SlideShare a Scribd company logo
1 of 30
Download to read offline
ความหมายของวรรณคดี
- วรรณคดี มาจาก วรรณ + คดี
                วรรณ คือ พรรณ = ผิว = หนังสือ
                คดี คือ แนวทาง
- วรรณคดี ตามความหมายของ วรรณคดีสโมสร (ในรัชกาลที่ ๖)
   วรรณคดี คือ หนังสือทีแต่งดี (อายุ,ภาษา,สาระแต่งดี (วรรณศิ ลป์ ))
                        ่
- วรรณคดีในภาษาไทย ตรงกับคาว่า Literature ในภาษาอังกฤษ

                      ่
“วรรณคดี คือ หนังสือทีแต่ งดี ได้ รับการยอมรั บ”
อ่ านวรรณคดี เพื่ออะไร
                              การอ่านวรรณคดี
๑. เพื่อทาความเข้ าใจบทประพันธ์
๒. ทาความเข้ าใจกับสิ่งที่กวีจะสือถึงเรา
                                 ่
๓. เพื่อเข้ าใจอารมณ์ของกวี
๔. สร้ างจินตภาพเพื่อเข้ าใจสารที่กวีต้องการจะสื่อ
๕. ไม่ ใช่ เพื่อการอ่ านสอบเพียงอย่ างเดียว
        สิ่งสาคัญในการอ่ านวรรณคดี จะเอาบรรทัดฐาน
     ในสังคมปั จจุบันไปตัดสินเรื่องราวทีต่างยุคต่ างสมัย
                                          ่
• วรรณคดี เป็ นมรดกที่ตกทอดมาจากบรรพบุรุษ สามารถสะท้อน
  ชีวตความเป็ นอยูของคนในสมัยนัน
      ิ           ่            ้
• ผูประพันธ์มกสอดแทรกแนวคิด คติสอนใจ และปรัชญาชีวต
    ้         ั                                  ิ
  ของ....ผูประพันธ์
           ้
• เกิดความประทับใจ มีความรูสกร่วมไปกับกวี
                           ้ ึ

