SlideShare a Scribd company logo
1 of 176
Download to read offline
ระบบสืบพันธุ์สตรี
(female reproductive system)
ระบบสืบพันธุ์สตรี
(female reproductive system)
 อวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก (external genitalia)
 อวัยวะสืบพันธุ์ภายใน (internal reproductive
organ)
อวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก
(external genital organ)
 หัวหน่าว (mons pubis)
 แคมใหญ่ (labia majora)
 แคมเล็ก (labia minora)
 Clitoris
 Vestibule
 เยื่อพรหมจารี (hymen)
 Bartholin’s gland
 ช่องคลอด (vagina)
อวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก
(external genital organ)
หัวหน่าว
 เป็นส่วนนูนเหนือต่อ pubic symphysis
 ประกอบด้วยผิวหนังและชั้นไขมัน
 ส่วนผิวหนังจะมีขน มีลักษณะหยาบหนาและหยิก
 การเรียงตัวของขนในเพศหญิงจะมีลักษณะเป็นสามเหลี่ยมที่มีฐานอยู่
ด้านบน
แคมใหญ่
 เป็นสันนูนยาวทั้งสองข้างของ vestibule
 ผิวนอกจะมีสีคล้าและมีขน
 ผิวด้านในจะเรียบและไม่มีขน
 ภายในประกอบด้วยไขมัน ต่อมไขมัน และ round ligament ของมดลูก
มายึดอยู่
แคมเล็ก
 เป็นแผ่นนูนบางขนาดเล็กอยู่ด้านในต่อแคมใหญ่
 ค่อนข้างเรียบ ไม่มีขน
 ภายในประกอบด้วย sebaceous glands
 เริ่มจาก clitoris ทางด้านหน้าแล้วมารวมกันเป็น fourchette ทาง
ด้านหลัง
clitoris
 เป็น erectile organ
 มีเส้นประสาทจานวนมาก
 มีความไวมากที่สุดของอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก
vestibule
 บริเวณที่อยู่ระหว่างแคมเล็กทั้งสองข้าง
 ส่วนบนสุดอยู่ที่ clitoris ส่วนล่างสุดอยู่บริเวณ fourchett
 มีสีแดงจางๆ
 มีรูเปิด 6 รู ได้แก่ urethra,vagina,bartholin ducts,
paraurethral duct(skene ducts)
Hymen
 เป็นเยื่อบางๆที่ปากช่องคลอด
 หลังการร่วมเพศหรือคลอดบุตรจะขาด
Bartholin’s gland
 เป็นต่อมสร้างน้าเมือกเพื่อหล่อลื่นช่องคลอด
 อยู่ทั้งสองข้างทางด้านล่างปากช่องคลอด
Bartholin’s abscess
Marsupialization
ช่องคลอด
 ทาหน้าที่เกี่ยวกับการร่วมเพศและการคลอดบุตร
 เยื่อบุผนังช่องคลอดจะค่อนข้างหนาและมีรอยย่นตาม
แนวขวาง
อวัยวะสืบพันธุ์ภายใน
(internal reproductive organ)
 รังไข่ (ovary)
 หลอดมดลูก (fallopian tube)
 มดลูก (uterus)
รังไข่
 ลักษณะคล้ายถั่ว
 เป็นอวัยวะเดียวในช่องท้องที่ไม่มี peritoneum
คลุม
 น้าหนักประมาณ 4-8 กรัม
 ยาวประมาณ 3.5x2.5x1.5 cm
 หน้าที่สาคัญคือ การสร้างฮอร์โมนเพศหญิง เอสโตร
เจนและโปรเจสเตอโรน รวมทั้งการสร้างไข่
หลอดมดลูก
 มีหน้าที่นาไข่จากรังไข่ไปยังมดลูก
 มีลักษณะเป็นท่อกลวง
 ยาวประมาณ 7-14 cm
 ส่วนปลายบานออกคล้ายปากแตร
มดลูก
 อวัยวะที่ตัวอ่อนฝังตัวและมีการเจริญเติบโตจนคลอด
 ขนาดประมาณ 8x5x3 cm3
 ปากมดลูกเป็นส่วนที่อยู่ล่างสุดของมดลูกและติดต่อกับช่องคลอด
 ปากมดลูกยาวประมาณ 2-4 cm
 ภายในปากมดลูกเป็น cervical canal ติดต่อกับโพรงมดลูก
 สตรีที่ยังไม่ผ่านการคลอดบุตรจะมีขนาดเล็ก เป็นรูกลมหรือรีแต่ถ้า
ผ่านการคลอดบุตรแล้วจะมีลักษณะเป็นร่องในแนวขวาง
อวัยวะสืบพันธุ์ภายใน
(internal reproductive organ)
อวัยวะสืบพันธุ์ภายใน
(internal reproductive organ)
การแบ่งส่วนต่างๆของช่องท้อง
การแบ่งส่วนต่างๆของช่องท้อง
1 2 3
4 5 6
87 9
1- Rt Hypochondriac region
2- Epigastric region
3- Lt Hypochondriac region
4- Rt Lumbar region
5- Umbilical region
6- Lt Lumbar region
7- Rt Ilioinguinal region
8- Hypogastric (pubic) region
9- Lt Ilioinguinal region
การตรวจร่างกาย
การตรวจร่างกาย
การซักประวัติ
ข้อมูลเกี่ยวกับประวัติ
 อายุและสถานภาพสมรส
 อาการสาคัญที่นาผู้ป่วยมาพบแพทย์ เช่นตกขาว, ตกเลือด
 การเจ็บป่วยจากปัจจุบันและอดีต
 การเจ็บป่วยในครอบครัวหรือโรคที่ถ่ายทอดทางพันธุกรรม
 ประวัติระดู อายุเริ่มมีระดูครั้งแรก, ลักษณะเลือดที่ออก, ระยะเวลา
ที่มา,ปริมาณเลือดที่ออก, ระดูปกติครั้งสุดท้าย (LMP)
 ประวัติการตั้งครรภ์, การคุมกาเนิด, การมีบุตร, การแท้งการคลอด
บุตร
 ประวัติการแพ้ยา, อาหาร
ประวัติทางนรีเวช
 ประวัติระดู
 ประวัติการมีเพศสัมพันธ์
 ประวัติการตั้งครรภ์และการคลอด
 ประวัติการคุมกาเนิด
 ประวัติการขับถ่าย
ประวัติระดู
 มีความสาคัญมาก
 อายุที่เริ่มมีระดูครั้งแรก
 ความสม่าเสมอของรอบระดู ความยาวของรอบระดู จานวนวันและปริมาณ
ของเลือดระดู
 อาการปวด อาการข้างเคียงอื่นที่สัมพันธ์กับรอบระดู
 วันแรกของรอบระดูครั้งสุดท้าย (LMP)
 ครั้งก่อนสุดท้าย (PMP)
 อาการเลือดออกผิดปกติ
ประวัติการมีเพศสัมพันธ์
 ความถี่ของการมีเพศสัมพันธ์
 จานวนคู่นอน
 การแต่งงาน
 ความพึงพอใจและความต้องการทางเพศ
 ปัญหาในการมีเพศสัมพันธ์ เช่นเจ็บขณะร่วมเพศ
ประวัติการตั้งครรภ์และการคลอด
 จานวนครั้งของการตั้งครรภ์และคลอดบุตร
 อายุครรภ์ตอนคลอดหรือแท้ง
 วิธีการคลอดหรือแท้ง
 น้าหนักทารกแรกคลอด
 ภาวะแทรกซ้อนจากการคลอดหรือแท้ง
 การขูดมดลูก
บันทึกการมีบุตร
 ตัวเลขสี่ตัว
 ตัวแรกแทน จานวนการตั้งครรภ์ครบกาหนด
 ตัวที่สองแทน จานวนการคลอดก่อนกาหนด
 ตัวที่สามแทน จานวนการแท้ง
 ตัวสุดท้ายแทน จานวนบุตรที่มีชีวิต
 P_ _ _ _
ตัวอย่าง
 P 3-1-1-4 หมายความว่าอย่างไร
คาตอบ
 P 3-1-1-4 หมายความว่า
 ตั้งครรภ์ครบกาหนด 3 ครั้ง
 คลอดก่อนกาหนด 1 ครั้ง
 แท้ง 1 ครั้ง
 ขณะนี้ เด็กมีชีวิต 4 คน
เพิ่มเติม
 ครรภ์แฝดถือเป็นการตั้งครรภ์ 1 ครั้ง
 ครรภ์ไข่ปลาอุก หรือครรภ์นอกมดลูกถือเป็นการแท้ง
ประวัติการคุมกาเนิด
 ประวัติที่ใช้ในอดีตจนถึงปัจจุบัน
 ปัญหาการใช้
 ระยะเวลาที่ใช้
ประวัติการขับถ่าย
 อาการปวดแสบขณะถ่ายปัสสาวะ ปัสสาวะเล็ดขณะไอ
 อาการปวดขณะถ่ายอุจจาระ
 มีก้อนยื่นขณะถ่ายอุจจาระ
ข้อมูลเกี่ยวกับอาการทางสูติ-นรีเวช
 อาการผิดปกติทางระดู, ตกขาว, คัน
 อาการปวดท้องน้อย
 ก้อนในท้องน้อย
 อาการทางอุจจาระ, ปัสสาวะ
 กะบังลมเคลื่อนหรือมีก้อนในช่องคลอด
 อาการอื่นๆเช่นอาการวัยหมดระดู, การมีบุตรยาก, การ
วางแผนครอบครัว
 อาการทางสูติเช่นแพ้ท้อง, ตกเลือด
PELVIC PAIN
ปวดท้องน้อย
 ปวดท้องน้อยเฉียบพลัน-ปวดท้องน้อยทันทีทันใดหรือ
มีอาการเป็นวัน
 ปวดท้องน้อยเรื้อรัง-ปวดท้องน้อยไม่ทราบสาเหตุ เป็น
เวลานานกว่า 6 เดือน
ปวดท้องน้อยเรื้อรัง
 อาการปวดท้องน้อยเป็นมานาน 6 เดือน ขึ้นไป
 อาการปวดท้องน้อยที่ไม่สามารถตรวจหาสาเหตุได้
โดยใช้การตรวจร่างกายและตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ด้วยวิธีขั้นพื้นฐาน
 อาการปวดท้องน้อยมีผลต่อผู้ป่วย เช่น เสียสุขภาพจิต
สมรรถภาพในการทางานในชีวิตประจาวันลดลง ใช้ยา
บรรเทาปวดเป็นเวลานาน อ่อนเพลีย นอนหลับ
ผิดปกติ ตลอดจนชีวิตสมรสถูกบั่นทอน
การวินิจฉัยแยกโรคปวดท้องน้อยเฉียบพลัน
 โรคระบบสืบพันธุ์สตรี
 โรคระบบทางเดินอาหาร
 โรคระบบทางเดินปัสสาวะ
 โรคระบบกล้ามเนื้ อ กระดูก และข้อ
โรคระบบสืบพันธุ์สตรี
 การปวดชนิดเฉียบพลัน-การตั้งครรภ์นอกมดลูก
(ectopic pregnancy), การแท้ง (abortion),
การเสื่อมของเนื้ องอกมดลูก degeneration of
leiomyoma)
 ภาวะติดเชื้อเฉียบพลัน-เยื่อบุโพรงมดลูกอักเสบ
