy) ความรูสึกเสนหาทางเพศ (Passion) และการตกลงใจผูกมัด (Commitment) ความสนิทสนมใกลชิด เปนความรูสึกใกลชิด เชื่อมโยง ตอกัน แตละฝายตางมีความเขาใจอีกฝายหนึ่งแบบลึกซึ้ง ตางหวงใยใน สวัสดิภาพและความสุขตอกัน แสดงความเอาใจใสแตละฝายเปดเผย ตนเอง แลกเปลี่ยนความคิด ความรูสึกและปญหาของตน ความรูสึกเสนหาทางเพศเปนความรูสึกดึงดูดใจแบบโรแมนติก รางกายรูสึกกระตุนเราเมื่อเขาใกลหัวใจเตนแรงหรือขนลุกอยากสัมผัส ถูกเนื้อตองตัว ความตองการทางเพศถูกเรา การตกลงใจผูกมัดเปนการตัดสินใจที่จะมีสัมพันธภาพกับคนที่ ตนรักเพียงผูเดียวทั้งในปจจุบันและในระยะยาว ดังนั้นมีการตัดสินใจที่ จะแตงงานอยูรวมกัน ทั้งนี้ องคประกอบทั้ง 3 อยางจะมีมากนอยตางกัน ในความรัก ประเภทตาง ๆ ลองมาตรวจสอบกันดูหนอย คิดวาถูกไหม ความรักแบบหวือหวา (Infatuated love) หรือ Puppy love มีแตความรูสึกเสนหาทางเพศ สวนความสนิทสนมใกลชิดและ
  • 19. บทที่ 1 ทฤษฎีทางจิตวิทยา 19 การตกลงใจผูกมัดเปนศูนย ตัวอยางเชน เด็กและวัยรุนที่หลงรักดารา นักรองที่ตนชื่นชม รักวางเปลา(Emptylove)มีการตกลงใจผูกมัดแตปราศจาก ความสนิทสนมใกลชิด ความรูสึกเสนหาทางเพศเชนคูที่ตองอยูดวยกัน ตามประเพณี นาน ๆ ไปไมไดมีอะไรตอกันทางเพศ และทั้งสองฝายไมมี การแลกเปลี่ยนความคิดความรูสึกที่แทจริง รักโรแมนติกมีความสนิทสนมใกลชิดความรูสึกเสนหาทางเพศ แตปราศจากการตกลงใจผูกมัด เพราะวาไมไดแตงงานดวยกัน รักแบบเพื่อน มีความสนิทสนมใกลชิด การตกลงใจผูกมัด แตความรูสึกเสนหาทางเพศอาจเหลือศูนยเชนคูรักที่แตงงานกันมานาน รักลวงตา (Fatuous love) มีความรูสึกเสนหาทางเพศ การ ตกลงใจผูกมัด แตไมมีความสนิทสนมใกลชิด เชน คูที่แตงงานกันอยาง จําใจ ฝายชายอาจมีเพศสัมพันธกับฝายหญิง แตทั้งคูไมสามารถพูดคุย ถึงความคิด ความตองการของตนอยางแทจริง นอกจากนี้ องคประกอบทั้ง 3 มีระดับสูงตํ่าที่แตกตางกัน ตามเวลา นั่นคือ ความรูสึกเสนหาทางเพศ จะเกิดอยางรวดเร็วและ คอยจางลง ขณะที่ความสนิทสนมใกลชิดคอย ๆ เกิดอยางชา ๆ และ เพิ่มดีกรีมากขึ้นเมื่อเวลาผานไป สําหรับการตกลงใจผูกมัดมีปริมาณ เทาเดิมและระยะยาว อาจลดลงในคูที่ความรักลมเหลว ความรักที่ทั้ง คูอยูกันแกเฒาอยางมีความสุข คือความรักแบบเพื่อนหรือรักแท หรือ ความรักที่พอแมมีตอลูก ความรูสึกเสนหาทางเพศ เปนองคประกอบของความรักที่มี อิทธิพลรุนแรงมาก ในสมัยพุทธกาล นางสิริมานองสาวหมอชีวกเปน ชาวนครที่มีรูปรางงดงามและกริยาออนชอย นางเปนผูที่ชอบนิมนต
