SlideShare a Scribd company logo
1 of 9
Download to read offline
โครงงาน
เรื่อง เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก
( water bottle fly trap )
จัดทำโดย
นางสาวพัณณิตา สุขเกิด เลขที่ 27
เด็กชายเปรมทัต ชารีรักษ์ เลขที่ 13
เด็กชายอินทวงศ์ วงศ์อินทร์ เลขที่ 19
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/12
เสนอ
คุณครูเชิดศักดิ์ ศิริบุตร
รายงานเรื่องนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาโครงงาน ว23206
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565
โรงเรียนกาฬสินธุ์พิทยาสรรพ์
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาจังหวัดกาฬสินธุ์
บทที่ 1
บนนำ
ความเป็นมาและความสำคัญของโครงงาน
เนื่องจากในปัจจุบันร้านค้า ร้านอาหาร ในชุมชนของเรานั้นมีแมลงวันเป็นจำนวนมากซึ่งแมลงวัน
เป็นพาหะนำเชื้อโรคเข้าไปในอาหาร ทำให้ผู้บริโภคเกิดอากรท้องร่วง และปวดท้องในขณะเดียวกันการใช้
กับดักแมลงวันสำเร็จรูปไม่ค่อยได้รับความสนใจเพราะมีราคาแพงร้านอาหารส่วนใหญ่มักใช้ถุงน้ำใสแขวน
ไล่แมลงวันแต่ไม่ได้ผลจึงหันมาใช้กับดักแมลงวันสารเคมีถือว่าเป็นปั๗จัยหลักสำคัญที่ทำให้เกิดการตกค้าง
ของสารเคมีในอาหาร
ซึ่งอาจเป็นอันตรายอย่างยิ่งต่อร่างกายมนุษย์สิ่งแวดล้อม ที่สำคัญเป็นการสิ้นเปลืองค่าใช้จ่าย
เราะต้องนำเข้าสารเคมีจากต่างประเทศ
จากสภาพปัญหาดังกล่าว ดังนั้น ผู้จัดทำโครงงานจึงมีความคิดที่จะแก้ปัญหาแมลงวันใน
ร้านอาหารและในพ้นที่อื่นๆ โดยการทำอุปกรณ์ดักแมลงวันจากขวดน้ำพลาสติกจากเศษวัสดุเหลือใช้เพื่อ
ลดปรมาณขยะ และลดการสิ้นเปลืองค่าใช้จ่าย รวมถึงการลดปริมาณแมลงวันในพื้นที่ต่างๆอีกด้วย
วัตถุประสงค์
1. เพื่อทำการศึกษาอุปกรณ์ดักแมลงวันจากขวดน้ำพลาสติก
2. เพื่อทำการทดลองเปรียบเทียบอุปกรณ์ดักแมลงวันจากขวดน้ำพลาสติก ว่าสามารถจับ
แมลงวันได้
3. เพื่อนำขวดพลาสติกที่ไม่ได้ใช้แล้วมประดิษฐ์เป็นสิ่งของที่เกิดประโยชน์
4. เพื่อกำจัดแมลงวันซึ่งเป็นพาหะนำโรค
สมมติฐาน
อุปกรณ์ดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก สามารถดักจับแมลงวันได้จริง ซึ่งมีตัวล่อให้แมลงวัลบิน
เขาไปติดกับ คือเศษอาหาร ซึ่งอปกรณ์ดักจับแมลงจากขวดพลาสติกนี้ช่วยำจัดแมลงวันได้เป็นอย่างดี
2
ตัวแปรที่จะศึกษา
ตัวแปรต้น ลักษณะของอุปกรณ์ดักแมลงวันจากขวดน้ำพลาสติก
ตัแปรตาม จำนวนแมลงวัน
ตัวแปรควบคุม 1. ปริมาณเศษอาหารที่ใช้เป็นเหยื่อล่อแมลงวัน
2. ขนาดของขวดน้ำพลาสติก
ขอบเขตของการศึกษา
1. สิ่งที่ศึกษา อุปกรณ์ดักแมลงวันจากขวดน้ำพลาสติก
2. สถานที่ บ้านหรือร้าค้าใกล้บ้านของสมาชิกในกลุ่ม
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1. ทำให้ลดปริมาณแมลงวัน
2. ลดปัญหาโรคที่เกิดจากแมลงวันเป็นพาหะ
3. สามารถนำเศษวัสดุเหลือใช้นำมาใช้ประโยชน์ใหม่ได้
4. ลดการใช้สารเคมีในการกำจัดแมลงวัน
บทที่ 2
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
ในการศึกษาโครงงานเรื่องอุปกรณ์ดักแมลงวันจากขวดน้ำพลาสติก ผู้จัดทำได้ค้นคว้ารวบรวม
ข้อมูลจากเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง และจากเว็บไซด์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ตโดยขอนำเสนอตามลำดับ
ดังนี้
แมลงวันเป็นแมลงในอันดับ Diptera (di = สอง,และ ptera = ปีก) มีบน อกปล้องทที่สอง และ
ตุ่มปีกหนึ่งคู่ ซึ่งลดรูปจากปีกหลัง บนอกปล้องที่สาม แมลงวันบางชนิดไม่มีปีก โดยเฉพาะใน
superfamily Hippoboscoidea
อันดับ Diptera เป็นอันดับที่มีขนาดใหญ่ ประกอบด้วย ประมาณ 240,000 ชนิด ของ ยุง, บั่ว, ริ้น และ
แมลงวันอื่นๆ แต่มีเพียงครึ่ง (ประมาณ 122,000 ชนิด)ที่ได้รับการจำแนกแล้วเป็นอันดับหลักๆ ที่มี