(endometritis), การอักเสบติดเชื้อในอุ้งเชิงกราน
(pelvic inflammatory disease) , ฝีของปีก
มดลูก (tubo-ovarian abscess)
โรคระบบสืบพันธุ์สตรี
 ความผิดปกติของปีกมดลูก-เลือดออกภายในถุงน้ารังไข่
(hemorrhagic functional ovarian cyst), การ
หมุนบิดขั้วของปีกมดลูก (torsion of adnexa), การ
แตกของถุงน้ารังไข่ (rupture of ovarian cyst)
 การปวดชนิดเกิดซ้าเป็นระยะๆ-การปวดท้องน้อยกลางรอบ
ระดู (mittelschmerz), การปวดระดูแบบปฐมภูมิและ
ทุติยภูมิ (1,2 dysmenorrhea)
โรคระบบทางเดินอาหาร
 กระเพาะอาหารและลาไส้อักเสบ (gastroenteritis)
 ไส้ติ่งอักเสบ (appendicitis)
 ลาไส้อุดตัน (bowel obstruction)
 การอักเสบของ diverticulum (diverticulitis)
 กลุ่มอาการลาไส้บิดตัวผิดปกติ (irritable bowel
syndrome)
 ต่อมน้าเหลืองอักเสบ (mesentery adenitis)
โรคระบบทางเดินปัสสาวะ
 กระเพาะปัสสาวะอักเสบ (cystitis)
 ไตอักเสบ (pyelonephritis)
 นิ่วในท่อไต (ureteral lithiasis)
 กลุ่มอาการของท่อปัสสาวะ (urethral syndrome)
โรคระบบกล้ามเนื้ อ กระดูก และข้อ
 เลือดคั่งในผนังหน้าท้อง
 ไส้เลื่อน
การวินิจฉัยแยกโรคปวดท้องน้อยชนิดเรื้อรัง
 โรคระบบสืบพันธุ์สตรี
 โรคระบบทางเดินอาหาร
 โรคระบบทางเดินปัสสาวะ
 โรคระบบกล้ามเนื้ อ กระดูก และข้อ
 โรคทางภาวะจิตใจ
โรคระบบสืบพันธุ์สตรี
 ไม่สัมพันธ์กับรอบระดู-พังผืดในอุ้งเชิงกราน (pelvic
adhesion) ,เยื่อบุโพรงมดลูกอักเสบ (endometritis) ,ปีก
มดลูกอักเสบ (salpingo-oophoritis), กลุ่มอาการเนื้ อเยื่อรัง
ไข่เหลือในอุ้งเชิงกรานหลังการผ่าตัด (ovarian remnant
syndrome) ,กลุ่มอาการเลือดคั่งในอุ้งเชิงกราน (pelvic
congestion syndrome) ,เนื้ องอกของรังไข่ (ovarian
neoplasm) ,การหย่อนตัวของอุ้งเชิงกราน (pelvic
relaxation) ,อุ้งเชิงกรานอักเสบแบบเรื้อรัง (chronic pelvic
inflammatory disease)
โรคระบบสืบพันธุ์สตรี
 สัมพันธ์กับรอบระดู-การปวดระดูแบบปฐมภูมิและทุติยภูมิ
(1,2 dysmenorrhea), เยื่อบุโพรงมดลูกเจริญผิดที่
(endometriosis), การเกิดถุงน้ารังไข่อย่างเรื้อรัง
(chronic functional cyst formation), กลุ่มอาการ
เนื้ อเยื่อรังไข่เหลือในอุ้งเชิงกรานหลังการผ่าตัด (ovarian
remnant syndrome)
โรคระบบทางเดินอาหาร
 ก้อน fecaliths ในไส้ติ่ง (appendiceal fecaliths)
 การอักเสบของ diverticulum (diverticulitis)
 กลุ่มอาการลาไส้บิดตัวผิดปกติ (irritable bowel
syndrome)
 โรคลาไส้อักเสบ (inflammatory bowel
syndrome)
โรคระบบทางเดินปัสสาวะ
 การอักเสบเรื้อรังของระบบทางเดินปัสสาวะ (recurrent
or relapsing cystouretritis)
 กลุ่มอาการของท่อปัสสาวะ (urethral syndrome)
 Hydronephrosis
 ไตผิดที่ในอุ้งเชิงกราน (pelvic kidney)
 มะเร็งของกระเพาะปัสสาวะ (carcinoma of the
bladder)
โรคระบบกล้ามเนื้ อ กระดูก และข้อ
 ความผิดรูปแต่กาเนิด (congenital anomalies)
 ความคดงอของกระดูกสันหลัง (scoliosis, kyphosis)
 ความเสื่อมสภาพของกระดูกสันหลังหรือข้อต่อกระดูกเคลื่อน
(spondylolysis, spondylolithesis)
 Pelvic floor tension myalgis
 Myofascial pain
 กระดูกผุกร่อน (osteoporosis)
อาการคัน
คันที่ปากช่องคลอด
 การซักประวัติ ระยะเวลาที่เกิดอาการ, สิ่งกระตุ้น,
ความสัมพันธ์กับรอบระดู, การคุมกาเนิด, อาการหลัง
เพศสัมพันธุ์
 การตรวจร่างกาย ตรวจบริเวณปากช่องคลอด, ช่อง
คลอด, ปากมดลูก
ระดูขาว (LEUKORRHEA)
ระดูขาว (leukorrhea)
 ระดูขาวปกติ เป็นระดูขาวที่พบในภาวะปกติเป็น
ส่วนผสมของสิ่งซึ่งขับออกจากต่อมต่างๆของระบบ
อวัยวะสืบพันธุ์
 ระดูขาวผิดปกติ มีลักษณะและกลิ่นผิดปกติ อาจมี
อาการคัน ปวดแสบร้อนบริเวณปากช่องคลอดหรือ
บริเวณใกล้เคียง
ระดูขาวปกติมาจาก
 Bartholin’s gland จะขับน้าเมือกออกมาหล่อลื่นช่องคลอดส่วนล่าง
และปากช่องคลอด
 Sweat gland, sebaceous gland บริเวณ vulva และ
paraurethral gland(skene’s gland)
 Vagina หลุดร่วงจากเซลล์ชั้นผิวของเยื่อบุผนังช่องคลอด
 Cervix โดยการขับน้าเมือกจาก endocervical gland
 Uterine secretion จาก endometrial gland
 Tubal secretion
ระดูขาวที่ปกติอาจเพิ่มขึ้น
 ช่วงใกล้ตกไข่ estrogen จะกระตุ้น endocervical
glands หลั่งน้าเมือกจานวนมาก
 ระยะก่อนมีระดู 2-3 วัน เลือดมาหล่อเลี้ยงเพิ่มทาให้
secretion จากทุกส่วนเพิ่ม
 การตั้งครรภ์ มีการร่วงของเซลล์บุผนังช่องคลอดและน้าเมือก
จาก endocervical glands เพิ่มมากขึ้น
 ขณะร่วมเพศ จะทาให้ secretion จาก bartholin’s
glands เพิ่มขึ้น
ระดูขาวที่ปกติอาจเพิ่มขึ้น
 ทารกแรกเกิดเพศหญิง อาจพบมีระดูขาวลักษณะเป็น
เมือกภายใน 1-10 วันแรกภายหลังคลอด เป็นผล
จากการกระตุ้นมดลูกและช่องคลอดโดยเอสโตรเจน
จากรก
 ระยะวัยรุ่นคือก่อนหรือหลังมีระดูครั้งแรก ประมาณ
2-3 ปีแต่จะมีอาการเพียงชั่วคราวและหายไปได้เอง
สาเหตุระดูขาวผิดปกติ
 การติดเชื้อ เช่น TV, เชื้อรา, หนองใน
 ปากมดลูกอักเสบและเป็นแผล
 สิ่งแปลกปลอมในช่องคลอด
 แผลที่ปากช่องคลอดและปากมดลูก
 เนื้ องอกและมะเร็งของช่องคลอดหรือปากมดลูก
 สาเหตุอื่นๆ เช่น fistula
สาเหตุต่างๆของตกขาวและการวินิจฉัยโรค
สี ลักษณะ จำนวน กลิ่น สำเหตุที่น่ำนึกกึง
ใส เมือก +ถึง++ ไม่มี -มีไข่ตก
-ได้รับเอสโตรเจนมาก
-มีอารมณ์เครียด
ใสถึงขาวขุ่น เหนียว +ถึง++ อาจมีกลิ่นน้ากรด -ปากมดลูกอักเสบ
-BV
ชมพู เป็นน้าเหลือง +ถึง++ ไม่มี -ได้รับเอสโตรเจนน้อยไป
-Nonspecific
infection
เขียวปน
เหลือง
เป็นฟอง +ถึง++ เหม็น -TV
สาเหตุต่างๆของตกขาวและการวินิจฉัยโรค
สี ลักษณะ จำนวน กลิ่น สำเหตุที่น่ำนึกกึง
น้าตาล เป็นน้า +ถึง++ กลิ่นอับ -ช่องคลอดอักเสบ, ปากมดลูกอักเสบ,
ปากมดลูกตีบตัน, เยื่อบุโพรงมดลูก
อักเสบและสภาวะหลังได้รับรังสี
เทามีเลือดปน ไม่เหนอะหนะ +ถึง
++++
เหม็นเน่า -มีแผลในช่องคลอด, ช่องคลอดอักเสบ,
เนื้ องอกช่องคลอด ปากมดลูก เยื่อบุโพรง
มดลูก
ขาว เกาะเป็นแผ่น +ถึง++ เหม็นอับ -การติดเชื้อราของช่องคลอด
candida
 สาเหตุ จาก candida albicans อาจมีลักษณะเป็น yeast cells
หรือเป็น pseudohyphae
 สาหรับ yeast cells ส่วนใหญ่พบเป็น normal flora อยู่ในช่อง
คลอด แต่ pseudohyphae มักพบในผู้ป่วยที่มีอาการแล้ว
 ตกขาวลักษณะสีเหลืองหรือขาวเป็นก้อนคล้ายนมข้น ผนังช่องคลอดมีการ
อักเสบบวมแดง มีอาการคันในช่องคลอด อวัยวะเพศภายนอกมีอาการ
อักเสบบวมแดงและคัน
 ภาวะต่างๆ เช่น ตั้งครรภ์,เบาหวาน,ภูมิคุ้มกันต่า,การเจ็บป่วยเรื้อรัง,การใช้
ยาปฏิชีวนะ,ยาคุมกาเนิดนานๆ,คนอ้วนมากๆ พบมาก
candida
Candida
 การอักเสบของช่องคลอดที่เกิดจากเชื้อรา เป็นเรื่องที่
พบได้บ่อย
 เชื้อราที่เป็นต้นเหตุมีหลายชนิด ได้แก่ Candida
albicans พบร้อยละ 80-90
ปัจจัยส่งเสริมต่อการติดเชื้อราในช่องคลอด
 การตั้งครรภ์ พบสูงกว่าหญิงไม่ตั้งครรภ์ ประมาณ 2 เท่า (เอสโตร
เจนที่สูงขึ้นในระหว่างตั้งครรภ์จะทาให้ปริมาณ glycogen ในเยื่อ
บุช่องคลอดมากขึ้น)
 โรคเบาหวานที่ควบคุมน้าตาลไม่ดี
 ยาปฏิชีวนะไปทาลายเชื้อที่อยู่ในลักษณะสมดุลกับเชื้อราในช่อง
คลอด
 ยาคุมกาเนิด พบเชื้อราในช่องคลอดในผู้ป่วยที่กินยาคุมกาเนิด
