SlideShare a Scribd company logo
1 of 11
Download to read offline
การเตรียมการรับมือการระบาดใหญของไขหวัดใหญในสถานศึกษา



การเตรียมการรับมือการระบาดใหญ
   ของไขหวัดใหญในสถานศึกษา
                                                                โดย กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข




                 เนื่องจากปจจุบันโรคไขหวัดใหญสายพันธุใหม ชนิดเอ เอ็ช1 เอ็น1 ในประเทศไทย มีการ
   แพรกระจายไปอยางมาก โดยจากขอมูลทางระบาดวิทยาขณะนี้พบวา สถานศึกษาเปนแหลงที่มีความ
   เสี่ยงสูงที่โรคจะแพรกระจายเขาไป ทําใหเกิดการระบาดในกลุมนักเรียน นักศึกษา รวมทั้งอาจารย
   และเจาหนาที่อยางรวดเร็ว อีกทั้งสถานศึกษายังเปนแหลงที่จะกระจายเชื้อตอเนื่องออกไปในชุมชน
   ดังนั้น สถานศึกษาและเจาหนาที่สาธารณสุขควรรีบเรงเตรียมความพรอมรับมือกับการแพรระบาด
   ใหกับสถานศึกษาตางๆ

             อนึ่ง คําแนะนําตางๆ อาจปรับเปลี่ยนไปตามสถานการณการระบาดที่เปลี่ยนไป และ
   สามารถปรับใหเหมาะสมกับแตละสถานศึกษา



 จัดทําโดย สํานักจัดการความรู กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ติดตามขอมูลเพิ่มเติมไดที่ ww.kmddc.go.th
การเตรียมการรับมือการระบาดใหญของไขหวัดใหญในสถานศึกษา



  หลักการทั่วไป
                           1. วัตถุประสงคของการปองกันการระบาดของไขหวัดใหญในครั้งนี้ไมใช
                              การปองกันไมใหมีเด็กปวยเกิดขึ้นในโรงเรียนเลย (เปนเรื่องที่เปนไปได
                              ยากมาก) แตเพื่อปองกันไมใหเกิดการระบาดใหญขึ้นในโรงเรียน
                           2. โรงเรียนควรจัดใหมีทีมงานรับผิดชอบประสานงานดานไขหวัดใหญขึ้น
                              ในโรงเรียน (ในลักษณะที่เปนทีมงาน ไมควรมอบหมายใครคนใดคน
                              หนึ่งเพียงคนเดียว) เชน โรงเรียนอาจมอบหมายใหรองผูอํานวยการ
                              ฝายปกครองหรือครูฝายการพยาบาลเปนผูประสานงานหลัก (พรอมกับ
                              ทีมงานอีกจํานวนหนึ่ง) ในการปองกันควบคุมโรค โดยประสานงานกับ
                              เจาหนาที่สาธารณสุขในพื้นที่ เพื่อติดตามสถานการณของพื้นที่ใกลเคียง
                              และแจงสถานการณในโรงเรียนทันทีหากพบผูปวยสงสัยติดเชื้อไขหวัด
                              ใหญ เพื่อใหเจาหนาที่สาธารณสุขเขาดําเนินการควบคุมการระบาด
  3. เฝาระวัง โรงเรียนควรจะมีการจัดระบบการติดตามการขาดเรียนของเด็กนักเรียน ควรมีการ
     ตรวจสอบสาเหตุการขาดเรียนของนักเรียนดวย หากพบขาดเรียนผิดปกติ (ตั้งแต 3 คนขึ้นไปใน
     หองเรียนเดียวกัน)และสงสัยวาปวยเปนไขหวัดใหญ ใหแจงตอเจาหนาที่สาธารณสุขในพื้นที่ เพื่อ
     สอบสวนและควบคุมโรค
  4. ถาสามารถทําได โรงเรียนควรจัดหองพยาบาลสําหรับ
     การแยกสําหรับผูปวยที่มีอาการคลายไขหวัดใหญหอง
     พยาบาลควรมีอากาศถายเทไดสะดวก
  5. โรงเรียนควรแนะนําใหนักเรียนที่มีอาการปวยคลายไขหวัดใหญ (ไข ไอ เจ็บคอ ปวดศีรษะ ปวด
     เมื่อยตามตัว) พักรักษาตัวที่บานหรือหอพัก หากมีอาการปวยรุนแรง (หายใจเร็ว หายใจลําบาก
     หอบเหนื่อยอาเจียนมาก ซึม อาการไมดีขึ้นหลังจากเริ่มมีอาการไข 3 วัน) ควรรีบไปพบแพทย
  6. โรงเรียนควรมีการจัดระบบการคัดกรองนักเรียน หากพบนักเรียนที่มีอาการปวยคลายไขหวัด
     ใหญ (ไข ไอเจ็บคอ ปวดศีรษะ ปวดเมื่อยตามตัว) ใหโรงเรียนแยกนักเรียน และติดตอให
     ผูปกครองมารับนักเรียนกลับไปฟกฟนที่บาน


จัดทําโดย สํานักจัดการความรู กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ติดตามขอมูลเพิ่มเติมไดที่ ww.kmddc.go.th
การเตรียมการรับมือการระบาดใหญของไขหวัดใหญในสถานศึกษา


  7. หากสถานศึกษาสามารถใหนักเรียนที่มีอาการปวยคลาย
     ไขหวัดใหญทุกคนหยุดเรียนได (ควรหยุดเรียนและพักอยู
     กับบาน 7 วัน) ก็จะปองกันการแพรกระจายเชื้อไดดี
     และ ไมจําเปนตองปดสถานศึกษา (การปดโรงเรียน
     สามารถชะลอการแพรระบาดของไขหวัดใหญได แตไม
     สามารถยุติการระบาดได จะมีนักเรียนปวยกลับมาใหม
     หลังจากโรงเรียนเปดกลับมาใหม โดยเฉพาะในชั้นเรียน
     อื่นที่ยังไมมีการระบาด หลังจากโรงเรียนเปดแลวจะมี
     การระบาดใหญ อี ก หรื อ ไม ขึ้ น อยู กั บ การเตรี ย มความ
     พรองของโรงเรียน)
                                       8. โรงเรียนควรมีคําแนะนํา (เอกสาร โปสเตอร อีเมลล)
                                               ใหกับนักเรียน เกี่ยวกับการปฏิบัติตัวเพื่อปองกันการติดเชื้อ
                                               ไขหวัดใหญ รวมถึงการใหคําแนะนําการปฏิบัติตัวกับเด็ก
                                               ปวย
                                        9. เตรียมเอกสารแนะนําผูปกครอง         เพื่อทําความใจกับ
                                           ผูปกครอง และขอความรวมมือใหเด็กปวยหยุดเรียน
  10. แนะนํา และสนับสนุนใหนักเรียนลางมือบอยๆ โดยการ
      จัดใหมีอางลางมือ น้ําและสบู อยางเพียงพอ
               
  11. ควรทําความสะอาดอุปกรณ สิ่งของ เครื่องใชที่มีผูสัมผัส
      จํานวนมาก เชน โตะเรียน ลูกบิดประตู โทรศัพทราว
      บันได คอมพิวเตอร ฯลฯ โดยการใชน้ําน้ําละลาย
      ผงซักฟอกเช็ดทําความสะอาด ใหบอยที่สุดเทาที่สามารถ
      ทําได สําหรับเมาส แปนพิมพคอมพิวเตอร และอุปกรณ
      การเรียนอื่นๆ ที่นักเรียนตองใชในแตละชั่วโมงเรียนควร
      ทําความสะอาดทุกครั้งที่มีการผลัดเปลี่ยนชั้นเรียน

  12. ควรเปดประตูหนาตางใหอากาศถายเทไดสะดวก และแสงแดดสองไดทั่วถึง



จัดทําโดย สํานักจัดการความรู กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ติดตามขอมูลเพิ่มเติมไดที่ ww.kmddc.go.th
การเตรียมการรับมือการระบาดใหญของไขหวัดใหญในสถานศึกษา


  13. สถานศึกษาที่ยังไมพบการระบาดควรหลีกเลี่ยงกิจกรรมที่ตองมีการนํานักเรียนจํานวนมากมา
      รวมตัวกัน (เชน การซอมเชียร การแขงกีฬา เปนตน) หรือการเดินทางออกนอกพื้นที่เปนหมู
      คณะ สวนสถานศึกษาที่มีการระบาดแลวควรงดกิจกรรมดังกลาวโดยเด็ดขาด
                              14. โรงเรียนควรเตรียมมาตรการชดเชยทั้งดานการเรียน การสอน
                                  เวลาในการเรียน และการปฏิบัติงานของทั้งนักเรียน ครู อาจารย
                                  และเจาหนาที่อื่นๆ ที่จําเปนตองหยุดพักการเรียนหรือปฏิบัติงาน
                                  เนื่องจากการปวย
                              15. ในปจจุบัน ยังไมมีวัคซีนที่สามารถปองกันไขหวัดใหญสายพันธุใหม
                                  ชนิดเอ เอ็ช1 เอ็น1 ได วัคซีนปองกันโรคไขหวัดใหญตามฤดูกาลไม
                                  สามารปองกันไขหวัดใหญสายพันธุใหม ชนิดเอ เอ็ช1 เอ็น1 ได ซึ่ง
                                  คาดวาประเทศไทยนาจะมีวัคซีนปองกันไขหวัดใหญสายพันธุใหม
                                  ชนิดเอ เอ็ช1 เอ็น1 อยางเร็วที่สุดในชวงปลายป พ.ศ. 2552


