SlideShare a Scribd company logo
1 of 133
Download to read offline
ภูมิรัฐศาสตร์และกาลังอานาจแห่งชาติ
www.elifesara.com
ekkachais@hotmail.com
ekkachais41@gmail.com
คาสอนของพระพุทธเจ้า
อย่ายึดถือโดยการฟังกันตามมา
อย่ายึดถือโดยการยึดถือสืบๆกันมา
อย่ายึดถือโดยการเล่าลือ
อย่ายึดถือโดยการอ้างตารา
อย่ายึดถือโดยตรรกะ
อย่ายึดถือโดยการอนุมาน
อย่ายึดถือโดยการคิดตรองตามแนวเหตุผล
อย่ายึดถือเพราะเข้ากันได้กับทฤษฎีของตน
อย่ายึดถือเพราะมองเห็นรูปลักษณะน่าเชื่อ
อย่ายึดถือเพราะนับถือว่าท่านสมนะนี้เป็นครูของเรา
 ภูมิศาสตร์
 ภาวะประชากร
 ทรัพยากรธรรมชาติ
 ความเชื่อ ศาสนา ความจงรักภักดี
 ลักษณะประจาชาติ
 กาลังทหาร
 วิทยาศาสตร์เทคโนโลยีฯ
 เศรษฐกิจ
 ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
 การศึกษา
 อุดมการณ์ของชาติและภาวะผู้นา
National Powers
ภูมิรัฐศาสตร์(Geopolitics)
ภูมิศาสตร์การเมือง ประวัติศาสตร์
National
Security
Strategy
Personal,
Social,
National,
Regional,
International
ประชาชน ดินแดน
รัฐบาล อานาจอธิปไตย
Value and
National Style
National Interest
Vital, Important, Peripheral
Model National Security Assessment : EKMODEL
Defense of homeland
Economic well-being
Favorable world order
Promotion of value
Global
State
Non State Actors
Leaders
การศึกษายุทธศาสตร์
ความมุ่งประสงค์แห่งชาติ (National Purpose)
๑.ค่านิยม(Values)
๒.แบบแผนของชาติ (National Style)
ผลประโยชน์แห่งชาติ(National Interests)
วัตถุประสงค์มูลฐานแห่งชาติ(Basic National Objectives)
นโยบายความมั่นคงแห่งชาติ(National Security Policies)
กาลังอานาจของชาติ(National Powers)
สภาพประเทศทางภูมิรัฐศาสตร์
ปัจจัยกาลังอานาจแห่งชาติ
การประเมินยุทธศาสตร์ชาติ
การตรวจสอบสภาวะแวดล้อม
การกาหนดวัตถุประสงค์เฉพาะแห่งชาติ
การวิเคราะห์กาลังอานาจแห่งชาติและแบบแผนของชาติ
การกาหนดนโยบายความมั่นคงแห่งชาติ
การประเมินยุทธศาสตร์ชาติ
Contract
Manufacturer
Distributor
Tier 2
Supplier
Tier 1
Supplier
Enterprise
การประเมินยุทธศาสตร์ชาติ
สถานการณ์โลกและภูมิภาค
สถานการณ์ประเทศรอบบ้าน
ประเทศใกล้เคียงและในประเทศ
ผลประโยชน์แห่งชาติ
แบบแผนของชาติและค่านิยม
กาลังอานาจแห่งชาติ
www.kpi.ac.th
การศึกษายุทธศาสตร์ชาติ
GEOPOLITICS
FUTURE STUDIES
NATIONAL POWER
NATIONAL
STRATEGY
Futures biographies
Futures wheel
Morphological analysis
Monitoring
Mission flow diagram
Relevance tree
Role playing
Simulation and modeling
Social network analysis
Systems engineering
Scenario method
Trend analysis
Trend Extrapolation
Time-space grids
Technology forecasting
FUTURE STUDIES METHOD
Anticipatory thinking Assessments
Environmental scanning
Back casting (eco-history)
Back-view mirror analysis
Bottom Up
Cross-impact analysis
Conducting Technology
Checklists
Delphi technique
Future history
Futures workshops
Failure mode and effects analysis
เสือ ๘ ตัวในเอเชีย
จะเปลี่ยนแปลงโลก
จากหนังสือ Megatrend 2000 และ
Megatrend Asia ของ John Nibitt
ทานายความเจริญของโลกจะไหลกลับมาอยู่ที่ญี่ปุ่น จีน เกาหลี และอาเซียน
ธนาคารโลกวิเคราะห์ว่าปี ๒๐๒๕ จีนจะเป็นมหาอานาจทางเศรษฐกิจอันดับ ๑ ของ
โลก ตามด้วยสหรัฐฯ อินเดีย และเยอรมนี
สหรัฐฯร่วมมือกับสหภาพยุโรปสกัดกั้นการเติบโตทางเศรษฐกิจของจีน
ใช้มาตรการระเบียบโลกใหม่เข้ามากดดันคือ สิทธิมนุษยชน ประชาธิปไตย
สิ่งแวดล้อม และ การค้าเสรี
จีนต่อสู้ไม่ยอมอ่อนข้อ ทั้งเงินสกุลหยวนของจีนยังไม่อยู่ในระบบการเงินสากล
สหรัฐฯ จึงโจมตีเครือข่ายจีนเป็นประเทศที่เวลาตรงกับจีน เช่น ไต้หวัน เกาหลี
มาเลเซีย ไทย สิงคโปร์และ อินโดนีเซีย
Sciences and Technology
ลักษณะนิสัยประจาชาติเป็นหัวใจ
ภาวะผู้นาก็จะเป็นมันสมอง
Socio-psychotically Political
Resource
Economic Military
Leadership
Geopolitics
กาลังอานาจ(National Power)
เครื่องมือ
(INSTRUMENTS)
องค์ประกอบ
(ELEMENTS)
คุณลักษณะ
(CHARACTORISTICS)
ปัจจัย
(FACTORS)
โครงสร้างของกาลังอานาจ
(STRUCTURE OF NATIONAL POWER)
กาลังอานาจแห่งชาติ
• ความสามารถของชาติหนึ่ง ที่สามารถชักจูงใจ
ทาให้ชาติอื่นกระทาการใด ๆ ตามที่ตนปรารถนา
หรือเป็นผลให้เกิดความกดดัน จนบรรลุวัตถุประสงค์
ทางการเมืองของชาติได้
• ความสามารถของรัฐ/ประเทศ ในอันที่จะก่อให้เกิดอิทธิพลแก่รัฐ/
ประเทศอื่น ๆ
Frederick H.
Hartmann
ความเข้มแข็งที่ชาติมีอยู่
เพื่อดาเนินการให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของตน
.. ความหมายกาลังอานาจแห่งชาติ
Inis L.
Claude
ความสามารถในการทาลายสิ่งต่าง ๆ
ทั้งที่มีชีวิตและไม่มีชีวิต
Hans J.
Morgenthau
ขีดความสามารถในการใช้อิทธิพลเหนือจิตใจผู้อื่น
Ft.
Leavenworth
กาลังทั้งสิ้น/ขีดความสามารถของชาติ
ในการทาให้ผลประโยชน์ของชาติบรรลุผล
Harold
Sprout
ขีดความสามารถทั้งหมดของรัฐ
ที่จะทาให้บรรลุความมุ่งหมายที่มีต่อรัฐอื่น
กาลังอานาจแห่งชาติ(National Power)
ความสามารถของชาติในการกระทาไดๆ เพื่อผลักดัน โน้มนา ให้
การดาเนินการ บรรลุสู่ปลายทางที่ต้องการ
การเมืองระหว่างประเทศและภายในประเทศ
เศรษฐกิจ สังคมจิตวิทยา การทหาร
วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี การพลังงานและสิ่งแวดล้อม
กาลังอานาจแห่งชาติ(National Power)
กาลังอานาจของชาติ มีตัวตนและไม่มีตัวตน และไม่มีประเทศใดมั่นใจว่ากาลัง
อานาจของชาติที่มีอยู่นั้นเพียงพอ
ประเทศที่แพ้สงครามมาจากคาดคะเนกาลังอานาจของประเทศตรงข้าม
ผิดพลาด จะต้องศึกษาวิธีวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยกาลังอานาจ
แห่งชาติ
สามารถประเมินกาลังอานาจแห่งชาติทั้งของชาติตนและชาติอื่น กาลังอานาจที่
เป็นรูปธรรม ไม่ได้เป็นเครื่องชี้ว่าเหนือกว่าชาติอื่น
กาลังอานาจแห่งชาติ
ลักษณะที่สาคัญมีความไม่แน่นอนในตัวเองและสามารถจะเปลี่ยนแปลงได้
ประเทศที่มีความสามารถเพิ่มขี้น กับอีกประเทศมีความสามารถคงที่ กาลังอานาจประเทศ
หลังจะลดน้อยลงไปด้วยการเปรียบเทียบ
กาลังอานาจที่มีอยู่ จะสร้างเพิ่มเติมได้จากภายในประเทศ และภายนอกประเทศ
การจะพิทักษ์รักษาผลประโยชน์ของชาติไว้ได้ต้องมีกาลังอานาจที่เข้มแข็ง
ทุกประเทศพยายามเสริมสร้างกาลังกองทัพให้มีแสนยานุภาพเหนือกว่าประเทศที่เป็นศัตรู
หรือมีผลประโยชน์ของชาติขัดกัน
ประเทศที่มีกาลังอานาจมากกว่า จะใช้ป้องปรามเพื่อบีบบังคับประเทศที่ด้อยกว่าให้ปฏิบัติ
ตามที่ปรารถนา
องค์ประกอบของกาลังอานาจแห่งชาติ
(Elements of National Power)
แสดงให้เห็นถึงความแตกต่างระหว่างรัฐ แต่รัฐทุกรัฐก็จะมีความเท่าเทียมกันไม่ว่า
มีเศรษฐกิจและการทหารจะเป็นอย่างไรก็มีสิทธิออกเสียงใน UN ได้เพียง ๑ เสียง
ขีดความสามารถเป็นเสมือน “รากฐานของอานาจแห่งรัฐ” เป็นคุณสมบัติที่แสดง
ให้เห็นฐานะที่เป็นจริงของรัฐนั้นในเวทีระหว่างประเทศ
รัฐจะเป็นเครื่องมือในการสร้างอานาจ(Power Inventory) ที่เป็นศักยภาพในการ
ดาเนินนโยบายของประเทศ
GLOBAL CONFLICT
Globalisation & Localisation
Hard Power & Soft Power
Americanization & Islamization
Capitalism & Socialism
High Technology & Low
Technology
Tangible & Intangible