    วรรณคดีจึงมีคุณค่าทั้งในด้านประวัติศาสตร์ สังคม
อารมณ์ และคติ-เตือนใจ รวมทั้งมีคุณค่าในด้านวรรณศิลป์ด้วย
• เครื่องเชิดชูอารยธรรมของชาติ และมีคุณค่าเป็ นหลักฐาน
  ทางโบราณคดี
• ส่งเสริมให้ผูอ่านมีสุนทรียะทางอารมณ์ และเข้าใจความ-
               ้
  จริงของโลกได้มากขึน  ้
• กระจกเงาสะท้อนภาพสังคม และวัฒนธรรม
• ความรูเกียวกับขนบธรรมเนียมประเพณี
          ้ ่
• บันทึกทางประวัตศาสตร์ทสาคัญ(๕/๖)
                   ิ        ่ี
การอ่านวรรณคดีนั้นเพื่อความรู้ และความ
บันเทิง โดยอ่ า นให้ไ ด้ความไพเราะของภาษา
หรือทราบแนวคิดของกวี
    การอ่ านวร ร ณค ดี ใ ห้ ไ ด้ รั บประ โยช น์
มีแนวทางการอ่านดังนี้
๑. ไม่อานวรรณคดีเพือความเพลิดเพลินเพียงอย่างเดียว
       ่           ่
    ผู้อานต้ องอ่านอย่างวิเคราะห์ เพื่อ
        ่
       - ให้ทราบแนวคิ ดของผูแต่ง
                             ้
       - ให้ทราบเหตุการณ์ต่างๆในเรื ่อง
๒. ควรวิจกษ์วรรณคดี เรืองทีอานด้วย
             ั           ่ ่่
         เมื่ออ่านวรรณคดีจบ ผู้อานจะต้ องสามารถแสดง
                                ่
   ความคิดเห็น วิจารณ์ หรื อประเมินค่ า วรรณคดี
   เรื่ องนันได้
               ้
๓. เลือกอ่านวรรณคดีทมคณค่า
                    ี่ ี ุ
       ควรเลื อ กอ่ า นวรรณคดี ที่ ไ ด้ รั บ การยกย่ อ ง
   เพราะวรรณคดีเรื่องนั้นจะต้ องได้ รับการคัดเลือก
   และกลันกรองมาแล้ว
            ่
       วรรณคดีเรื่ องนั้นจะมีความอมตะ เนื้อเรื่ องมี
   ข้ อ คิ ด สามารถน ามาใช้ ได้ กั บ ชี วิ ต ประจ าวั น
   ไพเราะงดงาม แม้ นผ่ านเวลามานานแล้ วก็ตาม
ค าว่ า วรรณคดี หมายถึ ง หนั ง สื อ ที่ ไ ด้ รั บ การยก
ย่ องว่ าแต่ งดี มีคุณค่ า ซึ่งคาว่ า วรรณคดี ได้ ประกาศใช้
พระราชกฤษฎีกา การตั้งวรรณคดีสโมสรใน พ.ศ.
๒๔๕๗ รั ชสมัยของรั ชกาล ที่ ๖ และหนังสื อที่จัดว่ า
เป็ นวรรณคดี ได้ แ ก่ กวี นิ พ นธ์ ละครไทย นิ ท าน
ละครพูด และพงศาวดาร
การวิจักษ์ หมายถึง ...
    ที่ร้ ูแจ้ ง
    ที่เห็น แจ้ ง
    ฉลาด
    มีสติปัญญา
    เชี่ยวชาญ เข้ าใจแจ่มแจ้ ง
     และประจักษ์ ในคุณค่า
การวิจักษ์วรรณคดี หมายถึง ...
     การพิจารณาว่าหนังสือนั้นๆ แต่งดีอย่างไร ใช้ถ้อยคา
ไพเราะลึ ก ซึ้ ง กิ น ใจ หรื อ มี ค วามงามอย่ า งไร มี คุ ณ ค่ า
ให้ ค วามรู้ ข้ อ คิ ด คติ ส อนใจ หรื อ ชี้ ใ ห้ เ ห็ น สภาพชี วิ ต
ความคิดของคนในสังคมอย่างไร
หลักในการวิจกษ์วรรณคดี พิจารณาได้ ๔ แบบ ดังนี้
             ั
๑. อ่านอย่างพินจพิจารณา
               ิ
       อ่านโดยใช้ การวิเคราะห์ เนื อหาทังหมด และสิ่ง
                                   ้    ้
    แฝงเร้ นภายในหนังสือ
หลักในการวิจกษ์วรรณคดี
              ั
๒. ค้นหาความหมายพืนฐาน้
         ความหมายพื ้นฐานหรื อความหมายตามตัวอักษร
    ผู้อ่านสามารถค้ นหาได้ จากข้ อความที่ผ้ ูแต่งได้ แฝง
    เร้ นเอาไว้ โดยแลกเปลี่ ย นความรู้ กับ เพื่ อ นๆ แล้ ว
    จัดลาดับความสาคัญของเรื่ องว่าใคร ทาอะไร ที่ไหน
    ผลเป็ นอย่างไร
หลักในการวิจกษ์วรรณคดี
              ั
๓. รับรูอารมณ์ของบทประพันธ์
         ้
        พยายามรั บ รู้ ความรู้ สึ ก อารมณ์ ข องผู้เ ขี ย นที่
    สอดแทรกลงในบทประพั น ธ์ นั น ๆ ถ้ าผู้ อ่ า นรั บ รู้
                                       ้
    อารมณ์ ความรู้สกตรงตามเจตนาของผู้สงสาร
                    ึ                         ่
    เมื่ออ่านออกเสียงจะทาให้
   บทประพันธ์นนไพเราะยิ่งขึ ้น
                 ั้
หลักในการวิจกษ์วรรณคดี
              ั
๔. ค้นหาความหมายของบทประพันธ์
       หลั ก การค้ นหาความหมายของบทประพั น ธ์
    มีดงนี ้
       ั
๔.๑ ค้ นหาความหมายตามตัวหนังสือ
       คื อ ค าที่ ไ ม่ เ ข้ าใจความหมายให้ ค้ นหาใน
    คาอธิบายศัพท์ พจนานุกรม และอภิธานศัพท์
๔.๒ ค้ นหาความหมายแฝง
        คือ ความหมายที่ต้องตีความ ซึ่งกวีอาจใช้ คาที่เป็ น
   สัญ ลัก ษณ์ เพื่ อ เสนอสารอัน เป็ นความคิ ดหลัก ของผู้
   แต่ง เช่น
        ภพนี้มิใช่หล้า      หงส์ทอง เดียวเอย
   กาก็เจ้าของครอง          ร่วมด้วย
   เมาสมมติจองหอง           หีนชาติ
   แล้งน้้ามิตรโลกม้วย      หมดสิ้นสุขศานต์
                                     อังคาร กัลยาณพงศ์
๔.๓ การแสวงหาข้ อคิดอันเป็ นประโยชน์ ในตัวบทของ
   วรรณคดี
       คือ ผู้อ่านรู้ สึกเช่นนันเพราะมี เหตุผลอย่างไร มี
                               ้
   หลักฐานอะไร และมีคาใดที่บ่งชี ้ให้ ผ้ อ่านรู้ สึกอย่าง
                                           ู
   นัน เช่น...
     ้
   - ขุนช้ าง ขุนแผน
   - พระอภัยมณี
หลักในการวิจกษ์วรรณคดี
                ั
๕. พิจารณาว่ากวีใช้กลวิธใดในการแต่งคาประพันธ์
                          ี
        สามารถค้ นหาได้ จากวิธีสร้ างสรรค์ในกวีนิพนธ์
    ดังนี ้
๕.๑ การใช้ บรรยายโวหาร
        คือ การใช้ คาอธิ บาย เล่าเรื่ องรายละเอียดต่างๆ
    ให้ เข้ าใจตามลาดับเหตุการณ์
๕.๒ การใช้ พรรณนาโวหาร
      คื อ การอธิ บ ายความโดยการสอดแทรกอารมณ์
   ความรู้ สึก หรื อให้ รายละเอียดอย่างลึกซึ ้งของผู้แต่ง ลงไป
   ในเรื่ องนันๆ ทาให้ ผ้ ูอ่านเกิดอารมณ์สะเทือนใจคล้ อยตาม
              ้
   ไปกับบทประพันธ์ เช่น
      “อุรารานร้าวแยก           ยลสยบ
   เอนพระองค์ลงทบ               ท่าวดิ้น
   เหนือคอคชซอนซบ               สังเวช
   วายชีวาตม์สุดสิ้น            สู่ฟ้าเสวยสวรรค์ ” (ลิลิตตะเลงพ่าย)
๕.๓ การใช้ เทศนาโวหาร
      คือ กลวิธีที่ใช้ โวหารในการกล่าวสังสอนอย่างมี
                                              ่
  เหตุผลประกอบ
                                 “ถ้าท้าดีก็จะดีเป็นศรีศักดิ์
                          ถ้าท้าชั่วชั่วจักตามสนอง
                          ความชั่วเราลี้ลับอย่ากลับตรอง
                          นอนแล้วมองดูผิดในกิจการ”
                                                   (สุภาษิตพระร่วง)
๕.๔ การใช้ สาธกโวหาร
        คือ การยกตัวอย่างหรื อเรื่ องราวมาประกอบเพื่อ
   เพิ่ ม รายละเอี ย ด หรื อ สิ่ ง ที่ น่ า รู้ ลงในข้ อ ความให้
   เข้ าใจชัดเจนยิ่งขึ ้น
๕.๕ การใช้ อปมาโวหาร
            ุ
       คื อ โวหารที่ ใ ช้ ก ล่า วเปรี ย บเที ย บ มัก ใช้ คู่กับ อุป มัย
   อุปมาเป็ นสิ่งหรื อข้ อความที่ยกมาเปรี ยบ ส่วนอุปมัย คือ
   ข้ อความที่เปรี ยบเทียบกับสิ่งอื่นให้ เข้ าใจแจ่มแจ้ ง เช่น
      “หนังสือเหมือนเพื่อนชีวิตเข็มทิศโลก
   ให้สุขโศกให้ปัญญาให้หน้าที่
   จ้า คิด รู้ ประทีปส่องตรองชั่วดี
   สมศักดิ์ศรีสมคุณค่า พัฒนาคน”           (หนังสือจันทร์แสง)
๕.๖ พิจารณาความงาม ความไพเราะของการใช้ ถ้อยคา และ
   เสียงเสนาะ
        คื อ พิ จ ารณาว่ า มี สั ม ผั ส นอก สั ม ผั ส ใน สั ม ผั ส สระ
   สั ม ผั ส พยั ญ ชนะอย่ า งไร มี เ สี ย งหนั ก เบา มี จั ง หวะ และ
   ท่วงทานองลีลาอย่างไร
                             “ถึงเขากวางขวางว่างเวิ้งชะวากวุ้ง
                       เขาเรียกทุ่งสงขลาพนาสัณฑ์
                       เป็นป่ารอบขอบเขินเนินอรัญ
                       นกเขาขันคูเรียกกันเพรียกไพร ”
                                                  (นิราศเมืองแกลง)
การพิจารณาคุณค่าบทประพันธ์ แบ่งออกได้เป็น ๒
  ประเภท คือ
๑ . คุณค่าด้านวรรณศิลป์
     - การเลือกใช้คาภาษากวี
     - การเลือกใช้คาทีมเสียงเสนาะ
                      ่ ี
     - รสความ
     - รสสัมผัส
 ๒. คุณค่าด้านสังคม
ท า ใ ห้ ผู้ อ่ า น ม อ ง เ ห็ น คุ ณ ค่ า ที่ ผู้ แต่ ง ตั ง ใ จ
                                                              ้
สอดแทรกเอาไว้ เห็นความงาม ความไพเราะของ
วร ร ณค ดี ท า ให้ อ่ า น ง าน ป ระ พั น ธ์ นั น อย่ า ง
                                                       ้
สนุกสนาน เพลิดเพลิน และได้ รับรสไพเราะอย่างอิ่ม
เอมใจ ซาบซึ ้ง
ขณะเดี ย วกั น เกิ ด ความตระหนั ก ในคุ ณ ค่ า
ของงานประพัน ธ์ และเกิ ด ความภูมิ ใ จในฐานะ
ที่เป็ นมรดกของชาติ ซึ่งควรค่าแก่การอนุรักษ์ และ
สืบทอดต่อไป
วรรณคดีสอนให้เข้าใจชาติ
    รู้เอกราชเป็นชาติเป็นศักดิ์ศรี
สรรค์ค้าถ้อยร้อยรสเป็นบทกวี
เราโชคดีที่มีบรรพ์สรรค์สร้างมา
การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]