ความสำคัญต่อระบบนิเวศและมนุษย์ (ทางการแพทย์และทางเศรษฐกิจ) ยุงในวงศ์ Culicidae มี
ความสำคัญมากโดยเป็นพาหะโรค มาราเรีย, ไข้เลือดออก, ไวรัส West Nile, ไข้เหลือง encephalitis
แมลงวันเป็นแมลงที่อาศัยอยู่กับชุมชนมนุษย์ชนิดหนึ่ง ส่วนมากคนจะรู้จักบางชนิด เช่นแมลงวัน
บ้าน และแมลงวันหัวเขียว มักจะกินอาหารที่เป็นเนื้อสัตว์ และเศษอาหารตามกองขยะ และชอบหากิน
เวลากลางวัน ไม่ชอบแสงแดดจัด รัศมีการหากินอยู่ในวงประมาณ 3 กิโลเมตร
แมลงวันบ้าน
ลักษณะสำคัญ : ตัวเต็มวัยสีเทา มีแถบสีดำ 4 เส้น พาดอยู่ส่วนอกด้านบน หรือกลางลำตัว ลำตัว
ยาวประมาณ 1/8-1/4 นิ้ว ตัวหนอนสีขาวครีม หัวแหลมท้ายป้าน ไม่มีขา ไข่มีขนาดเรียวยาว 1 มม. สี
ขาว
อาหาร : กินอาหารได้หลายชนิด รวมทั้งของเสีย
ตัวเมียวางไข่ได้ครั้งละ 100-150 ฟอง และสามารถวางไข่ได้สูงถึง 600 ฟอง โดยชอบวางไข่ตามกองขยะที่
มีความชื้นสูง หรือสิ่งปฏิกูลต่างๆ ไข่ใช้เวลาฟักตัวประมาณ 6 ชั่วโมง ตัวหนอนลอกคราบประมาณ 3 ครั้ง
จากนั้นจะเข้าดักแด้ และฟักเป็นตัวเต็มวัยในระยะเวลา 1-2 สัปดาห์
4
แมลงวันหัวเขียว
เป็นแมลงวันที่มีขนาดใหญ่ มีขนาดลำตัว 8-12 มิลลิเมตร ลำตัวสีน้ำเงินแกมเขียว เป็นมัน
แมลงวันชนิดนี้ชอบอยู่นอกบ้าน บางครั้งอาจตอมอาหารหรอแหล่งที่มีเชื้อโรค
ตัวเต็มวัยจะหากินตามแหล่งอาหารที่มีโปรตีนสูง เช่น เล้าเป็ด ไก่ กองขยะ ตลาด ซากเน่าเปื่อย มูลสัตว์
ก่อให้เกิดความำคาญกับสัตว์และอาจนำโรคมาสู่สัตว์
อาหาร : กินอาหารได้หลายชนิด ของเหลวจากสารอินทรีย์วัตถุ น้ำหวานจากพืช แมลงวันหัวเขียว ใช้
ระยะเวลาในการเจริญเติบโต ตั้งแต่ระยะไข่ ตัวหนอน ดักแด้ และฟักเป็นตัวเต็มวัย เป็นเวลา อย่างน้อย
10 วัน ตัวเมียวางไข่และ ตัวหนอนอาศัยเจริฐเติบโตตามมูลสัตว์ แมลงวัน สามารถนำโรคมาสู่มนุษย์ หรือ
สัตว์เลี้ยงได้โดยถ่ายทอดเชื้อโรคที่ติดมากับลำตัว,ปาก หรือขาของแมลง ในขณะที่มันตอมตาในขณะที่มัน
ตอมอาหาร หรือสิ่งปฏิกูลต่างๆเมื่อคนรับประทานอาหารที่มีแมลงวันตอมก็จะได้รับเชื้อโรคเข้าสู่ร่างกาย
ทำให้เกิดโรคต่างๆหลายชนิด เช่น โรคระบบทางเดินอาหาร ซึ่งได้แก่ โรคท้องร่วง, โรคบิด, ไทฟอยด์,
พาราไทฟอยด์, อติวาตกโรค, อาหารเป็นพิษ นอกจากนี้ยังพบว่าสามารถถ่ายทอดเชื้อไวรัสที่เกิดโรค
โปลิโอ และไวรัสอื่นๆได้ เช่น โรคตาแดง โรคริดสีดวงตา หรือโรคเยื่อบุตาอักเสบ
แมลงวันที่ใกล้ชิดมนุษย์และเป็นปัญหาสาธารณสุขมากอันดับต้นคือแมลงวันบ้าน แมลงวันหลัง
ลาย และแมลงวันหัวเขียวซึ่งมีแหล่งเพาะพันธุ์อยู่ใกล้ชุมชนตามแหล่ง ขยะมูลฝอย มูลสัตว์ ปุ๋ย หรือ
สิ่งของที่กำลังเน่าโดยแมลงวันสามารถค้นหาหรือเติมอาหารได้โดยอาศัยสิ่งจูงใจคือ ก๊าซ
คาร์บอนไดออกไซด์และแอมโมเนียและสารระเหยที่เกิดจากสิ่งเน่าเปื่อยผุพัง
การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
แมลงวันออกลูกเป็นไข่และฟักเป็นหนอนแมลงวันและระยะดักแด้จนกลายเป็นตัวเต็มวัยวงจร
ชีวิตของแมลงวันตั้งแต่ไข่จนเป็นตัวเต็มวัยกินเวลาประมาณ 8-10 วันเมื่อแมลงวันผสมพันธุ์กันตัวผู้จะเริ่ม
ขึ้นขี่ตัวเมียหันหน้าไปทางเดียวกันแต่จะหมุนหันหน้าไปทางตรงกันข้ามในเวลาต่อมาแมลงวันมี
ความสามารถในการสืบพันธุ์มากกว่าแมลงอื่นๆและใช้เวลาสั้นกว่าด้วยจึงเป็นสาเหตุให้แมลงวันมี
ประชากรจำนวนมาก
การเติบโตแบบสมบูรณ์ของแมลงวัน (COMPLETE METAORPHOSIS) ประกอบด้วย 4 ระยะไข่
แมลงวันสามารถผสมพันธุ์ได้ หลังจากเป็นตัวเต็มวัยได้เพียง 18-30 ชั่วโมงเท่านั้นและผสมพันธุ์
เพียงครั้งเดียว หลังจากนั้นก็จะหาแหล่งที่เหมาะสมในการวางไข่ โดยจะค้นหาแหล่งดังกล่าวโดยอาศัย
กลิ่นเป็นตัวนำทาง มันจะเริ่มวางไข่ในที่ลับตา แสงแดดส่องไม่ถึง และมีความชื้นสูงโดยวางเป็นกลุ่มๆ
5
ประมาณ 120 ฟอง ตัวเมียบางตัวสามารถวางไข่ได้มากกว่า 10 ครั้งในชั่ว ชีวิตดังนั้นแมลงวันตัวเมีย 1 ตัว