Physical & Mental or Spiritual
National Resource
EKMOD
“There is no instance of a country having
been benefited from a long war”
•การทาสงครามจะต้องชัยชนะเผด็จศึกในเร็ววันไม่ควรให้เนิ่นช้า
•ประเทศจะไม่ได้รับประโยชน์อันใดเลยถ้าปล่อยให้การรบยืดเยื้อ
•ค่าใช้จ่ายในการดาเนินการสงครามจะสูง การคลังของประเทศจะมี
ปัญหา
•กองทัพต้องติดศึกอยู่นานวัน อาวุธ ยุทโธปกรณ์ จะลดความคมกล้า
ขวัญ ทหารนับวันจะเสื่อม กาลังพลก็จะอ่อนเปลี้ย
รูปแบบการทาสงคราม
สังคมนิยมคอมมิวนิสต์
หนึ่งประเทศสองระบบ
มุสลิม/ท้องถิ่นนิยม
รูปแบบของการใช้กาลังอานาจแต่ละยุคสมัย
ยูเรเซีย(Eurasia)
รูปแบบการทาสงคราม
หนึ่งประเทศสองระบบ
สังคมนิยมคอมมิวนิสต์
มุสลิม/ท้องถิ่นนิยม
www.kpi.ac.th
ใช้กาลังอานาจแห่งชาติเป็นเครื่องมือตามยุคสมัย
Military Power
Politics Power
Economics Power
Sociological Power
National
Power
www.kpi.ac.th
ใช้กาลังอานาจแห่งชาติเป็นเครื่องมือตามยุคสมัย
Military Power
Politics Power
Economics Power
Sociological Power
Media Power
National
Power
www.kpi.ac.th
การใช้อานาจในการต่อสู้ตามยุคสมัย
Military Power
Politics Power
Economics Power
Sociological Power
Religion,Culture
Media Power
Facebook, Twitter, Vdolink, Mobile Phone,
TV, Radio
National
Power
แนวคิดทางภูมิรัฐศาสตร์
www.kpi.ac.th
ความรู้ในการศึกษายุทธศาสตร์ชาติ
GEOPOLITICS
FUTURE STUDIES
NATIONAL POWER
ภูมิศาสตร์การเมือง
ประชาชนและสังคม
ดินแดนที่มีขอบเขตแน่นอน
รัฐบาล
อานาจอธิปไตย
Geopolitics
ภูมิรัฐศาสตร์มีความเกี่ยวโยงและสัมพันธ์กันกับภูมิศาสตร์ ที่ตั้ง และการ
กาหนดนโยบายต่างประเทศของรัฐนั้นๆ
ภูมิรัฐศาสตร์ มีรากฐานมาจากลักษณะเฉพาะ ๔ ประการคือ
 ภูมิศาสตร์การเมือง
 ประวัติศาสตร์
 การใช้ลัทธิอานาจนิยม
 ยุทธศาสตร์ทางบก ทางเรือ และทางอากาศ
แนวคิดนี้ได้ถูกฮิตเลอร์นาเอาไปใช้
พล.จ.ดร.คาร์ล เฮาส์โฮฟเฟอร์
(Karl Ernst Houshofer)
 ผสมผสานแนวความคิดของ
แมคคินเดอร์ในเรื่องความสัมพันธ์
ของทรัพยากร
 เสนอความต้องการด้านทรัพยากร
ให้แก่กาลังอานาจของโลก
ผู้อานวยการสถาบันภูมิรัฐศาสตร์ ของเยอรมัน(ค.ศ. ๑๘๖๐–๑๙๔๕)
แนวความคิดทางการเมืองของรัฐซึ่งเป็นเสมือนองค์กร
มุมมองด้านภูมิรัฐศาสตร์
Heart Land and Rim Land Strategy
http://www.tortaharn.net/contents/index.php?option=com_content&task=view&id=63&Itemid=75&ccdate=6-2008
Pivot Area
H. Mackinder’s "heartland" theory (1904)
Sir Halford Mackinder
Geopoliitika:Geopolitics
EURASIA
Mackinder’s Theory
เป็นทฤษฎีทางภูมิรัฐศาสตร์ (Geopolitics)
ประเทศใดถ้ามีภูมิประเทศ หรือ สามารถยึดบริเวณจุดสาคัญ (Pivot Area)
หรือใจโลก (Heartland) แล้ว ประเทศนั้นก็จะเป็นผู้ครองอานาจอันสูงสุด
ดินแดนที่เป็นใจโลกตามแนวความคิดของแมคคินเดอร์คือ ดินแดนแถบทะเลบอลติค ทุ่ง
หญ้าสะเต็บตอนกลางของโซเวียต ปัจจุบันเป็นบริเวณที่เป็นทะเลน้าแข็งตลอดปี ด้านเหนือ
เป็นมหาสมุทรอาร์คติคกับขั้วโลกเหนือ เป็นชัยภูมิเหมาะเพราะเรือเข้าไม่ถึง แม่น้าดานูบดนี
เปอร์ เอเซียไมเนอร์ จีน ทิเบต และมองโกเลียจดเอเซียใต้
สามารถควบคุมทรัพยากรทั้ง คน และวัตถุ ของโลกได้อย่างสมบูรณ์
“ ใครครองยุโรปตะวันออกได้จะเข้าควบคุมใจกลางของพื้นโลกได้
ผู้ใดครองใจกลางของพื้นโลกได้ จะสามารถควบคุมพื้นที่เกาะต่างๆของโลกได้
และผู้ใดครองพื้นที่เกาะต่าง ๆ ของโลกได้ ก็จะควบคุมโลกได้ในที่สุด”
กาหนดยุทธศาสตร์ใจโลก
(Heartland Strategy)
"Who rules East Europe commands the Heartland;
who rules the Heartland commands the World-Island;
who rules the World-Island controls the world."
Halford John Mackinder
(1919)
จานวนพลเมือง ทรัพยากร การเดินเรือ Rimland Eurasia World
แนวคิด“ยุทธศาสตร์ขอบโลก”(Rimland Strategy)จะโต้แย้งกับ“ ยุทธศาสตร์ใจโลก ”
Who controls the rimland rules Eurasia.Who rules Eurasia controls the destinies of the world
ใครสามารถครองบริเวณใจโลกได้ จะต้องครอบครองบริเวณดินแดนโดยรอบให้ได้ก่อน
การใช้กาลังอานาจทางเรือที่มีประสิทธิภาพเป็นหลัก ตามแนวคิดของมาฮานเรื่องสมุทธานุภาพ
แนวคิดนี้ได้รับการพิสูจน์หลังสงครามโลกครั้งที่สอง พันธมิตรจัดตั้งกองกาลังในบริเวณพื้นที่ต่าง ๆของโลกอย่างเป็น
ระบบ เพื่อป้องกันการเข้าครอบครองใจโลกของฝ่ายคอมมิวนิสต์
ภูมิรัฐรัฐศาสตร์ของประเทศไทย
ประเทศไทยตั้งอยู่ในย่านการแข่งอิทธิพลระหว่างจีน และสหรัฐอเมริกา
ประเทศไทยต้องดาเนินนโยบายทางการเมืองด้วยความรอบคอบ สามารถถ่วงดุลกับประเทศทั้งสองได้
ที่ตั้งของประเทศไทยมีความสาคัญทางยุทธศาสตร์ต่อประเทศในเอเซียตะวันออกเฉียงใต้
ทางเข้าสู่ประเทศทั้งทางบก ทางทะเล และทางอากาศนั้นเหมาะแก่การคมนาคมขนส่ง
แต่ก็มีจุดอ่อนอยู่มาก โดยเฉพาะในภาคใต้เพราะลักษณะภูมิประเทศยาวบางและมีทางเข้าสู่ทางทะเลได้
เกือบทุกด้านยากแก่การป้องกันเป็นอย่างยิ่ง
สภาพลมฟ้ าอากาศนั้นประเทศไทยอยู่ในเขตร้อนมีฝนตกชุกในฤดูฝนมีพืชพันธุ์ธัญญาหารอุดมสมบูรณ์
แต่ขาดทรัพยากรธรรมชาติที่ใช้เป็นหลักในการอุตสาหกรรม
41
80
70
60
50
40
30
20
10
EQUATOR
20
30
40
50
60
70
80
30
40
50
60
70
80
20
10 10
30
40
50
60
70
80
80
70
60
50
40
30
20
10
30
TROPIC OF CANCER
40
50
60
70
80 80
70
60
50
40
30
20
10
EQUATOR
TROPIC OF CANCER
TROPIC OF CAPRICORN TROP OF CAPRICORN
10
20
30 30
40 40
50 50
60 60
70 70
80 80 80
70
60
50
40
30
20
10
30
40
50
60
70
80 80
70
60
50
40
30
20
10
AUSTRALIA
A S I A
A F R I C A
E U R O P E
GREENLANDGREENLAND
NORTH
AM ERICA
ANTARCTICA
SOUTH
AM ERICA
P A C I F I C
O C E A N
O
C
E
A
N
I N D I A N
O C E A N
PACIFIC
OCEAN
A
T
L
A
N
T
I C
แผนที่โลกแสดงเขตเศรษฐกิจโลก
40
6
0
60
40
5
5
Equator
5
5
ละติจูด 40 - 60 องศาเหนือ เขตอากาศอบอุ่น เป็ นกลุ่มประเทศอุตสาหกรรม
ละติจูด 5 องศาเหนือ - 5 องศาใต้ เขตอากาศร้อนชื้น
ปัจจัยทางภูมิศาสตร์กับพลังอานาจของประเทศไทย
43
ไทย
Australi
a
US
A
Canad
a
Chi
na
In
dia
Russ
ia
Bra
zil
Argen
tina
Mexi
co
Alfred Thayer Mahan
นายพลเรือสหรัฐฯ ค.ศ. ๑๘๔๐ – ๑๙๑๔
เป็นผู้บรรยายในวิทยาลัยการทัพเรือ
 บิดาแห่งกาลังอานาจทางทะเล
 เขียนหนังสือเกี่ยวกับทฤษฏีของการใช้กาลังอานาจทางเรือ
 เสนอแนวคิดกาลังอานาจทางทะเล(Sea Power Strategy) ครองเจ้าทะเล
คุมเส้นทางเดินเรือ และแสวงหาทรัพยากรโพ้นทะเล
 ภูมิรัฐศาสตร์นาสู่การพัฒนากาลังอานาจทางทะเลทฤษฎีสมุททานุภาพ กาลัง
ทางเรือ ฐานทัพเรือ พาณิชย์นาวี ท่าเรือพาณิชย์
ซึ่งได้รับการยอมรับในผลงานยุทธศาสตร์ทางเรือ(Naval Strategy)
Alfred Thayer Mahan
• เอาเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์มาพัฒนาแนวความคิดของตน
• ความสัมพันธ์ของกาลังอานาจทางเรือกับเศรษฐกิจ
• กาลังอานาจทางเรือย่อมขึ้นอยู่กับความแข็งแกร่งทางเศรษฐกิจ
• ความก้าวหน้าทางเศรษฐกิจต้องการแหล่งวัตถุดิบและตลาดเป็น
ประการสาคัญ
• มีแนวความคิดว่ารัฐที่มีขีดความสามารถทางเรือและมีการค้าขายทาง
ทะเลย่อมได้เปรียบกว่ารัฐอื่น ๆ
Alfred Thayer Mahan
รัฐจาเป็นต้องเปิดเส้นทางคมนาคมทางทะเลให้มากพอและมากยิ่ง
กว่าทางพื้นดิน
 รายละเอียดและความชัดเจนในปัจจัยสิ่งแวดล้อมทางกายภาพเกี่ยวกับกาลัง
