SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
Download to read offline
ตัวอย่างการเขียนเรียงความในโลกส่วนตัว เขียนจากความรู้สึกและประสบการณ์
วิชาภาษาไทย ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔
ครูผู้สอน นางพัชราพร นิยะบุญ
งานพัฒนาสื่อและนวัตกรรม
เช้าวันหนึ่งของชีวิต
ติ๊ดๆๆๆ….เสียงนาฬิกาปลุกเรือนจิ๋วในห้องนอนของผมมันดังขึ้นอีกแล้ว มันทาหน้าที่ส่งเสียง
โหยหวนเช่นนี้ทุกเช้า ยิ่งในเช้าวันที่ฝนตกปรอยๆ หลังจากตกหนักมาทั้งคืน เช่นนี้ก็ช่างทาให้น่านอนแผ่หลาอยู่
บนเตียงนุ่นๆ จนสายเสียจริงๆ ผมรู้สึกมึนหัว จากอาการนอนไม่พออยู่นิดๆ เพราะเมื่อคืนต้องตรากตรานั่งชม
รายการโปรดอยู่จนดึกจนดื่น ผมกระแทกมือปิดนาฬิกาที่กาลังทาหน้าของมันอย่างดีเยี่ยม และสร้างความระคาย
เคืองต่อโสตประสาทการรับฟังได้อย่างเยี่ยมยอดเช่นกัน ผมปิดมันลงไปและตัดสินใจในทันทีว่า ขอแค่ 5 นาที
น่า……….
ผมไม่แน่ใจว่ามันผ่านไปนานเท่าไร แต่รู้เพียงว่าพี่ชายของผมเดินเข้ามาเขย่าตัวแล้วบอกว่า “ เฮ้ย รถมา
รอตั้ง 10 นาทีแล้วจะไป ร.ร. มั้ยเนี่ย “ ใช่แล้วนี่มันเกินมา 10 นาทีแล้วผมไม่มีเวลาแล้วจริงๆ ผมล้างหน้าแปรง
ฟัน แต่งตัวหยิบกระเป๋ า และรีบก้าวเท้าไปขึ้นรถทันที แต่ไม่ลืมที่จะชาเลืองมองกระจกบานใหญ่ที่ตู้เสื้อผ้าเลย
เส้นผมของผมตอนที่ผึ่งตื่นนอนมันช่างดูยุ่งไปหมด
บางครั้งผมเคยนึกชอบใจ ผมที่ชี้โด่ชี้เด่ไม่เป็นทรงเวลาที่พึ่งตื่นนอนเช่นนี้จริงๆ แต่เวลานี้ผมไม่มีความรู้สึก
เช่นนั้นเลย ถึงแม้จะราคาญกับเส้นผมแค่ไหนแต่ในตอนนี้ผมไม่มีเวลาแล้ว แม้ว่าความคิดยามที่มองผมตัวเอง
แล้วรู้สึกทั้งชอบและไม่ชอบยังคงพัวพันกันอยู่ในใจ แต่ขณะนี้ผมต้องรีบแล้ว ผมวิ่งถึงถนนรถรับส่งก็รอผมอยู่
ไม่รู้ว่านานแค่ไหนที่ผมปล่อยให้คนทั้งรถรอผมคนเดียว มันอาจเป็นความรู้สึกที่คล้ายกับเมื่อครั้งที่ผมรอใช้ตู้
โทรศัพท์ สาธารณะ อย่างเร่งด่วน แต่คนที่ใช้ตู้ก็ช่างคุยนานจริง ผมจาได้ดีว่าโมโหชายที่ใช้ตู้โทรศัพท์นานมากๆ
คนนั้นแค่ไหน แต่ในวันนี้ ผมก็อาจถูกคนทั้งรถโมโหได้เช่นกัน ผมรีบไปร.ร. พวกเขาก็รีบไปเช่นกัน และผมก็
ทาให้เขาช้า แต่ช่างมันเถอะผมมาถึงรถแล้วนี่ ผมเข้าไปนั่งตรงที่ประจาติดหน้าต่าง ท้ายสุดของคันรถ รถออก
ตัวอย่างเร่งรีบเพราะวันนี้ผมทาให้เขาสายแล้ว ผมพยายามเลิกคิดว่ามันเป็นความผิดที่ร้ายแรง ที่อาจทาให้หลาย
คนบนรถต้องไปเข้าเรียนสาย และพยายามมองออกไปนอกหน้าต่าง บน ท้องฟ้า ก้อนเมฆที่เมื่อคืนมืดครึ้มดูจาง
ลงแล้ว ฟ้าเริ่มเปิด ดวงจันทร์ที่ไร้แสงในยามเช้า ที่เมื่อคืนถูกบดบังด้วยเมฆหมอก ก็ยังคงอยู่บนฟ้าเช่นเดียงกัน
แม้ในยามเช้ามันจะไร้แสง มันก็ยังคงเป็นดวงจันทร์ที่กลมโตอยู่ดี แม้ในยามค่าคืนที่เมฆหมอกบดบัง แต่เมื่อลม
พัดเมฆจางหาย แสงจันทร์ที่นวลผ่องก็จะยังคงกลับมาฉายแสงเช่นเคย ผมอาจเป็นได้ดั่ง ดวงจันทร์ ที่บางครั้งมี
เมฆหมอกแห่งความสับสนเข้ามาบดบัง มีการกระทาที่ผิดพลาดพลั้ง แต่เมื่อเรายอมรับกับปัญหายอมรับมันและ
พร้อมที่จะแก้ไขเมฆหมอกในใจก็คงถูกสายลมพัดผ่านไปเช่นกัน ผมตื่นเมื่อรถมาถึงร.ร. ซึ่งแน่นอนเราสายกัน
แล้ว ผมขอโทษเพื่อนที่ทาให้สาย และอาจถูกทาโทษได้เพื่อนกลับพูดว่ามันไม่ร้ายแรงหรอก คนเรามันพลาดกัน
ได้ช่างมันเถอะ ในเช้าวันนั้นถึงจะถูกตาหนิเรื่องมาสาย แต่ผมก็ได้สิ่งที่เป็นข้อสรุปทางความคิด เป็น
ประสบการณ์ และเป็นสิ่งที่คุ้มค่าแล้วสาหรับผม
ผลงานของ นายวสุ วรรลยางกูร นักเรียนชั้น ม.๔/๑
ฝึกทักษะการคิด การเขียน จากการ มองวัตถุ สิ่งของ
นาฬิกา