More Related Content

What's hot

ร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพkhorntee
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓kruthai40
 
การอ่านแปลความ ตีความและขยายความ
การอ่านแปลความ ตีความและขยายความการอ่านแปลความ ตีความและขยายความ
การอ่านแปลความ ตีความและขยายความSurapong Klamboot
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาพัน พัน
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานRawinnipha Joy
 
เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑พัน พัน
 
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่ายงานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่ายSantichon Islamic School
 
ประวัติที่มาของเรื่อง1
ประวัติที่มาของเรื่อง1ประวัติที่มาของเรื่อง1
ประวัติที่มาของเรื่อง1Tae'cub Rachen
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์คัมภีร์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์tabparid
 
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆเปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆAnchalee BuddhaBucha
 
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิงคำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิงWan Wan
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docx
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docxหน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docx
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docxSophinyaDara
 
แบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธาแบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธาkrudow14
 
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4Sivagon Soontong
 
งานนำเสนอ มหาเวสสันดรชาดก กันฑ์กุมาร
งานนำเสนอ มหาเวสสันดรชาดก กันฑ์กุมารงานนำเสนอ มหาเวสสันดรชาดก กันฑ์กุมาร
งานนำเสนอ มหาเวสสันดรชาดก กันฑ์กุมารSantichon Islamic School
 
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙Nongkran Jarurnphong
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์1
หลักฐานทางประวัติศาสตร์1หลักฐานทางประวัติศาสตร์1
หลักฐานทางประวัติศาสตร์1montira
 

What's hot (20)

ร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพ
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
 
การอ่านแปลความ ตีความและขยายความ
การอ่านแปลความ ตีความและขยายความการอ่านแปลความ ตีความและขยายความ
การอ่านแปลความ ตีความและขยายความ
 
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
 
ประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อน
 
การใช้โวหารในภาษาไทย
การใช้โวหารในภาษาไทยการใช้โวหารในภาษาไทย
การใช้โวหารในภาษาไทย
 
เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
 
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่ายงานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
 
ประวัติที่มาของเรื่อง1
ประวัติที่มาของเรื่อง1ประวัติที่มาของเรื่อง1
ประวัติที่มาของเรื่อง1
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์คัมภีร์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์
 
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆเปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
เปรียบเทียบความเชื่อเรื่องความดีความชั่วในศาสนาต่างๆ
 
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิงคำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docx
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docxหน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docx
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docx
 
แบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธาแบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธา
 
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
 
งานนำเสนอ มหาเวสสันดรชาดก กันฑ์กุมาร
งานนำเสนอ มหาเวสสันดรชาดก กันฑ์กุมารงานนำเสนอ มหาเวสสันดรชาดก กันฑ์กุมาร
งานนำเสนอ มหาเวสสันดรชาดก กันฑ์กุมาร
 
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์1
หลักฐานทางประวัติศาสตร์1หลักฐานทางประวัติศาสตร์1
หลักฐานทางประวัติศาสตร์1
 

Viewers also liked

ความรู้พื้นฐานด้านวรรณคดี
ความรู้พื้นฐานด้านวรรณคดีความรู้พื้นฐานด้านวรรณคดี
ความรู้พื้นฐานด้านวรรณคดีWatcharapol Wiboolyasarin
 
สรุปหัวใจชายหนุ่ม
สรุปหัวใจชายหนุ่มสรุปหัวใจชายหนุ่ม
สรุปหัวใจชายหนุ่มNattha-aoy Unchai
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์kingkarn somchit
 

Viewers also liked (6)

วรรณคดี
วรรณคดีวรรณคดี
วรรณคดี
 
ความรู้พื้นฐานด้านวรรณคดี
ความรู้พื้นฐานด้านวรรณคดีความรู้พื้นฐานด้านวรรณคดี
ความรู้พื้นฐานด้านวรรณคดี
 
หน่วยที่ 11 บทละครในเรื่องอิเหนา
หน่วยที่ 11 บทละครในเรื่องอิเหนาหน่วยที่ 11 บทละครในเรื่องอิเหนา
หน่วยที่ 11 บทละครในเรื่องอิเหนา
 
สรุปหัวใจชายหนุ่ม
สรุปหัวใจชายหนุ่มสรุปหัวใจชายหนุ่ม
สรุปหัวใจชายหนุ่ม
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทย
 

Similar to การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]

ประวัติของวรรณคดี
ประวัติของวรรณคดีประวัติของวรรณคดี
ประวัติของวรรณคดีRuangrat Watthanasaowalak
 
หนังสืออ้างอิง...
หนังสืออ้างอิง...หนังสืออ้างอิง...
หนังสืออ้างอิง...krujee
 
วรรณกรรมท้องถิ่น ภูมิหลัง
วรรณกรรมท้องถิ่น  ภูมิหลังวรรณกรรมท้องถิ่น  ภูมิหลัง
วรรณกรรมท้องถิ่น ภูมิหลังchontee55
 
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55วิเคราะห์หลักสูตรไทย55
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55Nun'Top Lovely LoveLove
 
ความสำคันและคุณค่าวรรณกรรม
ความสำคันและคุณค่าวรรณกรรมความสำคันและคุณค่าวรรณกรรม
ความสำคันและคุณค่าวรรณกรรมalibaba1436
 
ภูมิปัญญาทางภาษา
ภูมิปัญญาทางภาษาภูมิปัญญาทางภาษา
ภูมิปัญญาทางภาษาluckkhana
 
นวนิยาย(วราภรณ์)(1)
นวนิยาย(วราภรณ์)(1)นวนิยาย(วราภรณ์)(1)
นวนิยาย(วราภรณ์)(1)Mu Koy
 
การวิจารณ์วรรณคดีตามแนวตะวันออก
การวิจารณ์วรรณคดีตามแนวตะวันออกการวิจารณ์วรรณคดีตามแนวตะวันออก
การวิจารณ์วรรณคดีตามแนวตะวันออกWatcharapol Wiboolyasarin
 
วิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จ
วิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จวิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จ
วิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จNat Ty
 
เรียงความ
เรียงความเรียงความ
เรียงความkroonoi06
 
การอ่านพินิจสาร บทร้อยแก้ว และ บทร้อยกรอง
การอ่านพินิจสาร บทร้อยแก้ว และ บทร้อยกรองการอ่านพินิจสาร บทร้อยแก้ว และ บทร้อยกรอง
การอ่านพินิจสาร บทร้อยแก้ว และ บทร้อยกรองพัน พัน
 
บทนมัสการมาตาปิตุคุณ1
บทนมัสการมาตาปิตุคุณ1บทนมัสการมาตาปิตุคุณ1
บทนมัสการมาตาปิตุคุณ1Mameaw Pawa
 
นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52panneem
 
นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52panneem
 

Similar to การอ่านวรรณคดี ม.๕[1] (20)

ประวัติของวรรณคดี
ประวัติของวรรณคดีประวัติของวรรณคดี
ประวัติของวรรณคดี
 
หนังสืออ้างอิง...
หนังสืออ้างอิง...หนังสืออ้างอิง...
หนังสืออ้างอิง...
 