อานาจแห่งชาติทางทะเล
การพัฒนากาลังอานาจทางเรือ ต้องแสวงหา
สิ่งแวดล้อมทางกายภาพต่าง ๆเช่น ฝั่งทะเล
•ท่าเรือธรรมชาติ ที่ตั้งทางยุทธศาสตร์และภูมิศาสตร์ รูปร่างทางกายภาพ การขยาย
ดินแดน จานวนพลเมือง คุณลักษณะของรัฐบาลและประชากร
ภาวะประชากร
อัตราการเจริญก้าวหน้าของประชากร
ความหนาแน่นและการกระจาย
โครงสร้างสังคม/อายุของประชากร
คุณภาพของประชากร/ระดับการศึกษา
การสาธารณสุข/โภชนาการและอนามัย
คุณภาพ/ระดับการศึกษาทัศนคติต่อการทางาน
มาตรฐานค่าครองชีพ
ความสามารถด้านวิทยาศาสตร์/การประกอบอาชีพ
ระดับของฝีมือแรงงาน
ประชากร 1300 เศษ
ประชากร 1100 เศษ
POPULATION
World 7197354235
China 1389112285 1
India 1258724950 2
USA 321143287 3
Indonesia 251136443 4
Brazil 201083050 5
Pakistan 183432456 6
Nigeria 175729741 7
Bangladesh 157422217 8
Russia 142675857 9
Japan 127080989 10
Mexico 122965087 11
Philippines 99128309 12
Ethiopia 95138910 13
Vietnam 92053904 14
Germany 82,693971 15
Egypt 82630562 16
Iran 77,888,011 17
Turkey 75,323,141 18
Congo 68311006 19
Thailand 67101664 20
World Muslim Population
General & Islamic Source
Continent Population in
2003
Muslim
Population in
2003
Muslim
Percentage
Africa 861.20 461.77 53.62
Asia 3830.10 1178.89 30.78
Europe 727.40 52.92 7.28
North America 323.10 6.78 2.10
South America 539.75 3.07 0.57
Oceania 32.23 0.60 1.86
Total 6313.78 1704.03 26.99
Muslim Population is increasing at the rate of 2.9%**
We are taking the rate of natural increase as 2% around the world. The
Muslim population in 2003 was 1704.03 million.
**US Center For World Mission 1997 Report
ประเทศมุสลิม
ประเทศมุสลิมที่ปกครองในระบอบกษัตริย์หรือเจ้าผู้ครองในลักษณะ
สมบูรณาญาสิทธิราชย์หรือกึ่งๆ
ประเทศมุสลิมประชาธิปไตยแบบสมัยใหม่
ประเทศมุสลิมสมัยใหม่กึ่งประชาธิปไตย
ประเทศมุสลิมแนวปฏิวัติ
ประเทศมุสลิมสายเคร่ง
ประเทศมุสลิมผสมอิทธิพลของวัฒนธรรมสลาฟ
ประเทศมุสลิม
ประเทศมุสลิมที่ปกครองในระบอบกษัตริย์หรือเจ้าผู้ครองในลักษณะสมบูรณาญาสิทธิราชย์
หรือกึ่งๆ(โมร็อกโก จอร์แดน ซาอุดิอารเบีย บรูไน และรัฐเล็กๆ ริมอ่าวเปอร์เซีย)
ประเทศมุสลิมประชาธิปไตยแบบสมัยใหม่(มาเลเซีย อินโดนีเซีย ตุรกี)
ประเทศมุสลิมสมัยใหม่กึ่งประชาธิปไตย(ปากีสถาน แอลจีเรีย อียิปต์ ตูนิเซีย
เลบานอน)
ประเทศมุสลิมแนวปฏิวัติ(อิรัก ซีเรีย ลิเบีย ซึ่งมีผู้นาในลักษณะเผด็จการหรือกึ่งเผด็จ
การ)
ประเทศมุสลิมสายเคร่ง (คือศาสนามีอานาจเหนือรัฐ) มักรู้จักกันในภาษาอังกฤษว่า
Islamic Fundamentalism ได้แก่ อัฟกานิสถาน และอิหร่าน (ซึ่งเคร่งน้อยลงกว่าใน
ทศวรรษ ๑๙๘๐)
ประเทศมุสลิมผสมอิทธิพลของวัฒนธรรมสลาฟ ได้แก่ บรรดาประเทศในบริเวณเอเชีย
กลางและคอเคซัสที่เคยรวมอยู่ในอดีตสหภาพโซเวียต(อุสเบกิสถาน เติร์กเมนิสถาน คาซัก
สถาน ทิกิร์เซีย และอาเซอร์ไบจาน)
ประเทศมุสลิมที่มีความสัมพันธ์อันดีกับสหรัฐอเมริกาและกลุ่มประเทศตะวันตก
อิยิปต์
โมร็อกโก
จอร์แดน
ซาอุดิอาระเบีย
ตูนิเซีย
ปากีสถาน
รัฐเล็กๆ ริมอ่าวเปอร์เซีย
ประเทศมุสลิมในเอเซียคืออินโดนีเซีย และบูรไน
..
กลุ่มแอฟริกา ประชากรมุสลิม
294 ล้านคน
กลุ่มประเทศแถบเอเชียใต้ ประชากรมุสลิม
326.9 ล้านคน
กลุ่มตะวันออกกลาง
ประชากรมุสลิม 194.4 ล้านคน
กลุ่มประเทศอาเซียน ประชากรมุสลิม
192.5 ล้านคน
กลุ่มยุโรปตะวันออก ประชากรมุสลิม 72.7
ล้านคน
ไทย
www.kpi.ac.th
แนวทางสู่ความรู้ใน การศึกษายุทธศาสตร์ชาติ
GEOPOLITICS
FUTURE STUDIES
NATIONAL POWER
NATIONAL
STRATEGY
กาลังอานาจแห่งชาติ
• ความสามารถของชาติหนึ่ง ที่สามารถชักจูงใจ
ทาให้ชาติอื่นกระทาการใด ๆ ตามที่ตนปรารถนา
หรือเป็นผลให้เกิดความกดดัน จนบรรลุวัตถุประสงค์
ทางการเมืองของชาติได้
• ความสามารถของรัฐ/ประเทศ ในอันที่จะก่อให้เกิดอิทธิพลแก่รัฐ/
ประเทศอื่น ๆ
“There is no instance of a country having
been benefited from a long war”
•การทาสงครามจะต้องชัยชนะเผด็จศึกในเร็ววันไม่ควรให้เนิ่นช้า
•ประเทศจะไม่ได้รับประโยชน์อันใดเลยถ้าปล่อยให้การรบยืดเยื้อ
•ค่าใช้จ่ายในการดาเนินการสงครามจะสูง การคลังของประเทศจะมี
ปัญหา
•กองทัพต้องติดศึกอยู่นานวัน อาวุธ ยุทโธปกรณ์ จะลดความคมกล้า
ขวัญ ทหารนับวันจะเสื่อม กาลังพลก็จะอ่อนเปลี้ย
พล.ต. คาร์ล ฟอน เคล้า เซวิทส์
( KARL VON CLAUSEWITZ)
นักยุทธศาสตร์ชาวปรัสเซีย ค.ศ. ๑๗๘๐ – ๑๘๓๑
ได้รับอิทธิพลมาจาก มาเกียเวลลี และนโปเลียน
เขียนตารายุทธศาสตร์ทหาร ชื่อ “ON WAR”
ได้รับสมยาให้เป็น “บิดาของกาลังทางบก”
แนวความคิดการยุทธศาสตร์ทหารที่สาคัญ คือ
ยุทธศาสตร์ทหาร = จุดมุ่งหมาย + การรบ
พลังอานาจของชาติ = การเมือง + สังคม + ทหาร + เศรษฐกิจ
แนวคิดแบบ Hard Power
ขาดความรู้ ความคิด และวัฒนธรรมที่แตกต่างกัน
การต่อสู้แบบตาต่อตา / ฟันต่อฟัน
การใช้กาลังอานาจทางทหารไม่สามารถหยุดยั้ง Soft
Power ได้
ภาคใต้มีการใช้แนวคิดตะวันตกมาใช้
แนวคิดแบบ Soft Power
Case การฆ่าตัดคอเผยแพร่สื่อ Internet ของตะวันตก
การถอนกาลังของพันธมิตรในอิรัก
จิตสานึก ISLAM สากลกระทบต่อความมั่นคงโลก
ครูสอนศาสนามีการเผยแพร่แนวคิด ไปทุกเขตที่มีมุสลิมทั่วโลก
มุสลิมในประเทศต่างๆ เรียกร้องเอกลักษณ์ และลัทธิทางศาสนา วัฒนธรรม
ของตนเอง
เรียกร้องแยกตัวเองเป็นรัฐอิสระ
ประเทศที่ด้อยทางการจัดการปัญหาเชิงประวัติศาสตร์
แนวคิดแบบ Hard Power
ขาดความรู้ความคิด ในวัฒนธรรมที่แตกต่างกัน
การต่อสู้แบบตาต่อตา / ฟันต่อฟัน
การใช้กาลังอานาจทางทหารไม่สามารถหยุดยั้ง Soft Power
ได้
ภาคใต้มีการใช้แนวคิดตะวันตกมาใช้
แนวคิดแบบ Soft Power
Case การฆ่าตัดคอเผยแพร่สื่อ Internet ของตะวันตก
การถอนกาลังของพันธมิตรในอิรัก
จิตสานึก ISLAM สากลกระทบต่อความมั่นคงโลก
ครูสอนศาสนาเผยแพร่แนวคิด ไปทุกเขตที่มีมุสลิมทั่วโลก
มุสลิมในประเทศต่างๆ เรียกร้องเอกลักษณ์ และลัทธิทางศาสนา
วัฒนธรรมของตนเอง
เรียกร้องแยกตัวเองเป็นรัฐอิสระ
ประเทศที่ด้อยทางการจัดการปัญหาเชิงประวัติศาสตร์
ขีดความสามารของชาติ
การใช้ประโยชน์จากปัจจัยทางกายภาพของรัฐบาลได้แก่
สภาพทางภูมิศาสตร์และประชากร
ความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากร
รัฐที่มีทรัพยากรอุดมสมบูรณ์ไม่ว่าจะเป็นรัฐบาลในระบอบประชาธิปไตย
หรือรวบอานาจ
สภาพทางภูมิศาสตร์ทาให้ได้เปรียบในทางยุทธศาสตร์
ประชากรกับทรัพยากรธรรมชาติจะเป็นหลักคู่กันของกาลังอานาจ
ความพร้อมรบทางการทหาร และการพัฒนาอุตสาหกรรม
มีปัจจัยอื่นๆ ที่มีความสาคัญอยู่ไม่น้อยต่อกาลังอานาจแห่งชาติ ได้แก่
ภาพพจน์ของประเทศ หรือทัศนะที่ประเทศอื่นมีต่อประเทศนั้น
Germany
France
Italy
Britain
Japan
USA
Engineering Culture
Chic Culture
Sexy Culture
Heritage Culture
Technology Culture
Youth Culture
ประเมินรากวัฒนธรรมที่เข้มแข็ง
Culture as the Root of Competency
Cultural OrientationCountry
Thailand ?
Germany
France
Italy
Britain
Japan
USA
Engineering Culture
Chic Culture
Sexy Culture
Heritage Culture
Technology Culture
Youth Culture
รากวัฒนธรรมที่เข้มแข็ง
Culture as the Root of Competency
Cultural OrientationCountry
Thailand Human Touch Culture