บ่อยครั้งที่ผมมักไม่ชอบมันเพราะมันมักแจ้งข่าวร้ายว่าหมดเวลานอนแล้ว แต่บ่อยครั้งที่ผมเฝ้าแต่มองมัน
ให้มันบอกเวลาหมดชม.เรียนเสียที แต่ทุกๆครั้งที่ไม่ว่าผมจะนึกชอบ หรือเกลียดมัน มันก็จะยังทาหน้าที่ของมัน
อย่างเต็มที่อยู่ดี
กระจก
ผมมักถูกว่าบ่อยๆ ว่า ชอบมองแต่กระจกซึ่งที่จริงแล้วผมมันไม่ใช่การมองกระจกแต่เป็นการมองตัวตน
ของเราในกระจกต่างหาก ผมเฝ้ามองเงาของผมในกระจกหากว่าตัวตนของเงาในกระจกมันคิดได้มันจะยังรู้สึก
อย่างไรกับการที่ต้องเป็น เงา ของใครสักคน
ตู้โทรศัพท์
ตู้โทรศัพท์ทาให้ผมนึกถึงบทกลอนของ ผศ..ศิวกานท์ ที่พูดถึงเหตุการณ์ ของเขากับหญิงในตู้โทรศัพท์
ในบทกลอนเล่าว่า ผู้หญิงคนนั้นใช้ตู้โทรศัพท์ นานมาก ซึ่งตัวเขาเองก็กาลังต้องการใช้ตู้โทรศัพท์ เช่นกัน เขารอ
จนรอไม่ไหว สุดท้ายจึงระบายความคับแค้นใส่เทปและเปิดใส่ตู้โทรศัพท์ ที่ผู้หญิงคนนั้นใช้อยู่ ซึ่งบทกลอน นี้
นาเรื่อง ที่พบเจอกับคนเองมาแต่งได้ใจความครบถ้วนดีมาก และยังมีเสนห์ เป็นเหมือนปัญหาให้ผู้อ่านได้นามา
ลองคิด
ท้องฟ้า
เรายืนอยู่บนแผ่นดินเดียวกัน ใต้ฟ้าแผ่นเดียวกันในบางครั้งที่ฝนตกลงมา ฝนก็ไม่ได้ตกทั่วฟ้า ไม่ได้ชุ่มฉ่า
ทั่วแผ่นดิน ไม่ใช่เพราะฝนลาเอียงที่จะตกแต่เกิดจากการดูแลธรรมชาติของมนุษย์ต่างหาก หากที่ใดอุดมสมบูรณ์
ฝนก็จะตกต้องตามฤดูกาล เป็นหยาดน้าจากฟ้าที่เหมือนจะขอบคุณให้แก่ผู้ที่ดูแลให้ธรรมชาติ ภูเขา ป่าไม้อุดม
สมบูรณ์
ดวงจันทร์
“อยู่ฟ้าเดียวกันพระจันทร์ดวงหนึ่ง “ บทเพลงส่วนหนึ่งเท่าที่ผมจาได้จากโฆษณาของ การไฟฟ้า ซึ่ง
ชวนให้คิดถึงคนที่อยู่ห่างไกลได้อย่างดีในค่าคืนที่ต้องนั่งชมจันทร์เพียงคนเดียว
ดวงจันทร์ที่อยู่แสนไกล บนท้องฟ้ายามค่าคืน คงเป็นจันทร์ดวงเดียวกับกับคนที่แสนจะคิดถึง
เฝ้ามองอยู่
ผลงานของ นายวสุ วรรลยางกูร นักเรียนชั้น ม.๔/๑
ใบความรู้ เรื่อง การอ่านพินิจสาร บทร้อยแก้ว และ บทร้อยกรอง
รายวิชาภาษาไทย ระดับขั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕
ผู้สอน นางพัชราพร นิยะบุญ งานพัฒนาสื่อและนวัตกรรม
……………………………………………………………………………………….
เรื่อง คุณค่างานประพันธ์
งานประพันธ์ คืองานที่มนุษย์ใช้ภาษาที่สละสลวยสร้างสรรค์ขึ้นถ่ายทอดเป็นเรื่องราว มีทั้งร้อยแล้ว
และร้อยกรอง และจะเขียนเป็นลายลักษณ์อักษรหรือไม่ก็ได้ งานประพันธ์ที่เป็นลายลักษณ์อักษรมีหลักฐาน
ถึงปัจจุบันชิ้นแรก คือ ศิลาจารึกของพ่อขุนรามคาแหง งานประพันธ์ที่ไม่ได้เขียนเป็นลายลักษณ์อักษร
เรียกว่า “มุขปาฐะ” เช่นกลอนสด เพลงพื้นเมือง ลาตัด ฯลฯ
องค์ประกอบของงานประพันธ์
๑. เนื้อหา หมายถึง เรื่องราวที่ผู้แต่งถ่ายทอดให้ผู้อ่านได้รับรู้ เรื่องราวที่ผู้แต่งอาจนามาจาก
ประสบการณ์ จินตนาการ ชีวทรรศน์ โลกทรรศน์ อารมณ์ความรู้สึก รวมถึง“สาร” ที่ผู้ประพันธ์ประสงค์
จะถ่ายทอดถึงผู้อ่านด้วย
๒. รูปแบบ หมายถึง ลักษณะ รวมประเภทงานประพันธ์ที่ผู้แต่งใช้ในการถ่ายทอดเนื้อหาไปสู่ผู้อ่าน
เช่น นิราศ นิทานคากลอน คาฉันท์ ลิลิต บทความ บันทึก จดหมายเหตุ เรื่องสั้น
นวนิยาย ฯลฯ
งานประพันธ์ที่มีรูปแบบกลมกลืนกับเนื้อหาอย่างมีศิลปะเป็นที่ยอมรับ จะจัดเป็นวรรณคดี ถ้าไม่
ถึงขั้นวรรณคดี จะเรียกว่า วรรณกรรม
การพิจารณาคุณค่าของงานประพันธ์
พิจารณาได้ ๒ แนว คือ คุณค่าด้านวรรณศิลป์ และ คุณค่า ด้านสังคม
๑. คุณค่าด้านวรรณศิลป์
เป็นคุณค่าทางด้านศิลปะการแต่ง การใช้โวหารภาพพจน์ ความไพเราะสละสลวยของภาษาที่ใช้
คุณค่าด้านวรรณศิลป์ จะเกี่ยวกับความงามในภาษา และคุณค่า ทางด้านนี้จะให้พัฒนาการทางด้านอารมณ์
ในการพิจารณาคุณค่าทางด้านวรรณศิลป์ ของงานประพันธ์ที่เป็น ร้อยกรอง จะพิจารณาว่าคาประพันธ์