วรรณกรรมท้องถิ่น ภูมิหลัง
วรรณกรรมท้องถิ่น  ภูมิหลังวรรณกรรมท้องถิ่น  ภูมิหลัง
วรรณกรรมท้องถิ่น ภูมิหลัง
 
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55วิเคราะห์หลักสูตรไทย55
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55
 
ความสำคันและคุณค่าวรรณกรรม
ความสำคันและคุณค่าวรรณกรรมความสำคันและคุณค่าวรรณกรรม
ความสำคันและคุณค่าวรรณกรรม
 
ภูมิปัญญาทางภาษา
ภูมิปัญญาทางภาษาภูมิปัญญาทางภาษา
ภูมิปัญญาทางภาษา
 
นวนิยายพร้อมส่ง
นวนิยายพร้อมส่งนวนิยายพร้อมส่ง
นวนิยายพร้อมส่ง
 
Nuntanakan2
Nuntanakan2Nuntanakan2
Nuntanakan2
 
Nuntanakan2
Nuntanakan2Nuntanakan2
Nuntanakan2
 
นวนิยาย(วราภรณ์)(1)
นวนิยาย(วราภรณ์)(1)นวนิยาย(วราภรณ์)(1)
นวนิยาย(วราภรณ์)(1)
 
การวิจารณ์วรรณคดีตามแนวตะวันออก
การวิจารณ์วรรณคดีตามแนวตะวันออกการวิจารณ์วรรณคดีตามแนวตะวันออก
การวิจารณ์วรรณคดีตามแนวตะวันออก
 
วิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จ
วิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จวิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จ
วิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จ
 
เรียงความ
เรียงความเรียงความ
เรียงความ
 
การอ่านพินิจสาร บทร้อยแก้ว และ บทร้อยกรอง
การอ่านพินิจสาร บทร้อยแก้ว และ บทร้อยกรองการอ่านพินิจสาร บทร้อยแก้ว และ บทร้อยกรอง
การอ่านพินิจสาร บทร้อยแก้ว และ บทร้อยกรอง
 
บทนมัสการมาตาปิตุคุณ1
บทนมัสการมาตาปิตุคุณ1บทนมัสการมาตาปิตุคุณ1
บทนมัสการมาตาปิตุคุณ1
 
งานด่วน
งานด่วนงานด่วน
งานด่วน
 
งานด่วน
งานด่วนงานด่วน
งานด่วน
 
นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52
 
นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52
 
Script 05 2
Script 05 2Script 05 2
Script 05 2
 

More from นิตยา ทองดียิ่ง

หนังสืออ่านเพิ่มเติมมัทนะพาธา
หนังสืออ่านเพิ่มเติมมัทนะพาธา  หนังสืออ่านเพิ่มเติมมัทนะพาธา
หนังสืออ่านเพิ่มเติมมัทนะพาธา นิตยา ทองดียิ่ง
 
Microsoft power point หลัการการวิจารณ์วรรณคดี
Microsoft power point   หลัการการวิจารณ์วรรณคดีMicrosoft power point   หลัการการวิจารณ์วรรณคดี
Microsoft power point หลัการการวิจารณ์วรรณคดีนิตยา ทองดียิ่ง
 
Microsoft word ข้อสอบปลายภาคที่ 1 มอหกปี2555
Microsoft word   ข้อสอบปลายภาคที่  1 มอหกปี2555Microsoft word   ข้อสอบปลายภาคที่  1 มอหกปี2555
Microsoft word ข้อสอบปลายภาคที่ 1 มอหกปี2555นิตยา ทองดียิ่ง
 
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]นิตยา ทองดียิ่ง
 
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]นิตยา ทองดียิ่ง
 
เล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าว
เล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าวเล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าว
เล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าวนิตยา ทองดียิ่ง
 
Microsoft word แบบฝึกอ่านนิทานเรื่องธาตุก่องข้าวน้อย
Microsoft word   แบบฝึกอ่านนิทานเรื่องธาตุก่องข้าวน้อยMicrosoft word   แบบฝึกอ่านนิทานเรื่องธาตุก่องข้าวน้อย
Microsoft word แบบฝึกอ่านนิทานเรื่องธาตุก่องข้าวน้อยนิตยา ทองดียิ่ง
 
Microsoft word แบบฝึกอ่านนิทานเรื่องธาตุก่องข้าวน้อย
Microsoft word   แบบฝึกอ่านนิทานเรื่องธาตุก่องข้าวน้อยMicrosoft word   แบบฝึกอ่านนิทานเรื่องธาตุก่องข้าวน้อย
Microsoft word แบบฝึกอ่านนิทานเรื่องธาตุก่องข้าวน้อยนิตยา ทองดียิ่ง
 
แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณจากข่าว
แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณจากข่าวแบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณจากข่าว
แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณจากข่าวนิตยา ทองดียิ่ง
 

More from นิตยา ทองดียิ่ง (20)

หนังสืออ่านเพิ่มเติมมัทนะพาธา
หนังสืออ่านเพิ่มเติมมัทนะพาธา  หนังสืออ่านเพิ่มเติมมัทนะพาธา
หนังสืออ่านเพิ่มเติมมัทนะพาธา
 
Pptลิลิตตะเลงพ่าย
Pptลิลิตตะเลงพ่ายPptลิลิตตะเลงพ่าย
Pptลิลิตตะเลงพ่าย
 
ปก
ปกปก
ปก
 
Microsoft power point หลัการการวิจารณ์วรรณคดี
Microsoft power point   หลัการการวิจารณ์วรรณคดีMicrosoft power point   หลัการการวิจารณ์วรรณคดี
Microsoft power point หลัการการวิจารณ์วรรณคดี
 
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
 
Microsoft word ข้อสอบปลายภาคที่ 1 มอหกปี2555
Microsoft word   ข้อสอบปลายภาคที่  1 มอหกปี2555Microsoft word   ข้อสอบปลายภาคที่  1 มอหกปี2555
Microsoft word ข้อสอบปลายภาคที่ 1 มอหกปี2555
 