            ลักษณะ บทบาท และหนาที่ของทีมงาน
   รับผิดชอบประสานงานดานไขหวัดใหญในโรงเรียน
  1. ทีมงานรับผิดชอบประสานงานดานไขหวัดใหญในโรงเรียนควรมี
     รองผูอํานวยการสถานศึกษาเปนหัวหนาทีม และควรมีครูพยาบาล
     รวมอยูในทีมงาน (อาจทําหนาที่เปนผูประสานงานหลัก)

  2. ทําบันทึกจํานวนนักเรียนปวยที่มารับบริการที่หองพยาบาล และ
     จํานวนนักเรียนที่ขาดเรียน (แยกตามหองเรียน) เปนรายวัน หาก
     พบจํานวนนักเรียนปวยมารับบริการมากขึ้นผิดปกติ ใหสงสัยวามี
     การระบาดเกิดขึ้นในโรงเรียนและรีบแจงผูบริหารโรงเรียนทราบ
     ทันที

  3. เตรียมหนากากอนามัยไวใหพรอมในหองพยาบาล               (เจาหนาที่
     สาธารณสุขอาจจัดหาไปใหในครั้งแรก)

จัดทําโดย สํานักจัดการความรู กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ติดตามขอมูลเพิ่มเติมไดที่ ww.kmddc.go.th
การเตรียมการรับมือการระบาดใหญของไขหวัดใหญในสถานศึกษา


  4. ครูประจําชั้นควรตรวจสอบประวัติสุขภาพของนักเรียน จัดทํา
     ทะเบียนนักเรียนที่มีความเสี่ยงสูงตอการเกิดอาการปวยรุนแรง
     ไดแก เด็กอายุต่ํากวา 5 ป ผูที่มีโรคประจําตัวเรื้อรัง ไดแก
     โรคหัวใจ โรคปอด โรคหอบหืด ผูท่ีมีภูมิคุมกันโรคต่ํา เชน
     เบาหวาน มะเร็ง โรคประจําตัวที่ตองกินยากดภูมิคุมกันหรือกิน
     ยาสเตียรอยด ผูท่ตองกินยาแอสไพรินเปนประจํา ผูที่อวน
                       ี

  5. ในโรงเรียนที่ยังไมมีผูปวยโรคไขหวัดใหญสายพันธุใหม ชนิดเอ (เอช1 เอ็น1) หากพบผูปวยที่
     สงสัยโรคไขหวัดใหญ หมายถึง ผูปวยที่มีอาการอยางนอย 2 ใน 4 อาการ ไดแก ไข ไอ เจ็บคอ
     มีนํ้ามูก ใหแยกผูปวยและใหผูปวยสวมหนากากอนามัยทันที สงผูปวยไปยังจุดที่ใชสําหรับให
     ผูปวยรอผูปกครองมารับกลับ แจงใหผูปกครองมารับกลับไปพักรักษาตัวอยูกับบานเปนเวลา
     อยางนอย 7 วันนับจากวันเริ่มปวย
                           6. ในโรงเรียนที่พบผูปวยหลายรายแลว ครูประจําชั้นตองชวยคัดกรอง
                              เด็กที่มีอาการอยางนอย 2 ใน 4 อาการไดแก ไข ไอ เจ็บคอ มีนํ้ามูก
                              ทุกเชากอนเขาหองเรียน หากพบผูปวยสงสัย ใหแยกผูปวย ใหผูปวย
                              สวมหนากากอนามัยทันที สงผูปวยไปยังจุดที่ใชสําหรับใหผูปวยรอ
                              ผูปกครองมารับกลับ แจงใหผูปกครองมารับกลับไปพักรักษาตัวอยูกับ
                              บานเปนเวลาอยางนอย 7 วันนับจากวันเริ่มปวย
  7. จุดที่ใชสําหรับใหผูปกครองมารับกลับ    ไมควรจะเปนหอง
     พยาบาลปกติ เนื่องจากจะทําใหหองพยาบาล (ซึ่งอาจมีเด็กที่ไม
     สบายจากสาเหตุอื่นมาใชบริการ) เปนแหลงแพรเชื้อโรคไขหวัด
     ใหญได โรงเรียนอาจพิจารณาหาหอง หรือบริเวณที่มีอากาศ
     ถายเทไดสะดวกอยูใกลประตูทางออกโรงเรียนสําหรับใชเปนที่ให
     นักเรียนที่ปวยรอผูปกครองมารับกลับ
  8. หากพบนักเรียนที่อยูในทะเบียนนักเรียนที่มีความเสี่ยงสูงตอการเกิด
     อาการปวยรุนแรง ปวยดวยอาการอยางนอย 2 ใน 4 อาการ ไดแก ไข
     ไอ เจ็บคอ มีน้ํามูก ควรใหนักเรียนกลุมเสี่ยงสูงนี้ไปพบแพทยที่
     โรงพยาบาลทันทีเพื่อทําการรักษา หรือกินยาปองกันตามมาตรฐานทาง
     การแพทยโดยไมตองรอใหมีอาการปวย

จัดทําโดย สํานักจัดการความรู กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ติดตามขอมูลเพิ่มเติมไดที่ ww.kmddc.go.th
การเตรียมการรับมือการระบาดใหญของไขหวัดใหญในสถานศึกษา


  9. ใหสุขศึกษาแกนักเรียนเรื่องการปองกันตนเองจากการติดเชื้อไขหวัดใหญ เนนการลางมือดวยสบู
     ที่เฉพาะเจาะจง ไดแก การลางมือภายหลังไอจาม ขับถาย กอนหยิบจับอาหารใสปาก และทุก
     ครั้งภายหลังใชมือสัมผัสอุปกรณท่ีมีการใชรวมกันเปนจํานวนมาก เชน โทรศัพท เครื่อง
     คอมพิวเตอร ลูกบิดประตู ราวบันได




จัดทําโดย สํานักจัดการความรู กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ติดตามขอมูลเพิ่มเติมไดที่ ww.kmddc.go.th
การเตรียมการรับมือการระบาดใหญของไขหวัดใหญในสถานศึกษา



  คําถามที่พบบอย
  1. ทําไมตองปองกันการระบาดในโรงเรียนดวย?
  ตอบ เปาหมายของการปองกันการระบาดในโรงเรียนคงไมใชการปองกันไมใหมีเด็กปวยแมแตคน
  เดียว สวนใหญเด็กที่ปวยคนแรกๆ ของโรงเรียนมักจะติดมาจากขางนอก (ติดจากครอบครัวติดจาก
  โรงเรียนกวดวิชา ติดจากการไปเดินเที่ยวในที่ที่มีคนพลุกพลาน) แลวเขามาแพรเชื้อในโรงเรียน สิ่งที่
  โรงเรียนจะตองพยายามทําก็คือการปองกันไมใหเกิดการระบาด นั่นคือ ปองกันไมใหมีเด็กหลายๆ
  คน (2-3 คนขึ้นไป) ปวยพรอมกัน จํานวนผูปวยรวมจะตางกันมากถาเกิดการระบาดใหญ กับการ
  เกิดผูปวยครั้งละ 1-2 คน ถาเกิดการระบาดใหญอาจมีผูปวยรวมมากกวา รอยละ 50 ของจํานวน
  เด็กและครูในโรงเรียนได แตถาเกิดผูปวยครั้งละ 1-2 คนอาจจะมีผูปวยรวมอยูที่ระดับประมาณรอย
  ละ 20-30 ได

  2.  ในชวงที่โรงเรียนมีการสอบ ทําใหเด็กไมอยากจะหยุดเรียน จึงทําใหเด็กปวย
  ยังคงมาโรงเรียนอยู?
  ตอบ เรื่องนี้ทางเราคงตองชี้แจงใหผูบริหารเขาใจ และใหโรงเรียนมีนโยบายที่ยืดหยุนในเรื่องการ
  สอบนักเรียน เชน อนุญาตใหเด็กปวยสามารถเลื่อนสอบได หรือหากเด็กมีอาการปวยไมรุนแรง อาจ
  พิจารณาจัดใหเด็กสอบแยกจากเพื่อน โดยใหนักเรียนที่ปวยใสหนากาก จัดเจลลางมือใหเด็กในหอง
  สอบ และเมื่อเสร็จกิจกรรมสอบแลวก็แนะนําใหเด็กกลับบานในกรณีที่โรงเรียนยังไมมีการระบาดก็คง
  ตองชี้แจงใหโรงเรียนเขาใจภาพการระบาด ระยะเวลาการระบาด และจํานวนนักเรียนและครูที่คาดวา
  จะปวย เพื่อใหโรงเรียนตัดสินใจและเตรียมความพรอมเชนกัน