ลักษณะประจาชาติ
วัฒนธรรม
จารีตประเพณี
ปทัสฐาน
ศาสนา
ความกระตือรือร้นของคนในชาติ
ทัศนคติต่อการทางาน
จะต้องพิจารณาปัจจัยต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกาลังอานาจ
ภาพพจน์ของประเทศหรือทัศนะที่ประเทศอื่นมีต่อประเทศนั้น
กาลังอานาจจะต้องมาพิจารณาปัจจัยต่าง ๆ เกี่ยวข้อง
– ลักษณะนิสัยประจาชาติ (National Character)
– ขวัญและกาลังใจ (Morale)
– อุดมการณ์ (Ideology)
– ภาวะผู้นาของประเทศ (National Leadership)
ลักษณะประจาชาติหรือนิสัยประจาชาติ(National Character)
ลักษณะในการคิด การแสดงความรู้สึก การกระทาของคนในชาติ
โดยรวม
สิ่งที่ทาสืบต่อกันมาทางสายโลหิต ตามเชื้อชาติและเผ่าพันธุ์
สภาพแวดล้อมในการดารงชีวิตและเติบโตในสังคมเดียวกัน ความ
เป็นอยู่ การฝึกอบรม วัฒนธรรม การเลียนแบบ ประสบการณ์ ฯลฯ
ทาให้ประชากรมีความรู้สึกนึกคิดและการประพฤติปฏิบัติเป็นไปใน
แนวทางเดียวกัน
ดูได้จากการประพฤติปฏิบัติของคนส่วนใหญ่ในชาติ ที่กาเนิดใน
ประเทศนั้น เป็นการประพฤติปฏิบัติอย่างสม่าเสมอและสืบทอดกันมา
จนเป็นที่ยอมรับว่าเป็นลักษณะประจาชาตินั้น ๆ
ลักษณะนิสัยประจาชาติ
– เป็นเรื่องที่สับสนมาก และเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา
– ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะนิสัยประจาชาติกับกาลังอานาจแห่งชาติ
มิได้ขึ้นอยู่กับตัวลักษณะนิสัยที่มีอยู่จริง ๆ เท่าใดนัก ขึ้นอยู่กับการที่
ประเทศหนึ่งเชื่อว่าอีกประเทศหนึ่งเป็นอย่างไร
– ลักษณะนิสัยประจาชาติกับขวัญและกาลังใจของแต่ละประเทศเป็น
แหล่งกาเนิดของกาลังอานาจดูได้จาก วัฒนธรรม ประสบการณ์จาก
ประวัติศาสตร์ โครงสร้างทางสังคม
ลักษณะนิสัยประจาชาติเป็นหัวใจ
ภาวะผู้นาเป็นมันสมอง
ภาวะผู้นาและภาพพจน์ของประเทศเป็นที่มาของกาลังอานาจ
ภาวะผู้นาบกพร่องทรัพยากรอื่น ๆ ก็อาจจะไม่เกิดประโยชน์
จานวนประชากรหรือศักยภาพทางเศรษฐกิจและทางทหารจะมีความ
เข้มแข็งก็ต่อเมื่อผู้นาของประเทศนั้นสามารถใช้ประโยชน์จาก
ทรัพยากร
ภาวะผู้นาสามารถจะตัดสินใจได้ว่าจะใช้ทรัพยากรของประเทศ
อย่างไร
ลักษณะนิสัยประจาชาติ
รักสงบ เคารพอาวุโส เชื่อโชคลางของขลัง เชื่อกฎแห่งกรรม
ยอมตามผู้มีอานาจ รักเอกราช สุกเอาเผากิน ไม่ยอมให้ใคร
ดูหมิ่น รักถิ่นและครอบครัว อ่อนน้อมถ่อมตัว ชอบผู้นา ทา
สารวย ชอบบันเทิง(สนุก) เมตตากรุณา ผักชีโรยหน้า ไม่
กระตือรือร้น เป็ นคนใจกว้าง ช่างอดช่างทน กตัญญูกตเวที
ชอบมีอภิสิทธิ์ จิตใจเอื้ออารี โอนอ่อนผ่อนตาม มีความเกรงใจ
ให้อภัยเสมอ ตามใจต่างชาติ ฉลาดเลือกงาน ทาการมักเบ่ง
เคร่งครัดเคารพแด่พระมหากษัตริย์
•สภาวิจัยแห่งชาติได้ประมวลไว้เป็นร้อยกรองโดยสมบูรณ์
Seapower21
ยุทธศาสตร์ใหม่ของสหรัฐฯ
กาหนดเป็นยุทธศาสตร์แบบ ๔-๒-๑
สามารถยับยั้งภัยคุกคามได้ ๔ ภูมิภาค
เอาชนะได้อย่างรวดเร็ว ๒ ภัยคุกคาม
เอาชนะได้อย่างเด็ดขาด อย่างน้อย ๑ ใน ๒ ภัยคุกคาม
EURASIA
ให้ความสาคัญกับภูมิภาค
East Asia,
Northeast Asia
South East Asia
Europe
Northeast
East Asia
South East Asia
Europe
การพัฒนากองทัพสหรัฐฯ
ปรับกองเรือจาก ๑๙ กองเรือ เป็น ๓๗ กองเรือ มีขีดความสามารถใน
การทาการรบในทุกภูมิภาคทั่วโลก
ให้ความสาคัญกับขีดความสามารถของหน่วยปฏิบัติการพิเศษ
(Special Force)
มีการปรับปรุงเรือดาน้า Nuclear ชั้น Ohio Class ซึ่งจากเดิมมีการ
ติดตั้งขีปนาวุธ Nuclear มาเป็นติดตั้งอาวุธปล่อยแบบ Tomahawk
และสามารถส่งหน่วย Special Force ขึ้นปฏิบัติการบนฝั่งได้
ยุทธศาสตร์ทหารของสหรัฐ
Strategic Defense Mobile Forces
Bases Places
Hard Power Soft Power Smart Power
ประสบการณ์จากการรบของสหรัฐฯ
สงครามอัฟกานิสถาน ต้องการใช้พื้นที่ปากีสถานเป็นฐานทัพหน้าและส่งกาลังบารุง
รัฐบาลปากีสถานอนุญาตให้สิทธิแค่การบินผ่าน
สงครามอิรัก ขอใช้พื้นที่ตุรกีเป็นฐานทัพหน้า ถูกปฏิเสธจากสภาฯ
การใช้พื้นที่ประเทศอื่นเป็นฐานทัพหน้า ต้องเสี่ยงกับการใช้งป.มหาศาล และเกิด
ความสูญเปล่าในอนาคต
การลงทุนสร้างฐานทัพที่อ่าวซูบิคในฟิลิปปินส์ ต่อมาไม่ต่อสัญญาเช่า
ต้องหันกลับมาใช้อาณานิคมของตนเอง คือเกาะกวมเป็นศูนย์กลางของกองกาลัง
สหรัฐฯ ในเขตภูมิภาค เอเชีย-แปซิฟิก
แนวคิด Sea Basing
สร้างฐานทัพหน้าในแผ่นดินตนเอง ใช้กาลังเคลื่อนที่เร็ว ลดการ
พึ่งพาชาติอื่น
วางกาลังและฐานทัพ ฐานส่งกาลังบารุงต่าง ๆ ไว้ทั่วโลก
วางกาลังใหม่ของ ทร.สหรัฐฯ ในภูมิภาคเอเชีย – แปซิฟิก ลดกาลัง
ทหารประจาการในเกาหลีใต้ จานวน ๑ ใน ๓ เหลือ ๑๒,๕๐๐ คน
จากเดิม ๓๗,๕๐๐ คน
ภัยคุกคามรูปแบบใหม่ยากที่จะประเมินทิศทางและเป้าหมายที่ชัดเจน
ยุทธศาสตร์ใหม่ของสหรัฐฯเน้นการสร้างความร่วมมือจากชาติ
พันธมิตร ในการเข้าจัดการกับภัยคุกคามตามภูมิภาคต่าง ๆ
ยุทธศาสตร์ Sea Power21
ปรับวางกาลังของกองทัพเรือสหรัฐฯโดยทบทวน
ยุทธศาสตร์ ปรับเปลี่ยนรูปแบบ จานวนและสถานที่ที่
กาลังทหารของสหรัฐฯประจาการอยู่ทั่วโลก
กาหนดภัยคุกคามและยุทธศาสตร์ขึ้นใหม่ทั้งหมด มีการ
ลงนามร่วมระหว่าง ผบ.ทร. และ ผบ.นย.และให้
กระทรวงกลาโหมฯ อนุมัติ
กรอบแนวความคิดของ Sea Power 21
Sea Shield การป้องกันจากทะเล ปกป้องแผ่นดินแม่ มีการป้องกัน Air
Missile Theater, Air Missile Defense และการป้องกันภัยคุกคามทั้ง 3 มิติ
Sea Strike การโจมตีจากทะเล
Sea Basing ฐานปฏิบัติการจากทะเลที่ใช้ในการบัญชาการรบ
Sea Trial คือ จะต้องมีการฝึกและทดสอบจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนาเทคโนโลยีใหม่
ๆ และวางแนวความคิดในการปฎิบัติการ
Sea Warrior การอบรมและพัฒนาคุณภาพของกาลังพลทางเรือ
Sea Enterprise การตรวจสอบเพื่อปรับปรุงการปฎิบัติภารกิจของกองทัพให้มี
ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
Maritime Prepositioning Force (Future) MPF(F) / Seabase
องค์การเดินเรือระหว่างประเทศ
(International Maritime Organizatin-IMO)
เป็นหน่วยงานของ UN รับรองมาตรการต่อต้านการก่อการร้ายทางทะเลที่เรียกว่า The
International Ship and Port Facility Code (ISPS CODE) เมื่อปี 2545
มาตรการที่กาหนดให้ประเทศสมาชิก IMO ที่รับรองมาตรการนี้จานวน 146 ประเทศ เพิ่มการ
รักษาความปลอดภัยการเดินเรือเพื่อป้องกันการก่อการร้าย
กาหนดให้เรือที่มีระวางตั้งแต่ 300-50,000 ตัน ต้องติดตั้งระบบ Automatic Information
System ภายใน 31 ธันวาคม 2547
กาหนดให้เรือทุกลาต้องติดตั้งระบบเตือนภัยให้เจ้าหน้าที่บนฝั่งทราบถึงชื่อเรือ สถานที่ตั้ง และ
ปัญหาด้านความปลอดภัย
กาหนดให้ท่าเรือมีการประเมินความปลอดภัยของท่าเรือ และจัดทาแผนรักษาความปลอดภัย
สถานที่
เรือลาใดที่ไม่ปฏิบัติตามระเบียบนี้จะไม่ได้รับใบประกาศความปลอดภัยการเดินเรือระหว่าง
ประเทศ(International Ship Security Certificate) ซึ่งจะทาให้ไม่สามารถจอดเข้าท่าเทียบ
เรือของประเทศสมาชิก IMO ได้
National Security Strategy
and Economic Strategy
Raw Material
Product & Container
Money
Man
Globalization
Technology
Mobility
Beliefs
Economy
การแบ่งกลุ่มประเทศในโลกของสหรัฐ
กลุ่มประเทศ G7
กลุ่มประเทศกาลังพัฒนา
กลุ่มประเทศเกิดใหม่และรัฐเอกราช
กลุ่มประเทศอักษะแห่งความชั่วร้าย
วปอ.
ระดับการพัฒนาการทางเศรษฐกิจ
การจัดการทรัพยากร
กาลังอานาจทางเศรษฐกิจ
ความสามารถทางเกษตรกรรม
100
ลักษณะและขีดความสามารถของรัฐในด้านเศรษฐกิจ