โคลนติดล้อ (สอน Ppt)[1]
โคลนติดล้อ (สอน Ppt)[1]โคลนติดล้อ (สอน Ppt)[1]
โคลนติดล้อ (สอน Ppt)[1]
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
 
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
 
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
 
๒. วิเคราะห์โคลง[1]
๒. วิเคราะห์โคลง[1]๒. วิเคราะห์โคลง[1]
๒. วิเคราะห์โคลง[1]
 
เล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าว
เล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าวเล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าว
เล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าว
 
บทความการออกแบบการสอน
บทความการออกแบบการสอนบทความการออกแบบการสอน
บทความการออกแบบการสอน
 
บทความการออกแบบการสอน
บทความการออกแบบการสอนบทความการออกแบบการสอน
บทความการออกแบบการสอน
 
บทความการออกแบบการสอน
บทความการออกแบบการสอนบทความการออกแบบการสอน
บทความการออกแบบการสอน
 
Microsoft word หนึ่งแสนครูดี
Microsoft word   หนึ่งแสนครูดีMicrosoft word   หนึ่งแสนครูดี
Microsoft word หนึ่งแสนครูดี
 
Microsoft word แบบฝึกอ่านนิทานเรื่องธาตุก่องข้าวน้อย
Microsoft word   แบบฝึกอ่านนิทานเรื่องธาตุก่องข้าวน้อยMicrosoft word   แบบฝึกอ่านนิทานเรื่องธาตุก่องข้าวน้อย
Microsoft word แบบฝึกอ่านนิทานเรื่องธาตุก่องข้าวน้อย
 
Microsoft word แบบฝึกอ่านนิทานเรื่องธาตุก่องข้าวน้อย
Microsoft word   แบบฝึกอ่านนิทานเรื่องธาตุก่องข้าวน้อยMicrosoft word   แบบฝึกอ่านนิทานเรื่องธาตุก่องข้าวน้อย
Microsoft word แบบฝึกอ่านนิทานเรื่องธาตุก่องข้าวน้อย
 
แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณจากข่าว
แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณจากข่าวแบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณจากข่าว
แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณจากข่าว
 
Microsoft word แบบฝึกตำรา
Microsoft word   แบบฝึกตำราMicrosoft word   แบบฝึกตำรา
Microsoft word แบบฝึกตำรา
 

การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]