  • 20. 20 กาวทุกวันดวยจิตวิทยาและธรรมะ ภิกษุสงฆและถวายทานจํานวนมาก ภิกษุที่ไปรับนิมนตที่บานนางเมื่อ กลับมาถึงที่พัก จะสาธยายคุณงามความดีและรูปรางงดงามของนางให บรรดาภิกษุรูปอื่นฟงภิกษุรูปหนึ่งพอฟงก็เกิดความอยากที่จะเห็นตัวจริง จึงบอกวา ตนจะไปรับภักษาที่บานนาง บังเอิญวันที่ภิกษุหนุมรูปนี้ไป บานนาง พรอมภิกษุรูปอื่นนั้น นางสิริมาไดลมปวยนอนซม ไมสามารถ ลุกมานิมนตภิกษุสงฆได นางจึงใหสาวใชมาถวายทานแทน เมื่อเหลา ภิกษุฉันอาหารเสร็จนางใหสาวใชพยุงนางเพื่อไหวพระภิกษุทันทีที่เห็น นางภิกษุหนุมคิดในใจวาขนาดปวยยังงามเลยถานางสบายดีไมรูจะงาม อีกกี่เทา เมื่อกลับมาถึงที่พัก ภิกษุหนุมเฝาคิดถึงนาง ขนาดฉันอาหาร ไมลง เพื่อนภิกษุมาออนวอนก็ไมยอมฉัน ในวันตอมานางสิริมาไดเสีย ชีวิตจากการปวย พระพุทธเจาทรงทราบและทรงสั่งไมใหเผานางกอน ใหเอาศพไปเก็บรอที่ปาชา ในสองสามวันศพยังไมมีอะไรเปลี่ยนแปลง มากนัก พอเขาวันที่สี่ ศพก็เริ่มอืด สงกลิ่นเหม็นเนา พระพุทธองครับสั่ง ใหพระภิกษุทั้งหมดเตรียมตัวไปที่ปาชาเมื่อเพื่อนภิกษุมาชวนภิกษุหนุม มีเรี่ยวแรงลุกจากเตียงไปปาชาดวย ไดมีประกาศใหมารับรางนางสิริมา ที่สงกลิ่นเหม็นไปทั่ว แตไมปรากฏวามีผูใดมารับศพไป พระพุทธองค ทรงตรัสใหคติวา นางสิริมาเคยเปนที่รักใครของใคร ๆ มากอน มาบัดนี้ ใหนางเปลาโดยไมเสียอะไร ก็ไมมีใครอยากได สังขารเปนอยางนี้ ยอม มีความสิ้นเสื่อมกันทุกคน รักแมนี้ไมมีวันหมด ขาวคุณแมดูแลบุตรชายซึ่งพิการมาเปน เวลา 20 ป นางใชเงินสงเคราะหเดือนละ 340 หยวนและปฏิเสธ เงินบริจาคจํานวน 100,000 หยวนจากนักธุรกิจ ภาพที่นางจังในสภาพ คนชราอายุ 96 ป ปอนขาวและเช็ดตัวลูกชายอายุ 59 ป ใหความรูสึก ตื้นตัน และนํ้าตาซึมอีก
  • 21. บทที่ 1 ทฤษฎีทางจิตวิทยา 21 คนที่ไมสมหวังในรัก บางคนยอมสละชีวิตและอธิษฐานใหตน ไดสมหวังในรักในชาติหนา คนที่สมหวังแลวบางคูก็หวังวาชาติตอไป จะไดเปนเนื้อคูกันอีก ในพระไตรปฎกแนะไววา สามีภรรยาที่จะเจอกัน อีกในชาติหนานั้น ตองมีองคประกอบ 4 อยางเสมอกัน คือ ศรัทธา ศีล ทาน และปญญา ใครที่รักหลงเขาขางเดียว ปรารถนาความรักที่สมหวัง ในชาติหนา ขอแนะใหนําเอาองคประกอบทั้ง 4 ขอนี้ไปไตรตรอง สอง กลองขยายใหเห็นกันชัด ๆ เราศรัทธาวา ทําดีไดดี ทําชั่วไดชั่ว คนที่เรา รักเชื่อวาทําชั่วก็ไดดี เรามีศีลครบ แตเขามีศีลขาด ๆ วิ่น ๆ เราทําบุญ เปนประจํา เขาทําเฉพาะเทศกาล เราบริจาคโลหิต เขาบริจาคของไมใช แลว เราดูขาว เขาดูเกมส เออนะ ! แลวแบบนี้จะไดเจอกันชาติหนา ปะ วันนี้ กาวดวยการเพิ่มองคประกอบของความรัก กาวพรอมกับคนที่เรารักดวยศรัทธา ศีล ทาน และ ปญญาที่เสมอกัน กาวดวยความรักผูอื่น แตไมลืม รักนี้ ที่ไมมีวันหมดของบิดามารดา