นั้นมีรูปแบบสอดคล้องกับเนื้อหาหรือไม่ กลวิธีการแต่งน่าสนใจ ใช้ถ้อยคา
ไพเราะสละสลวยและให้อารมณ์สะเทือนใจหรือไม่ นอกจากนี้ให้พิจารณาด้วยว่างานนั้นเสนอ “สาร” ที่มี
ความคิดเชิงสร้างสรรค์หรือไม่
๒
การพิจารณา “ร้อยแก้วประเภทสารคดี” จะพิจารณาว่ารูปแบบสอดคล้องกับเนื้อหา หรือไม่ วิธี
เสนอเรื่องน่าสนใจหรือไม่ ให้ความรู้ถูกต้องหรือไม่ สานวนภาษาสละสลวย และสื่อความหมายได้ชัดเจน
หรือไม่
สาหรับ “ ร้อยแก้วประเภทบันเทิงคดี” จะพิจารณาตามเกณฑ์ของรูปแบบ เช่น ถ้าเป็นเรื่องสั้นจะ
พิจารณาว่าแก่นเรื่องสัมพันธ์กับโครงเรื่องหรือตัวละครหรือไม่มีกลวิธี
การประพันธ์ที่แปลกใหม่ น่าสนใจหรือไม่ มีจุดขัดแย้งที่ก่อให้เกิดอารมณ์สะเทือนใจหรือไม่ ใช้ภาษา
สละสลวยก่อให้เกิดจินตภาพหรือไม่ คาพูดเหมาะสมกับบุคลิกภาพของตัวละคร และ เสนอสารที่มีความคิด
เชิงสร้างสรรค์หรือไม่ เป็นต้น
องค์ประกอบของวรรณศิลป์
๒. คุณค่าด้านสังคม
เป็นคุณค่าที่สะท้อนภาพชีวิตของคนในสังคม ทาให้ผู้อ่านเข้าใจชีวิตของผู้อื่น เกิดความเห็นอก
เห็นใจผู้อื่น คุณค่าทางด้านสังคมนี้จะให้พัฒนาการทางด้านปัญญา
ในการพิจารณาคุณค่าทางด้านสังคม จะพิจารณาว่างานประพันธ์นั้นมีเนื้อหาสาระเกี่ยวกับ
วัฒนธรรมจริยธรรมของสังคมหรือไม่ มีส่วนช่วยจรรโลงหรือพัฒนาสังคม เช่น ช่วยประเทืองปัญญาของคน
ในสังคม ช่วยอนุรักษ์สิ่งมีค่าของคนในสังคมและสนับสนุนค่านิยมอันดีงามของสังคมหรือไม่
เนื่องจากวรรณคดีมีคุณค่าทั้งทางวรรณศิลป์ และสังคม วรรณคดีจึงให้ประโยชน์ทั้งทางประเทือง
ปัญญาและความสาเริงอารมณ์ การให้นักเรียน เรียนวรรณคดีก็เพื่อจะให้เกิดความเข้าใจชีวิต เห็นอกเห็นใจ
เพื่อนมนุษย์ด้วยกันมากขึ้น และทาให้นักเรียนมีพัฒนาการทางด้านอารมณ์ด้วย
แนวคิดและค่านิยมในงานประพันธ์
แนวคิดในงานประพันธ์ มี ๒ ลักษณะ คือ
๑. แนวคิดสาคัญ บางทีเรียกว่า “แก่นเรื่อง ” หรือ “สารสาคัญของเรื่อง” หมายถึงความคิดสาคัญที่ผู้
แต่งใช้เป็นแนวในการผูกเรื่อง เช่น เรื่อง อัวรานางสิงห์ ผู้แต่งมีแนวคิดว่า “ สัตว์ป่าต้องอยู่ในป่า ถ้ามันฝ่าฝืน
กฎข้อนี้ มันจะต้องทนทุกข์ทรมาน ”
๒. แนวคิดอื่น ๆ คือ ความคิด หรือ ข้อคิด หรือ “ สาร” ที่ผู้แต่ง แทรกไว้ในเรื่อง เช่นอัวรานางสิงห์
ผู้แต่งได้แทรกข้อคิดหรือแนวคิดต่าง ๆ ไว้ เช่น คนที่นาสัตว์มาเลี้ยงต้องดูแลเอาใจใส่ เพราะสัตว์ก็มีจิตใจ
ต้องการความรัก ความเอาใจใส่และสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมกับมันเช่นกัน
๓
ค่านิยม
ค่านิยมมีความหมายที่ควรทราบอยู่ ๒ อย่าง คือ
๑. ค่านิยม หมายถึง ความเชื่อ ความคิด หรือ ความรู้สึกของคนใดคนหนึ่ง หรือกลุ่มใด กลุ่ม
หนึ่ง ที่มีต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ว่าสิ่งนั้นมีค่า มีความหมาย หรือมีความสาคัญต่อตน หรือกลุ่มของตน ความเชื่อ
ความคิด หรือ ความรู้สึกนี้จะเป็นตัวกาหนดพฤติกรรมให้คนนั้นเลือกทาหรือไม่ทาสิ่งใด
๒. ค่านิยม หมายถึง ความเชื่อมั่น การยึดถือปฏิบัติในเรื่องต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับ
การดาเนินชีวิต ค่านิยมจะเกี่ยวข้องกับวัฒนธรรม เพราะวัฒนธรรมไทยหมายถึงแบบแผนการดาเนินชีวิต คน
ไทยมีค่านิยมบางประการที่แสดงแบบแผนการดาเนินชีวิต เช่น นิยมการทาบุญ เห็นความสาคัญในการเป็น
ไทแก่ตัว และชอบความสนุกสนาน
เราอาจพิจารณาค่านิยมจากบุคคลหนึ่งบุคคลใดได้จากสิ่งที่เขาสนใจ นอกจากนี้ค่านิยมยังเปลี่ยนแปลง
ได้ เมื่อ วัย ความรู้ ประสบการณ์ และสภาพแวดล้อมเปลี่ยนแปลงไป
…………………