  • 1.
  • 2. ความหมายของวรรณคดี - วรรณคดี มาจาก วรรณ + คดี วรรณ คือ พรรณ = ผิว = หนังสือ คดี คือ แนวทาง - วรรณคดี ตามความหมายของ วรรณคดีสโมสร (ในรัชกาลที่ ๖) วรรณคดี คือ หนังสือทีแต่งดี (อายุ,ภาษา,สาระแต่งดี (วรรณศิ ลป์ )) ่ - วรรณคดีในภาษาไทย ตรงกับคาว่า Literature ในภาษาอังกฤษ ่ “วรรณคดี คือ หนังสือทีแต่ งดี ได้ รับการยอมรั บ”
  • 3. อ่ านวรรณคดี เพื่ออะไร การอ่านวรรณคดี ๑. เพื่อทาความเข้ าใจบทประพันธ์ ๒. ทาความเข้ าใจกับสิ่งที่กวีจะสือถึงเรา ่ ๓. เพื่อเข้ าใจอารมณ์ของกวี ๔. สร้ างจินตภาพเพื่อเข้ าใจสารที่กวีต้องการจะสื่อ ๕. ไม่ ใช่ เพื่อการอ่ านสอบเพียงอย่ างเดียว สิ่งสาคัญในการอ่ านวรรณคดี จะเอาบรรทัดฐาน ในสังคมปั จจุบันไปตัดสินเรื่องราวทีต่างยุคต่ างสมัย ่
  • 4.
  • 5. • วรรณคดี เป็ นมรดกที่ตกทอดมาจากบรรพบุรุษ สามารถสะท้อน ชีวตความเป็ นอยูของคนในสมัยนัน ิ ่ ้ • ผูประพันธ์มกสอดแทรกแนวคิด คติสอนใจ และปรัชญาชีวต ้ ั ิ ของ....ผูประพันธ์ ้ • เกิดความประทับใจ มีความรูสกร่วมไปกับกวี ้ ึ วรรณคดีจึงมีคุณค่าทั้งในด้านประวัติศาสตร์ สังคม อารมณ์ และคติ-เตือนใจ รวมทั้งมีคุณค่าในด้านวรรณศิลป์ด้วย
  • 6. • เครื่องเชิดชูอารยธรรมของชาติ และมีคุณค่าเป็ นหลักฐาน ทางโบราณคดี • ส่งเสริมให้ผูอ่านมีสุนทรียะทางอารมณ์ และเข้าใจความ- ้ จริงของโลกได้มากขึน ้ • กระจกเงาสะท้อนภาพสังคม และวัฒนธรรม • ความรูเกียวกับขนบธรรมเนียมประเพณี ้ ่ • บันทึกทางประวัตศาสตร์ทสาคัญ(๕/๖) ิ ่ี
  • 7. การอ่านวรรณคดีนั้นเพื่อความรู้ และความ บันเทิง โดยอ่ า นให้ไ ด้ความไพเราะของภาษา หรือทราบแนวคิดของกวี การอ่ านวร ร ณค ดี ใ ห้ ไ ด้ รั บประ โยช น์ มีแนวทางการอ่านดังนี้
  • 8. ๑. ไม่อานวรรณคดีเพือความเพลิดเพลินเพียงอย่างเดียว ่ ่ ผู้อานต้ องอ่านอย่างวิเคราะห์ เพื่อ ่ - ให้ทราบแนวคิ ดของผูแต่ง ้ - ให้ทราบเหตุการณ์ต่างๆในเรื ่อง
  • 9. ๒. ควรวิจกษ์วรรณคดี เรืองทีอานด้วย ั ่ ่่ เมื่ออ่านวรรณคดีจบ ผู้อานจะต้ องสามารถแสดง ่ ความคิดเห็น วิจารณ์ หรื อประเมินค่ า วรรณคดี เรื่ องนันได้ ้
  • 10. ๓. เลือกอ่านวรรณคดีทมคณค่า ี่ ี ุ ควรเลื อ กอ่ า นวรรณคดี ที่ ไ ด้ รั บ การยกย่ อ ง เพราะวรรณคดีเรื่องนั้นจะต้ องได้ รับการคัดเลือก และกลันกรองมาแล้ว ่ วรรณคดีเรื่ องนั้นจะมีความอมตะ เนื้อเรื่ องมี ข้ อ คิ ด สามารถน ามาใช้ ได้ กั บ ชี วิ ต ประจ าวั น ไพเราะงดงาม แม้ นผ่ านเวลามานานแล้ วก็ตาม
  • 11. ค าว่ า วรรณคดี หมายถึ ง หนั ง สื อ ที่ ไ ด้ รั บ การยก ย่ องว่ าแต่ งดี มีคุณค่ า ซึ่งคาว่ า วรรณคดี ได้ ประกาศใช้ พระราชกฤษฎีกา การตั้งวรรณคดีสโมสรใน พ.ศ. ๒๔๕๗ รั ชสมัยของรั ชกาล ที่ ๖ และหนังสื อที่จัดว่ า เป็ นวรรณคดี ได้ แ ก่ กวี นิ พ นธ์ ละครไทย นิ ท าน ละครพูด และพงศาวดาร
  • 12. การวิจักษ์ หมายถึง ...  ที่ร้ ูแจ้ ง  ที่เห็น แจ้ ง  ฉลาด  มีสติปัญญา  เชี่ยวชาญ เข้ าใจแจ่มแจ้ ง และประจักษ์ ในคุณค่า
  • 13. การวิจักษ์วรรณคดี หมายถึง ... การพิจารณาว่าหนังสือนั้นๆ แต่งดีอย่างไร ใช้ถ้อยคา ไพเราะลึ ก ซึ้ ง กิ น ใจ หรื อ มี ค วามงามอย่ า งไร มี คุ ณ ค่ า ให้ ค วามรู้ ข้ อ คิ ด คติ ส อนใจ หรื อ ชี้ ใ ห้ เ ห็ น สภาพชี วิ ต ความคิดของคนในสังคมอย่างไร
  • 14. หลักในการวิจกษ์วรรณคดี พิจารณาได้ ๔ แบบ ดังนี้ ั ๑. อ่านอย่างพินจพิจารณา ิ อ่านโดยใช้ การวิเคราะห์ เนื อหาทังหมด และสิ่ง ้ ้ แฝงเร้ นภายในหนังสือ
  • 15. หลักในการวิจกษ์วรรณคดี ั ๒. ค้นหาความหมายพืนฐาน้ ความหมายพื ้นฐานหรื อความหมายตามตัวอักษร ผู้อ่านสามารถค้ นหาได้ จากข้ อความที่ผ้ ูแต่งได้ แฝง เร้ นเอาไว้ โดยแลกเปลี่ ย นความรู้ กับ เพื่ อ นๆ แล้ ว จัดลาดับความสาคัญของเรื่ องว่าใคร ทาอะไร ที่ไหน ผลเป็ นอย่างไร