อัตราส่วนของผลผลิตทางด้านเกษตรกรรม อุตสาหกรรม และบริการ
ขีดความสามารถในการผลิต ทั้งปริมาณและคุณภาพ
ผลผลิตทางเกษตรกรรม อุตสาหกรรม และบริการทั้งปริมาณและคุณภาพ
GNP/GDP/รายได้ประชาชาติต่อหัว
การผลิตพลังงานและวัตถุปัจจัยอุตสาหกรรมหนัก
พลังทางแรงงานของชาติ
ระดับการพัฒนาการทางเศรษฐกิจ
ความสามารถทางเกษตรกรรม
มีผลผลิตสูง
แรงงานที่ใช้และต้นทุนต่า
ความสามารถในการพัฒนาทางด้านเกษตรกรรม
การจัดการทรัพยากร
สัดส่วนทางทรัพยากรที่ใช้สอยและสะสมไว้เป็นทุน
ส่วนสัดรายจ่ายของรัฐ
สัดส่วนของทรัพยากรที่ใช้เพื่อความมั่นคง การพึ่งตนเอง
ได้ในทางเศรษฐกิจ
กาลังอานาจด้านเศรษฐกิจ
102
ขาดดุลย์ทางการค้า
ขาดดุลย์บัญชีเดินสะพัด
ขาดดุลย์การชาระเงิน
หนี้ต่างประเทศ
ฐานะเงินสารองระหว่างประเทศ
การลงทุนต่างประเทศไม่มี ถอนเงินออก
ธนาคาร, สถาบันการเงิน ทุจริต ล้ม
ดอกเบี้ยสูงจนดาเนินธุรกิจไม่ได้
วิกฤติทางการเศรษฐกิจ
กาลังอานาจทางเศรษฐกิจ
โครงสร้างระบบ
เงื่อนไขทางเศรษฐกิจ
ทรัพยากรธรรมชาติ
การเงินและการคลัง
การผลิต-การตลาด-การบริโภค
การค้านานาชาติ
การบริหารและพื้นฐานทางเศรษฐกิจ
โครงสร้างทุน
สถานการณ์การเงินและเศรษฐกิจนานาชาติ
การให้รางวัลหรือลงโทษ
ควบคุมสินค้า บริการ
และทรัพยากร
สิทธิพิเศษทางการค้า
การคว่าบาตรทางการค้า
การห้ามนาเข้า
การช่วยเหลือจากต่างประเทศ
กาลังอานาจทางการเมือง
อุดมการณ์และอุปนิสัยของพลเมือง
รัฐบาลและนโยบายของรัฐบาล
การดาเนินการทางการทูต
พันธมิตร
ความเชื่อถือในตัวผู้นา
ความสามารถในการบริหารทรัพยากร
ความสามารถในการโน้มน้าวจิตใจ
ระบอบการปกครองและระบบบริหารการจัดการ
•การบังคับขู่เข็ญ
•การเกลี้ยกล่อม
•การปรับจุดยืนเข้าหากัน
•การบรรลุข้อตกลง
แนะแนวในการวิเคราะห์ทางการเมือง
• รากฐานทางการเมือง
• องค์กรทางการเมือง
• การเปลี่ยนแปลงทางการเมือง
• เสถียรภาพทางการเมือง
• วิถีทางการเมืองระหว่างประเทศ
การดาเนินการทางการทูตในหลายลักษณะ คือ
การบังคับขู่เข็ญ (Coercion)
เกลี้ยกล่อม (Persuasion)
การปรับจุดยืนเข้าหากัน (Adjustment)
การบรรลุข้อตกลง (Agreement)
การบังคับขู่เข็ญ (Coercion)
สร้างแรงกดดัน เป็นการบาดหมางในความสัมพันธ์ทางการทูตการให้ประเทศ
เป้าหมายถอนตัวจากการประชุมหรือองค์การระหว่างประเทศ
การบังคับขู่เข็ญเป็นการยื่นคาขาดในการเจรจา
การกาหนดเวลาเส้นตายที่จะต้องทาความตกลงหรือการยื่นเรื่องราวร้องทุกข์หรือ
ประท้วงอย่างเป็นทางการหรือไม่เป็นทางการ
ผู้นาเผด็จการใช้การบังคับขู่เข็ญทางจิตวิทยา โดยการไร้มารยาท และแบบธรรม
เนียมที่ดีของการทูต
ดาเนินความสัมพันธ์ในบรรยากาศของอารมณ์อันรุนแรงและการด่าทอ
พฤติการณ์เช่นนี้ได้ประโยชน์มาแล้วอย่างปฏิเสธไม่ได้
การเกลี้ยกล่อม (Persuasion)
การโต้คารม
การเสนอข้อแลกเปลี่ยนกัน
ความแตกต่างระหว่างการบังคับขู่เข็ญกับการเกลี้ยกล่อมมีอยู่เล็กน้อย
การริเริ่มทางการทูตส่วนมากเริ่มต้นในรูปแบบของการเกลี้ยกล่อม
การปรับจุดยืนเข้าหากัน (Adjustment)
การทูตเป็นวิธีการเดียวเท่านั้นที่มีการปรับจุดยืนของตนเข้าหากัน
ปรับท่าทีของตนเพื่อสัมพันธภาพอันดีเป็นเรื่องที่น่าสรรเสริญ
การติดต่อสื่อสารโดยตรง
การไม่บังคับขู่เข็ญ
ชั้นเชิงกับความอ่อนตัวในการเจรจา
การปรับจุดยืน
ประเทศต่างๆ อาจฟ้องร้องข้อขัดข้องหมองใจ และทาให้ความขัดแย้งรุนแรงขึ้นโดยวิธีต่าง
ๆ มากมาย
การลดความตึงเครียดระหว่างกันลงได้โดยวิถีทางการทูต
การปรับจุดยืนเข้าหากันจะได้ผลก็ต่อเมื่อประเทศคู่กรณียอมรับที่จะเจรจากัน ไม่มีอะไร
สามารถเอาชนะความไม่สมัครใจจะเปลี่ยนนโยบายของประเทศได้
การบรรลุข้อตกลง (Agreement)
การบรรลุข้อตกลงด้วยศิลปะในการเจรจาทางการทูต
ให้มีข้อตกลงเป็นทางการและลายลักษณ์อักษร
เป็นข้อผูกมัดระหว่างประเทศตามวิถีทางการเมืองของโลก
สามารถจะทาให้เกิดมีขึ้นได้ก็โดยการดาเนินการทางการทูตเท่านั้น
การบรรลุข้อตกลงอาจใช้การเกลี้ยกล่อม
การปรับจุดยืนเข้าหากัน
ข้อตกลงใด ๆ ย่อมจะไม่อาจเกิดมีขึ้นได้ถ้าคู่กรณีทั้งสองฝ่ายไม่ต้องการให้มี
111
กาลังอานาจด้านสังคมจิตวิทยา
วัฒนธรรม/จารีตประเพณี/ปทัสฐาน
การจูงใจ
ความเชื่อ ทัศนคติ และค่านิยม
ชนกลุ่มน้อย
องค์กรเอกชน
ชนกลุ่มน้อย
ชาตินิยม
ลักษณะประจาชาติ
คุณธรรมประจาชาติ
กฎหมาย
ความถูกต้องยุติธรรม
ศิลปวัฒนธรรม
กลุ่มพลังต่างๆ สถาบันการศึกษา/สังคม/ศาสนา/พระมหากษัตริย์
การแบ่งปันการทางานและผลประโยชน์
ความสามัคคีหรือความเป็นน้าหนึ่งใจเดียวกัน
สถาบันการศึกษา/สังคม/ศาสนา/พระมหากษัตริย์
วิกฤติทางสังคมจิตวิทยา
ทุกคนเห็นประโยชน์ส่วนตนมากกว่าส่วนรวม
ขาดคุณธรรม
ความเอื้อเฟื้ อ
คนดีท้อแท้ คนชั่วคึกคะนอง
คนมีเงินได้รับการยกย่องมากกว่าคนดี
อาชญากรรมเพิ่มขึ้น
ไม่มีความยุติธรรมในสังคม
เอกภาพและขวัญของคนภายในรัฐ
ความกระตือรือร้นของคนในชาติ
ความสามัคคีหรือความเป็นน้าหนึ่งใจ
เดียวกัน
การแบ่งปันการทางานและผลประโยชน์
ความสามัคคีเป็นน้าหนึ่งเดียวกัน
การแบ่งปันการทางานและผลประโยชน์
กาลังอานาจด้านสังคมจิตวิทยา
คุณธรรมประจาชาติ
ความยุติธรรม
มาตรฐานคุณภาพชีวิต
คุณธรรมประจาชาติ
ชาตินิยม
กาลังอานาจทางสังคมจิตวิทยา
ปัจจัยทางสังคมจิตวิทยา
(Sociological Factors)
“พฤติกรรม”
ความเชื่อ ทัศนคติและค่านิยม
สิ่งจูงใจ สถาบันทางสังคม
ปัจจัยทางจิตวิทยา
(Psychological Factors)
“อุดมการณ์” สื่อโฆษณา
ลักษณะประจาชาติ
ความสามัคคี
ความจงรักภักดี
การโฆษณาชวนเชื่อ
เครื่องมือทางจิตวิทยา
• การโฆษณาชวนเชื่อ แตกต่างกับการเผยแพร่ข่าวสาร เพราะการแจกจ่าย
ข่าวสารอย่างเสรีจะไม่มีอคติในการคัดเลือกเนื้อหาสาระ
• แต่การโฆษณาชวนเชื่อจะคัดเลือกสัญญาลักษณ์ ข้อเท็จจริงหรือถ้อยคาอย่าง
ละเอียดรอบคอบ เพื่อเสนอเฉพาะทัศนะที่จะสนับสนุนการสอนสั่งหรือให้มี
ผลต่อท่าทีอื่น ๆ ตามที่ผู้โฆษณาต้องการ
• มุ่งต่อท่าทีและพฤติกรรมของประชากรประเทศ กลุ่มเชื้อชาติ เศรษฐกิจ ชน
ชั้น ภาษา หรือศาสนา
• การเผยแพร่ความคิด ข่าวสาร ข้อเท็จจริงและสัญลักษณ์ต่างๆ
• หล่อหลอมความคิด ท่าที หรือพฤติกรรมในสถานการณ์เฉพาะ
เครื่องมือทางจิตวิทยา
การโฆษณาชวนเชื่อไม่ค่อยจะเป็นความจริงทั้งหมดแต่ก็ไม่ใช่ความ
เท็จทั้งสิ้น
ผู้โฆษณาชวนเชื่อจะใช้การเกลี้ยกล่อมให้มากที่สุด ไม่ใช่ยึดกับ
หลักการ
ประเทศมหาอานาจมักจะมีสานักงานในและต่างประเทศทางานในการ
สร้างท่าทีและภาพพจน์ที่ดีของประเทศ
มีการเสนอข่าวสารอย่างตรงไปตรงมาเกี่ยวกับประเทศชาติ สถาบันต่าง
ๆ สังคม แล้วให้ผู้รับข่าวสารสรุปผลเอาเอง
เครื่องมือทางจิตวิทยา
ความเชื่อมั่นของประชาชนย่อมยึดถือเอาความจริงและความถูกต้อง
เป็นหลัก และใช้ความจริงในการตอบโต้การบิดเบือนในการโฆษณา
ชวนเชื่อของประเทศอื่น
การส่งเสริมความสัมพันธ์ทางวัฒนธรรม เช่นการแลกเปลี่ยน นักเรียน
นักศึกษา อาจารย์ ศิลปิน นักกีฬา และผู้นาทางการเมือง หรือผู้นา
สาขาอาชีพอื่น ๆ เป็นการแลกเปลี่ยนฝีมือ ความคิดและข่าวสารและ
การส่งเสริมให้เกิดภาพพจน์ที่ดีระหว่างประชาชนของประเทศ
กาลังอานาจด้านการทหาร
โครงสร้างของหน่วยบัญชาการและการ
ปกครองบังคับบัญชา
กาลังและการประกอบกาลัง
ที่ตั้งและการวางกาลัง
การระดมสรรพกาลัง
การส่งกาลังบารุง
พันธมิตรและมิตรประเทศ
ปริมาณและคุณภาพของกาลังพล
ปริมาณและคุณภาพยุทโธปกรณ์
หลักนิยมทางทหาร
ค่าใช้จ่ายและงบประมาณทางทหาร
ระดับการศึกษา ความรู้ทาง
วิทยาศาสตร์และความก้าวหน้าของ
เทคโนโลยีในหมู่ประชากรที่มีผล