More Related Content

What's hot

การเขียนบรรณานุกรมจากหนังสือ
การเขียนบรรณานุกรมจากหนังสือการเขียนบรรณานุกรมจากหนังสือ
การเขียนบรรณานุกรมจากหนังสือusaneetoi
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวรรณกรรม
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวรรณกรรมความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวรรณกรรม
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวรรณกรรมWatcharapol Wiboolyasarin
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6
แบบทดสอบ  ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6แบบทดสอบ  ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6teerachon
 
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1
Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1พัน พัน
 
โครงงาน เรื่อง การศึกษาปัญหาการอ่านหนังสือของคนไทย
โครงงาน เรื่อง การศึกษาปัญหาการอ่านหนังสือของคนไทย โครงงาน เรื่อง การศึกษาปัญหาการอ่านหนังสือของคนไทย
โครงงาน เรื่อง การศึกษาปัญหาการอ่านหนังสือของคนไทย Nawakhun Saensen
 
Waterรวมวารีดุริยางค์
Waterรวมวารีดุริยางค์Waterรวมวารีดุริยางค์
Waterรวมวารีดุริยางค์maerimwittayakom school
 
แบบฝึกหัดการการเขียนบรรณานุกรม
แบบฝึกหัดการการเขียนบรรณานุกรมแบบฝึกหัดการการเขียนบรรณานุกรม
แบบฝึกหัดการการเขียนบรรณานุกรมSupaporn Khiewwan
 
ประโยคสามัญ ประโยคซ้อน ประโยครวม
ประโยคสามัญ ประโยคซ้อน ประโยครวมประโยคสามัญ ประโยคซ้อน ประโยครวม
ประโยคสามัญ ประโยคซ้อน ประโยครวมthinnakornsripho
 
การแสดงพื้นเมือง
การแสดงพื้นเมืองการแสดงพื้นเมือง
การแสดงพื้นเมืองพัน พัน
 
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงานชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงานSAKANAN ANANTASOOK
 
แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑
แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑
แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑bangonchin
 
วันออกพรรษา
วันออกพรรษาวันออกพรรษา
วันออกพรรษาsuchinmam
 
ร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพkhorntee
 
การอ่านแปลความ ตีความและขยายความ
การอ่านแปลความ ตีความและขยายความการอ่านแปลความ ตีความและขยายความ
การอ่านแปลความ ตีความและขยายความSurapong Klamboot
 
รายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ตรายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ตSarocha Makranit
 
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5suparada
 

What's hot (20)

การเขียนบรรณานุกรมจากหนังสือ
การเขียนบรรณานุกรมจากหนังสือการเขียนบรรณานุกรมจากหนังสือ
การเขียนบรรณานุกรมจากหนังสือ
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวรรณกรรม
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวรรณกรรมความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวรรณกรรม
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวรรณกรรม
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6
แบบทดสอบ  ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6แบบทดสอบ  ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6
 
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1
Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1
 
โครงงาน เรื่อง การศึกษาปัญหาการอ่านหนังสือของคนไทย
โครงงาน เรื่อง การศึกษาปัญหาการอ่านหนังสือของคนไทย โครงงาน เรื่อง การศึกษาปัญหาการอ่านหนังสือของคนไทย
โครงงาน เรื่อง การศึกษาปัญหาการอ่านหนังสือของคนไทย
 
Waterรวมวารีดุริยางค์
Waterรวมวารีดุริยางค์Waterรวมวารีดุริยางค์
Waterรวมวารีดุริยางค์
 
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
 
แบบฝึกหัดการการเขียนบรรณานุกรม
แบบฝึกหัดการการเขียนบรรณานุกรมแบบฝึกหัดการการเขียนบรรณานุกรม
แบบฝึกหัดการการเขียนบรรณานุกรม
 
ประโยคสามัญ ประโยคซ้อน ประโยครวม
ประโยคสามัญ ประโยคซ้อน ประโยครวมประโยคสามัญ ประโยคซ้อน ประโยครวม
ประโยคสามัญ ประโยคซ้อน ประโยครวม
 
การแสดงพื้นเมือง
การแสดงพื้นเมืองการแสดงพื้นเมือง
การแสดงพื้นเมือง
 
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงานชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
 
การใช้โวหารในภาษาไทย
การใช้โวหารในภาษาไทยการใช้โวหารในภาษาไทย
การใช้โวหารในภาษาไทย
 
แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑
แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑
แบบฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ ๑
 
วันออกพรรษา
วันออกพรรษาวันออกพรรษา
วันออกพรรษา
 
ร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพ
 
การอ่านแปลความ ตีความและขยายความ
การอ่านแปลความ ตีความและขยายความการอ่านแปลความ ตีความและขยายความ
การอ่านแปลความ ตีความและขยายความ
 
รายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ตรายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ต
 
Copy of 00000564 1 20121226-145401
Copy of 00000564 1 20121226-145401Copy of 00000564 1 20121226-145401
Copy of 00000564 1 20121226-145401
 
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
 
ใบความรู้วรรณกรรมท้องถิ่น
ใบความรู้วรรณกรรมท้องถิ่นใบความรู้วรรณกรรมท้องถิ่น
ใบความรู้วรรณกรรมท้องถิ่น
 