สามารถขยายพันธุ์ได้ 200-1,000 ฟองไข่แมลงวันมีระยะฟักภายใน 6-12 ชั่วโมง
ระยะตัวอ่อน
หรือหนอน มีรูปร่าง เรียวยาว ปลายด้านของใหญ่ หัวหรือปากเรียวแหลมและแข็ง ตัวอ่อนจะกิน
ของกำลังเน่าเหม็นมักชอบกลิ่นแอมโมเนีย หรือกลิ่นของยีสต์เป็นพิเศษตัวอ่อนจะกินอาหารมากจนเข้า
ใกล้ระยะดักแด้จึงจะหยุดกินอาหาร ระยะนี้กินเวลา 6-7 วัน
ระยะเข้าดักแด้
เมื่อหนอนหยุดกินจะเริ่มคลานไปสู่ที่แห้งๆ เพื่อเริ่มปรับเปลี่ยนร่างกาย โดยหดตัวเองให้สั้นลงจน
มีลักษณะอ้วนสั้น ผนังลำตัวจะแข็งขึ้นเพื่อห่อหุ้มตัวหนอน ระยะนี้ใช้เวลา 3-4 วัน ก็จะเข้าสู่ระยะตัวโต
เต็มวัย
เหยื่อล่อแมลงวัน
ปลาร้า หรือ ปลาแดก ในภาษาอีสานเป็นอาหารท้องถิ่นภาคอีสาน ของไทย และ ลาว รวมถึง
บางส่วนของเวียดนาม โดยมักทำจากปลาน้ำจืดขนาดเล็ก เช่น ปลาสร้อยขาว ปลากระดี่ มาหมักกับรำ
ข้าวและเกลือ แล้วบรรจุใส่ไห โดยทั่วไปจะหมักไว้ 7-8 เดือนและนำมารับประทานได้ โดยในบางที่มี
ค่านิยมว่าหมักให้เกิดหนอนจะยิ่งเพิ่มรสชาติยิ่งขึ้นปัจจุบันการทำปลาร้าได้พัฒนาขึ้นไปสู่ระดับสากลมาก
ขึ้น มีปลาร้าพาสเจอร์ไรซ์ เพื่อฆ่าเชื้อโรคก่อนด้วย หรือปลาร้าอนามัย แต่ส่วนใหญ่ ปลาร้าก็ยังนิยมทำ
แบบเดิม โดยตักขายตามน้ำหนักตามตลาดสดต่างๆ ซึ่งปลาร้านี้มีกลิ่นเหม็นมากจึงเป็นเหยื่อล่อแมลงวัน
ได้อย่างดี
งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
กล้าณรงค์ วงศ์พิทักษ์.(2550).กล่าวว่า แมลงวัน เป็นพาหะนําโรคที่เป็นอันตราย แมลงวันที่พบ
เห็นบ่อยเป็นแมลงวันบ้าน (House fly : Musca domestica) มีขนาดลำตัวยาวประมาณ 6-9 มิลลิเมตร
ตัวเมียจะวางไข่ในมูลสัตว์หรือซากสัตว์ที่เน่าเปื่อย โดยวางไข่ครั้งละ 75-150 ฟองและจะวางไข่ทุกๆ 3-4
วันตลอดชั่วอายุจะวางไข่ประมาณ 6 ครั้ง ทำให้ไม่สามารถกำจัดแมลงวันให้หมดไปได้ ภาคอีสานยังมี
อาหารที่แมลงวันชอบคือปลาร้า ปลาจ่อม
6
การใช้กับดักสำเร็จรูปแต่มีราคาแพง (150-300 บาท)
จึงไม่ได้รับความสนใจเนื่องจากในพื้นที่รับผิดชอบส่วนใหญ่มีฐานะยากจน อยู่บ้านเฉพาะผู้สูงอายุ
และเด็กจึงมีภาระที่ต้องใช้เงินด้านอื่นโดยส่วนใหญ่ร้านค้าขายของชำในหมู่บ้านจะใช้ถุงน้ำใสแขวนไล่
แมลงวันแต่ไม่ได้ผลจึงหันมาใช้กาวดักแมลงวันและสารเคมีถือว่าเป็นปัจจัยสำคัญที่อาจทำให้เกิดการ
ตกค้างของสารเคมีในอาหารหรือสิ่งอุปโภคบริโภคได้
นิรุตติ์ ปลื้มกระจ่าง.(2552).กล่าวว่า โรคอุจจาระร่วง และโรคระบบทางเดินอาหาร เป็น
โรคติดต่อที่มีอัตราการเกิดสูงมาก โดยเฉพาะในหน้าร้อน โดยมีพาหะนำโรคที่สำคัญคือ แมลงวัน ดังนั้น
ผู้วิจัยจึงคิดประดิษฐ์นวัตกรรมเครื่องดักจับแมลงวัน เพื่อลดจำนวนแมลงวันซึ่งเป็นพาหะนำโรคซึ่งส่งผลให้
อัตราการป่วยของโรคในระบบทางเดินอาหารลดลง โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อประดิษฐ์นวัตกรรมสำหรับการ
กำจัดแมลงวันในชุมชน
บทที่ 3
อุปกร์และวิธีการทดลอง
อุปกรณ์
1. ขวดน้ำพลาสติ
2. คัดเตอร์ 1 อัน
3. เหยื่อล่อแมลงวัน (เศษอาหาร)
วิธีทำ
1. เตรียมขวดพลาสติกขนาด 1,500 ซีซี
2. วัดระยะจากฐานขวดสูง 9.5 เซนติเมตร ตัดขวดออกเป็น 2 ส่วนคือส่วนที่ 1 ปากขวด
และส่วนที่ 2 ส่วนฐาน
3. นำกระดาษสีดำกว้าง 7 เซนติเมตร ยาว 30 เซนติเมตร ติดกาวพันรอบฐานของขวด
ส่วนที่ 2
4. ประกอบส่วนที่ 1 ปากขวดและส่วนที่ 2 ส่วนฐาน เข้าด้วยกันได้เครื่องดักจับแมลงวัน
อย่างง่าย
5. เจาะรูขนาดเท่ากับฝาปิดขวดรูปวงกลมบริเวณฐานของเครื่องดักจับแมลงวันสูงจาก
ฐาน 1 เซนติเมตร
8
วิธีการทดลอง
1. นำเครื่องดักจับแมลงวันปลายตั้งไว้ในที่ที่มีแมลงวันชุกชุมเช่นกองขยะที่ทิ้งเศษอาหาร
2. ทิ้งเครื่องดักจับแมลงวันไว้ประมาณ 1 ชั่วโมงเพื่อรอผลการทดลองจากนั้นสรุปผลการทดลอง