  3. ครูที่ปวยไมยอมหยุดงาน เพราะกลัวจะถูกหักเงินเดือน
            
  ตอบ เรื่องนี้ตองชี้แจงใหผูบริหารโรงเรียนถึงผลเสียของการปลอยใหครูที่ปวยมาทํางาน ควรแนะนํา
  ใหโรงเรียนมีความยืดหยุนในเรื่องของวันลาของบุคลากร (ครู และเจาหนาที่อื่นๆ) นอกจากนี้ ยัง
  ตองแนะนําใหโรงเรียนเตรียมความพรอมในกรณีที่มีครูหรือเจาหนาที่จะตองลาหยุดพรอมๆ กัน
  หลายๆ คนดวย ซึ่งหลักการเหลานี้ไดมการพูดถึงชัดเจนอยูแลวในหลักการของการจัดทํา Business
                                       ี
  Continuity Plan



จัดทําโดย สํานักจัดการความรู กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ติดตามขอมูลเพิ่มเติมไดที่ ww.kmddc.go.th
การเตรียมการรับมือการระบาดใหญของไขหวัดใหญในสถานศึกษา


  4. เชื้อไวรัสสามารถอยูในสิ่งแวดลอมไดนานแคไหน?
  ตอบ เชื้อไวรัสเปนเชื้อที่อาศัยอยูในสิ่งมีชีวิต หากออกมาปนเปอนในสิ่งแวดลอมจะอยูไดไมเกิน2–8
  ชั่วโมงและเชื้อไวรัสจะตายเร็วยิ่งขึ้นในอุณหภูมิที่สูงขึ้นและอากาศแหง ดังนั้นควรเปดหองเรียนให
  แสงแดดสองถึงและอากาศถายเทไดสะดวกอยางสม่ําเสมอ

  5. การทําความสะอาดโรงเรียน โดยเฉพาะจุดที่
  นักเรียนมักจะสัมผัสกันบอยๆ ควรดําเนินการอยางไร
  บอยแคไหน
  ตอบ การทําความสะอาดจุดที่นักเรียนมักจะสัมผัส แตะ จับ ควร
  ทําบอยๆ ในชวงระหวางที่มีการเรียนการสอนสวนจะตองทําถี่แค
  ไหน ขึ้นอยูกับลักษณะของสิ่งสัมผัส เชน ถาเปนหองคอมพิวเตอร
  อุปกรณคอมพิวเตอร ควรมีการเช็ดทําความสะอาดหลังจากหมด
  ชั่วโมงเรียน กอนที่นักเรียนคนใหมเขามาใชอุปกรณ การทําความ
  สะอาดราวบันได อาจเช็ดทําความสะอาดในชวงชั่วโมงเรียน
  หลังจากที่นักเรียนเขาหองเรียนแลวทุกชั่วโมงเรียนเปนตน การ
  ทําความสะอาดพื้นผิวที่นักเรียนมักสัมผัส แตะ จับจะในชวงเวลา
  ระหวางวันบอยๆ สําคัญกวาการทํา “Big Cleaning” ในชวงเย็น
  หลังจากที่โรงเรียนปดไปแลว

  6. การทําความสะอาดโรงเรียนอยางถูกวิธี เมื่อมีการระบาด ควรทํา Big
  cleaning day หรือไม?
  ตอบ การทํา Big cleaning day แบบนานๆ ครั้งไมสามารถชวยลดการแพรกระจายของโรค จาก
  หลักการที่วาเชื้อสามารถมีชีวิตอยูในสิ่งแวดลอมไดเพียง 2-8 ชั่วโมง การทําความสะอาดที่สําคัญจึง
  เปนการทําความสะอาดในชวงระหวางวัน และเปนการทําความสะอาดจุดที่มีการสัมผัสกันบอยๆ ให
  บอยที่สุดเทาที่จะสามารถทําได

  7. ควรใชน้ํายาอะไรในการทําความสะอาดอุปกรณและสถานที่?
  ตอบ น้ําละลายผงซักฟอก มีประสิทธิภาพเพียงพอในการทําลายเชื้อไวรัส

จัดทําโดย สํานักจัดการความรู กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ติดตามขอมูลเพิ่มเติมไดที่ ww.kmddc.go.th
การเตรียมการรับมือการระบาดใหญของไขหวัดใหญในสถานศึกษา


  8. ใครเปนกลุมเสี่ยงสูงตอการเกิดโรคไขหวัดใหญรุนแรงหรือเสียชีวิต?
  ตอบ 1) ผูที่มีอายุนอยกวา 5 ป 2) ผูที่มีอายุมากกวา 65 ป 3) หญิงตั้งครรภ 4) ผูที่มีโรคอวน
  5) ผูที่มีโรคประจําตัวเรื้อรัง (เชน โรคเบาหวาน โรคหอบหืด โรคหลอดเลือดหัวใจ) และ 6) ผูที่มีภูมิ
  ตานทานต่ํา (เชน ผูปวยโรคเอดส ผูที่ไดรับยากดภูมิคุมกัน) กลุมเสี่ยงเหลานี้ หากมีอาการคลาย
  ไขหวัดใหญ ควรไปพบแพทยทันทีเพื่อพิจารณาการรับยาตานไวรัส

                               9. ควรมีการดูแลกลุมเสี่ยง เชน เด็กเล็ก ครูและเด็กที่มี
                               โรคประจําตัว ครูที่ปวยดวยโรคเบาหวาน หรือครูท่ีกําลัง
                               ตั้งครรภ อยางไร
                               ตอบ ถาโรงเรียนทําได ควรมีคนหาประชากรกลุมนี้ลวงหนา และให
                               คําแนะนําเปนพิเศษในกรณีที่ครูหรือนักเรียนกลุมนี้ปวยดวยอาการที่
                               คลายไขหวัดใหญ เนื่องจากครูและนักเรียนกลุมนี้อาจมีอาการปวยที่
                               รุนแรงไดและหากโรงเรียนสามารถทําได อาจมอบหมายงานที่ไม
                               จําเปนตองสัมผัสกับนักเรียนโดยตรงใหกับครูที่ทํากําลังตั้งครรภ

                               10. ครูประจําชั้นจะทราบไดอยางไรวาเด็กมีไข ตองวัด
                               อุณหภูมิเด็กทุกคนกอนเขาหองเรียนหรือไม?
                               ตอบ ในเด็กเล็ก เชน อนุบาล ที่ยังสื่อสารไดยาก อาจตองใชเทอรโม
                               มีเตอรวัด หรืออาจใชแถบวัดอุณหภูมิชวยในการคัดกรอง สวนเด็ก
                               ประถมศึกษาขึ้นไปที่สามารถสื่อสารไดดี ควรมีการใหสุขศึกษาแกเด็ก
                               นักเรียนในการสังเกตและแจงอาการของตนเอง ทําความเขาใจกับ
                               ผูปกครองและนักเรียนถึงความจําเปนในการแจงทางโรงเรียนเมื่อเด็ก
                               มีอาการปวย และผลกระทบกับสวนรวมและตนเองจากการปดบัง
                               อาการปวย เชน อาจทําใหเด็กไดรับการดูแลรักษาลาชา หรืออาจทําให
                               เกิดการระบาดขยายวงกวางในโรงเรียน ครอบครัว และชุมชนเปนตน




จัดทําโดย สํานักจัดการความรู กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ติดตามขอมูลเพิ่มเติมไดที่ ww.kmddc.go.th
การเตรียมการรับมือการระบาดใหญของไขหวัดใหญในสถานศึกษา


  11. ตองพานักเรียนที่ปวยไปรับการรักษาที่โรงพยาบาลหรือไม?
  ตอบ หากนักเรียนไมไดจัดอยูในกลุมเสี่ยงที่จะมีอาการรุนแรง 6 กลุม ไมจําเปนตองไปพบแพทย
  ในทันทีนักเรียนสามารถพักฟนอยูท่ีบาน และใชยารักษาตามอาการได หากโรคมีอาการรุนแรงขึ้น
  (เชน หายใจลําบากหอบเหนื่อย อาเจียนมาก ซึม) หรือไขไมลดใน 3 วัน (นับจากวันที่เริ่มมีอาการวัน
  แรก) จึงควรไปพบแพทย ในกรณีที่นักเรียนจัดอยูในกลุมเสี่ยง 6 กลุม (ไดแก 1) ผูที่มีอายุนอยกวา
  5 ป 2) ผูท่ีมีอายุมากกวา 65ป 3) หญิงตั้งครรภ 4) ผูที่มีโรคอวน 5) ผูที่มีโรคประจําตัวเรื้อรัง
  (เชน โรคเบาหวาน โรคหอบหืด) และ 6) ผูที่มีภูมิตานทานต่ํา เชน ผูปวยโรคเอดส ผูที่ไดรับยากด
  ภูมิคุมกัน) ควรรีบไปพบแพทยทันทีที่มีอาการ

  12. การลางมือจําเปนตองใชเจลลางมือฆาเชื้อหรือไม?
  ตอบ ไมจําเปน การลางมือดวยสบูอยางถูกวิธี นานอยางนอย 15 – 20 วินาที (รองเพลงชางจบ
  1 รอบ) เพียงพอตอการปองกันโรค