Similar to การอ่านพินิจสาร บทร้อยแก้ว และ บทร้อยกรอง

ประวัติของวรรณคดี
ประวัติของวรรณคดีประวัติของวรรณคดี
ประวัติของวรรณคดีRuangrat Watthanasaowalak
 
หน่วยที่ 7 การเขียนย่อหน้าเนื้อเรื่อง
หน่วยที่ 7 การเขียนย่อหน้าเนื้อเรื่องหน่วยที่ 7 การเขียนย่อหน้าเนื้อเรื่อง
หน่วยที่ 7 การเขียนย่อหน้าเนื้อเรื่องขนิษฐา ทวีศรี
 
วรรณคดีไทย
วรรณคดีไทยวรรณคดีไทย
วรรณคดีไทยtip036fur
 
วรรณคดีไทย
วรรณคดีไทยวรรณคดีไทย
วรรณคดีไทยtip036fur
 
นวนิยาย(วราภรณ์)(1)
นวนิยาย(วราภรณ์)(1)นวนิยาย(วราภรณ์)(1)
นวนิยาย(วราภรณ์)(1)Mu Koy
 
การเขียนบทสารคดี-01
การเขียนบทสารคดี-01การเขียนบทสารคดี-01
การเขียนบทสารคดี-01Apida Runvat
 
วรรณคดีและวรรณกรรม ความหมาย
วรรณคดีและวรรณกรรม ความหมายวรรณคดีและวรรณกรรม ความหมาย
วรรณคดีและวรรณกรรม ความหมายchontee55
 
หนังสืออ้างอิง...
หนังสืออ้างอิง...หนังสืออ้างอิง...
หนังสืออ้างอิง...krujee
 
Random 120125041414-phpapp01 2
Random 120125041414-phpapp01 2Random 120125041414-phpapp01 2
Random 120125041414-phpapp01 2Siriluk Butprom
 
อิศรญาณตอ..
อิศรญาณตอ..อิศรญาณตอ..
อิศรญาณตอ..phornphan1111
 
หน่วยที่ 7
หน่วยที่ 7หน่วยที่ 7
หน่วยที่ 7Yui Siriwararat
 
หน่วยที่ 7
หน่วยที่ 7หน่วยที่ 7
หน่วยที่ 7ssuserfd9042
 
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)อัมพร ศรีพิทักษ์
 

Similar to การอ่านพินิจสาร บทร้อยแก้ว และ บทร้อยกรอง (20)

การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]
การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]
การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]
 
ประวัติของวรรณคดี
ประวัติของวรรณคดีประวัติของวรรณคดี
ประวัติของวรรณคดี
 
หน่วยที่ 7 การเขียนย่อหน้าเนื้อเรื่อง
หน่วยที่ 7 การเขียนย่อหน้าเนื้อเรื่องหน่วยที่ 7 การเขียนย่อหน้าเนื้อเรื่อง
หน่วยที่ 7 การเขียนย่อหน้าเนื้อเรื่อง
 
Nuntanakan2
Nuntanakan2Nuntanakan2
Nuntanakan2
 
Nuntanakan2
Nuntanakan2Nuntanakan2
Nuntanakan2
 
นวนิยายพร้อมส่ง
นวนิยายพร้อมส่งนวนิยายพร้อมส่ง
นวนิยายพร้อมส่ง
 
วรรณคดีไทย
วรรณคดีไทยวรรณคดีไทย
วรรณคดีไทย
 
วรรณคดีไทย
วรรณคดีไทยวรรณคดีไทย
วรรณคดีไทย
 
Script 05 2
Script 05 2Script 05 2
Script 05 2
 
นวนิยาย(วราภรณ์)(1)
นวนิยาย(วราภรณ์)(1)นวนิยาย(วราภรณ์)(1)
นวนิยาย(วราภรณ์)(1)
 
การเขียนบทสารคดี-01
การเขียนบทสารคดี-01การเขียนบทสารคดี-01
การเขียนบทสารคดี-01
 
วรรณคดีและวรรณกรรม ความหมาย
วรรณคดีและวรรณกรรม ความหมายวรรณคดีและวรรณกรรม ความหมาย
วรรณคดีและวรรณกรรม ความหมาย
 
หนังสืออ้างอิง...
หนังสืออ้างอิง...หนังสืออ้างอิง...
หนังสืออ้างอิง...
 
Random 120125041414-phpapp01 2
Random 120125041414-phpapp01 2Random 120125041414-phpapp01 2
Random 120125041414-phpapp01 2
 
อิศรญาณตอ..
อิศรญาณตอ..อิศรญาณตอ..
อิศรญาณตอ..
 
หน่วยที่ 7
หน่วยที่ 7หน่วยที่ 7
หน่วยที่ 7
 
หน่วยที่ 7
หน่วยที่ 7หน่วยที่ 7
หน่วยที่ 7
 
นักเขียนบทความ
นักเขียนบทความนักเขียนบทความ
นักเขียนบทความ
 
วรรณกรรม
วรรณกรรมวรรณกรรม
วรรณกรรม
 
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)
 

More from พัน พัน

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการพัน พัน
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีพัน พัน
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรพัน พัน
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยพัน พัน
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศพัน พัน
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้พัน พัน
 

More from พัน พัน (20)

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการ
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซี
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
การปริ้น
การปริ้นการปริ้น
การปริ้น
 