More Related Content

Similar to โครงงานเครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก.pdf

โรค มือ ปาก เท้าเปื่อย
โรค มือ ปาก เท้าเปื่อยโรค มือ ปาก เท้าเปื่อย
โรค มือ ปาก เท้าเปื่อยLoveis1able Khumpuangdee
 
วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)Wan Ngamwongwan
 
Vaccineคู่มือประชาชน
Vaccineคู่มือประชาชนVaccineคู่มือประชาชน
Vaccineคู่มือประชาชนWitsalut Saetae
 
พยาธิวิทยาทททททททททททททททททททททททททททททททททททททททททท
พยาธิวิทยาททททททททททททททททททททททททททททททททททททททททททพยาธิวิทยาทททททททททททททททททททททททททททททททททททททททททท
พยาธิวิทยาททททททททททททททททททททททททททททททททททททททททททpakpoomounhalekjit
 
ไล่ยุง
ไล่ยุงไล่ยุง
ไล่ยุงStamp Tamp
 
โรคอุจจาระร่วง
โรคอุจจาระร่วงโรคอุจจาระร่วง
โรคอุจจาระร่วงJintana Mokhuntod
 
โรคอุจจาระร่วง
โรคอุจจาระร่วงโรคอุจจาระร่วง
โรคอุจจาระร่วงJintana Mokhuntod
 
คู่มือโรคน้ำท่วม
คู่มือโรคน้ำท่วมคู่มือโรคน้ำท่วม
คู่มือโรคน้ำท่วมnhs0
 
ระบบภูมิคุุ้มกัน
ระบบภูมิคุุ้มกันระบบภูมิคุุ้มกัน
ระบบภูมิคุุ้มกันKankamol Kunrat
 
อาหาร fastfood การบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
อาหาร fastfood  การบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง อาหาร fastfood  การบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
อาหาร fastfood การบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง Kkae Rujira
 
กล่องแฟนซีรีไซเคิล (1)
กล่องแฟนซีรีไซเคิล (1)กล่องแฟนซีรีไซเคิล (1)
กล่องแฟนซีรีไซเคิล (1)Prapatsorn Chaihuay
 
นำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อนำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อpissamaiza Kodsrimoung
 
นำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อนำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อnuting
 
คู่มือประชาชน สำหรับการป้องกันน้ำท่วม54
คู่มือประชาชน สำหรับการป้องกันน้ำท่วม54คู่มือประชาชน สำหรับการป้องกันน้ำท่วม54
คู่มือประชาชน สำหรับการป้องกันน้ำท่วม54Aimmary
 