ต่อกาลังพลในกองทัพ
ความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน
ระหว่างทหารกับประชาชน
การฝึก
เครื่องมือทางการทหาร
การใช้อิทธิพลต่อท่าที พฤติกรรม และการปฏิบัติ
ของประเทศอื่น
การใช้วิธีการทางทหาร สิ้นเปลืองและมีอันตราย
มากกว่าวิธีอื่น ๆ
เป็นวิธีการสุดท้ายที่นาออกใช้
วิวัฒนาการการผลิตอาวุธปัจจุบันทาให้การใช้กาลัง
ทหารมีผลดีและผลเสียมากขึ้น
การป้องปราม
ป้องกันไม่ให้ฝ่ายตรงข้ามทาอะไรที่คุกคาม
การป้องกันกับการป้องปรามเหมือนกันตรงที่
มุ่งจะป้องกันประเทศจากการถูกโจมตีด้วย
กาลัง
การป้องกันเป็นการยับยั้งโดยการใช้กาลัง
ทหารฝ่ายตรงข้าม
การป้องปราม เป็นการยับยั้งที่จะทาลายล้าง
ตอบโต้
ผลของการป้องปรามจะขึ้นอยู่กับ
ความสามารถที่จะทาให้ฝ่ายตรงข้ามเชื่อว่า
ประเทศตนมีทั้งกาลัง และความตั้งใจที่จะ
ลงโทษอย่างรุนแรง
การใช้เครื่องมือทางทหารจะเป็นไปในลักษณะ
ของการบังคับข่มขู่หรือการลงโทษ
การป้องกัน
การใช้กาลังทหารทาการโจมตี หรือลดความ
เสียหายของตนเมื่อถูกโจมตีในการป้องกัน
ใช้กาลังผลักดันการถูกโจมตีเมื่อเกิดขึ้น หรือใช้โจมตี
ก่อนเมื่อเชื่อว่าตนจวนจะถูกโจมตีอยู่แล้วหรือไม่มี
ทางหลีกเลี่ยงต่อการถูกโจมตี
วิกฤติทางทหาร
ทหารขาดระเบียบวินัย
ไม่มีการฝึกซ้อม
ขาดอาวุธยุทโธปกรณ์
ขาดขวัญและกาลังใจ
ผู้นาไม่มีความสามารถ
ขาดความยุติธรรมในระบบ
องค์ประกอบกาลังอานาจทางวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี การพลังงาน
และสิ่งแวดล้อม
บุคคลากร
การวิจัยและพัฒนา
เครื่องมือเครื่องใช้
องค์กรและการบริหาร
แผนพัฒนา S&T
องค์ความรู้(Know How)
การนามาใช้( Know Use)
“ความทันสมัยฉับไว และทวีกาลัง
ในการผสมผสาน สร้างสรรค์
และเสริมสร้างกาลังอานาจอื่น
ให้เข้มแข็ง
บังเกิดประสิทธิภาพสูงยิ่งขึ้น”
วิศวกร นักวิทยาศาสตร์ นักวิชาการ ช่างเทคนิค นักวิจัย
เครื่องมือทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เทคโนโลยีสูงจะเสริมกาลังอานาจทางทหารให้มีอานุภาพยิ่งขึ้น
เทคโนโลยีสูงเป็นสิ่งจาเป็นสาหรับเศรษฐกิจ
ลงทุนเพื่อการวิจัยและพัฒนาอาวุธเทคโนโลยีสูงก็ย่อมมีผลในการป้องปราม
การกระทาที่เป็นศัตรูของต่างประเทศได้
เทคโนโลยีจะช่วยสังคมด้วยการใช้เป็นสื่อในการโฆษณาชวนเชื่อและการประ
สัมพันธ์ต่อเป้าหมายในต่างประเทศได้อย่างกว้างขวางและรวดเร็ว
กาลังอานาจด้านวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี
การพลังงานและสิ่งแวดล้อม
เทคโนโลยี
ระดับการพัฒนาและการใช้เทคโนโลยีเพื่อการประกอบการ
ระดับการพัฒนาและการใช้เทคโนโลยีทางทหาร
การใช้เทคโนโลยีเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่ของประชากร
วิกฤติทางวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี
ไม่มีหน่วยงานวิจัย
ขาดการพัฒนาต่อเนื่อง
ขาดบุคลากรที่มีความรู้
ขาดอุปกรณ์ และเครื่องมือในการส่งเสริม
ไม่มีการนามาใช้ประโยชน์
ปัจจัยกาลังอานาจ
Contract
Manufacturer
Distributor
Tier 2
Supplier
Tier 1
Supplier
Enterprise
ปัจจัยกาลังอานาจ
ทรัพยากรธรรมชาติฯ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีฯ
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศและการทูต
กาลังทางทหาร
ลักษณะประจาชาติ
ภูมิศาสตร์
ความเชื่อ ศาสนา จริยธรรมและความจงรักภักดี
อุดมการณ์ของชาติและภาวะผู้นา
การศึกษา
ลักษณะประจาชาติ
เศรษฐกิจ
FACTOR
H.MORGENTHAU N.SPYKMAN R.STEINMETZ ดร.จุลชีพ
สภาพทางภูมิศาสตร์ เนื้อที่ของประเทศ เนื้อที่ของประเทศ อาณาเขต
--------------- ลักษณะของพรมแดน -------------- การสนับสนุนของต่างประเทศ
พลเมือง จานวนพลเมือง พลเมือง ประชากร
ทรัพยากรธรรมชาติ วัตถุดิบ ------------- ทรัพยากรธรรมชาติ
อุตสาหกรรม ระดับการพัฒนาเศรษฐกิจ เศรษฐทรัพย์ สมรรถนะทางอุตสาหกรรม
------------- ฐานะการเงิน ------------- สมรรถนะทางการเกษตร
------------- ชาติพันธ์ของพลเมือง ชาติพันธ์ของพลเมือง ศักดิ์ศรีในประชาคมโลก
------------- ความเป็นปึกแผ่นทางสังคม ความสามัคคี เอกภาพทางสังคม
คุณภาพของรัฐบาล เสถียรภาพทางการเมือง สถาบันทางการเมือง รูปแบบรัฐบาล
ความเข้มแข็งของจิตใจ ลักษณะทางจิตใจของคนในชาติ ลักษณะทางจิตใจ การบริหารราชการ
กาลังทหาร ------------- ------------- ความเข้มแข็งทางทหาร
ลักษณะนิสัยคนในชาติ ------------- การบังคับบัญชา ภาวะผู้นา
------------- ------------- ------------- วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี
ปัจจัยกาลังอานาจแห่งชาติ
วปอ.สหรัฐ
 สภาพทางภูมิศาสตร์
 พลเมือง
 ทรัพยากร
 -------------
 โครงสร้างทางสังคม
 ---------------
 --------------
 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 ระบบเศรษฐกิจ
 โครงสร้างทางการเมือง
 การศึกษา
 ภาวะผู้นาของชาติ
วปอ.ไทย
 ภูมิศาสตร์
 ภาวะประชากร
 ทรัพยากรธรรมชาติ
 ความเชื่อ ศาสนา จริยธรรม และ
ความจงรักภักดี
 ลักษณะประจาชาติ
 กาลังทหาร
 วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี การพลังงานและสิ่งแวดล้อม
 เศรษฐกิจ
 ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศและการทูต
 การศึกษา
 อุดมการณ์ของชาติและภาวะผู้นา
ปัจจัยกาลังอานาจแห่งชาติรูปธรรม
 ภูมิศาสตร์
 ภาวะประชากร
 ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
 รัฐบาล
 วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี
 การพลังงาน
 การศึกษา
 การเศรษฐกิจ
 กาลังทหาร
 ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศและการทูต
ปัจจัยกาลังอานาจแห่งชาตินามธรรม
 ลักษณะและเอกลักษณ์ประจาชาติ
 อุดมการณ์ของชาติ
 แบบแผนของชาติ
 ภาวะผู้นา
 ความเชื่อ
 ศาสนา จริยธรรม
ความจงรักภักดี
ปัจจัยกาลังอานาจแห่งชาติ
 ภูมิศาสตร์
 ภาวะประชากร
 ทรัพยากรธรรมชาติ
 ความเชื่อ ศาสนา จริยธรรม และ
ความจงรักภักดี
 ลักษณะประจาชาติ
 กาลังทหาร
 วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี การพลังงานและ
สิ่งแวดล้อม
 เศรษฐกิจ
 ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศและการทูต
 การศึกษา
 อุดมการณ์ของชาติและภาวะผู้นา
ปัจจัยกาลังอานาจแห่งชาติ
 ภูมิศาสตร์
 ภาวะประชากร
 ทรัพยากรธรรมชาติ
 ความเชื่อ ศาสนา จริยธรรม และ
ความจงรักภักดี
 ลักษณะประจาชาติ
 กาลังทหาร
 วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี การพลังงานและ
สิ่งแวดล้อม
 เศรษฐกิจ
 ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศและการทูต
 การศึกษา
 อุดมการณ์ของชาติและภาวะผู้นา
ปัจจัยกาลังอานาจแห่งชาติ
 ภูมิศาสตร์
 ภาวะประชากร
 ทรัพยากรธรรมชาติ
 ความเชื่อ ศาสนา จริยธรรม และ
ความจงรักภักดี
 ลักษณะประจาชาติ
 กาลังทหาร
 วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี การพลังงานและสิ่งแวดล้อม
 เศรษฐกิจ
 ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศและการทูต
 การศึกษา
 อุดมการณ์ของชาติและภาวะผู้นา
ปัจจัยกาลังอานาจแห่งชาติ
 ภูมิศาสตร์
 ภาวะประชากร
 ทรัพยากรธรรมชาติ
 ความเชื่อ ศาสนา จริยธรรม และ
ความจงรักภักดี
 ลักษณะประจาชาติ
 กาลังทหาร
 วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี การพลังงานและสิ่งแวดล้อม
 เศรษฐกิจ
 ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศและการทูต
 การศึกษา
 อุดมการณ์ของชาติและภาวะผู้นา