Office
OfficeOffice
Office
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
 
ยาเสพติด
ยาเสพติดยาเสพติด
ยาเสพติด
 

การอ่านพินิจสาร บทร้อยแก้ว และ บทร้อยกรอง

  • 1. ตัวอย่างการเขียนเรียงความในโลกส่วนตัว เขียนจากความรู้สึกและประสบการณ์ วิชาภาษาไทย ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ครูผู้สอน นางพัชราพร นิยะบุญ งานพัฒนาสื่อและนวัตกรรม เช้าวันหนึ่งของชีวิต ติ๊ดๆๆๆ….เสียงนาฬิกาปลุกเรือนจิ๋วในห้องนอนของผมมันดังขึ้นอีกแล้ว มันทาหน้าที่ส่งเสียง โหยหวนเช่นนี้ทุกเช้า ยิ่งในเช้าวันที่ฝนตกปรอยๆ หลังจากตกหนักมาทั้งคืน เช่นนี้ก็ช่างทาให้น่านอนแผ่หลาอยู่ บนเตียงนุ่นๆ จนสายเสียจริงๆ ผมรู้สึกมึนหัว จากอาการนอนไม่พออยู่นิดๆ เพราะเมื่อคืนต้องตรากตรานั่งชม รายการโปรดอยู่จนดึกจนดื่น ผมกระแทกมือปิดนาฬิกาที่กาลังทาหน้าของมันอย่างดีเยี่ยม และสร้างความระคาย เคืองต่อโสตประสาทการรับฟังได้อย่างเยี่ยมยอดเช่นกัน ผมปิดมันลงไปและตัดสินใจในทันทีว่า ขอแค่ 5 นาที น่า………. ผมไม่แน่ใจว่ามันผ่านไปนานเท่าไร แต่รู้เพียงว่าพี่ชายของผมเดินเข้ามาเขย่าตัวแล้วบอกว่า “ เฮ้ย รถมา รอตั้ง 10 นาทีแล้วจะไป ร.ร. มั้ยเนี่ย “ ใช่แล้วนี่มันเกินมา 10 นาทีแล้วผมไม่มีเวลาแล้วจริงๆ ผมล้างหน้าแปรง ฟัน แต่งตัวหยิบกระเป๋ า และรีบก้าวเท้าไปขึ้นรถทันที แต่ไม่ลืมที่จะชาเลืองมองกระจกบานใหญ่ที่ตู้เสื้อผ้าเลย เส้นผมของผมตอนที่ผึ่งตื่นนอนมันช่างดูยุ่งไปหมด บางครั้งผมเคยนึกชอบใจ ผมที่ชี้โด่ชี้เด่ไม่เป็นทรงเวลาที่พึ่งตื่นนอนเช่นนี้จริงๆ แต่เวลานี้ผมไม่มีความรู้สึก เช่นนั้นเลย ถึงแม้จะราคาญกับเส้นผมแค่ไหนแต่ในตอนนี้ผมไม่มีเวลาแล้ว แม้ว่าความคิดยามที่มองผมตัวเอง แล้วรู้สึกทั้งชอบและไม่ชอบยังคงพัวพันกันอยู่ในใจ แต่ขณะนี้ผมต้องรีบแล้ว ผมวิ่งถึงถนนรถรับส่งก็รอผมอยู่ ไม่รู้ว่านานแค่ไหนที่ผมปล่อยให้คนทั้งรถรอผมคนเดียว มันอาจเป็นความรู้สึกที่คล้ายกับเมื่อครั้งที่ผมรอใช้ตู้ โทรศัพท์ สาธารณะ อย่างเร่งด่วน แต่คนที่ใช้ตู้ก็ช่างคุยนานจริง ผมจาได้ดีว่าโมโหชายที่ใช้ตู้โทรศัพท์นานมากๆ คนนั้นแค่ไหน แต่ในวันนี้ ผมก็อาจถูกคนทั้งรถโมโหได้เช่นกัน ผมรีบไปร.ร. พวกเขาก็รีบไปเช่นกัน และผมก็ ทาให้เขาช้า แต่ช่างมันเถอะผมมาถึงรถแล้วนี่ ผมเข้าไปนั่งตรงที่ประจาติดหน้าต่าง ท้ายสุดของคันรถ รถออก ตัวอย่างเร่งรีบเพราะวันนี้ผมทาให้เขาสายแล้ว ผมพยายามเลิกคิดว่ามันเป็นความผิดที่ร้ายแรง ที่อาจทาให้หลาย คนบนรถต้องไปเข้าเรียนสาย และพยายามมองออกไปนอกหน้าต่าง บน ท้องฟ้า ก้อนเมฆที่เมื่อคืนมืดครึ้มดูจาง ลงแล้ว ฟ้าเริ่มเปิด ดวงจันทร์ที่ไร้แสงในยามเช้า ที่เมื่อคืนถูกบดบังด้วยเมฆหมอก ก็ยังคงอยู่บนฟ้าเช่นเดียงกัน แม้ในยามเช้ามันจะไร้แสง มันก็ยังคงเป็นดวงจันทร์ที่กลมโตอยู่ดี แม้ในยามค่าคืนที่เมฆหมอกบดบัง แต่เมื่อลม พัดเมฆจางหาย แสงจันทร์ที่นวลผ่องก็จะยังคงกลับมาฉายแสงเช่นเคย ผมอาจเป็นได้ดั่ง ดวงจันทร์ ที่บางครั้งมี เมฆหมอกแห่งความสับสนเข้ามาบดบัง มีการกระทาที่ผิดพลาดพลั้ง แต่เมื่อเรายอมรับกับปัญหายอมรับมันและ พร้อมที่จะแก้ไขเมฆหมอกในใจก็คงถูกสายลมพัดผ่านไปเช่นกัน ผมตื่นเมื่อรถมาถึงร.ร. ซึ่งแน่นอนเราสายกัน แล้ว ผมขอโทษเพื่อนที่ทาให้สาย และอาจถูกทาโทษได้เพื่อนกลับพูดว่ามันไม่ร้ายแรงหรอก คนเรามันพลาดกัน ได้ช่างมันเถอะ ในเช้าวันนั้นถึงจะถูกตาหนิเรื่องมาสาย แต่ผมก็ได้สิ่งที่เป็นข้อสรุปทางความคิด เป็น ประสบการณ์ และเป็นสิ่งที่คุ้มค่าแล้วสาหรับผม ผลงานของ นายวสุ วรรลยางกูร นักเรียนชั้น ม.๔/๑