  13. นักเรียนที่สบายดี ไมปวย ควรใสหนากากอนามัยหรือไม
  ตอบ ผูที่ควรสวมใสหนากากอนามัยคือผูปวย เนื่องจากการใสหนากากอนามัยสามารถปองกันการ
  กระจายของน้ํามูกและน้ําลายเวลาที่ผูปวยไอหรือจามไดดี กระทรวงสาธารณสุขไมแนะนําใหสวมใส
  หนากากอนามัยในผูที่ยังไมมีอาการปวย

  14. ถาใหเด็กปวยใสหนากากแลวจะใหนั่งเรียนตอไปไดหรือไม
  ตอบ ไมแนะนําใหเรียนตอ แนะนําใหผูปกครองมารับกลับบาน เนื่องจากเด็กที่ใสหนากากอนามัย
  หากยังคลุกคลีอยูกับนักเรียนคนอื่น ก็ยังอาจแพรเชื้อใหเพื่อนๆ ไดอยูดี

  15. ผูปกครองมักอางวาเด็กของตัวเองปวยดวยไขหวัดธรรมดา ไมใชไขหวัดใหญไม
  จําเปนตองหยุดเรียน ในกรณีนี้ควรดําเนินการอยางไร
  ตอบ การแยกไขหวัดธรรมดา กับไขหวัดใหญทํายาก (ผูปวยไขหวัดใหญบางคนก็อาการไมรุนแรง
  อาการเหมือนไขหวัดธรรมดาไดเชนกัน แตถาไปติดคนอื่น คนอื่นอาจอาการรุนแรงได) แตในกรณี
  การคัดกรองอาจไมจําเปนตองแยกใหชัดวาคนนี้ปวยดวยไขหวัดธรรมดาหรือปวยดวยไขหวัดใหญ
  เนื่องจากเด็กที่ปวยเปนไขหวัดธรรมดา ก็ควรพักอยูบานไมควรมาแพรเชื้อที่โรงเรียนเชนกัน ดังนั้น
  กรณีที่เด็กเปนหวัดชัดเจนก็อาจขอใหผูปกครองมารับกลับบานไดเชนกัน

จัดทําโดย สํานักจัดการความรู กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ติดตามขอมูลเพิ่มเติมไดที่ ww.kmddc.go.th
การเตรียมการรับมือการระบาดใหญของไขหวัดใหญในสถานศึกษา




จัดทําโดย สํานักจัดการความรู กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ติดตามขอมูลเพิ่มเติมไดที่ ww.kmddc.go.th

More Related Content

What's hot

การศึกษาค้นคว้า เรื่อง การศึกษาปัญหาและแนวทางแก้ไขสภาวะโลกร้อนในปัจจุบัน
การศึกษาค้นคว้า เรื่อง การศึกษาปัญหาและแนวทางแก้ไขสภาวะโลกร้อนในปัจจุบันการศึกษาค้นคว้า เรื่อง การศึกษาปัญหาและแนวทางแก้ไขสภาวะโลกร้อนในปัจจุบัน
การศึกษาค้นคว้า เรื่อง การศึกษาปัญหาและแนวทางแก้ไขสภาวะโลกร้อนในปัจจุบันPantakan Uton
 
Vaccineคู่มือประชาชน
Vaccineคู่มือประชาชนVaccineคู่มือประชาชน
Vaccineคู่มือประชาชนWitsalut Saetae
 
คู่มือสำหรับพ่อแม่เพื่อเผยแพร่ความรู้ด้านการดูแลและพัฒนาเด็ก ตอนวัยอนุบาล 3 6 ปี
คู่มือสำหรับพ่อแม่เพื่อเผยแพร่ความรู้ด้านการดูแลและพัฒนาเด็ก ตอนวัยอนุบาล 3 6 ปีคู่มือสำหรับพ่อแม่เพื่อเผยแพร่ความรู้ด้านการดูแลและพัฒนาเด็ก ตอนวัยอนุบาล 3 6 ปี
คู่มือสำหรับพ่อแม่เพื่อเผยแพร่ความรู้ด้านการดูแลและพัฒนาเด็ก ตอนวัยอนุบาล 3 6 ปีUtai Sukviwatsirikul
 
อีสุก อีใส
อีสุก อีใสอีสุก อีใส
อีสุก อีใสDbeat Dong
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว Utai Sukviwatsirikul
 

What's hot (9)

Ppt. วัณโรค
Ppt. วัณโรคPpt. วัณโรค
Ppt. วัณโรค
 
Vis hpv
Vis hpvVis hpv
Vis hpv
 
Tb update 2012_dr_petchawan_pdf
Tb update 2012_dr_petchawan_pdfTb update 2012_dr_petchawan_pdf
Tb update 2012_dr_petchawan_pdf
 
การศึกษาค้นคว้า เรื่อง การศึกษาปัญหาและแนวทางแก้ไขสภาวะโลกร้อนในปัจจุบัน
การศึกษาค้นคว้า เรื่อง การศึกษาปัญหาและแนวทางแก้ไขสภาวะโลกร้อนในปัจจุบันการศึกษาค้นคว้า เรื่อง การศึกษาปัญหาและแนวทางแก้ไขสภาวะโลกร้อนในปัจจุบัน
การศึกษาค้นคว้า เรื่อง การศึกษาปัญหาและแนวทางแก้ไขสภาวะโลกร้อนในปัจจุบัน
 
Vaccineคู่มือประชาชน
Vaccineคู่มือประชาชนVaccineคู่มือประชาชน
Vaccineคู่มือประชาชน
 
H1n1 For Safe 040852
H1n1 For Safe 040852H1n1 For Safe 040852
H1n1 For Safe 040852
 
คู่มือสำหรับพ่อแม่เพื่อเผยแพร่ความรู้ด้านการดูแลและพัฒนาเด็ก ตอนวัยอนุบาล 3 6 ปี
คู่มือสำหรับพ่อแม่เพื่อเผยแพร่ความรู้ด้านการดูแลและพัฒนาเด็ก ตอนวัยอนุบาล 3 6 ปีคู่มือสำหรับพ่อแม่เพื่อเผยแพร่ความรู้ด้านการดูแลและพัฒนาเด็ก ตอนวัยอนุบาล 3 6 ปี
คู่มือสำหรับพ่อแม่เพื่อเผยแพร่ความรู้ด้านการดูแลและพัฒนาเด็ก ตอนวัยอนุบาล 3 6 ปี
 
อีสุก อีใส
อีสุก อีใสอีสุก อีใส
อีสุก อีใส
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว
 

Viewers also liked

Connecting Purpose-Driven Messaging to Your Employer Brand
Connecting Purpose-Driven Messaging to Your Employer BrandConnecting Purpose-Driven Messaging to Your Employer Brand
Connecting Purpose-Driven Messaging to Your Employer BrandN. Robert Johnson, APR
 
An Investigation of Behavioral Syndromes and Individual Differences in Explor...
An Investigation of Behavioral Syndromes and Individual Differences in Explor...An Investigation of Behavioral Syndromes and Individual Differences in Explor...
An Investigation of Behavioral Syndromes and Individual Differences in Explor...Danielle N. Lee, PhD
 
Marketing to the Power of ONE
Marketing to the Power of ONEMarketing to the Power of ONE
Marketing to the Power of ONEJoel Book
 
Pvr multiplexes manendra
Pvr multiplexes manendraPvr multiplexes manendra
Pvr multiplexes manendraManendra Shukla
 
Sbi services marketing-project-pgexp13-15 _
Sbi services marketing-project-pgexp13-15 _Sbi services marketing-project-pgexp13-15 _
Sbi services marketing-project-pgexp13-15 _Shambhu Mandal
 
The 7Ps Of Next-Gen Marketing!
The 7Ps Of Next-Gen Marketing!The 7Ps Of Next-Gen Marketing!
The 7Ps Of Next-Gen Marketing!Ayesha Ambreen
 
customer's prefrences for multiplexes in lucknow
customer's prefrences for multiplexes in lucknowcustomer's prefrences for multiplexes in lucknow
customer's prefrences for multiplexes in lucknowSACHIN AWASTHI
 
PPT on Indian railway (LHB coaches)
PPT on Indian  railway (LHB coaches)PPT on Indian  railway (LHB coaches)
PPT on Indian railway (LHB coaches)kalyan kumar
 
Presentation on KFC
Presentation on KFCPresentation on KFC
Presentation on KFCTanya Sharma
 

Viewers also liked (15)

NCVO Project 2015
NCVO Project 2015NCVO Project 2015
NCVO Project 2015
 
Interface with charity law and the Charity Commission - Rosamund McCarthy
Interface with charity law and the Charity Commission - Rosamund McCarthyInterface with charity law and the Charity Commission - Rosamund McCarthy
Interface with charity law and the Charity Commission - Rosamund McCarthy
 
Institute for Government - Coalition Government in the UK
Institute for Government - Coalition Government in the UK Institute for Government - Coalition Government in the UK
Institute for Government - Coalition Government in the UK
 
Connecting Purpose-Driven Messaging to Your Employer Brand
Connecting Purpose-Driven Messaging to Your Employer BrandConnecting Purpose-Driven Messaging to Your Employer Brand
Connecting Purpose-Driven Messaging to Your Employer Brand
 
An Investigation of Behavioral Syndromes and Individual Differences in Explor...
An Investigation of Behavioral Syndromes and Individual Differences in Explor...An Investigation of Behavioral Syndromes and Individual Differences in Explor...
An Investigation of Behavioral Syndromes and Individual Differences in Explor...
 