More Related Content

What's hot

Military power
Military powerMilitary power
Military powerTeeranan
 
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญาการบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญาพัน พัน
 
2 แนวคิดเกี่ยวกับชุมชน
2 แนวคิดเกี่ยวกับชุมชน2 แนวคิดเกี่ยวกับชุมชน
2 แนวคิดเกี่ยวกับชุมชนWatcharin Chongkonsatit
 
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกSompak3111
 
วิเคราะห์การเมืองกับการศึกษา
วิเคราะห์การเมืองกับการศึกษาวิเคราะห์การเมืองกับการศึกษา
วิเคราะห์การเมืองกับการศึกษาธนกร ทองแก้ว
 
ข้อสอบ O net สังคม ม.6 ชุด 1
ข้อสอบ O net สังคม ม.6 ชุด 1ข้อสอบ O net สังคม ม.6 ชุด 1
ข้อสอบ O net สังคม ม.6 ชุด 1cookie47
 
สถาบันทางการเมือง
สถาบันทางการเมืองสถาบันทางการเมือง
สถาบันทางการเมืองkroobannakakok
 
บทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทย
บทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทยบทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทย
บทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทยSaiiew
 
สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็นTaraya Srivilas
 
ปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติ
ปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติ
ปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติPatt Thank
 