ประมาณ ร้อยละ 20-45 (เอสโตรเจนเพิ่มปริมาณ glycogen)
ปัจจัยส่งเสริมต่อการติดเชื้อราในช่องคลอด
 ยา steroid ทาให้มีการติดเชื้อแบบแพร่กระจายได้ง่าย
 ความบกพร่องของภูมิต้านทาน
 ใส่เสื้อผ้าที่คับเกินไป
 เพศสัมพันธ์
การวินิจฉัย
 การทา wet smear คือ เอาตกขาวผสมน้าเกลือ 1-2
หยดบนแผ่นกระจกสไลด์ แล้วหยด 10% KOH ดูกล้อง
จุลทรรศ์จะเห็น hyphea
 การทา Gram’s stained ดูด้วยกล้องขยาย พบ
pseudohyphae และ budding cell ติดสี gram
positive
การรักษา (uncomplicate)
Local treatment
Nystatin (100,000u)
- 1 เม็ด สอดช่องคลอดก่อนนอน 14 (10) วัน
Clotrimazole (100 mg)
- 1 เม็ด สอดช่องคลอดก่อนนอน 7 (6) วัน
- 2 เม็ด สอดช่องคลอดก่อนนอน 3 วัน
Clotrimazole (500 mg)
- 1 เม็ด สอดช่องคลอดก่อนนอน ครั้งเดียว แต่ได้ผลดีน้อยกว่า ชนิด 100 mg
และกลับเป็นซ้าได้บ่อย
การรักษา (uncomplicate)
Systemic treatment
Ketoconazole (200 mg)
- 1 เม็ด รับประทาน 5 วัน ไม่ควรใช้ในผู้ป่วยโรคตับ มีผลข้างเคียง เช่น เวียน
ศีรษะ, คลื่นไส้อาเจียน
Itraconazole (100 mg)
- 2 เม็ด รับประทาน เช้า-เย็น 1 วัน ครอบคลุมเชื้อได้มาก
Fluconazole (150 mg)
- 1 เม็ด ครั้งเดียว
การรักษา
 สตรีตั้งครรภ์ควรใช้ชนิดสอด
 รักษาคู่นอน ใช้ยาทา เช้า - เย็น
Trichomonas vaginitis
 สาเหตุจากเชื้อ Trichomonas vaginalis
 ลักษณะตกขาวเป็นฟองสีเขียวปนเหลือง หรือสีขาว
 คันในช่องคลอดและบริเวณรอบๆปากช่องคลอด
 อาจมีปัสสาวะแสบขัดเนื่องจากมีเชื้อเข้าไปในท่อปัสสาวะ
 เจ็บปวดขณะมีเพศสัมพันธุ์
 เยื่อบุช่องคลอดมีการอักเสบทั่วๆไป
 พบจุดแดงๆที่ ectocervix เรียก strawberry
cervix
Strawberry cervix
การวินิจฉัย
 Wet smear ดูด้วยกล้องจุลทรรศน์ จะมองเห็นการเคลื่อนไหวของ TV
ยังอาจพบได้จากการทา PAP smear
การรักษา
 Metronidazole รับประทาน 2กรัม ครั้งเดียว หรือ ขนาด
500 มก. 1 เม็ด วันละ 2 เวลา นาน 7 วัน พบคลื่นไส้อาเจียนได้
เชื้อจะหมดใน 24 ชม. อาการและรอยโรคอยู่นาน 3-6 สัปดาห์
 ในสตรีตั้งครรภ์ไม่ควรใช้ metronidazole ใน 3 เดือนแรก ของ
การตั้งครรภ์ เพราะอาจมีผลทาให้ทารกเกิดความพิการได้ ให้ใช้
clotrimazole (100 mg) สอดช่องคลอดวันละครั้งนาน 6 วัน
จะช่วยให้อาการดีขึ้น แต่ถ้าตั้งครรภ์เกิน 16 สัปดาห์แล้ว อาจใช้
metronidazole ได้ สตรีให้นมบุตรต้องงดให้นมบุตร 24 ชม.
 รักษาคู่สมรสด้วย
การรักษา
 Tinidazole (500 mg) รับประทาน 4 เม็ด ครั้ง
เดียว สามารถทาลายเชื้อใน 24 ชม. เกิดคลื่นไส้
อาเจียนได้ไม่มาก
 Ornidazole (500 mg) รับประทาน 3 เม็ด
ครั้งเดียว เกิดผลข้างเคียงเรื่องวิงเวียนศีรษะ
ค่อนข้างมาก
 Trichomycin 1 เม็ด สอดช่องคลอด 7-10 วัน
Bacterial vaginosis
 เกิดจากเชื้อ Gardnerella vaginalis
 ตกขาวสีขาวขุ่นค่อนไปทางเหลือง กลิ่นฉุนเหมือนปลา
เน่า (ปลาเค็ม) (fishy amine odor) เนื่องจาก
เชื้อผลิตสาร amine
 ในหญิงตั้งครรภ์เชื่อว่าทาให้เกิด PPROM
การวินิจฉัย ต้องมี 3 ใน 4 ข้อ
 Thin homogeneous discharge
 Vaginal pH higher than 4.5
 Amine (fish like) odor of vaginal secretion บางคน
เรียก Amine test (ให้ผลบวก คือหยด 10% KOH ลงไปใน
ตกขาวได้กลิ่นเหม็นเหมือนปลาเค็มหรือปลาเน่า)
 พบ clue cell (Gm – bacilli มาเกาะติดกับ epithelium)
จากการตรวจ wet smear, gram staining หรือ PAP
smear
Clue cell
การรักษา
 Metronidazole (500 mg) รับประทานวันละ 2 ครั้ง นาน
7วัน หรือ 2 g ครั้งเดียว
 Tinidazol (500 mg) รับประทานวันละ 2 ครั้ง นาน 5 วัน
 Ampicillin (500 mg) รับประทานวันละ 4 ครั้ง นาน 7 วัน
 Clindamycin (300 mg) รับประทานวันละ 2 ครั้ง นาน 7
วัน
Gonococcal vaginitis
 เกิดจากเชื้อ Neisseria gonorrhoeae
 Gm – diplococci (coffee bean) เชื้อมักอยู่ที่ urethra,
paraurethra ducts and glands, endocervix,
Bartholin’s glands
 ตกขาวเป็นหนอง (mucopurulent discharge), ปัสสาวะแสบ
ขัด
 บางครั้งบวมแดงและคันบริเวณ vulva
 ใช้นิ้ วรีดท่อปัสสาวะจะมีหนองไหลออกมา
 Bartholin’s gland อาจโตได้เนื่องจากมีการอักเสบ
Mucopurulent discharge
การวินิจฉัย
 Wet smear พบ WBC จานวน
มาก
 Gm stained จาก urethra และ
endocervix พบ Gm –
diplococci (intracellular
diplococci)
การรักษา
ชนิดฉีด
Ceftriaxone 250 mg IM single dose
Cefotaxime 500 mg IM ร่วมกับรับประทาน
probenecid 1 g
Spectinomycin 2 g IM single dose
การรักษา
ชนิดรับประทำน
Cefixime 400 mg single dose
Ofloxacin 400 mg single dose
Ciprofloxacin 500 mg single dose
Azithromycin 1 g single dose
การรักษา
 ยาในกลุ่ม quinolone ไม่ควรให้ในสตรีตั้งครรภ์
 ควรรักษาคู่นอนด้วย
Chlamydia trachomatis
 เชื้อต้นเหตุหนองในเทียม
 บ่อยครั้งที่พบว่าสาเหตุของ urethritis เกิดจากเชื้อ
หนองในและ chlamydia trachomatis
ลักษณะทางคลินิก
 ผู้ชายจะมีหนองไหลออกทางท่อปัสสาวะ มีลักษณะเป็น
mucopurulent discharge with meatal
erythema และพบว่าร้อยละ 25 จะไม่มีอาการ
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
 Giemsa’s staining, PAP smear
 PCR (Polymerase chain reaction)
แม่นยาที่สุด
การรักษา
 Doxycycline (100 mg) รับประทานวันละ 2 ครั้ง
เป็นเวลา 10-14 วัน
 Tetracycline HCL (500 mg) รับประทานวันละ 4
ครั้ง เป็นเวลา 10-14 วัน
 Azithromycin 1 g รับประทานครั้งเดียว
 สาหรับหญิงตั้งครรภ์ให้ Erythromycin (500 mg)
รับประทานวันละ 4 ครั้ง เป็นเวลา 10-14 วัน
Herpes genitalis
 เป็นแล้วไม่หายขาด สามารถแพร่กระจายสู่ผู้อื่นได้
 เด็กที่คลอดผ่านทางคลอดที่มีเชื้อไวรัสนี้ เด็กจะติดเชื้อ
แต่กาเนิดมีโอกาสที่จะตาย
 ที่อวัยวะสืบพันธุ์เกิดจาก HSV-2
การวินิจฉัย
 แผลที่เกิดจากการแตกออกของ vesicle กลมๆเล็กๆ
หลายๆอัน รวมเป็นแผลตื้นที่มีรูปเป็นวงๆมาต่อกัน
เรียกว่า multi-ring appearance
 PAP smear ต้องขูดให้ได้เซลล์ จะพบเป็น
multinuclear giant cell with nuclear
ground glass appearance
Herpes simplex
ไ
ม่
ส
า
ม
า
ร
ถ
โ
ห
ล
ด
ภ
า
พ
ไ
ด้
การรักษา
 Acyclovir (200 mg) รับประทาน 1 เม็ด วันละ 5
ครั้ง นาน 5 วัน ยาทาใช้กรณีแผลเริ่มแห้งแล้ว ระยะแรกควร
เป็น wet dressing
 Valaciclovir (500 mg) รับประทาน 1 เม็ด วันละ 2
ครั้ง นาน 5 วัน แผลหายเร็วขึ้นและยับยั้งการเป็นซ้าได้ดี
 Famciclovir (125 mg) รับประทาน 1 เม็ด วันละ 2
ครั้ง นาน 5 วัน แต่ในการยืดเวลาของการเป็นซ้าควรให้
500 mg ต่อ วัน
Condyloma acuminata
 เกิดจากเชื้อ Human papilloma virus (HPV)
 ลักษณะเหมือนหงอนไก่ ชอบอยู่บริเวณอับชื้น
 อย่างน้อยร้อยละ 10 ของหญิงวัยเจริญพันธุ์ลักษณะ
ปกติ แต่มีเชื้อหูดหงอนไก่
Condyloma acuminata
การรักษา
 การรักษาโดยใช้ยาหรือสารเคมีป้ ายที่รอยโรค
 Surgery
 Immunotherapy
การรักษาโดยใช้ยาหรือสารเคมีป้ ายที่รอยโรค
 Podophyllins ไม่ควรใช้ยานี้ ในหูดหงอนไก่ขนาดใหญ่มาก
เพราะอาจเกิดผลข้างเคียงที่รุนแรง เช่น coma, vascular
crisis และ respiratory failure การใช้รักษาหูดหงอนไก่ใน