  • 2. ฝึกทักษะการคิด การเขียน จากการ มองวัตถุ สิ่งของ นาฬิกา บ่อยครั้งที่ผมมักไม่ชอบมันเพราะมันมักแจ้งข่าวร้ายว่าหมดเวลานอนแล้ว แต่บ่อยครั้งที่ผมเฝ้าแต่มองมัน ให้มันบอกเวลาหมดชม.เรียนเสียที แต่ทุกๆครั้งที่ไม่ว่าผมจะนึกชอบ หรือเกลียดมัน มันก็จะยังทาหน้าที่ของมัน อย่างเต็มที่อยู่ดี กระจก ผมมักถูกว่าบ่อยๆ ว่า ชอบมองแต่กระจกซึ่งที่จริงแล้วผมมันไม่ใช่การมองกระจกแต่เป็นการมองตัวตน ของเราในกระจกต่างหาก ผมเฝ้ามองเงาของผมในกระจกหากว่าตัวตนของเงาในกระจกมันคิดได้มันจะยังรู้สึก อย่างไรกับการที่ต้องเป็น เงา ของใครสักคน ตู้โทรศัพท์ ตู้โทรศัพท์ทาให้ผมนึกถึงบทกลอนของ ผศ..ศิวกานท์ ที่พูดถึงเหตุการณ์ ของเขากับหญิงในตู้โทรศัพท์ ในบทกลอนเล่าว่า ผู้หญิงคนนั้นใช้ตู้โทรศัพท์ นานมาก ซึ่งตัวเขาเองก็กาลังต้องการใช้ตู้โทรศัพท์ เช่นกัน เขารอ จนรอไม่ไหว สุดท้ายจึงระบายความคับแค้นใส่เทปและเปิดใส่ตู้โทรศัพท์ ที่ผู้หญิงคนนั้นใช้อยู่ ซึ่งบทกลอน นี้ นาเรื่อง ที่พบเจอกับคนเองมาแต่งได้ใจความครบถ้วนดีมาก และยังมีเสนห์ เป็นเหมือนปัญหาให้ผู้อ่านได้นามา ลองคิด ท้องฟ้า เรายืนอยู่บนแผ่นดินเดียวกัน ใต้ฟ้าแผ่นเดียวกันในบางครั้งที่ฝนตกลงมา ฝนก็ไม่ได้ตกทั่วฟ้า ไม่ได้ชุ่มฉ่า ทั่วแผ่นดิน ไม่ใช่เพราะฝนลาเอียงที่จะตกแต่เกิดจากการดูแลธรรมชาติของมนุษย์ต่างหาก หากที่ใดอุดมสมบูรณ์ ฝนก็จะตกต้องตามฤดูกาล เป็นหยาดน้าจากฟ้าที่เหมือนจะขอบคุณให้แก่ผู้ที่ดูแลให้ธรรมชาติ ภูเขา ป่าไม้อุดม สมบูรณ์ ดวงจันทร์ “อยู่ฟ้าเดียวกันพระจันทร์ดวงหนึ่ง “ บทเพลงส่วนหนึ่งเท่าที่ผมจาได้จากโฆษณาของ การไฟฟ้า ซึ่ง ชวนให้คิดถึงคนที่อยู่ห่างไกลได้อย่างดีในค่าคืนที่ต้องนั่งชมจันทร์เพียงคนเดียว ดวงจันทร์ที่อยู่แสนไกล บนท้องฟ้ายามค่าคืน คงเป็นจันทร์ดวงเดียวกับกับคนที่แสนจะคิดถึง เฝ้ามองอยู่ ผลงานของ นายวสุ วรรลยางกูร นักเรียนชั้น ม.๔/๑
  • 3. ใบความรู้ เรื่อง การอ่านพินิจสาร บทร้อยแก้ว และ บทร้อยกรอง รายวิชาภาษาไทย ระดับขั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ ผู้สอน นางพัชราพร นิยะบุญ งานพัฒนาสื่อและนวัตกรรม ………………………………………………………………………………………. เรื่อง คุณค่างานประพันธ์ งานประพันธ์ คืองานที่มนุษย์ใช้ภาษาที่สละสลวยสร้างสรรค์ขึ้นถ่ายทอดเป็นเรื่องราว มีทั้งร้อยแล้ว และร้อยกรอง และจะเขียนเป็นลายลักษณ์อักษรหรือไม่ก็ได้ งานประพันธ์ที่เป็นลายลักษณ์อักษรมีหลักฐาน ถึงปัจจุบันชิ้นแรก คือ ศิลาจารึกของพ่อขุนรามคาแหง งานประพันธ์ที่ไม่ได้เขียนเป็นลายลักษณ์อักษร เรียกว่า “มุขปาฐะ” เช่นกลอนสด เพลงพื้นเมือง ลาตัด ฯลฯ องค์ประกอบของงานประพันธ์ ๑. เนื้อหา หมายถึง เรื่องราวที่ผู้แต่งถ่ายทอดให้ผู้อ่านได้รับรู้ เรื่องราวที่ผู้แต่งอาจนามาจาก ประสบการณ์ จินตนาการ ชีวทรรศน์ โลกทรรศน์ อารมณ์ความรู้สึก รวมถึง“สาร” ที่ผู้ประพันธ์ประสงค์ จะถ่ายทอดถึงผู้อ่านด้วย ๒. รูปแบบ หมายถึง ลักษณะ รวมประเภทงานประพันธ์ที่ผู้แต่งใช้ในการถ่ายทอดเนื้อหาไปสู่ผู้อ่าน เช่น นิราศ นิทานคากลอน คาฉันท์ ลิลิต บทความ บันทึก จดหมายเหตุ เรื่องสั้น นวนิยาย ฯลฯ งานประพันธ์ที่มีรูปแบบกลมกลืนกับเนื้อหาอย่างมีศิลปะเป็นที่ยอมรับ จะจัดเป็นวรรณคดี ถ้าไม่ ถึงขั้นวรรณคดี จะเรียกว่า วรรณกรรม การพิจารณาคุณค่าของงานประพันธ์ พิจารณาได้ ๒ แนว คือ คุณค่าด้านวรรณศิลป์ และ คุณค่า ด้านสังคม ๑. คุณค่าด้านวรรณศิลป์ เป็นคุณค่าทางด้านศิลปะการแต่ง การใช้โวหารภาพพจน์ ความไพเราะสละสลวยของภาษาที่ใช้ คุณค่าด้านวรรณศิลป์ จะเกี่ยวกับความงามในภาษา และคุณค่า ทางด้านนี้จะให้พัฒนาการทางด้านอารมณ์ ในการพิจารณาคุณค่าทางด้านวรรณศิลป์ ของงานประพันธ์ที่เป็น ร้อยกรอง จะพิจารณาว่าคาประพันธ์ นั้นมีรูปแบบสอดคล้องกับเนื้อหาหรือไม่ กลวิธีการแต่งน่าสนใจ ใช้ถ้อยคา ไพเราะสละสลวยและให้อารมณ์สะเทือนใจหรือไม่ นอกจากนี้ให้พิจารณาด้วยว่างานนั้นเสนอ “สาร” ที่มี ความคิดเชิงสร้างสรรค์หรือไม่