ข้อสอบ o-net 53 สังคมศึกษา
ข้อสอบ o-net 53 สังคมศึกษาข้อสอบ o-net 53 สังคมศึกษา
ข้อสอบ o-net 53 สังคมศึกษาPeera Chumintharajak
 
การสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบัน
การสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบันการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบัน
การสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบันTaraya Srivilas
 
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1prayut2516
 
หัวข้อที่ ๕ ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัย
หัวข้อที่ ๕  ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัยหัวข้อที่ ๕  ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัย
หัวข้อที่ ๕ ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัยchakaew4524
 
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียน
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียนเฉลย แบบทดสอบหลังเรียน
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียนTong Thitiphong
 

What's hot (20)

เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1
 
Military power
Military powerMilitary power
Military power
 
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญาการบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
 
2 แนวคิดเกี่ยวกับชุมชน
2 แนวคิดเกี่ยวกับชุมชน2 แนวคิดเกี่ยวกับชุมชน
2 แนวคิดเกี่ยวกับชุมชน
 
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก
 
วิเคราะห์การเมืองกับการศึกษา
วิเคราะห์การเมืองกับการศึกษาวิเคราะห์การเมืองกับการศึกษา
วิเคราะห์การเมืองกับการศึกษา
 
ข้อสอบ O net สังคม ม.6 ชุด 1
ข้อสอบ O net สังคม ม.6 ชุด 1ข้อสอบ O net สังคม ม.6 ชุด 1
ข้อสอบ O net สังคม ม.6 ชุด 1
 
สถาบันทางการเมือง
สถาบันทางการเมืองสถาบันทางการเมือง
สถาบันทางการเมือง
 
สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็น
 
บทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทย
บทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทยบทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทย
บทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทย
 
สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็น
 
ปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติ
ปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติ
ปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติ
 
ข้อสอบ o-net 53 สังคมศึกษา
ข้อสอบ o-net 53 สังคมศึกษาข้อสอบ o-net 53 สังคมศึกษา
ข้อสอบ o-net 53 สังคมศึกษา
 
การเมืองการปกครองของไทย
การเมืองการปกครองของไทยการเมืองการปกครองของไทย
การเมืองการปกครองของไทย
 
ความสำคัญของพระมหากษัตริย์ต่อชาติไทย
ความสำคัญของพระมหากษัตริย์ต่อชาติไทยความสำคัญของพระมหากษัตริย์ต่อชาติไทย
ความสำคัญของพระมหากษัตริย์ต่อชาติไทย
 
การสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบัน
การสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบันการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบัน
การสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบัน
 
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
 
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
 
หัวข้อที่ ๕ ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัย
หัวข้อที่ ๕  ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัยหัวข้อที่ ๕  ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัย
หัวข้อที่ ๕ ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัย
 
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียน
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียนเฉลย แบบทดสอบหลังเรียน
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียน
 

Viewers also liked

สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7Taraya Srivilas
 
รายงานปรองดอง สปช ปรับปรุง
รายงานปรองดอง สปช ปรับปรุงรายงานปรองดอง สปช ปรับปรุง
รายงานปรองดอง สปช ปรับปรุงTaraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7Taraya Srivilas
 
สงครามโลก Ohm
สงครามโลก Ohmสงครามโลก Ohm
สงครามโลก OhmTaraya Srivilas
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าTaraya Srivilas
 
แนวทางที่จะสร้างความปรองดองของคนในชาติ คอ.นธ.
แนวทางที่จะสร้างความปรองดองของคนในชาติ คอ.นธ.แนวทางที่จะสร้างความปรองดองของคนในชาติ คอ.นธ.
แนวทางที่จะสร้างความปรองดองของคนในชาติ คอ.นธ.Taraya Srivilas
 
ปัญหาการเมือง เศรษฐกิจ สังคมแจก
ปัญหาการเมือง เศรษฐกิจ สังคมแจกปัญหาการเมือง เศรษฐกิจ สังคมแจก
ปัญหาการเมือง เศรษฐกิจ สังคมแจกTaraya Srivilas
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้งสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้งTaraya Srivilas
 
การเมืองที่รองรับความหลากหลาย
การเมืองที่รองรับความหลากหลายการเมืองที่รองรับความหลากหลาย
การเมืองที่รองรับความหลากหลายTaraya Srivilas
 
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสชเอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสชTaraya Srivilas
 
กระบวนการสันติภาพ
กระบวนการสันติภาพกระบวนการสันติภาพ
กระบวนการสันติภาพTaraya Srivilas
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าTaraya Srivilas
 
บทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตบทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตTaraya Srivilas
 
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขบทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขTaraya Srivilas
 
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงสถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงTaraya Srivilas
 
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2Taraya Srivilas
 
1สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง ปรับปรุงล่าสุด
1สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง ปรับปรุงล่าสุด1สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง ปรับปรุงล่าสุด
1สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง ปรับปรุงล่าสุดTaraya Srivilas
 
ความมั่นคงแห่งชาติ
ความมั่นคงแห่งชาติความมั่นคงแห่งชาติ
ความมั่นคงแห่งชาติTeeranan
 
ความมั่นคงแห่งชาติและภัยคุกคาม
ความมั่นคงแห่งชาติและภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติและภัยคุกคาม
ความมั่นคงแห่งชาติและภัยคุกคามTeeranan
 

Viewers also liked (20)

สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
 
Okinawa
OkinawaOkinawa
Okinawa
 
รายงานปรองดอง สปช ปรับปรุง
รายงานปรองดอง สปช ปรับปรุงรายงานปรองดอง สปช ปรับปรุง
รายงานปรองดอง สปช ปรับปรุง
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7
 
สงครามโลก Ohm
สงครามโลก Ohmสงครามโลก Ohm
สงครามโลก Ohm
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
 
แนวทางที่จะสร้างความปรองดองของคนในชาติ คอ.นธ.
แนวทางที่จะสร้างความปรองดองของคนในชาติ คอ.นธ.แนวทางที่จะสร้างความปรองดองของคนในชาติ คอ.นธ.
แนวทางที่จะสร้างความปรองดองของคนในชาติ คอ.นธ.
 
ปัญหาการเมือง เศรษฐกิจ สังคมแจก
ปัญหาการเมือง เศรษฐกิจ สังคมแจกปัญหาการเมือง เศรษฐกิจ สังคมแจก
ปัญหาการเมือง เศรษฐกิจ สังคมแจก
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้งสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง
 
การเมืองที่รองรับความหลากหลาย
การเมืองที่รองรับความหลากหลายการเมืองที่รองรับความหลากหลาย
การเมืองที่รองรับความหลากหลาย
 
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสชเอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
 
กระบวนการสันติภาพ
กระบวนการสันติภาพกระบวนการสันติภาพ
กระบวนการสันติภาพ
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
 
บทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตบทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคต
 
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขบทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
 
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงสถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
 
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
 
1สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง ปรับปรุงล่าสุด
1สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง ปรับปรุงล่าสุด1สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง ปรับปรุงล่าสุด
1สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง ปรับปรุงล่าสุด
 
ความมั่นคงแห่งชาติ
ความมั่นคงแห่งชาติความมั่นคงแห่งชาติ
ความมั่นคงแห่งชาติ
 
ความมั่นคงแห่งชาติและภัยคุกคาม
ความมั่นคงแห่งชาติและภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติและภัยคุกคาม
ความมั่นคงแห่งชาติและภัยคุกคาม
 

Similar to กำลังอำนาจแห่งชาติ Ndc วปอ.มส.

บทบาทมหาอำนาจของโลก Cmmu
บทบาทมหาอำนาจของโลก Cmmuบทบาทมหาอำนาจของโลก Cmmu
บทบาทมหาอำนาจของโลก CmmuTaraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webTaraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webTaraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 Taraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7 แจก
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7 แจกสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7 แจก
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7 แจกTaraya Srivilas
 

Similar to กำลังอำนาจแห่งชาติ Ndc วปอ.มส. (6)

บทบาทมหาอำนาจของโลก Cmmu
บทบาทมหาอำนาจของโลก Cmmuบทบาทมหาอำนาจของโลก Cmmu
บทบาทมหาอำนาจของโลก Cmmu
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7 แจก
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7 แจกสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7 แจก
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7 แจก
 
Isis
IsisIsis
Isis
 

More from Taraya Srivilas

การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจกการบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจกTaraya Srivilas
 
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกนโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกTaraya Srivilas
 
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมโปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมTaraya Srivilas
 
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6Taraya Srivilas
 
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานการเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานTaraya Srivilas
 
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนแนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนTaraya Srivilas
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจกสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจกTaraya Srivilas
 
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69Taraya Srivilas
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจTaraya Srivilas
 
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยการสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยTaraya Srivilas
 
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้Taraya Srivilas
 
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่Taraya Srivilas
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าTaraya Srivilas
 
นโยบายการบริหารและพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้ พ.ศ. 2560 - 2562
นโยบายการบริหารและพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้ พ.ศ. 2560 - 2562  นโยบายการบริหารและพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้ พ.ศ. 2560 - 2562
นโยบายการบริหารและพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้ พ.ศ. 2560 - 2562 Taraya Srivilas
 

More from Taraya Srivilas (15)

การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจกการบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
 
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกนโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
 
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมโปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
 
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
 
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานการเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
 
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนแนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจกสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
 
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
 
American first muslim
American first muslimAmerican first muslim
American first muslim
 
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยการสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
 
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
 
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
 
นโยบายการบริหารและพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้ พ.ศ. 2560 - 2562
นโยบายการบริหารและพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้ พ.ศ. 2560 - 2562  นโยบายการบริหารและพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้ พ.ศ. 2560 - 2562
นโยบายการบริหารและพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้ พ.ศ. 2560 - 2562
 

กำลังอำนาจแห่งชาติ Ndc วปอ.มส.