ผู้ป่วยตั้งครรภ์นั้นเป็นข้อห้าม เพราะมีรายงาน 20%
podophyllin ทาให้เกิด intrauterine fetal death จาก
severe constriction of placental vessels
 Trichloracetic acid ผลข้างเคียงน้อยกว่า podophylline
ใช้กับหญิงตั้งครรภ์ ผลดีพอควร ไม่นิยมใช้ป้ ายในช่องคลอดหรือที่
ปากมดลูก เพราะความเปียกชื้นทาให้ยากระจาย
การรักษาโดยใช้ยาหรือสารเคมีป้ ายที่รอยโรค
 5-Fluorouracil (5-FU) 1% รูปครีม ยับยั้งการ
สร้าง DNA ได้ผลดี
 Liquid nitrogen มักใช้กับหูดหงอนไก่ขนาดใหญ่
เกิน 5 mm
Surgery
 Simple surgical procedures
 Electric cauterization
 Cryosurgery
 Laser surgery
Immunotherapy
 Alpha-interferons ส่วนใหญ่เป็นยาฉีด
 Vaccine
Granuloma inguinale
 เกิดจากเชื้อ Donovania granulomatis หรือ
Calymmatobaterium granulomatis เป็นเชื้อ Gm –
pleomorphic bacillus
การวินิจฉัย
 แผลกลม rolled border ยุ่ยแดงเหมือนเนื้ อวัว
ulcerating granulomatous mass แผลไม่
เจ็บ ถูกต้องเลือดออกง่าย
 พบบ่อยที่ labia, fourchette, ช่องคลอด, และที่
ปากมดลูก
 ย้อม Giemsa stain หรือ Wright stain หา
Donovan’s body
การรักษา
 Tetracycline (500 mg) วันละ 4 ครั้ง เป็น
เวลา 2-4 สัปดาห์
 Streptomycin IM 5-10 วัน โดยให้จานวนยา
ทั้งสิ้น (total dose) = 20-30 g
 Chloramphenicol 2g/d พบ blood
dyscrasia บ่อย
Lymphogranuloma venereum(LGV)
 เชื้อที่เป็นสาเหตุ ได้แก่ Chlamydia
trachomatis มีแผลที่อวัยวะสืบพันธุ์อยู่ไม่นาน
ต่อมามีต่อมน้าเหลืองที่ขาหนีบโตขึ้น ถ้าไม่รักษาใน
เวลาต่อมาหนองจะไหลออกมาจากต่อมน้าเหลืองที่
แตก
การรักษา
 Doxycycline (100 mg) วันละ 2 ครั้ง เป็น
เวลา 21 วัน
 Tetracycline HCL (500 mg) วันละ 4 ครั้ง
นาน 21 วัน
 Erythromycin (500 mg) วันละ 4 ครั้ง นาน
21 วัน
 Azithromycin 1 g/d นาน 14 วัน
Chancroid
 เกิดจากเชื้อ Haemophillus ducreyi เป็น Gm – rod
 มักเป็นที่ fourchette
 แผลขอบกระรุ่งกระริ่งและเจ็บ อาจมีฝีมะม่วงที่ขาหนีบ
 ขูดเนื้ อย้อม Unna Pappenheim พบแบคทีเรียรูปแท่งบางๆ
ติดสีแดงเรียงตัว เรียกว่า school of fish or rail-road
track
การรักษา
 Erythromycin (500 mg) วันละ 4 ครั้ง เป็นเวลา 7 วัน
 Ceftriaxone 250 mg IM single dose
 Quinolone รับประทานครั้งละ 2 เม็ด วันละ 2 ครั้ง นาน 7-
10 วัน
 Augmentin (375 mg) รับประทานครั้งละ 2 เม็ด วันละ 3
ครั้ง นาน 7-10 วัน
 Azithromycin 1 g oral single dose
Syphillis
 เกิดจากเชื้อ Treponema pallidum เป็น
Spirochete
 มีความไวต่อ antiseptic และสบู่
Syphillis
 Primary แผลไม่เจ็บ ขอบแข็งคลาได้ชัด ก้นแผลสะอาดมักเป็น
แผลเดี่ยวตื้นๆ อาจพบต่อมน้าเหลืองที่ขาหนีบโต
 Secondary เกิดหลังแผลหายแล้ว 6wks-6mo ผู้ป่วย
อ่อนเพลีย ปวดเมื่อยตามตัว ผื่นขึ้นตามตัว ผื่นไม่คันCondyloma
lata เป็นแผล ลักษณะนูนกว่าผิวหนังบริเวณนั้น ผิวเป็นมัน
 Latent syphilis (early < 1 yrs, late > 1 yrs)
 Tertiary syphilis sugg. neurosyphilis
การวินิจฉัย
 Darkfield microscopy ตรวจน้าเหลืองจากแผล ดูเชื้อ
Spirochete
 Screening test:VDRL, RPR ตรวจกรองเพื่อหา antibody ต่อ
lipoidal antigen
 Confirmatory test:TPHA, FTA-AB,TPI
การรักษา Early Syphillis
 Benzathine penicillin G 2.4 million u IM
single dose
 Tetracycline (500 mg) รับประทานวันละ 4 ครั้ง
นาน 15 วัน
 Erythromycin (500 mg) รับประทานวันละ 4 ครั้ง
นาน 15 วัน
การรักษา Late Latent Syphillis
 Benzathine penicillin G 2.4 million u
IM wkly x 3 wks
 Tetracycline (500 mg) รับประทานวันละ 4
ครั้ง นาน 30 วัน
 Erythromycin (500 mg) รับประทานวันละ 4
ครั้ง นาน 30 วัน
การปวดระดู (DYSMENORRHEA)
การปวดระดู (dysmenorrhea)
 เป็นภาวะที่พบบ่อยที่สุดทางโรคนรีเวช
การปวดระดู (dysmenorrhea)
 การปวดระดูชนิดปฐมภูมิ (primary dysmenorrhea)
 การปวดระดูชนิดทุติยภูมิ (secondary dysmenorrhea)
การปวดระดูชนิดปฐมภูมิ (1 dysmenorrhea)
 การปวดระดูจะพบได้ในรอบที่มีการตกไข่
 อาการปวดเริ่มไม่กี่ชั่วโมงภายหลังระดูเริ่มมา หรืออาจก่อนระดูมา
1-2 ชั่วโมง
 ระยะเวลาปวด 48-72 ชั่วโมง อาการปวดรุนแรงในช่วง 12
ชั่วโมงแรก ถ้าปวดเกิน 3 วันให้หาสาเหตุอื่น
 ปวดเกร็งคล้ายการปวดระหว่างเจ็บครรภ์ ปวดกลางท้องน้อย อาจ
ร้าวไปหลังและด้านในของต้นขาแต่ไม่ต่ากว่าเข่า บางรายมีคลื่นไส้
อาเจียน ท้องเสีย ปวดศีรษะ อ่อนเพลีย เป็นลม
 ปวดรุนแรงอายุระหว่าง 18-24 ปี
สาเหตุของการปวดระดูชนิดปฐมภูมิ
(1 dysmenorrhea)
 Prostaglandin ที่มีการผลิตมากคือ PGF 2α และ PGE 2
 เยื่อบุมดลูกชนิด secretory เป็นแหล่งสาคัญในการผลิต PGF
2α
 รอบระดูที่มีการตกไข่ เยื่อบุมดลูก ชนิด secretory จึงมีการสร้าง
PG มากจนทาให้ปวดระดู
 PG กระตุ้นกล้ามเนื้ อมดลูกให้หดตัวและทาให้เกิดการหดรัดของ
หลอดเลือด นอกจากนี้ ยังกระตุ้นให้เกิดการหดรัดของกล้ามเนื้ อใน
กระเพาะอาหาร ลาไส้ และในหลอดเลือดทั่วไป
การรักษาอาการปวดระดูชนิดปฐมภูมิ
 การรักษาด้านจิตใจ
 เมื่ออาการปวดรุนแรงควรนอนพักผ่อน
 ใช้กระเป๋ าน้าอุ่นหรือผ้าอุ่นประคบที่ท้องน้อย
 ออกกาลังกายสม่าเสมอเพื่อคลายเครียด
 การรักษาด้วยยา
 ยาเม็ดคุมกาเนิดชนิดรวม ประเมินผลหลังใช้แล้ว 3-4
เดือน
 Laparoscopy
การรักษาด้วยยา
 ยาที่นิยมใช้ได้แก่
 Ponstan (250-500) 4 ครั้ง ต่อวัน 93%
 Naproxen (250-500) 3-4 ครั้ง ต่อวัน 50-80%
 Brufen (400) 1x4 ครั้ง ต่อวัน 66-100%
 Indomethacin (25) 3-6 ครั้ง ต่อวัน 73-90%
 Piroxicam (20) 1-2 ครั้ง ต่อวัน 80%
 Buscopan (40) 4 ครั้ง ต่อวัน (ให้ก่อนระดูมา 2 วัน ให้ติดต่อ
อีก 3 วันหลังระดูมา)
การรักษาด้วยยาเม็ดคุมกาเนิด
 กลไกการออกฤทธิ์
 ยับยั้งการเจริญของเยื่อบุมดลูกทาให้ลดการผลิต PG
 ยับยั้งการตกไข่ ทาให้มีการผลิต PG ต่า
 ควรรักษาด้วยยาดังกล่าวก่อน 3-4 เดือน ถ้าไม่ดีจึงใช้
ยาเม็ดคุมกาเนิด
การปวดระดูชนิดทุติยภูมิ (2 dysmenorrhea)
 เป็นการปวดระดูที่มีสาเหตุจากพยาธิสภาพในอุ้งเชิงกราน
 อาการร่วมเช่น ระดูมามาก,มีบุตรยาก,เจ็บขณะร่วมเพศ
 มีประวัติการอักเสบติดเชื้อในอุ้งเชิงกรานบ่อยๆ
 มักมีอาการภายหลังอายุ 25-30 ปี
 ตาแหน่งการปวดขึ้นอยู่กับตาแหน่งพยาธิสภาพ
 เวลาเริ่มปวด อาจก่อนระดูมาหลายวันหรือพร้อมระดู
สาเหตุการปวดระดูชนิดทุติยภูมิ
 การปวดเริ่มพร้อมระดูมา
 - การปวดจากพยาธิสภาพที่มดลูก เช่น submucous
myoma, endometrial polyp, adenomyosis ,
ปากมดลูกตีบตันภายหลัง, ความพิการแต่กาเนิดของระบบ
mullerian, membranous dysmenorrhea
 - ห่วงคุมกาเนิด
 - uterine dysfunction, unexplained
menorrhagia and/ or dysmenorrhea
สาเหตุการปวดระดูชนิดทุติยภูมิ
 การปวดเริ่มก่อนระดูมา
 - การอักเสบติดเชื้อเรื้อรังในอุ้งเชิงกราน
 - เยื่อบุมดลูกเจริญผิดที่ (endometriosis)
การปวดเริ่มพร้อมระดูมา
 การปวดจากพยาธิสภาพที่มดลูก เช่น submucous myoma,
endometrial polyp, adenomyosis เกิดจากการเพิ่มการ
หดรัดตัวของมดลูกเพื่อบีบไล่สิ่งแปลกปลอมในโพรงหรือผนังมดลูก
ผู้ป่วยอาจมีระดูมามากร่วมด้วย