  • 4. ๒ การพิจารณา “ร้อยแก้วประเภทสารคดี” จะพิจารณาว่ารูปแบบสอดคล้องกับเนื้อหา หรือไม่ วิธี เสนอเรื่องน่าสนใจหรือไม่ ให้ความรู้ถูกต้องหรือไม่ สานวนภาษาสละสลวย และสื่อความหมายได้ชัดเจน หรือไม่ สาหรับ “ ร้อยแก้วประเภทบันเทิงคดี” จะพิจารณาตามเกณฑ์ของรูปแบบ เช่น ถ้าเป็นเรื่องสั้นจะ พิจารณาว่าแก่นเรื่องสัมพันธ์กับโครงเรื่องหรือตัวละครหรือไม่มีกลวิธี การประพันธ์ที่แปลกใหม่ น่าสนใจหรือไม่ มีจุดขัดแย้งที่ก่อให้เกิดอารมณ์สะเทือนใจหรือไม่ ใช้ภาษา สละสลวยก่อให้เกิดจินตภาพหรือไม่ คาพูดเหมาะสมกับบุคลิกภาพของตัวละคร และ เสนอสารที่มีความคิด เชิงสร้างสรรค์หรือไม่ เป็นต้น องค์ประกอบของวรรณศิลป์ ๒. คุณค่าด้านสังคม เป็นคุณค่าที่สะท้อนภาพชีวิตของคนในสังคม ทาให้ผู้อ่านเข้าใจชีวิตของผู้อื่น เกิดความเห็นอก เห็นใจผู้อื่น คุณค่าทางด้านสังคมนี้จะให้พัฒนาการทางด้านปัญญา ในการพิจารณาคุณค่าทางด้านสังคม จะพิจารณาว่างานประพันธ์นั้นมีเนื้อหาสาระเกี่ยวกับ วัฒนธรรมจริยธรรมของสังคมหรือไม่ มีส่วนช่วยจรรโลงหรือพัฒนาสังคม เช่น ช่วยประเทืองปัญญาของคน ในสังคม ช่วยอนุรักษ์สิ่งมีค่าของคนในสังคมและสนับสนุนค่านิยมอันดีงามของสังคมหรือไม่ เนื่องจากวรรณคดีมีคุณค่าทั้งทางวรรณศิลป์ และสังคม วรรณคดีจึงให้ประโยชน์ทั้งทางประเทือง ปัญญาและความสาเริงอารมณ์ การให้นักเรียน เรียนวรรณคดีก็เพื่อจะให้เกิดความเข้าใจชีวิต เห็นอกเห็นใจ เพื่อนมนุษย์ด้วยกันมากขึ้น และทาให้นักเรียนมีพัฒนาการทางด้านอารมณ์ด้วย แนวคิดและค่านิยมในงานประพันธ์ แนวคิดในงานประพันธ์ มี ๒ ลักษณะ คือ ๑. แนวคิดสาคัญ บางทีเรียกว่า “แก่นเรื่อง ” หรือ “สารสาคัญของเรื่อง” หมายถึงความคิดสาคัญที่ผู้ แต่งใช้เป็นแนวในการผูกเรื่อง เช่น เรื่อง อัวรานางสิงห์ ผู้แต่งมีแนวคิดว่า “ สัตว์ป่าต้องอยู่ในป่า ถ้ามันฝ่าฝืน กฎข้อนี้ มันจะต้องทนทุกข์ทรมาน ” ๒. แนวคิดอื่น ๆ คือ ความคิด หรือ ข้อคิด หรือ “ สาร” ที่ผู้แต่ง แทรกไว้ในเรื่อง เช่นอัวรานางสิงห์ ผู้แต่งได้แทรกข้อคิดหรือแนวคิดต่าง ๆ ไว้ เช่น คนที่นาสัตว์มาเลี้ยงต้องดูแลเอาใจใส่ เพราะสัตว์ก็มีจิตใจ ต้องการความรัก ความเอาใจใส่และสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมกับมันเช่นกัน
  • 5. ๓ ค่านิยม ค่านิยมมีความหมายที่ควรทราบอยู่ ๒ อย่าง คือ ๑. ค่านิยม หมายถึง ความเชื่อ ความคิด หรือ ความรู้สึกของคนใดคนหนึ่ง หรือกลุ่มใด กลุ่ม หนึ่ง ที่มีต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ว่าสิ่งนั้นมีค่า มีความหมาย หรือมีความสาคัญต่อตน หรือกลุ่มของตน ความเชื่อ ความคิด หรือ ความรู้สึกนี้จะเป็นตัวกาหนดพฤติกรรมให้คนนั้นเลือกทาหรือไม่ทาสิ่งใด ๒. ค่านิยม หมายถึง ความเชื่อมั่น การยึดถือปฏิบัติในเรื่องต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับ การดาเนินชีวิต ค่านิยมจะเกี่ยวข้องกับวัฒนธรรม เพราะวัฒนธรรมไทยหมายถึงแบบแผนการดาเนินชีวิต คน ไทยมีค่านิยมบางประการที่แสดงแบบแผนการดาเนินชีวิต เช่น นิยมการทาบุญ เห็นความสาคัญในการเป็น ไทแก่ตัว และชอบความสนุกสนาน เราอาจพิจารณาค่านิยมจากบุคคลหนึ่งบุคคลใดได้จากสิ่งที่เขาสนใจ นอกจากนี้ค่านิยมยังเปลี่ยนแปลง ได้ เมื่อ วัย ความรู้ ประสบการณ์ และสภาพแวดล้อมเปลี่ยนแปลงไป …………………