Marketing to the Power of ONE
Marketing to the Power of ONEMarketing to the Power of ONE
Marketing to the Power of ONE
 
Pvr multiplexes manendra
Pvr multiplexes manendraPvr multiplexes manendra
Pvr multiplexes manendra
 
Sbi services marketing-project-pgexp13-15 _
Sbi services marketing-project-pgexp13-15 _Sbi services marketing-project-pgexp13-15 _
Sbi services marketing-project-pgexp13-15 _
 
The 7Ps Of Next-Gen Marketing!
The 7Ps Of Next-Gen Marketing!The 7Ps Of Next-Gen Marketing!
The 7Ps Of Next-Gen Marketing!
 
customer's prefrences for multiplexes in lucknow
customer's prefrences for multiplexes in lucknowcustomer's prefrences for multiplexes in lucknow
customer's prefrences for multiplexes in lucknow
 
Kfc presentation
Kfc presentationKfc presentation
Kfc presentation
 
PPT on Indian railway (LHB coaches)
PPT on Indian  railway (LHB coaches)PPT on Indian  railway (LHB coaches)
PPT on Indian railway (LHB coaches)
 
Ppt of kfc case study
Ppt of  kfc case studyPpt of  kfc case study
Ppt of kfc case study
 
Presentation on KFC
Presentation on KFCPresentation on KFC
Presentation on KFC
 
Entertainment services
Entertainment servicesEntertainment services
Entertainment services
 

Similar to การเตรียมการรับมือหวัด 2009 ในโรงเรียน

Vis meningo-poly
Vis meningo-polyVis meningo-poly
Vis meningo-polyAimmary
 
โรคมือเท้าปาก
โรคมือเท้าปาก โรคมือเท้าปาก
โรคมือเท้าปาก sivapong klongpanich
 
โรค มือ ปาก เท้าเปื่อย
โรค มือ ปาก เท้าเปื่อยโรค มือ ปาก เท้าเปื่อย
โรค มือ ปาก เท้าเปื่อยLoveis1able Khumpuangdee
 
Vis varicella-zoster
Vis varicella-zosterVis varicella-zoster
Vis varicella-zosterAimmary
 
นำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อนำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อpissamaiza Kodsrimoung
 
นำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อนำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อnuting
 
แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...
แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...
แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...Loveis1able Khumpuangdee
 
โครงงานเครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก.pdf
โครงงานเครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก.pdfโครงงานเครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก.pdf
โครงงานเครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก.pdfPalmuja22
 
แผ่นพับการติดเชื้อ
แผ่นพับการติดเชื้อแผ่นพับการติดเชื้อ
แผ่นพับการติดเชื้อdentyomaraj
 
โรคภูมิแพ้ 15.5.2555
โรคภูมิแพ้ 15.5.2555โรคภูมิแพ้ 15.5.2555
โรคภูมิแพ้ 15.5.25554LIFEYES
 
Infectious PPE
Infectious PPEInfectious PPE
Infectious PPEtaem
 
วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)Wan Ngamwongwan
 

Similar to การเตรียมการรับมือหวัด 2009 ในโรงเรียน (20)

Vis meningo-poly
Vis meningo-polyVis meningo-poly
Vis meningo-poly
 
โรคมือเท้าปาก
โรคมือเท้าปาก โรคมือเท้าปาก
โรคมือเท้าปาก
 
โรค มือ ปาก เท้าเปื่อย
โรค มือ ปาก เท้าเปื่อยโรค มือ ปาก เท้าเปื่อย
โรค มือ ปาก เท้าเปื่อย
 
Factsheet hfm
Factsheet hfmFactsheet hfm
Factsheet hfm
 
Factsheet hfm
Factsheet hfmFactsheet hfm
Factsheet hfm
 
Vis varicella-zoster
Vis varicella-zosterVis varicella-zoster
Vis varicella-zoster
 
นำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อนำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อ
 
นำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อนำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อ
 
Vis hib
Vis hibVis hib
Vis hib
 
แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...
แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...
แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...
 
Hfm reccomment10072555
Hfm reccomment10072555Hfm reccomment10072555
Hfm reccomment10072555
 
Respiratory1 2
Respiratory1 2Respiratory1 2
Respiratory1 2
 
โครงงานเครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก.pdf
โครงงานเครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก.pdfโครงงานเครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก.pdf
โครงงานเครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก.pdf
 
แผ่นพับการติดเชื้อ
แผ่นพับการติดเชื้อแผ่นพับการติดเชื้อ
แผ่นพับการติดเชื้อ
 
โรคภูมิแพ้ 15.5.2555
โรคภูมิแพ้ 15.5.2555โรคภูมิแพ้ 15.5.2555
โรคภูมิแพ้ 15.5.2555
 
Infectious PPE
Infectious PPEInfectious PPE
Infectious PPE
 
วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)
 
Knowledge
KnowledgeKnowledge
Knowledge
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 7
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 7ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 7
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 7
 
hand foot mouth
hand foot mouthhand foot mouth
hand foot mouth
 

More from Adisorn Tanprasert

Performance Network Analysis of Nylon Filaments Process
Performance Network Analysis of Nylon Filaments ProcessPerformance Network Analysis of Nylon Filaments Process
Performance Network Analysis of Nylon Filaments ProcessAdisorn Tanprasert
 
แบบทดสอบทัศนคติด้านความปลอดภัย
แบบทดสอบทัศนคติด้านความปลอดภัยแบบทดสอบทัศนคติด้านความปลอดภัย
แบบทดสอบทัศนคติด้านความปลอดภัยAdisorn Tanprasert
 
รวมพระอรหันต์ที่อยู่ในประเทศไทยเวลานี้
รวมพระอรหันต์ที่อยู่ในประเทศไทยเวลานี้รวมพระอรหันต์ที่อยู่ในประเทศไทยเวลานี้
รวมพระอรหันต์ที่อยู่ในประเทศไทยเวลานี้Adisorn Tanprasert
 
Chemical management procedure [th]
Chemical management procedure [th]Chemical management procedure [th]
Chemical management procedure [th]Adisorn Tanprasert
 

More from Adisorn Tanprasert (10)

Daily tensilon mc checksheet
Daily tensilon mc checksheetDaily tensilon mc checksheet
Daily tensilon mc checksheet
 
Pramo Thai Movie
Pramo Thai MoviePramo Thai Movie
Pramo Thai Movie
 
Performance Network Analysis of Nylon Filaments Process
Performance Network Analysis of Nylon Filaments ProcessPerformance Network Analysis of Nylon Filaments Process
Performance Network Analysis of Nylon Filaments Process
 
แบบทดสอบทัศนคติด้านความปลอดภัย
แบบทดสอบทัศนคติด้านความปลอดภัยแบบทดสอบทัศนคติด้านความปลอดภัย
แบบทดสอบทัศนคติด้านความปลอดภัย
 
รวมพระอรหันต์ที่อยู่ในประเทศไทยเวลานี้
รวมพระอรหันต์ที่อยู่ในประเทศไทยเวลานี้รวมพระอรหันต์ที่อยู่ในประเทศไทยเวลานี้
รวมพระอรหันต์ที่อยู่ในประเทศไทยเวลานี้
 
Quize 01
Quize 01Quize 01
Quize 01
 
The Sulotion Focus
The Sulotion FocusThe Sulotion Focus
The Sulotion Focus
 
Solution Focus
Solution FocusSolution Focus
Solution Focus
 
Chemical management procedure [th]
Chemical management procedure [th]Chemical management procedure [th]
Chemical management procedure [th]
 