 ปากมดลูกตีบตันภายหลังเกิดจากการผ่าตัดที่ปากมดลูก ทาให้เลือด
ระดูไหลไม่สะดวกและคั่งภายในโพรงมดลูกจึงเพิ่มการบีบรัดตัว
 ความพิการแต่กาเนิดของระบบ mullerian ถ้าเป็นมดลูกชนิด
septate หรือ bicornuate การปวดเกิดจากการเรียงตัวของ
กล้ามเนื้ อมดลูกที่ผิดปกติ
การปวดเริ่มพร้อมระดูมา
 ความพิการแต่กาเนิดของระบบ mullerian ถ้าเป็น rudimentary
horn ที่ไม่มีทางติดต่อกับโพรงมดลูกเลือดระดูจากตาแหน่งนี้ ไม่สามารถ
ระบายออก จึงเกิดเลือดคั่งในโพรงมดลูก อาการปวดในกลุ่มนี้ จะเริ่มมี
อาการปวดระดูชนิดปฐมภูมิ
 Membranous dysmenorrhea พบในคนสูงอายุ เกิดจากเยื่อบุ
มดลูกลอกตัวเป็นชิ้นใหญ่แล้วอุดกั้นปากมดลูก ดังนั้นมดลูกจึงบีบรัด
ตัวอย่างรุนแรง
 ห่วงคุมกาเนิดกระตุ้นเยื่อบุมดลูกให้สร้าง prostaglandins เพิ่มขึ้น ทา
ให้การบีบรัดตัวของมดลูกเพิ่มขึ้น
การปวดเริ่มพร้อมระดูมา
 Uterine dysfunction กลุ่มอาการนี้ ใช้วินิจฉัย
ผู้ป่วยที่ระดูมามากและ/หรือ อาการปวดระดูชนิดทุติย
ภูมิที่ไม่สามารถหาพยาธิสภาพในอุ้งเชิงกราน เชื่อว่า
เกิดจากการเพิ่มการผลิต prostaglandins
การปวดเริ่มก่อนระดูมา
 การอักเสบติดเชื้อเรื้อรังในอุ้งเชิงกราน อาการปวดเกิด
จากการคั่งของเลือดและการบวมในอุ้งเชิงกราน
 Endometriosis สาเหตุไม่ทราบชัด เชื่อว่าเกิดจาก
การบวมและการมีเลือดออกในรอยโรค
การรักษาอาการปวดระดูชนิดทุติยภูมิ
 ขึ้นกับโรคที่เป็นสาเหตุ
สรุปความแตกต่างของ
การปวดระดูปฐมภูมิและทุติยภูมิ
กำรปวดระดูชนิดปฐมภูมิ กำรปวดระดูชนิดทุติยภูมิ
อายุ มักพบในวัยรุ่นหรือช่วงแรกของ
วัยเจริญพันธุ์
มักพบในอายุที่มากกว่า
อาการปวดครั้ง
แรก
เริ่มปวดหลังจากระดูครั้งแรก
6-12 เดือน
เริ่มปวดหลังจากระดูครั้งแรก
หลายปี
ลักษณะที่ปวด ปวดบีบรัดที่เหนือหัวหน่าว ไม่แน่นอนแล้วแต่พยาธิสภาพ
ระยะเวลาที่ปวด เริ่มปวดก่อนที่ระดูมา 1-2
ชั่วโมง หรือปวดขณะที่เริ่มมี
ระดู เป็นอยู่นาน 48-72
ชั่วโมง
เริ่มปวดก่อนที่ระดูมา 1-2
สัปดาห์ และปวดตลอดจนระดู
หมดไปแล้ว 2-3 วัน
สรุปความแตกต่างของ
การปวดระดูปฐมภูมิและทุติยภูมิ
กำรปวดระดูชนิดปฐมภูมิ กำรปวดระดูชนิดทุติยภูมิ
อาการอื่นๆ อาจพบคลื่นไส้ ท้องเสีย ปวด
ศีรษะ และอื่นๆร่วมด้วย
ไม่ค่อยพบอาการร่วมอื่นๆ
พยาธิสภาพ ไม่พบพยาธิสภาพ พบพยาธิสภาพตามสาเหตุของ
โรค
การวินิจฉัย ประวัติเป็นสิ่งสาคัญและวินิจฉัย
โดยการแยกโรคอื่นๆออกไป
ตรวจภายใน และ/หรือตรวจ
เพิ่มเติม พบรอยโรคที่เป็น
สาเหตุของอาการปวด
การรักษา ให้คาปรึกษาแนะนา และรักษา
โดยทางยา
รักษาตามสาเหตุ
ENDOMETRIOSIS
endometriosis
 คือภาวะที่เยื่อบุโพรงมดลูกเจริญอยู่ในตาแหน่งอื่น ที่
นอกเหนือไปจากภายในโพรงมดลูกปกติ เช่นอยู่บริเวณ
เยื่อบุช่องท้อง รังไข่ ปอด อาจเจริญและตอบสนองต่อ
ฮอร์โมนได้เหมือนเยื่อบุโพรงมดลูกปกติ
การวินิจฉัย
 อาการและอาการแสดงจากประวัติและการตรวจร่างกาย
 PV อาจไม่พบความผิดปกติ ในรายที่เป็นที่ uterosacral
ligament ก็อาจจะคลาได้ก้อนเล็กๆ ตะปุ่มตะป่าที่ cul de sac
กดเจ็บ มดลูกคว่าหลังและติดแน่น ในรายเป็นที่รังไข่ อาจคลาได้เป็น
ถุงน้าของรังไข่ เรียกว่า chocolate cyst
 U/S พบในรายที่เป็น endometrioma
 Laparoscopy มักถือว่าให้ผลวินิจฉัย endometriosis ที่
เชื่อถือได้
 การตรวจชิ้นเนื้ อ ให้การวินิจฉัยแน่นอนที่สุด
การรักษา
 Symptomatic management
 Medical management
Symptomatic management
 Analgesic drug เช่น ponstan, naproxen
กรณีปวดมากๆ ให้ narcotics แทน
 Antianxiety or antidepressant
 Education
Medical management
 Estrogen and progestogen
 Progesterone
 Danazol
 Gestrinone
 GnRHa (Gonadotropin releasing
hormone agonist)
Estrogen and progestogen
 Estrogen กด hypothalamus และ pituitary
gland ไม่ให้มีการสร้าง FSH และ LH แล้วในที่สุดจะไป
กดการสร้าง estrogen และ progesterone ทาให้
endometriosis ฝ่อไป
 Estrogen กระตุ้นเยื่อบุมดลูก Progesterone ทาให้
เกิด decidual reaction และไม่มีระดูต่อไป
 Norethynodrel 10 mg+mestranol 0.15 mg
2 tab/d เพิ่มวันละ 1 tab ถ้ายังมีเลือดออก
Estrogen and progestogen
 Norethindrone acetate 2.5
mg+ethinyl estradiol 0.05 mg 2
tab/d เพิ่มวันละ 1 tab ถ้ายังมีเลือดออก
 ให้นาน 9 เดือน
 ข้อห้ามเหมือนยาคุม
Progesterone
 ทาให้เกิด decidual endometrium และเสื่อมสลายไป
 Progestogen ขนาดสูงจะไปกด hypothalamus ส่งผลทาให้
การผลิต estrogen ในร่างกายลดลงไปอีกด้วย
 Norethridone acetate 10-30 mg/d x 6-12 mo
 Dydrogesterone 5-10 mg/d >6 mo
 Lynestrenol 5-15 mg/d >6 mo
 DMPA 150 mg IM q 1 mo >6 mo
 SE – breakthrough bleeding, Br tenderness,
fluid retention ,depression, andrgenic Fx
ผลข้างเคียง Progesterone
 น้าหนักตัวเพิ่ม, เลือดระดูกะปริดกะปรอย, ซึมเศร้า, ปวดศีรษะ, ใจ
สั่น
 ระดับ HDL-chol ลดลง โดยเฉพาะ Norethridone ,
Levonorgestrel, Lynestrenol, Gestrinone
 การกลับคืนมาของการทางานของรังไข่จะช้ากว่าปกติ (DMPA)
 ฤทธิ์แอนโดรเจนเกิน เช่น ผิวมัน, สิว, กล้ามเนื้ อเป็นตะคริว, เต้านม
เล็ก (Gestrinone)
 ได้ผลเท่าเทียม Danazol แต่ผลข้างเคียงน้อยกว่า
Gestrinone
 เป็น 19-nor steroid ออกฤทธิ์ต้าน โปรเจสเตอ
โรน เอสโตรเจนและ gonadotropin รบกวนเม
ตาบอริซึมของคาร์โบไฮเดรต ไขมันและตับน้อยมาก
androgenic effect น้อยกว่า danazol
 เชื่อว่าให้ผลดีเท่ากับหรือดีกว่าการใช้ danazol
เล็กน้อย ผลข้างเคียงได้แก่ androgenic effects
ต่างๆ
Danazol
 ออกฤทธิ์กดการทางานหลายแห่งของระบบสืบพันธุ์ เป็นต้นว่าไปจับ
กับ sex hormone binding globulin (SHBG) ที่
hypothalamo-pituitary center ที่รังไข่และเยื่อบุมดลูก
 จับกับ androgen และ progesterone receptor ของ
endometriotic epithelium ทาให้ endometriosis เสื่อม
สลาย
 Danazol มีฤทธิ์ androgenic effects ช่วยให้การเสื่อม
สลายเร็วขึ้น
 มีผลต่อ immune system ทาให้เยื่อบุมดลูกฝ่อ
Danazol
 ขนาดยาที่รับประทาน 400-800 mg/d ส่วนใหญ่
ให้นานเกิน 6 เดือน ขึ้นไป
 ผลแทรกซ้อน ได้แก่ muscle clamp, myalgia,
edema, rash, nausea, headache,
dizziness, hot flush, alteration of
lipoprotein metabolism และ
androgenic effects
ผลข้างเคียง Danazol
 น้าหนักตัวเพิ่มขึ้น 85% ,กล้ามเนื้ อเป็นตะคริว 52%, เต้านม
เหี่ยวแฟบ 48%, อาการร้อนวูบวาบ 42%, ผิวมัน 37%, สิวขึ้น
27% ,ภาวะขนดก 21%, นอนไม่หลับ 10%, เสียงห้าว 7%
 ควรระมัดระวังในคนโรคตับ (ยาถูกทาลายที่ตับ)
 ควรระมัดระวังในคนโรคหัวใจ, HT, โรคไต (ยาทาให้น้าคั่ง)
 หลีกเลี่ยงการใช้ยาในระหว่างตั้งครรภ์ เพราะฤทธิ์แอนโดรเจนอาจ
ทาให้อวัยวะเพศภายนอกของทารกเพศหญิงมีลักษณะคล้ายเพศชาย
GnRHa (Gonadotropin releasing
hormone agonist)
 เป็น peptide hormone ออกฤทธิ์แบบ agonist ต่อ
hypothalamic center โดยระยะแรก กระตุ้น
hypothalamus ก่อน และตามด้วยกดภายหลัง ดังนั้นช่วงแรกๆ
ไม่เกิน 3 วัน ระดับ FSH และ LH สูงขึ้น ระยะยาวจะลดลง และใน
ที่สุดเกิดภาวะ estrogen ต่า ซึ่งทาให้ endometriosis ฝ่อลง