คู่มือประชาชน สำหรับการป้องกันน้ำท่วม54
คู่มือประชาชน สำหรับการป้องกันน้ำท่วม54คู่มือประชาชน สำหรับการป้องกันน้ำท่วม54
คู่มือประชาชน สำหรับการป้องกันน้ำท่วม54Loveis1able Khumpuangdee
 

Similar to โครงงานเครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก.pdf (20)

โรค มือ ปาก เท้าเปื่อย
โรค มือ ปาก เท้าเปื่อยโรค มือ ปาก เท้าเปื่อย
โรค มือ ปาก เท้าเปื่อย
 
Factsheet hfm
Factsheet hfmFactsheet hfm
Factsheet hfm
 
คู่มือจัดการโรงเรียน Covid-19
คู่มือจัดการโรงเรียน Covid-19คู่มือจัดการโรงเรียน Covid-19
คู่มือจัดการโรงเรียน Covid-19
 
วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)
 
Vaccineคู่มือประชาชน
Vaccineคู่มือประชาชนVaccineคู่มือประชาชน
Vaccineคู่มือประชาชน
 
พยาธิวิทยาทททททททททททททททททททททททททททททททททททททททททท
พยาธิวิทยาททททททททททททททททททททททททททททททททททททททททททพยาธิวิทยาทททททททททททททททททททททททททททททททททททททททททท
พยาธิวิทยาทททททททททททททททททททททททททททททททททททททททททท
 
Knowledge
KnowledgeKnowledge
Knowledge
 
ไล่ยุง
ไล่ยุงไล่ยุง
ไล่ยุง
 
โรคอุจจาระร่วง
โรคอุจจาระร่วงโรคอุจจาระร่วง
โรคอุจจาระร่วง
 
โรคอุจจาระร่วง
โรคอุจจาระร่วงโรคอุจจาระร่วง
โรคอุจจาระร่วง
 
Flood disease
Flood diseaseFlood disease
Flood disease
 
คู่มือโรคน้ำท่วม
คู่มือโรคน้ำท่วมคู่มือโรคน้ำท่วม
คู่มือโรคน้ำท่วม
 
ระบบภูมิคุุ้มกัน
ระบบภูมิคุุ้มกันระบบภูมิคุุ้มกัน
ระบบภูมิคุุ้มกัน
 
02 lepto
02 lepto02 lepto
02 lepto
 
อาหาร fastfood การบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
อาหาร fastfood  การบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง อาหาร fastfood  การบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
อาหาร fastfood การบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
 
กล่องแฟนซีรีไซเคิล (1)
กล่องแฟนซีรีไซเคิล (1)กล่องแฟนซีรีไซเคิล (1)
กล่องแฟนซีรีไซเคิล (1)
 
นำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อนำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อ
 
นำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อนำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อ
 
คู่มือประชาชน สำหรับการป้องกันน้ำท่วม54
คู่มือประชาชน สำหรับการป้องกันน้ำท่วม54คู่มือประชาชน สำหรับการป้องกันน้ำท่วม54
คู่มือประชาชน สำหรับการป้องกันน้ำท่วม54
 
คู่มือประชาชน สำหรับการป้องกันน้ำท่วม54
คู่มือประชาชน สำหรับการป้องกันน้ำท่วม54คู่มือประชาชน สำหรับการป้องกันน้ำท่วม54
คู่มือประชาชน สำหรับการป้องกันน้ำท่วม54
 

โครงงานเครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก.pdf

  • 1. โครงงาน เรื่อง เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก ( water bottle fly trap ) จัดทำโดย นางสาวพัณณิตา สุขเกิด เลขที่ 27 เด็กชายเปรมทัต ชารีรักษ์ เลขที่ 13 เด็กชายอินทวงศ์ วงศ์อินทร์ เลขที่ 19 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/12 เสนอ คุณครูเชิดศักดิ์ ศิริบุตร รายงานเรื่องนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาโครงงาน ว23206 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 โรงเรียนกาฬสินธุ์พิทยาสรรพ์ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาจังหวัดกาฬสินธุ์
  • 2. บทที่ 1 บนนำ ความเป็นมาและความสำคัญของโครงงาน เนื่องจากในปัจจุบันร้านค้า ร้านอาหาร ในชุมชนของเรานั้นมีแมลงวันเป็นจำนวนมากซึ่งแมลงวัน เป็นพาหะนำเชื้อโรคเข้าไปในอาหาร ทำให้ผู้บริโภคเกิดอากรท้องร่วง และปวดท้องในขณะเดียวกันการใช้ กับดักแมลงวันสำเร็จรูปไม่ค่อยได้รับความสนใจเพราะมีราคาแพงร้านอาหารส่วนใหญ่มักใช้ถุงน้ำใสแขวน ไล่แมลงวันแต่ไม่ได้ผลจึงหันมาใช้กับดักแมลงวันสารเคมีถือว่าเป็นปั๗จัยหลักสำคัญที่ทำให้เกิดการตกค้าง ของสารเคมีในอาหาร ซึ่งอาจเป็นอันตรายอย่างยิ่งต่อร่างกายมนุษย์สิ่งแวดล้อม ที่สำคัญเป็นการสิ้นเปลืองค่าใช้จ่าย เราะต้องนำเข้าสารเคมีจากต่างประเทศ จากสภาพปัญหาดังกล่าว ดังนั้น ผู้จัดทำโครงงานจึงมีความคิดที่จะแก้ปัญหาแมลงวันใน ร้านอาหารและในพ้นที่อื่นๆ โดยการทำอุปกรณ์ดักแมลงวันจากขวดน้ำพลาสติกจากเศษวัสดุเหลือใช้เพื่อ ลดปรมาณขยะ และลดการสิ้นเปลืองค่าใช้จ่าย รวมถึงการลดปริมาณแมลงวันในพื้นที่ต่างๆอีกด้วย วัตถุประสงค์ 1. เพื่อทำการศึกษาอุปกรณ์ดักแมลงวันจากขวดน้ำพลาสติก 2. เพื่อทำการทดลองเปรียบเทียบอุปกรณ์ดักแมลงวันจากขวดน้ำพลาสติก ว่าสามารถจับ แมลงวันได้ 3. เพื่อนำขวดพลาสติกที่ไม่ได้ใช้แล้วมประดิษฐ์เป็นสิ่งของที่เกิดประโยชน์ 4. เพื่อกำจัดแมลงวันซึ่งเป็นพาหะนำโรค สมมติฐาน อุปกรณ์ดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก สามารถดักจับแมลงวันได้จริง ซึ่งมีตัวล่อให้แมลงวัลบิน เขาไปติดกับ คือเศษอาหาร ซึ่งอปกรณ์ดักจับแมลงจากขวดพลาสติกนี้ช่วยำจัดแมลงวันได้เป็นอย่างดี
  • 3. 2 ตัวแปรที่จะศึกษา ตัวแปรต้น ลักษณะของอุปกรณ์ดักแมลงวันจากขวดน้ำพลาสติก ตัแปรตาม จำนวนแมลงวัน ตัวแปรควบคุม 1. ปริมาณเศษอาหารที่ใช้เป็นเหยื่อล่อแมลงวัน 2. ขนาดของขวดน้ำพลาสติก ขอบเขตของการศึกษา 1. สิ่งที่ศึกษา อุปกรณ์ดักแมลงวันจากขวดน้ำพลาสติก 2. สถานที่ บ้านหรือร้าค้าใกล้บ้านของสมาชิกในกลุ่ม ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. ทำให้ลดปริมาณแมลงวัน 2. ลดปัญหาโรคที่เกิดจากแมลงวันเป็นพาหะ 3. สามารถนำเศษวัสดุเหลือใช้นำมาใช้ประโยชน์ใหม่ได้ 4. ลดการใช้สารเคมีในการกำจัดแมลงวัน
  • 4. บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ในการศึกษาโครงงานเรื่องอุปกรณ์ดักแมลงวันจากขวดน้ำพลาสติก ผู้จัดทำได้ค้นคว้ารวบรวม ข้อมูลจากเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง และจากเว็บไซด์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ตโดยขอนำเสนอตามลำดับ ดังนี้ แมลงวันเป็นแมลงในอันดับ Diptera (di = สอง,และ ptera = ปีก) มีบน อกปล้องทที่สอง และ ตุ่มปีกหนึ่งคู่ ซึ่งลดรูปจากปีกหลัง บนอกปล้องที่สาม แมลงวันบางชนิดไม่มีปีก โดยเฉพาะใน superfamily Hippoboscoidea อันดับ Diptera เป็นอันดับที่มีขนาดใหญ่ ประกอบด้วย ประมาณ 240,000 ชนิด ของ ยุง, บั่ว, ริ้น และ แมลงวันอื่นๆ แต่มีเพียงครึ่ง (ประมาณ 122,000 