Intro to TS-16949
Intro to TS-16949Intro to TS-16949
Intro to TS-16949
 

การเตรียมการรับมือหวัด 2009 ในโรงเรียน

  • 1. การเตรียมการรับมือการระบาดใหญของไขหวัดใหญในสถานศึกษา การเตรียมการรับมือการระบาดใหญ ของไขหวัดใหญในสถานศึกษา โดย กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข เนื่องจากปจจุบันโรคไขหวัดใหญสายพันธุใหม ชนิดเอ เอ็ช1 เอ็น1 ในประเทศไทย มีการ แพรกระจายไปอยางมาก โดยจากขอมูลทางระบาดวิทยาขณะนี้พบวา สถานศึกษาเปนแหลงที่มีความ เสี่ยงสูงที่โรคจะแพรกระจายเขาไป ทําใหเกิดการระบาดในกลุมนักเรียน นักศึกษา รวมทั้งอาจารย และเจาหนาที่อยางรวดเร็ว อีกทั้งสถานศึกษายังเปนแหลงที่จะกระจายเชื้อตอเนื่องออกไปในชุมชน ดังนั้น สถานศึกษาและเจาหนาที่สาธารณสุขควรรีบเรงเตรียมความพรอมรับมือกับการแพรระบาด ใหกับสถานศึกษาตางๆ อนึ่ง คําแนะนําตางๆ อาจปรับเปลี่ยนไปตามสถานการณการระบาดที่เปลี่ยนไป และ สามารถปรับใหเหมาะสมกับแตละสถานศึกษา จัดทําโดย สํานักจัดการความรู กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ติดตามขอมูลเพิ่มเติมไดที่ ww.kmddc.go.th
  • 2. การเตรียมการรับมือการระบาดใหญของไขหวัดใหญในสถานศึกษา หลักการทั่วไป 1. วัตถุประสงคของการปองกันการระบาดของไขหวัดใหญในครั้งนี้ไมใช การปองกันไมใหมีเด็กปวยเกิดขึ้นในโรงเรียนเลย (เปนเรื่องที่เปนไปได ยากมาก) แตเพื่อปองกันไมใหเกิดการระบาดใหญขึ้นในโรงเรียน 2. โรงเรียนควรจัดใหมีทีมงานรับผิดชอบประสานงานดานไขหวัดใหญขึ้น ในโรงเรียน (ในลักษณะที่เปนทีมงาน ไมควรมอบหมายใครคนใดคน หนึ่งเพียงคนเดียว) เชน โรงเรียนอาจมอบหมายใหรองผูอํานวยการ ฝายปกครองหรือครูฝายการพยาบาลเปนผูประสานงานหลัก (พรอมกับ ทีมงานอีกจํานวนหนึ่ง) ในการปองกันควบคุมโรค โดยประสานงานกับ เจาหนาที่สาธารณสุขในพื้นที่ เพื่อติดตามสถานการณของพื้นที่ใกลเคียง และแจงสถานการณในโรงเรียนทันทีหากพบผูปวยสงสัยติดเชื้อไขหวัด ใหญ เพื่อใหเจาหนาที่สาธารณสุขเขาดําเนินการควบคุมการระบาด 3. เฝาระวัง โรงเรียนควรจะมีการจัดระบบการติดตามการขาดเรียนของเด็กนักเรียน ควรมีการ ตรวจสอบสาเหตุการขาดเรียนของนักเรียนดวย หากพบขาดเรียนผิดปกติ (ตั้งแต 3 คนขึ้นไปใน หองเรียนเดียวกัน)และสงสัยวาปวยเปนไขหวัดใหญ ใหแจงตอเจาหนาที่สาธารณสุขในพื้นที่ เพื่อ สอบสวนและควบคุมโรค 4. ถาสามารถทําได โรงเรียนควรจัดหองพยาบาลสําหรับ การแยกสําหรับผูปวยที่มีอาการคลายไขหวัดใหญหอง พยาบาลควรมีอากาศถายเทไดสะดวก 5. โรงเรียนควรแนะนําใหนักเรียนที่มีอาการปวยคลายไขหวัดใหญ (ไข ไอ เจ็บคอ ปวดศีรษะ ปวด เมื่อยตามตัว) พักรักษาตัวที่บานหรือหอพัก หากมีอาการปวยรุนแรง (หายใจเร็ว หายใจลําบาก หอบเหนื่อยอาเจียนมาก ซึม อาการไมดีขึ้นหลังจากเริ่มมีอาการไข 3 วัน) ควรรีบไปพบแพทย 6. โรงเรียนควรมีการจัดระบบการคัดกรองนักเรียน หากพบนักเรียนที่มีอาการปวยคลายไขหวัด ใหญ (ไข ไอเจ็บคอ ปวดศีรษะ ปวดเมื่อยตามตัว) ใหโรงเรียนแยกนักเรียน และติดตอให ผูปกครองมารับนักเรียนกลับไปฟกฟนที่บาน จัดทําโดย สํานักจัดการความรู กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ติดตามขอมูลเพิ่มเติมไดที่ ww.kmddc.go.th
  • 3. การเตรียมการรับมือการระบาดใหญของไขหวัดใหญในสถานศึกษา 7. หากสถานศึกษาสามารถใหนักเรียนที่มีอาการปวยคลาย ไขหวัดใหญทุกคนหยุดเรียนได (ควรหยุดเรียนและพักอยู กับบาน 7 วัน) ก็จะปองกันการแพรกระจายเชื้อไดดี และ ไมจําเปนตองปดสถานศึกษา (การปดโรงเรียน สามารถชะลอการแพรระบาดของไขหวัดใหญได แตไม สามารถยุติการระบาดได จะมีนักเรียนปวยกลับมาใหม หลังจากโรงเรียนเปดกลับมาใหม โดยเฉพาะในชั้นเรียน อื่นที่ยังไมมีการระบาด หลังจากโรงเรียนเปดแลวจะมี การระบาดใหญ อี ก หรื อ ไม ขึ้ น อยู กั บ การเตรี ย มความ พรองของโรงเรียน) 8. โรงเรียนควรมีคําแนะนํา (เอกสาร โปสเตอร อีเมลล) ใหกับนักเรียน เกี่ยวกับการปฏิบัติตัวเพื่อปองกันการติดเชื้อ ไขหวัดใหญ รวมถึงการใหคําแนะนําการปฏิบัติตัวกับเด็ก ปวย 9. เตรียมเอกสารแนะนําผูปกครอง เพื่อทําความใจกับ ผูปกครอง และขอความรวมมือใหเด็กปวยหยุดเรียน 10. แนะนํา และสนับสนุนใหนักเรียนลางมือบอยๆ โดยการ จัดใหมีอางลางมือ น้ําและสบู อยางเพียงพอ  11. ควรทําความสะอาดอุปกรณ สิ่งของ เครื่องใชที่มีผูสัมผัส จํานวนมาก เชน โตะเรียน ลูกบิดประตู โทรศัพทราว บันได คอมพิวเตอร ฯลฯ โดยการใชน้ําน้ําละลาย ผงซักฟอกเช็ดทําความสะอาด ใหบอยที่สุดเทาที่สามารถ ทําได สําหรับเมาส แปนพิมพคอมพิวเตอร และอุปกรณ การเรียนอื่นๆ ที่นักเรียนตองใชในแตละชั่วโมงเรียนควร ทําความสะอาดทุกครั้งที่มีการผลัดเปลี่ยนชั้นเรียน 12. ควรเปดประตูหนาตางใหอากาศถายเทไดสะดวก และแสงแดดสองไดทั่วถึง จัดทําโดย สํานักจัดการความรู กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ติดตามขอมูลเพิ่มเติมไดที่ ww.kmddc.go.th
  • 4. การเตรียมการรับมือการระบาดใหญของไขหวัดใหญในสถานศึกษา 13. สถานศึกษาที่ยังไมพบการระบาดควรหลีกเลี่ยงกิจกรรมที่ตองมีการนํานักเรียนจํานวนมากมา รวมตัวกัน (เชน การซอมเชียร การแขงกีฬา เปนตน) หรือการเดินทางออกนอกพื้นที่เปนหมู คณะ สวนสถานศึกษาที่มีการระบาดแลวควรงดกิจกรรมดังกลาวโดยเด็ดขาด 14. โรงเรียนควรเตรียมมาตรการชดเชยทั้งดานการเรียน การสอน เวลาในการเรียน และการปฏิบัติงานของทั้งนักเรียน ครู อาจารย และเจาหนาที่อื่นๆ ที่จําเปนตองหยุดพักการเรียนหรือปฏิบัติงาน เนื่องจากการปวย 15. ในปจจุบัน ยังไมมีวัคซีนที่สามารถปองกันไขหวัดใหญสายพันธุใหม ชนิดเอ เอ็ช1 เอ็น1 ได วัคซีนปองกันโรคไขหวัดใหญตามฤดูกาลไม สามารปองกันไขหวัดใหญสายพันธุใหม ชนิดเอ เอ็ช1 เอ็น1 ได ซึ่ง คาดวาประเทศไทยนาจะมีวัคซีนปองกันไขหวัดใหญสายพันธุใหม ชนิดเอ เอ็ช1 เอ็น1 อยางเร็วที่สุดในชวงปลายป พ.ศ. 2552 ลักษณะ บทบาท และหนาที่ของทีมงาน รับผิดชอบประสานงานดานไขหวัดใหญในโรงเรียน 1. ทีมงานรับผิดชอบประสานงานดานไขหวัดใหญในโรงเรียนควรมี รองผูอํานวยการสถานศึกษาเปนหัวหนาทีม และควรมีครูพยาบาล รวมอยูในทีมงาน (อาจทําหนาที่เปนผูประสานงานหลัก) 2. ทําบันทึกจํานวนนักเรียนปวยที่มารับบริการที่หองพยาบาล และ จํานวนนักเรียนที่ขาดเรียน (แยกตามหองเรียน) เปนรายวัน หาก พบจํานวนนักเรียนปวยมารับบริการมากขึ้นผิดปกติ ใหสงสัยวามี การระบาดเกิดขึ้นในโรงเรียนและรีบแจงผูบริหารโรงเรียนทราบ ทันที 3. เตรียมหนากากอนามัยไวใหพรอมในหองพยาบาล (เจาหนาที่ สาธารณสุขอาจจัดหาไปใหในครั้งแรก) จัดทําโดย สํานักจัดการความรู กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ติดตามขอมูลเพิ่มเติมไดที่ ww.kmddc.go.th