 ไม่ควรใช้นานเกิน 6 เดือนแล้วควรหยุดยา แต่ระยะหลังมีการใช้ 1-
2 ปี โดยเสริม (add-back) ฮอร์โมนเพศเข้าไปเพื่อลดภาวะ
กระดูกพรุน (conjugated estrogen 0.3-0.625 mg/d
และ/หรือ MPA 2.5-5.0 mg/d)
GnRHa (Gonadotropin releasing
hormone agonist)
 Buserelin พ่นจมูก 300 mg วันละ 3-4 ครั้ง
 Leuprolide IM 1.88-3.75 mg เดือนละครั้ง
 Triptorelin IM 3.75 mg เดือนละครั้ง
 Goserelin ฝังใต้ผิวหนัง 3.6 mg เดือนละครั้ง
SE of GnRHa (Gonadotropin releasing
hormone agonist)
 ร้อนวูบวาบ 80%, นอนไม่หลับ 75%, ปวดศีรษะ
52%, เลือดกะปริดกะปรอย 41%, ความรู้สึกทางเพศ
ลดลง 38% ,อาการซึมเศร้า 38%, ช่องคลอดแห้ง
22%, ปวดข้อ 14%, ผมร่วง 8%
 กรณีใช้ไปนานๆ จะเกิดภาวะกระดูกพรุน
 อาการดีขึ้นประมาณร้อยละ 80
 ผลใกล้เคียง Danazol แต่ผลข้างเคียงทาง
androgenic effects จะน้อยกว่า
เลือดออกผิดปกติ
อุบัติการณ์
 พบสูงในช่วง 7 ปีแรก (การทางานของระบบต่อมไร้ท่อที่
ควบคุมรอบระดูยังทางานได้ไม่สมบูรณ์) และ 7 ปี หลัง
ของวัยเจริญพันธุ์ (ระบบการทางานบกพร่องร่วมกับ
พยาธิสภาพในระบบสืบพันธุ์)
 ช่วงอายุ 20-40 ปี จะเป็นช่วงที่รอบระดูสม่าเสมอที่สุด
การมีระดู ประกอบด้วย 2 องค์ประกอบ คือ
 Hypothalamo-pituitary-ovarian
(HPO) axis
 uterus
Hypothalamo-pituitary-ovarian (HPO) axis
 ประกอบด้วย hypothalamus, ต่อมใต้สมอง, และรังไข่
 มีการควบคุมโดยกลไก negative และ positive feedback
ส่งผลให้รังไข่ผลิตฮอร์โมนเพศหญิงในสัดส่วนต่างๆ ใน
แต่ละช่วงเวลา
 ส่งผลให้อวัยวะสืบพันธุ์มีการเปลี่ยนแปลงเป็นรอบๆ
เรียกว่ารอบระดู (menstrual or reproductive cycle)
 ส่วนการเปลี่ยนแปลงที่รังไข่ เรียกว่า ovarian cycle
uterus
 มีการเปลี่ยนแปลงภายใต้อิทธิพลของรังไข่ การ
เปลี่ยนแปลงที่เยื่อบุโพรงมดลูกนี้ เรียกว่า endometrial
cycle
Ovarian cycle
 Follicular phase กินระยะเวลาประมาณ 10-14 วัน
 Ovulatory phase กินระยะเวลาประมาณ 3-4 วัน
 Luteal phase กินระยะเวลาประมาณ 12-14 วัน
Endometrial cycle
 Proliferative phase ตรงกับระยะ follicular phase
 Secretory phase ตรงกับระยะ luteal phase
 Menstrual phase เป็นเหตุการณ์ที่เกิดหลังจากสิ้นสุด
luteal phase
ลักษณะของระดูปกติ
 ระยะเวลาเลือดออก 4-6 วัน ถ้านานกว่า 7 วันถือว่า
ผิดปกติ
 ปริมาณเลือดในแต่ละรอบระดูประมาณ 30 ml ถ้า
มากกว่า 80 ml ถือว่าผิดปกติ
 ระยะระหว่างรอบระดู 24-35 วัน
คาจากัดความที่สาคัญเกี่ยวกับระดูผิดปกติ
 Oligomenorrhea คือ รอบระดูที่มีระยะห่างมากกว่า 35 วัน
 Polymenorrhea คือ รอบระดูที่มีระยะห่างสั้นกว่า 24 วัน
 Menrrhagia คือ ระดูที่มีปริมาณมากและเลือดออกนาน แต่ระยะห่าง
ปกติ
 Metrorrhagia คือ เลือดออกที่มีระยะห่างไม่สม่าเสมอ
 Menometrorrhagia คือ เลือดออกที่มีปริมาณมากและนานและ
ระยะห่างผิดปกติด้วย
 Hypermenorrhea คือ ระดูที่มีปริมาณมาก แต่ระยะเวลาปกติและ
สม่าเสมอ
 Hypomenorrhea คือ ระดูที่มีปริมาณน้อยในรอบระดูปกติ
สาเหตุของภาวะเลือดออกผิดปกติ
 โรคที่ทราบสาเหตุ – โรคทางนรีเวช, systemic dis
 ภาวะเลือดออกผิดปกติโดยที่ไม่มีพยาธิสภาพ
(dysfunctional uterine bleeding DUB)
โรคทางนรีเวช
 ภาวะแทรกซ้อนของการตั้งครรภ์ในไตรมาสแรก เช่นการแท้ง
,การตั้งครรภ์นอกมดลูก, ครรภ์ไข่ปลาอุก
 มะเร็งทางนรีเวช เช่น มะเร็งเยื่อบุโพรงมดลูก,มะเร็งปาก
มดลูก
 ติดเชื้อของเยื่อบุโพรงมดลูกหรือหลอดมดลูก
 พยาธิสภาพในอุ้งเชิงกราน เช่นบาดแผลที่ผนังช่องคลอด,ช่อง
คลอดอักเสบ,สิ่งแปลกปลอมในช่องคลอด,ติ่งเนื้ อที่ปาก
มดลูก,ปากมดลูกอักเสบ,เนื้ องอกมดลูก
Systemic disease
 ภาวการณ์แข็งตัวของเลือดผิดปกติ
 Hypothyroidism
 โรคตับแข็ง
 Iatrogenic cause เช่น ห่วงอนามัย,ยาคุมกาเนิด,
anticoagulants
Dysfunctional uterine bleeding
 Anovulatory DUB
 Ovulatory DUB
ลักษณะของเลือดที่ออกจากโพรงมดลูกใน DUB
ชนิดของ DUB ลักษณะเลือดออกจากโพรงมดลูก
Ovulatory
Long proliferative or secretory phase Oligomenorrhea
Short proliferative or secretory phase Polymenorrhea
Corpus luteum insufficiency Premenstrual spotting
Menorrhagia, Polymenorrhea
Corpus luteum prolonged activity Menorrhagia
Oligomenorrhea
Normal phases Essential menorrhagia
Anovulatory
Cyclic menorrhgia Oligomenorrhea, Polymenorrhea
Acyclic Metrorrhagia
Anovulatory DUB
 พบบ่อยในช่วงที่เริ่มมีระดูแรกๆ (postmenarche)
และช่วงก่อนหมดระดู (premenopausal
period)
 เกิดจากการที่ไม่มีไข่ตก
Ovulatory DUB
 พบบ่อยในช่วงที่ผ่านวัยรุ่นไปแล้ว และก่อนเข้าสู่วัย
เปลี่ยน (perimenopause)
การดูแลรักษาด้วยยา
 การรักษาเพื่อหยุดเลือดในกรณีที่เลือดออกมาก (stop
bleeding) ให้ estrogen ในขนาดสูง ได้แก่การให้
estrogen ทางหลอดเลือดดา หรือการให้รับประทานยาเม็ด
คุมกาเนิดในขนาดมากกว่าวันละ 1 เม็ด รายที่ตอบสนองต่อการ
รักษาเลือดจะออกน้อยลงภายใน 12-24 ชม. (ห้ามกรณี DVT,
RHD)
 การรักษาเพื่อป้ องกันไม่ให้เลือดออกอีก (prevention of re-
bleeding) ให้ continuous combined estrogen-
progestin
การดูแลรักษาด้วยยา
 Medical curettage ให้รับประทาน progestin นาน 10-
14 วัน เพื่อเปลี่ยนเยื่อบุโพรงมดลูกเป็น secretory
endometrium ไม่ได้ผลในราย atrophic endometrium
หรือ progestin breakthrough bleeding
 เพื่อควบคุมรอบระดู (regulate menstrual cycle) ใช้
cyclic progestin หรือ cyclic estrogen-progestin
 เพื่อลดปริมาณเลือดระดู (reduce menstrual blood loss)
ยาที่ใช้เพื่อการรักษาภาวะเลือดออกผิดปกติจากโพรงมดลูก
Stop bleeding
Tranxenemic acid 500 mg single dose with
Conjugated equine estrogen (CEE or Premarin 0.625 mg) 4 tab oral q 4 hr (not more
than 24 hr)
Oral combined contraceptive pill 2 tab daily for 5-7 day
Prevention of re-bleeding
CEE 0.625 mg plus MPA 5-10 mg PO daily for 2-3 wk
Oral combined contraceptive pill in regular dosage
Medical curettage
MPA 5-10 mg PO daily for 10-14 day
Regulate menstrual cycle
Cyclic progestin e.g. MPA 5-10 mg PO daily for 10-14 day per mo
CEE 0.625 mg on d 1-25 and MPA 5-10 mg on d 16-25 of menstrual cycle
Oral combined contraceptive pill in regular dosage
ยาที่ใช้เพื่อการรักษาภาวะเลือดออกผิดปกติจากโพรงมดลูก
Regulate menstrual blood loss
Long acting progestin e.g. Progestin medicated IUD (Minera)
Danazol 200 mg PO daily continuously
Antifibrinolytic agents e.g. Tranexamic acid 1000-2000 mg PO daily during mens
NSAID d1-5 of cycle
-Ponstan 500 mg PO at the onset of mens then 250-500 mg tid
-Naproxen 500 mg PO at the onset of mens then 250-500 mg bid
-Ibruprofen 200-400 mg PO tid
Oral combined contraceptive pill in regular dosage
GnRH analogue
High dose progestins
MPA 200 mg PO daily
DMPA 1000 mg IM weekly
Thank you