ชนิด)ที่ได้รับการจำแนกแล้วเป็นอันดับหลักๆ ที่มี ความสำคัญต่อระบบนิเวศและมนุษย์ (ทางการแพทย์และทางเศรษฐกิจ) ยุงในวงศ์ Culicidae มี ความสำคัญมากโดยเป็นพาหะโรค มาราเรีย, ไข้เลือดออก, ไวรัส West Nile, ไข้เหลือง encephalitis แมลงวันเป็นแมลงที่อาศัยอยู่กับชุมชนมนุษย์ชนิดหนึ่ง ส่วนมากคนจะรู้จักบางชนิด เช่นแมลงวัน บ้าน และแมลงวันหัวเขียว มักจะกินอาหารที่เป็นเนื้อสัตว์ และเศษอาหารตามกองขยะ และชอบหากิน เวลากลางวัน ไม่ชอบแสงแดดจัด รัศมีการหากินอยู่ในวงประมาณ 3 กิโลเมตร แมลงวันบ้าน ลักษณะสำคัญ : ตัวเต็มวัยสีเทา มีแถบสีดำ 4 เส้น พาดอยู่ส่วนอกด้านบน หรือกลางลำตัว ลำตัว ยาวประมาณ 1/8-1/4 นิ้ว ตัวหนอนสีขาวครีม หัวแหลมท้ายป้าน ไม่มีขา ไข่มีขนาดเรียวยาว 1 มม. สี ขาว อาหาร : กินอาหารได้หลายชนิด รวมทั้งของเสีย ตัวเมียวางไข่ได้ครั้งละ 100-150 ฟอง และสามารถวางไข่ได้สูงถึง 600 ฟอง โดยชอบวางไข่ตามกองขยะที่ มีความชื้นสูง หรือสิ่งปฏิกูลต่างๆ ไข่ใช้เวลาฟักตัวประมาณ 6 ชั่วโมง ตัวหนอนลอกคราบประมาณ 3 ครั้ง จากนั้นจะเข้าดักแด้ และฟักเป็นตัวเต็มวัยในระยะเวลา 1-2 สัปดาห์
  • 5. 4 แมลงวันหัวเขียว เป็นแมลงวันที่มีขนาดใหญ่ มีขนาดลำตัว 8-12 มิลลิเมตร ลำตัวสีน้ำเงินแกมเขียว เป็นมัน แมลงวันชนิดนี้ชอบอยู่นอกบ้าน บางครั้งอาจตอมอาหารหรอแหล่งที่มีเชื้อโรค ตัวเต็มวัยจะหากินตามแหล่งอาหารที่มีโปรตีนสูง เช่น เล้าเป็ด ไก่ กองขยะ ตลาด ซากเน่าเปื่อย มูลสัตว์ ก่อให้เกิดความำคาญกับสัตว์และอาจนำโรคมาสู่สัตว์ อาหาร : กินอาหารได้หลายชนิด ของเหลวจากสารอินทรีย์วัตถุ น้ำหวานจากพืช แมลงวันหัวเขียว ใช้ ระยะเวลาในการเจริญเติบโต ตั้งแต่ระยะไข่ ตัวหนอน ดักแด้ และฟักเป็นตัวเต็มวัย เป็นเวลา อย่างน้อย 10 วัน ตัวเมียวางไข่และ ตัวหนอนอาศัยเจริฐเติบโตตามมูลสัตว์ แมลงวัน สามารถนำโรคมาสู่มนุษย์ หรือ สัตว์เลี้ยงได้โดยถ่ายทอดเชื้อโรคที่ติดมากับลำตัว,ปาก หรือขาของแมลง ในขณะที่มันตอมตาในขณะที่มัน ตอมอาหาร หรือสิ่งปฏิกูลต่างๆเมื่อคนรับประทานอาหารที่มีแมลงวันตอมก็จะได้รับเชื้อโรคเข้าสู่ร่างกาย ทำให้เกิดโรคต่างๆหลายชนิด เช่น โรคระบบทางเดินอาหาร ซึ่งได้แก่ โรคท้องร่วง, โรคบิด, ไทฟอยด์, พาราไทฟอยด์, อติวาตกโรค, อาหารเป็นพิษ นอกจากนี้ยังพบว่าสามารถถ่ายทอดเชื้อไวรัสที่เกิดโรค โปลิโอ และไวรัสอื่นๆได้ เช่น โรคตาแดง โรคริดสีดวงตา หรือโรคเยื่อบุตาอักเสบ แมลงวันที่ใกล้ชิดมนุษย์และเป็นปัญหาสาธารณสุขมากอันดับต้นคือแมลงวันบ้าน แมลงวันหลัง ลาย และแมลงวันหัวเขียวซึ่งมีแหล่งเพาะพันธุ์อยู่ใกล้ชุมชนตามแหล่ง ขยะมูลฝอย มูลสัตว์ ปุ๋ย หรือ สิ่งของที่กำลังเน่าโดยแมลงวันสามารถค้นหาหรือเติมอาหารได้โดยอาศัยสิ่งจูงใจคือ ก๊าซ คาร์บอนไดออกไซด์และแอมโมเนียและสารระเหยที่เกิดจากสิ่งเน่าเปื่อยผุพัง การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต แมลงวันออกลูกเป็นไข่และฟักเป็นหนอนแมลงวันและระยะดักแด้จนกลายเป็นตัวเต็มวัยวงจร ชีวิตของแมลงวันตั้งแต่ไข่จนเป็นตัวเต็มวัยกินเวลาประมาณ 8-10 วันเมื่อแมลงวันผสมพันธุ์กันตัวผู้จะเริ่ม ขึ้นขี่ตัวเมียหันหน้าไปทางเดียวกันแต่จะหมุนหันหน้าไปทางตรงกันข้ามในเวลาต่อมาแมลงวันมี ความสามารถในการสืบพันธุ์มากกว่าแมลงอื่นๆและใช้เวลาสั้นกว่าด้วยจึงเป็นสาเหตุให้แมลงวันมี ประชากรจำนวนมาก การเติบโตแบบสมบูรณ์ของแมลงวัน (COMPLETE METAORPHOSIS) ประกอบด้วย 4 ระยะไข่ แมลงวันสามารถผสมพันธุ์ได้ หลังจากเป็นตัวเต็มวัยได้เพียง 18-30 ชั่วโมงเท่านั้นและผสมพันธุ์ เพียงครั้งเดียว หลังจากนั้นก็จะหาแหล่งที่เหมาะสมในการวางไข่ โดยจะค้นหาแหล่งดังกล่าวโดยอาศัย กลิ่นเป็นตัวนำทาง มันจะเริ่มวางไข่ในที่ลับตา แสงแดดส่องไม่ถึง และมีความชื้นสูงโดยวางเป็นกลุ่มๆ