  • 5. การเตรียมการรับมือการระบาดใหญของไขหวัดใหญในสถานศึกษา 4. ครูประจําชั้นควรตรวจสอบประวัติสุขภาพของนักเรียน จัดทํา ทะเบียนนักเรียนที่มีความเสี่ยงสูงตอการเกิดอาการปวยรุนแรง ไดแก เด็กอายุต่ํากวา 5 ป ผูที่มีโรคประจําตัวเรื้อรัง ไดแก โรคหัวใจ โรคปอด โรคหอบหืด ผูท่ีมีภูมิคุมกันโรคต่ํา เชน เบาหวาน มะเร็ง โรคประจําตัวที่ตองกินยากดภูมิคุมกันหรือกิน ยาสเตียรอยด ผูท่ตองกินยาแอสไพรินเปนประจํา ผูที่อวน ี 5. ในโรงเรียนที่ยังไมมีผูปวยโรคไขหวัดใหญสายพันธุใหม ชนิดเอ (เอช1 เอ็น1) หากพบผูปวยที่ สงสัยโรคไขหวัดใหญ หมายถึง ผูปวยที่มีอาการอยางนอย 2 ใน 4 อาการ ไดแก ไข ไอ เจ็บคอ มีนํ้ามูก ใหแยกผูปวยและใหผูปวยสวมหนากากอนามัยทันที สงผูปวยไปยังจุดที่ใชสําหรับให ผูปวยรอผูปกครองมารับกลับ แจงใหผูปกครองมารับกลับไปพักรักษาตัวอยูกับบานเปนเวลา อยางนอย 7 วันนับจากวันเริ่มปวย 6. ในโรงเรียนที่พบผูปวยหลายรายแลว ครูประจําชั้นตองชวยคัดกรอง เด็กที่มีอาการอยางนอย 2 ใน 4 อาการไดแก ไข ไอ เจ็บคอ มีนํ้ามูก ทุกเชากอนเขาหองเรียน หากพบผูปวยสงสัย ใหแยกผูปวย ใหผูปวย สวมหนากากอนามัยทันที สงผูปวยไปยังจุดที่ใชสําหรับใหผูปวยรอ ผูปกครองมารับกลับ แจงใหผูปกครองมารับกลับไปพักรักษาตัวอยูกับ บานเปนเวลาอยางนอย 7 วันนับจากวันเริ่มปวย 7. จุดที่ใชสําหรับใหผูปกครองมารับกลับ ไมควรจะเปนหอง พยาบาลปกติ เนื่องจากจะทําใหหองพยาบาล (ซึ่งอาจมีเด็กที่ไม สบายจากสาเหตุอื่นมาใชบริการ) เปนแหลงแพรเชื้อโรคไขหวัด ใหญได โรงเรียนอาจพิจารณาหาหอง หรือบริเวณที่มีอากาศ ถายเทไดสะดวกอยูใกลประตูทางออกโรงเรียนสําหรับใชเปนที่ให นักเรียนที่ปวยรอผูปกครองมารับกลับ 8. หากพบนักเรียนที่อยูในทะเบียนนักเรียนที่มีความเสี่ยงสูงตอการเกิด อาการปวยรุนแรง ปวยดวยอาการอยางนอย 2 ใน 4 อาการ ไดแก ไข ไอ เจ็บคอ มีน้ํามูก ควรใหนักเรียนกลุมเสี่ยงสูงนี้ไปพบแพทยที่ โรงพยาบาลทันทีเพื่อทําการรักษา หรือกินยาปองกันตามมาตรฐานทาง การแพทยโดยไมตองรอใหมีอาการปวย จัดทําโดย สํานักจัดการความรู กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ติดตามขอมูลเพิ่มเติมไดที่ ww.kmddc.go.th
  • 6. การเตรียมการรับมือการระบาดใหญของไขหวัดใหญในสถานศึกษา 9. ใหสุขศึกษาแกนักเรียนเรื่องการปองกันตนเองจากการติดเชื้อไขหวัดใหญ เนนการลางมือดวยสบู ที่เฉพาะเจาะจง ไดแก การลางมือภายหลังไอจาม ขับถาย กอนหยิบจับอาหารใสปาก และทุก ครั้งภายหลังใชมือสัมผัสอุปกรณท่ีมีการใชรวมกันเปนจํานวนมาก เชน โทรศัพท เครื่อง คอมพิวเตอร ลูกบิดประตู ราวบันได จัดทําโดย สํานักจัดการความรู กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ติดตามขอมูลเพิ่มเติมไดที่ ww.kmddc.go.th
  • 7. การเตรียมการรับมือการระบาดใหญของไขหวัดใหญในสถานศึกษา คําถามที่พบบอย 1. ทําไมตองปองกันการระบาดในโรงเรียนดวย? ตอบ เปาหมายของการปองกันการระบาดในโรงเรียนคงไมใชการปองกันไมใหมีเด็กปวยแมแตคน เดียว สวนใหญเด็กที่ปวยคนแรกๆ ของโรงเรียนมักจะติดมาจากขางนอก (ติดจากครอบครัวติดจาก โรงเรียนกวดวิชา ติดจากการไปเดินเที่ยวในที่ที่มีคนพลุกพลาน) แลวเขามาแพรเชื้อในโรงเรียน สิ่งที่ โรงเรียนจะตองพยายามทําก็คือการปองกันไมใหเกิดการระบาด นั่นคือ ปองกันไมใหมีเด็กหลายๆ คน (2-3 คนขึ้นไป) ปวยพรอมกัน จํานวนผูปวยรวมจะตางกันมากถาเกิดการระบาดใหญ กับการ เกิดผูปวยครั้งละ 1-2 คน ถาเกิดการระบาดใหญอาจมีผูปวยรวมมากกวา รอยละ 50 ของจํานวน เด็กและครูในโรงเรียนได แตถาเกิดผูปวยครั้งละ 1-2 คนอาจจะมีผูปวยรวมอยูที่ระดับประมาณรอย ละ 20-30 ได 2. ในชวงที่โรงเรียนมีการสอบ ทําใหเด็กไมอยากจะหยุดเรียน จึงทําใหเด็กปวย ยังคงมาโรงเรียนอยู? ตอบ เรื่องนี้ทางเราคงตองชี้แจงใหผูบริหารเขาใจ และใหโรงเรียนมีนโยบายที่ยืดหยุนในเรื่องการ สอบนักเรียน เชน อนุญาตใหเด็กปวยสามารถเลื่อนสอบได หรือหากเด็กมีอาการปวยไมรุนแรง อาจ พิจารณาจัดใหเด็กสอบแยกจากเพื่อน โดยใหนักเรียนที่ปวยใสหนากาก จัดเจลลางมือใหเด็กในหอง สอบ และเมื่อเสร็จกิจกรรมสอบแลวก็แนะนําใหเด็กกลับบานในกรณีที่โรงเรียนยังไมมีการระบาดก็คง ตองชี้แจงใหโรงเรียนเขาใจภาพการระบาด ระยะเวลาการระบาด และจํานวนนักเรียนและครูที่คาดวา จะปวย เพื่อใหโรงเรียนตัดสินใจและเตรียมความพรอมเชนกัน 3. ครูที่ปวยไมยอมหยุดงาน เพราะกลัวจะถูกหักเงินเดือน  ตอบ เรื่องนี้ตองชี้แจงใหผูบริหารโรงเรียนถึงผลเสียของการปลอยใหครูที่ปวยมาทํางาน ควรแนะนํา ใหโรงเรียนมีความยืดหยุนในเรื่องของวันลาของบุคลากร (ครู และเจาหนาที่อื่นๆ) นอกจากนี้ ยัง ตองแนะนําใหโรงเรียนเตรียมความพรอมในกรณีที่มีครูหรือเจาหนาที่จะตองลาหยุดพรอมๆ กัน หลายๆ คนดวย ซึ่งหลักการเหลานี้ไดมการพูดถึงชัดเจนอยูแลวในหลักการของการจัดทํา Business ี Continuity Plan จัดทําโดย สํานักจัดการความรู กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ติดตามขอมูลเพิ่มเติมไดที่ ww.kmddc.go.th