More Related Content

What's hot

สุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุ
สุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุสุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุ
สุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุtechno UCH
 
แนวทางปฏิบัติการป้องกันดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน (ตา ไต เท้า)
แนวทางปฏิบัติการป้องกันดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน (ตา ไต เท้า)แนวทางปฏิบัติการป้องกันดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน (ตา ไต เท้า)
แนวทางปฏิบัติการป้องกันดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน (ตา ไต เท้า)Utai Sukviwatsirikul
 
กินอยู่อย่างไรให้ห่างไกลโรค
กินอยู่อย่างไรให้ห่างไกลโรคกินอยู่อย่างไรให้ห่างไกลโรค
กินอยู่อย่างไรให้ห่างไกลโรคสปสช นครสวรรค์
 
การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ.
การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ.การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ.
การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ.Pongsa Pongsathorn
 
Intro to dosage form
Intro to dosage formIntro to dosage form
Intro to dosage formadriamycin
 
งานส่งเสริมทันตสุขภาพและป้องกันโรคช่องปาก
งานส่งเสริมทันตสุขภาพและป้องกันโรคช่องปากงานส่งเสริมทันตสุขภาพและป้องกันโรคช่องปาก
งานส่งเสริมทันตสุขภาพและป้องกันโรคช่องปากtechno UCH
 
คู่มือดูแลผู้มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวช
คู่มือดูแลผู้มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวชคู่มือดูแลผู้มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวช
คู่มือดูแลผู้มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวชUtai Sukviwatsirikul
 
Current Pharmacotherapy in Diabetes
Current Pharmacotherapy in DiabetesCurrent Pharmacotherapy in Diabetes
Current Pharmacotherapy in DiabetesUtai Sukviwatsirikul
 
การประชุมวิชาการกลางปี พ.ศ. 2561 ราชวิทยาลัยสูตินรีแพทย์แห่งประเทศไทย in OB-G...
การประชุมวิชาการกลางปี พ.ศ. 2561 ราชวิทยาลัยสูตินรีแพทย์แห่งประเทศไทย in OB-G...การประชุมวิชาการกลางปี พ.ศ. 2561 ราชวิทยาลัยสูตินรีแพทย์แห่งประเทศไทย in OB-G...
การประชุมวิชาการกลางปี พ.ศ. 2561 ราชวิทยาลัยสูตินรีแพทย์แห่งประเทศไทย in OB-G...Utai Sukviwatsirikul
 
โรคมือเท้าปาก
โรคมือเท้าปาก โรคมือเท้าปาก
โรคมือเท้าปาก sivapong klongpanich
 
Pediatric dosage table ขนาดการใช้ในเด็กแบ่งตามอายุ+น้ำหนัก
Pediatric dosage table   ขนาดการใช้ในเด็กแบ่งตามอายุ+น้ำหนักPediatric dosage table   ขนาดการใช้ในเด็กแบ่งตามอายุ+น้ำหนัก
Pediatric dosage table ขนาดการใช้ในเด็กแบ่งตามอายุ+น้ำหนักAiman Sadeeyamu
 
หลักคิดสำคัญการทบทวนเวชระเบียนคุณภาพและความปลอดภัย -Suradet sriangkoon
หลักคิดสำคัญการทบทวนเวชระเบียนคุณภาพและความปลอดภัย -Suradet sriangkoonหลักคิดสำคัญการทบทวนเวชระเบียนคุณภาพและความปลอดภัย -Suradet sriangkoon
หลักคิดสำคัญการทบทวนเวชระเบียนคุณภาพและความปลอดภัย -Suradet sriangkoonSuradet Sriangkoon
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบันยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบันUtai Sukviwatsirikul
 
คู่มือการจ่ายยาเด็ก (Drugs in Pediatrics)
คู่มือการจ่ายยาเด็ก  (Drugs in Pediatrics)คู่มือการจ่ายยาเด็ก  (Drugs in Pediatrics)
คู่มือการจ่ายยาเด็ก (Drugs in Pediatrics)Utai Sukviwatsirikul
 
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)Aiman Sadeeyamu
 

What's hot (20)

สุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุ
สุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุสุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุ
สุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุ
 
Case study : dengue fever
Case study : dengue feverCase study : dengue fever
Case study : dengue fever
 
แนวทางปฏิบัติการป้องกันดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน (ตา ไต เท้า)
แนวทางปฏิบัติการป้องกันดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน (ตา ไต เท้า)แนวทางปฏิบัติการป้องกันดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน (ตา ไต เท้า)
แนวทางปฏิบัติการป้องกันดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน (ตา ไต เท้า)
 
กินอยู่อย่างไรให้ห่างไกลโรค
กินอยู่อย่างไรให้ห่างไกลโรคกินอยู่อย่างไรให้ห่างไกลโรค
กินอยู่อย่างไรให้ห่างไกลโรค
 
การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ.
การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ.การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ.
การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ.
 
Intro to dosage form
Intro to dosage formIntro to dosage form
Intro to dosage form
 
คู่มือนักโภชนาการ
คู่มือนักโภชนาการคู่มือนักโภชนาการ
คู่มือนักโภชนาการ
 
งานส่งเสริมทันตสุขภาพและป้องกันโรคช่องปาก
งานส่งเสริมทันตสุขภาพและป้องกันโรคช่องปากงานส่งเสริมทันตสุขภาพและป้องกันโรคช่องปาก
งานส่งเสริมทันตสุขภาพและป้องกันโรคช่องปาก
 
Ppt. influenza (25.8.57)
Ppt. influenza (25.8.57)Ppt. influenza (25.8.57)
Ppt. influenza (25.8.57)
 
คู่มือดูแลผู้มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวช
คู่มือดูแลผู้มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวชคู่มือดูแลผู้มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวช
คู่มือดูแลผู้มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวช
 
Current Pharmacotherapy in Diabetes
Current Pharmacotherapy in DiabetesCurrent Pharmacotherapy in Diabetes
Current Pharmacotherapy in Diabetes
 
การประชุมวิชาการกลางปี พ.ศ. 2561 ราชวิทยาลัยสูตินรีแพทย์แห่งประเทศไทย in OB-G...
การประชุมวิชาการกลางปี พ.ศ. 2561 ราชวิทยาลัยสูตินรีแพทย์แห่งประเทศไทย in OB-G...การประชุมวิชาการกลางปี พ.ศ. 2561 ราชวิทยาลัยสูตินรีแพทย์แห่งประเทศไทย in OB-G...
การประชุมวิชาการกลางปี พ.ศ. 2561 ราชวิทยาลัยสูตินรีแพทย์แห่งประเทศไทย in OB-G...
 