  • 16. หลักในการวิจกษ์วรรณคดี ั ๓. รับรูอารมณ์ของบทประพันธ์ ้ พยายามรั บ รู้ ความรู้ สึ ก อารมณ์ ข องผู้เ ขี ย นที่ สอดแทรกลงในบทประพั น ธ์ นั น ๆ ถ้ าผู้ อ่ า นรั บ รู้ ้ อารมณ์ ความรู้สกตรงตามเจตนาของผู้สงสาร ึ ่ เมื่ออ่านออกเสียงจะทาให้ บทประพันธ์นนไพเราะยิ่งขึ ้น ั้
  • 17. หลักในการวิจกษ์วรรณคดี ั ๔. ค้นหาความหมายของบทประพันธ์ หลั ก การค้ นหาความหมายของบทประพั น ธ์ มีดงนี ้ ั ๔.๑ ค้ นหาความหมายตามตัวหนังสือ คื อ ค าที่ ไ ม่ เ ข้ าใจความหมายให้ ค้ นหาใน คาอธิบายศัพท์ พจนานุกรม และอภิธานศัพท์
  • 18. ๔.๒ ค้ นหาความหมายแฝง คือ ความหมายที่ต้องตีความ ซึ่งกวีอาจใช้ คาที่เป็ น สัญ ลัก ษณ์ เพื่ อ เสนอสารอัน เป็ นความคิ ดหลัก ของผู้ แต่ง เช่น ภพนี้มิใช่หล้า หงส์ทอง เดียวเอย กาก็เจ้าของครอง ร่วมด้วย เมาสมมติจองหอง หีนชาติ แล้งน้้ามิตรโลกม้วย หมดสิ้นสุขศานต์ อังคาร กัลยาณพงศ์
  • 19. ๔.๓ การแสวงหาข้ อคิดอันเป็ นประโยชน์ ในตัวบทของ วรรณคดี คือ ผู้อ่านรู้ สึกเช่นนันเพราะมี เหตุผลอย่างไร มี ้ หลักฐานอะไร และมีคาใดที่บ่งชี ้ให้ ผ้ อ่านรู้ สึกอย่าง ู นัน เช่น... ้ - ขุนช้ าง ขุนแผน - พระอภัยมณี
  • 20. หลักในการวิจกษ์วรรณคดี ั ๕. พิจารณาว่ากวีใช้กลวิธใดในการแต่งคาประพันธ์ ี สามารถค้ นหาได้ จากวิธีสร้ างสรรค์ในกวีนิพนธ์ ดังนี ้ ๕.๑ การใช้ บรรยายโวหาร คือ การใช้ คาอธิ บาย เล่าเรื่ องรายละเอียดต่างๆ ให้ เข้ าใจตามลาดับเหตุการณ์
  • 21. ๕.๒ การใช้ พรรณนาโวหาร คื อ การอธิ บ ายความโดยการสอดแทรกอารมณ์ ความรู้ สึก หรื อให้ รายละเอียดอย่างลึกซึ ้งของผู้แต่ง ลงไป ในเรื่ องนันๆ ทาให้ ผ้ ูอ่านเกิดอารมณ์สะเทือนใจคล้ อยตาม ้ ไปกับบทประพันธ์ เช่น “อุรารานร้าวแยก ยลสยบ เอนพระองค์ลงทบ ท่าวดิ้น เหนือคอคชซอนซบ สังเวช วายชีวาตม์สุดสิ้น สู่ฟ้าเสวยสวรรค์ ” (ลิลิตตะเลงพ่าย)
  • 22. ๕.๓ การใช้ เทศนาโวหาร คือ กลวิธีที่ใช้ โวหารในการกล่าวสังสอนอย่างมี ่ เหตุผลประกอบ “ถ้าท้าดีก็จะดีเป็นศรีศักดิ์ ถ้าท้าชั่วชั่วจักตามสนอง ความชั่วเราลี้ลับอย่ากลับตรอง นอนแล้วมองดูผิดในกิจการ” (สุภาษิตพระร่วง)
  • 23. ๕.๔ การใช้ สาธกโวหาร คือ การยกตัวอย่างหรื อเรื่ องราวมาประกอบเพื่อ เพิ่ ม รายละเอี ย ด หรื อ สิ่ ง ที่ น่ า รู้ ลงในข้ อ ความให้ เข้ าใจชัดเจนยิ่งขึ ้น
  • 24. ๕.๕ การใช้ อปมาโวหาร ุ คื อ โวหารที่ ใ ช้ ก ล่า วเปรี ย บเที ย บ มัก ใช้ คู่กับ อุป มัย อุปมาเป็ นสิ่งหรื อข้ อความที่ยกมาเปรี ยบ ส่วนอุปมัย คือ ข้ อความที่เปรี ยบเทียบกับสิ่งอื่นให้ เข้ าใจแจ่มแจ้ ง เช่น “หนังสือเหมือนเพื่อนชีวิตเข็มทิศโลก ให้สุขโศกให้ปัญญาให้หน้าที่ จ้า คิด รู้ ประทีปส่องตรองชั่วดี สมศักดิ์ศรีสมคุณค่า พัฒนาคน” (หนังสือจันทร์แสง)
  • 25. ๕.๖ พิจารณาความงาม ความไพเราะของการใช้ ถ้อยคา และ เสียงเสนาะ คื อ พิ จ ารณาว่ า มี สั ม ผั ส นอก สั ม ผั ส ใน สั ม ผั ส สระ สั ม ผั ส พยั ญ ชนะอย่ า งไร มี เ สี ย งหนั ก เบา มี จั ง หวะ และ ท่วงทานองลีลาอย่างไร “ถึงเขากวางขวางว่างเวิ้งชะวากวุ้ง เขาเรียกทุ่งสงขลาพนาสัณฑ์ เป็นป่ารอบขอบเขินเนินอรัญ นกเขาขันคูเรียกกันเพรียกไพร ” (นิราศเมืองแกลง)
  • 26. การพิจารณาคุณค่าบทประพันธ์ แบ่งออกได้เป็น ๒ ประเภท คือ ๑ . คุณค่าด้านวรรณศิลป์ - การเลือกใช้คาภาษากวี - การเลือกใช้คาทีมเสียงเสนาะ ่ ี - รสความ - รสสัมผัส ๒. คุณค่าด้านสังคม
  • 27. ท า ใ ห้ ผู้ อ่ า น ม อ ง เ ห็ น คุ ณ ค่ า ที่ ผู้ แต่ ง ตั ง ใ จ ้ สอดแทรกเอาไว้ เห็นความงาม ความไพเราะของ วร ร ณค ดี ท า ให้ อ่ า น ง าน ป ระ พั น ธ์ นั น อย่ า ง ้ สนุกสนาน เพลิดเพลิน และได้ รับรสไพเราะอย่างอิ่ม เอมใจ ซาบซึ ้ง
  • 28. ขณะเดี ย วกั น เกิ ด ความตระหนั ก ในคุ ณ ค่ า ของงานประพัน ธ์ และเกิ ด ความภูมิ ใ จในฐานะ ที่เป็ นมรดกของชาติ ซึ่งควรค่าแก่การอนุรักษ์ และ สืบทอดต่อไป
  • 29. วรรณคดีสอนให้เข้าใจชาติ รู้เอกราชเป็นชาติเป็นศักดิ์ศรี สรรค์ค้าถ้อยร้อยรสเป็นบทกวี เราโชคดีที่มีบรรพ์สรรค์สร้างมา