  • 8. การเตรียมการรับมือการระบาดใหญของไขหวัดใหญในสถานศึกษา 4. เชื้อไวรัสสามารถอยูในสิ่งแวดลอมไดนานแคไหน? ตอบ เชื้อไวรัสเปนเชื้อที่อาศัยอยูในสิ่งมีชีวิต หากออกมาปนเปอนในสิ่งแวดลอมจะอยูไดไมเกิน2–8 ชั่วโมงและเชื้อไวรัสจะตายเร็วยิ่งขึ้นในอุณหภูมิที่สูงขึ้นและอากาศแหง ดังนั้นควรเปดหองเรียนให แสงแดดสองถึงและอากาศถายเทไดสะดวกอยางสม่ําเสมอ 5. การทําความสะอาดโรงเรียน โดยเฉพาะจุดที่ นักเรียนมักจะสัมผัสกันบอยๆ ควรดําเนินการอยางไร บอยแคไหน ตอบ การทําความสะอาดจุดที่นักเรียนมักจะสัมผัส แตะ จับ ควร ทําบอยๆ ในชวงระหวางที่มีการเรียนการสอนสวนจะตองทําถี่แค ไหน ขึ้นอยูกับลักษณะของสิ่งสัมผัส เชน ถาเปนหองคอมพิวเตอร อุปกรณคอมพิวเตอร ควรมีการเช็ดทําความสะอาดหลังจากหมด ชั่วโมงเรียน กอนที่นักเรียนคนใหมเขามาใชอุปกรณ การทําความ สะอาดราวบันได อาจเช็ดทําความสะอาดในชวงชั่วโมงเรียน หลังจากที่นักเรียนเขาหองเรียนแลวทุกชั่วโมงเรียนเปนตน การ ทําความสะอาดพื้นผิวที่นักเรียนมักสัมผัส แตะ จับจะในชวงเวลา ระหวางวันบอยๆ สําคัญกวาการทํา “Big Cleaning” ในชวงเย็น หลังจากที่โรงเรียนปดไปแลว 6. การทําความสะอาดโรงเรียนอยางถูกวิธี เมื่อมีการระบาด ควรทํา Big cleaning day หรือไม? ตอบ การทํา Big cleaning day แบบนานๆ ครั้งไมสามารถชวยลดการแพรกระจายของโรค จาก หลักการที่วาเชื้อสามารถมีชีวิตอยูในสิ่งแวดลอมไดเพียง 2-8 ชั่วโมง การทําความสะอาดที่สําคัญจึง เปนการทําความสะอาดในชวงระหวางวัน และเปนการทําความสะอาดจุดที่มีการสัมผัสกันบอยๆ ให บอยที่สุดเทาที่จะสามารถทําได 7. ควรใชน้ํายาอะไรในการทําความสะอาดอุปกรณและสถานที่? ตอบ น้ําละลายผงซักฟอก มีประสิทธิภาพเพียงพอในการทําลายเชื้อไวรัส จัดทําโดย สํานักจัดการความรู กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ติดตามขอมูลเพิ่มเติมไดที่ ww.kmddc.go.th
  • 9. การเตรียมการรับมือการระบาดใหญของไขหวัดใหญในสถานศึกษา 8. ใครเปนกลุมเสี่ยงสูงตอการเกิดโรคไขหวัดใหญรุนแรงหรือเสียชีวิต? ตอบ 1) ผูที่มีอายุนอยกวา 5 ป 2) ผูที่มีอายุมากกวา 65 ป 3) หญิงตั้งครรภ 4) ผูที่มีโรคอวน 5) ผูที่มีโรคประจําตัวเรื้อรัง (เชน โรคเบาหวาน โรคหอบหืด โรคหลอดเลือดหัวใจ) และ 6) ผูที่มีภูมิ ตานทานต่ํา (เชน ผูปวยโรคเอดส ผูที่ไดรับยากดภูมิคุมกัน) กลุมเสี่ยงเหลานี้ หากมีอาการคลาย ไขหวัดใหญ ควรไปพบแพทยทันทีเพื่อพิจารณาการรับยาตานไวรัส 9. ควรมีการดูแลกลุมเสี่ยง เชน เด็กเล็ก ครูและเด็กที่มี โรคประจําตัว ครูที่ปวยดวยโรคเบาหวาน หรือครูท่ีกําลัง ตั้งครรภ อยางไร ตอบ ถาโรงเรียนทําได ควรมีคนหาประชากรกลุมนี้ลวงหนา และให คําแนะนําเปนพิเศษในกรณีที่ครูหรือนักเรียนกลุมนี้ปวยดวยอาการที่ คลายไขหวัดใหญ เนื่องจากครูและนักเรียนกลุมนี้อาจมีอาการปวยที่ รุนแรงไดและหากโรงเรียนสามารถทําได อาจมอบหมายงานที่ไม จําเปนตองสัมผัสกับนักเรียนโดยตรงใหกับครูที่ทํากําลังตั้งครรภ 10. ครูประจําชั้นจะทราบไดอยางไรวาเด็กมีไข ตองวัด อุณหภูมิเด็กทุกคนกอนเขาหองเรียนหรือไม? ตอบ ในเด็กเล็ก เชน อนุบาล ที่ยังสื่อสารไดยาก อาจตองใชเทอรโม มีเตอรวัด หรืออาจใชแถบวัดอุณหภูมิชวยในการคัดกรอง สวนเด็ก ประถมศึกษาขึ้นไปที่สามารถสื่อสารไดดี ควรมีการใหสุขศึกษาแกเด็ก นักเรียนในการสังเกตและแจงอาการของตนเอง ทําความเขาใจกับ ผูปกครองและนักเรียนถึงความจําเปนในการแจงทางโรงเรียนเมื่อเด็ก มีอาการปวย และผลกระทบกับสวนรวมและตนเองจากการปดบัง อาการปวย เชน อาจทําใหเด็กไดรับการดูแลรักษาลาชา หรืออาจทําให เกิดการระบาดขยายวงกวางในโรงเรียน ครอบครัว และชุมชนเปนตน จัดทําโดย สํานักจัดการความรู กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ติดตามขอมูลเพิ่มเติมไดที่ ww.kmddc.go.th
  • 10. การเตรียมการรับมือการระบาดใหญของไขหวัดใหญในสถานศึกษา 11. ตองพานักเรียนที่ปวยไปรับการรักษาที่โรงพยาบาลหรือไม? ตอบ หากนักเรียนไมไดจัดอยูในกลุมเสี่ยงที่จะมีอาการรุนแรง 6 กลุม ไมจําเปนตองไปพบแพทย ในทันทีนักเรียนสามารถพักฟนอยูท่ีบาน และใชยารักษาตามอาการได หากโรคมีอาการรุนแรงขึ้น (เชน หายใจลําบากหอบเหนื่อย อาเจียนมาก ซึม) หรือไขไมลดใน 3 วัน (นับจากวันที่เริ่มมีอาการวัน แรก) จึงควรไปพบแพทย ในกรณีที่นักเรียนจัดอยูในกลุมเสี่ยง 6 กลุม (ไดแก 1) ผูที่มีอายุนอยกวา 5 ป 2) ผูท่ีมีอายุมากกวา 65ป 3) หญิงตั้งครรภ 4) ผูที่มีโรคอวน 5) ผูที่มีโรคประจําตัวเรื้อรัง (เชน โรคเบาหวาน โรคหอบหืด) และ 6) ผูที่มีภูมิตานทานต่ํา เชน ผูปวยโรคเอดส ผูที่ไดรับยากด ภูมิคุมกัน) ควรรีบไปพบแพทยทันทีที่มีอาการ 12. การลางมือจําเปนตองใชเจลลางมือฆาเชื้อหรือไม? ตอบ ไมจําเปน การลางมือดวยสบูอยางถูกวิธี นานอยางนอย 15 – 20 วินาที (รองเพลงชางจบ 1 รอบ) เพียงพอตอการปองกันโรค 13. นักเรียนที่สบายดี ไมปวย ควรใสหนากากอนามัยหรือไม ตอบ ผูที่ควรสวมใสหนากากอนามัยคือผูปวย เนื่องจากการใสหนากากอนามัยสามารถปองกันการ กระจายของน้ํามูกและน้ําลายเวลาที่ผูปวยไอหรือจามไดดี กระทรวงสาธารณสุขไมแนะนําใหสวมใส หนากากอนามัยในผูที่ยังไมมีอาการปวย 14. ถาใหเด็กปวยใสหนากากแลวจะใหนั่งเรียนตอไปไดหรือไม ตอบ ไมแนะนําใหเรียนตอ แนะนําใหผูปกครองมารับกลับบาน เนื่องจากเด็กที่ใสหนากากอนามัย หากยังคลุกคลีอยูกับนักเรียนคนอื่น ก็ยังอาจแพรเชื้อใหเพื่อนๆ ไดอยูดี 15. ผูปกครองมักอางวาเด็กของตัวเองปวยดวยไขหวัดธรรมดา ไมใชไขหวัดใหญไม จําเปนตองหยุดเรียน ในกรณีนี้ควรดําเนินการอยางไร ตอบ การแยกไขหวัดธรรมดา กับไขหวัดใหญทํายาก (ผูปวยไขหวัดใหญบางคนก็อาการไมรุนแรง อาการเหมือนไขหวัดธรรมดาไดเชนกัน แตถาไปติดคนอื่น คนอื่นอาจอาการรุนแรงได) แตในกรณี การคัดกรองอาจไมจําเปนตองแยกใหชัดวาคนนี้ปวยดวยไขหวัดธรรมดาหรือปวยดวยไขหวัดใหญ เนื่องจากเด็กที่ปวยเปนไขหวัดธรรมดา ก็ควรพักอยูบานไมควรมาแพรเชื้อที่โรงเรียนเชนกัน ดังนั้น กรณีที่เด็กเปนหวัดชัดเจนก็อาจขอใหผูปกครองมารับกลับบานไดเชนกัน จัดทําโดย สํานักจัดการความรู กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ติดตามขอมูลเพิ่มเติมไดที่ ww.kmddc.go.th