  • 6. 5 ประมาณ 120 ฟอง ตัวเมียบางตัวสามารถวางไข่ได้มากกว่า 10 ครั้งในชั่ว ชีวิตดังนั้นแมลงวันตัวเมีย 1 ตัว สามารถขยายพันธุ์ได้ 200-1,000 ฟองไข่แมลงวันมีระยะฟักภายใน 6-12 ชั่วโมง ระยะตัวอ่อน หรือหนอน มีรูปร่าง เรียวยาว ปลายด้านของใหญ่ หัวหรือปากเรียวแหลมและแข็ง ตัวอ่อนจะกิน ของกำลังเน่าเหม็นมักชอบกลิ่นแอมโมเนีย หรือกลิ่นของยีสต์เป็นพิเศษตัวอ่อนจะกินอาหารมากจนเข้า ใกล้ระยะดักแด้จึงจะหยุดกินอาหาร ระยะนี้กินเวลา 6-7 วัน ระยะเข้าดักแด้ เมื่อหนอนหยุดกินจะเริ่มคลานไปสู่ที่แห้งๆ เพื่อเริ่มปรับเปลี่ยนร่างกาย โดยหดตัวเองให้สั้นลงจน มีลักษณะอ้วนสั้น ผนังลำตัวจะแข็งขึ้นเพื่อห่อหุ้มตัวหนอน ระยะนี้ใช้เวลา 3-4 วัน ก็จะเข้าสู่ระยะตัวโต เต็มวัย เหยื่อล่อแมลงวัน ปลาร้า หรือ ปลาแดก ในภาษาอีสานเป็นอาหารท้องถิ่นภาคอีสาน ของไทย และ ลาว รวมถึง บางส่วนของเวียดนาม โดยมักทำจากปลาน้ำจืดขนาดเล็ก เช่น ปลาสร้อยขาว ปลากระดี่ มาหมักกับรำ ข้าวและเกลือ แล้วบรรจุใส่ไห โดยทั่วไปจะหมักไว้ 7-8 เดือนและนำมารับประทานได้ โดยในบางที่มี ค่านิยมว่าหมักให้เกิดหนอนจะยิ่งเพิ่มรสชาติยิ่งขึ้นปัจจุบันการทำปลาร้าได้พัฒนาขึ้นไปสู่ระดับสากลมาก ขึ้น มีปลาร้าพาสเจอร์ไรซ์ เพื่อฆ่าเชื้อโรคก่อนด้วย หรือปลาร้าอนามัย แต่ส่วนใหญ่ ปลาร้าก็ยังนิยมทำ แบบเดิม โดยตักขายตามน้ำหนักตามตลาดสดต่างๆ ซึ่งปลาร้านี้มีกลิ่นเหม็นมากจึงเป็นเหยื่อล่อแมลงวัน ได้อย่างดี งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง กล้าณรงค์ วงศ์พิทักษ์.(2550).กล่าวว่า แมลงวัน เป็นพาหะนําโรคที่เป็นอันตราย แมลงวันที่พบ เห็นบ่อยเป็นแมลงวันบ้าน (House fly : Musca domestica) มีขนาดลำตัวยาวประมาณ 6-9 มิลลิเมตร ตัวเมียจะวางไข่ในมูลสัตว์หรือซากสัตว์ที่เน่าเปื่อย โดยวางไข่ครั้งละ 75-150 ฟองและจะวางไข่ทุกๆ 3-4 วันตลอดชั่วอายุจะวางไข่ประมาณ 6 ครั้ง ทำให้ไม่สามารถกำจัดแมลงวันให้หมดไปได้ ภาคอีสานยังมี อาหารที่แมลงวันชอบคือปลาร้า ปลาจ่อม
  • 7. 6 การใช้กับดักสำเร็จรูปแต่มีราคาแพง (150-300 บาท) จึงไม่ได้รับความสนใจเนื่องจากในพื้นที่รับผิดชอบส่วนใหญ่มีฐานะยากจน อยู่บ้านเฉพาะผู้สูงอายุ และเด็กจึงมีภาระที่ต้องใช้เงินด้านอื่นโดยส่วนใหญ่ร้านค้าขายของชำในหมู่บ้านจะใช้ถุงน้ำใสแขวนไล่ แมลงวันแต่ไม่ได้ผลจึงหันมาใช้กาวดักแมลงวันและสารเคมีถือว่าเป็นปัจจัยสำคัญที่อาจทำให้เกิดการ ตกค้างของสารเคมีในอาหารหรือสิ่งอุปโภคบริโภคได้ นิรุตติ์ ปลื้มกระจ่าง.(2552).กล่าวว่า โรคอุจจาระร่วง และโรคระบบทางเดินอาหาร เป็น โรคติดต่อที่มีอัตราการเกิดสูงมาก โดยเฉพาะในหน้าร้อน โดยมีพาหะนำโรคที่สำคัญคือ แมลงวัน ดังนั้น ผู้วิจัยจึงคิดประดิษฐ์นวัตกรรมเครื่องดักจับแมลงวัน เพื่อลดจำนวนแมลงวันซึ่งเป็นพาหะนำโรคซึ่งส่งผลให้ อัตราการป่วยของโรคในระบบทางเดินอาหารลดลง โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อประดิษฐ์นวัตกรรมสำหรับการ กำจัดแมลงวันในชุมชน
  • 8. บทที่ 3 อุปกร์และวิธีการทดลอง อุปกรณ์ 1. ขวดน้ำพลาสติ 2. คัดเตอร์ 1 อัน 3. เหยื่อล่อแมลงวัน (เศษอาหาร) วิธีทำ 1. เตรียมขวดพลาสติกขนาด 1,500 ซีซี 2. วัดระยะจากฐานขวดสูง 9.5 เซนติเมตร ตัดขวดออกเป็น 2 ส่วนคือส่วนที่ 1 ปากขวด และส่วนที่ 2 ส่วนฐาน 3. นำกระดาษสีดำกว้าง 7 เซนติเมตร ยาว 30 เซนติเมตร ติดกาวพันรอบฐานของขวด ส่วนที่ 2 4. ประกอบส่วนที่ 1 ปากขวดและส่วนที่ 2 ส่วนฐาน เข้าด้วยกันได้เครื่องดักจับแมลงวัน อย่างง่าย 5. เจาะรูขนาดเท่ากับฝาปิดขวดรูปวงกลมบริเวณฐานของเครื่องดักจับแมลงวันสูงจาก ฐาน 1 เซนติเมตร