โรคมือเท้าปาก
โรคมือเท้าปาก โรคมือเท้าปาก
โรคมือเท้าปาก
 
Pediatric dosage table ขนาดการใช้ในเด็กแบ่งตามอายุ+น้ำหนัก
Pediatric dosage table   ขนาดการใช้ในเด็กแบ่งตามอายุ+น้ำหนักPediatric dosage table   ขนาดการใช้ในเด็กแบ่งตามอายุ+น้ำหนัก
Pediatric dosage table ขนาดการใช้ในเด็กแบ่งตามอายุ+น้ำหนัก
 
22
2222
22
 
Present.อาหารโรคไตcapd
Present.อาหารโรคไตcapdPresent.อาหารโรคไตcapd
Present.อาหารโรคไตcapd
 
หลักคิดสำคัญการทบทวนเวชระเบียนคุณภาพและความปลอดภัย -Suradet sriangkoon
หลักคิดสำคัญการทบทวนเวชระเบียนคุณภาพและความปลอดภัย -Suradet sriangkoonหลักคิดสำคัญการทบทวนเวชระเบียนคุณภาพและความปลอดภัย -Suradet sriangkoon
หลักคิดสำคัญการทบทวนเวชระเบียนคุณภาพและความปลอดภัย -Suradet sriangkoon
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบันยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
 
คู่มือการจ่ายยาเด็ก (Drugs in Pediatrics)
คู่มือการจ่ายยาเด็ก  (Drugs in Pediatrics)คู่มือการจ่ายยาเด็ก  (Drugs in Pediatrics)
คู่มือการจ่ายยาเด็ก (Drugs in Pediatrics)
 
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
 

Viewers also liked

ระบบสืบพันธุ์พศหญิง
ระบบสืบพันธุ์พศหญิงระบบสืบพันธุ์พศหญิง
ระบบสืบพันธุ์พศหญิงJanejira Meezong
 
ระบบสืบพันธุ์เพศหญิง
ระบบสืบพันธุ์เพศหญิงระบบสืบพันธุ์เพศหญิง
ระบบสืบพันธุ์เพศหญิงNokko Bio
 
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์nuttanansaiutpu
 
ระบบสืบพันธุ์เพศหญิง
ระบบสืบพันธุ์เพศหญิงระบบสืบพันธุ์เพศหญิง
ระบบสืบพันธุ์เพศหญิงwanwisa491
 
Riam.pih clinical tracer27มค 2555
Riam.pih clinical tracer27มค 2555Riam.pih clinical tracer27มค 2555
Riam.pih clinical tracer27มค 2555clio cliopata
 
พฤติกรรมเสี่ยงเกี่ยวกับเพศศึกษา
พฤติกรรมเสี่ยงเกี่ยวกับเพศศึกษาพฤติกรรมเสี่ยงเกี่ยวกับเพศศึกษา
พฤติกรรมเสี่ยงเกี่ยวกับเพศศึกษาsportrnm
 
Rupture appendicitis
Rupture appendicitisRupture appendicitis
Rupture appendicitissoftmail
 
แนวทางการรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
แนวทางการรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ แนวทางการรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
แนวทางการรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ Utai Sukviwatsirikul
 
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2Wichai Likitponrak
 

Viewers also liked (15)

ระบบสืบพันธุ์พศหญิง
ระบบสืบพันธุ์พศหญิงระบบสืบพันธุ์พศหญิง
ระบบสืบพันธุ์พศหญิง
 
ระบบสืบพันธุ์เพศหญิง
ระบบสืบพันธุ์เพศหญิงระบบสืบพันธุ์เพศหญิง
ระบบสืบพันธุ์เพศหญิง
 
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
 
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
 
ระบบสืบพันธุ์เพศหญิง
ระบบสืบพันธุ์เพศหญิงระบบสืบพันธุ์เพศหญิง
ระบบสืบพันธุ์เพศหญิง
 
Copd prompt
Copd promptCopd prompt
Copd prompt
 
Riam.pih clinical tracer27มค 2555
Riam.pih clinical tracer27มค 2555Riam.pih clinical tracer27มค 2555
Riam.pih clinical tracer27มค 2555
 
ระบบสืบพันธุ์
ระบบสืบพันธุ์ระบบสืบพันธุ์
ระบบสืบพันธุ์
 
การบริหารการพยาบาล
การบริหารการพยาบาลการบริหารการพยาบาล
การบริหารการพยาบาล
 
พฤติกรรมเสี่ยงเกี่ยวกับเพศศึกษา
พฤติกรรมเสี่ยงเกี่ยวกับเพศศึกษาพฤติกรรมเสี่ยงเกี่ยวกับเพศศึกษา
พฤติกรรมเสี่ยงเกี่ยวกับเพศศึกษา
 
Asthma prompt
Asthma promptAsthma prompt
Asthma prompt
 
Rupture appendicitis
Rupture appendicitisRupture appendicitis
Rupture appendicitis
 
STB
STBSTB
STB
 
แนวทางการรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
แนวทางการรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ แนวทางการรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
แนวทางการรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
 
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
 

Similar to ระบบสืบพันธ์ุสตรี

การดูแลผ่าตัดรักษาเด็กแบบผู้ป่วยนอก (Ambulatory pediatric surgery)
การดูแลผ่าตัดรักษาเด็กแบบผู้ป่วยนอก (Ambulatory pediatric surgery)การดูแลผ่าตัดรักษาเด็กแบบผู้ป่วยนอก (Ambulatory pediatric surgery)
การดูแลผ่าตัดรักษาเด็กแบบผู้ป่วยนอก (Ambulatory pediatric surgery)ไทเก็ก นครสวรรค์
 
ระบบสืบพันธุ์
ระบบสืบพันธุ์ระบบสืบพันธุ์
ระบบสืบพันธุ์ssuser48f3f3
 
Sti guideline nov.2013 version2
Sti guideline nov.2013 version2Sti guideline nov.2013 version2
Sti guideline nov.2013 version2elearning obste
 
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011Namthip Theangtrong
 
มะเร็งเต้านม
มะเร็งเต้านมมะเร็งเต้านม
มะเร็งเต้านมtechno UCH
 
โรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรมโรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรมRoongroeng
 
ติวสอบเตรียมสืบพันธุ์และเจริญสัตว์
ติวสอบเตรียมสืบพันธุ์และเจริญสัตว์ติวสอบเตรียมสืบพันธุ์และเจริญสัตว์
ติวสอบเตรียมสืบพันธุ์และเจริญสัตว์Wichai Likitponrak
 
ระบบสืบพันธุ์เพศชาย
ระบบสืบพันธุ์เพศชายระบบสืบพันธุ์เพศชาย
ระบบสืบพันธุ์เพศชายJanejira Meezong
 
ระบบสืบพันธุ์เพศชาย
ระบบสืบพันธุ์เพศชายระบบสืบพันธุ์เพศชาย
ระบบสืบพันธุ์เพศชายJanejira Meezong
 
skeletal system
skeletal systemskeletal system
skeletal systemRungsaritS
 

Similar to ระบบสืบพันธ์ุสตรี (20)

กลุ่ม 1
กลุ่ม 1กลุ่ม 1
กลุ่ม 1
 
Breast cancer
Breast cancerBreast cancer
Breast cancer
 
Trauma & Pregnancy (Thai)
Trauma & Pregnancy (Thai)Trauma & Pregnancy (Thai)
Trauma & Pregnancy (Thai)
 
การดูแลผ่าตัดรักษาเด็กแบบผู้ป่วยนอก (Ambulatory pediatric surgery)
การดูแลผ่าตัดรักษาเด็กแบบผู้ป่วยนอก (Ambulatory pediatric surgery)การดูแลผ่าตัดรักษาเด็กแบบผู้ป่วยนอก (Ambulatory pediatric surgery)
การดูแลผ่าตัดรักษาเด็กแบบผู้ป่วยนอก (Ambulatory pediatric surgery)
 
ระบบสืบพันธุ์
ระบบสืบพันธุ์ระบบสืบพันธุ์
ระบบสืบพันธุ์
 
Sti guideline nov.2013 version2
Sti guideline nov.2013 version2Sti guideline nov.2013 version2
Sti guideline nov.2013 version2
 
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
 
มะเร็งเต้านม
มะเร็งเต้านมมะเร็งเต้านม
มะเร็งเต้านม
 
Fertilization present
Fertilization presentFertilization present
Fertilization present
 
โรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรมโรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรม
 
Body system
Body systemBody system
Body system
 
Bleeding in first half
Bleeding in first halfBleeding in first half
Bleeding in first half
 
ติวสอบเตรียมสืบพันธุ์และเจริญสัตว์
ติวสอบเตรียมสืบพันธุ์และเจริญสัตว์ติวสอบเตรียมสืบพันธุ์และเจริญสัตว์
ติวสอบเตรียมสืบพันธุ์และเจริญสัตว์
 
Ppt circuratory
Ppt circuratoryPpt circuratory
Ppt circuratory
 
ระบบสืบพันธุ์เพศชาย
ระบบสืบพันธุ์เพศชายระบบสืบพันธุ์เพศชาย
ระบบสืบพันธุ์เพศชาย
 
ระบบสืบพันธุ์เพศชาย
ระบบสืบพันธุ์เพศชายระบบสืบพันธุ์เพศชาย
ระบบสืบพันธุ์เพศชาย
 
การสืบพันธ์
การสืบพันธ์การสืบพันธ์
การสืบพันธ์
 
Abdominal wall defects
Abdominal wall defectsAbdominal wall defects
Abdominal wall defects
 
skeletal system
skeletal systemskeletal system
skeletal system
 
ขอบข่ายงาน
ขอบข่ายงานขอบข่ายงาน
ขอบข่ายงาน
 

ระบบสืบพันธ์ุสตรี