SlideShare a Scribd company logo
1 of 31
Download to read offline
ระบบสืบพันธุ์เพศหญิง
ก. อวัยวะสืบพันธุ์ ภายนอก ประกอบด้วย
1. เนิน มีลักษณะเป็นรูปสามเหลี่ยมปลายแหลมลง
ตั้งอยู่บนกระดูกหัวหน่าวประกอบด้วยไขมัน
จานวนมากปกคลุมด้วยผิวหนัง เมื่อเข้าสู่วัยรุ่น
จะมีขนเกิดขึ้นปกคลุมบริเวณนี้
2. แคมนอก (Major cam) มี 2 ข้าง ทาหน้าที่
ปกปิดไม่สิ่งแปลกปลอมเข้าสู่ภายใน
3. แคมใน (Minor cam) มี 2 ข้าง เป็น
เนื้อเยื่อบางติดกับแคมนอก
4. คลิตอรีส (Clitoris) ทาหน้าที่รับ
ความรู้สึกทางเพศ
5. เยื่อพรหมจารี (Hymen)เป็นเยื่อ
บาง ๆ ปิดปากช่องคลอด
6. ท่อปัสสาวะ อยู่ตรงกลางระหว่าง
Clitoris กับ ช่องคลอด 7
7. ฝีเย็บ คือบริเวณส่วนล่างของช่องคลอดลง
มาถึงทวาร บริเวณนี้จะฉีกขาดได้ใน
ระหว่างการคลอด ปัจจุบันจึงตัดบริเวณนี้
แทนการปล่อยให้ขาดเอง
อวัยวะเพศหญิง
ภายใน
อวัยวะเพศหญิง
ภายนอก
ข. อวัยวะสืบพันธุ์ ภายใน ประกอบด้วย
1. รังไข่ (Ovary) ทาหน้าที่ผลิตไข่ และ
ฮอร์โมนเพศ อยู่ลึกเข้าไปในอุ้งเชิงกราน มี
เนื้อเยื่อยึด มีขนาดเท่าหัวแม่มือ หนัก 2- 3
กรัม
☞ สร้างไข่ (ovum)
☞ สร้างฮอร์โมนเพศหญิง
Estrogen และ Progesterone
2. ท่อนาไข่ หรือปีกมดลูก (Oviduct)
เป็นท่อเชื่อมระหว่างมดลูกกับรัง
ไข่ ภายในมีขนเล็ก ๆ มากมาย
เรียกว่า ซีเลีย (Cilia)
☞บริเวณที่มีการปฏิสนธิ
3. มดลูก (Uterus) มีลักษณะคล้ายผลชมพู่
ส่วนล่างแคบเข้าหากันเรียกว่า “ ปาก
มดลูก” ต่อกับส่วนของช่องคลอดมดลูก
ประกอบด้วยเนื้อเยื่อ หลายชั้นคล้าย
ฟองน้าทาหน้าที่ในการสร้างรก รองรับ
การฝังตัวของไข่ที่ผสมแล้ว (Zygote) เป็น
ที่ แลกเปลี่ยนก๊าซและส่งอาหารให้กับตัว
อ่อน (Embryo)
4. ช่องคลอด (Vagina) เป็นทางผ่าน
ของสเปิร์มเข้าสู่มดลูก ลึกประมาณ
1.5- 2.0 นิ้ว
การสร้างเซลล์สืบพันธุ์เพศหญิง
การปฏิสนธิ
การปฏิสนธิ คือ การรวมตัวของเซลล์เพศผู้
และเซลล์เพศเมีย ซึ่งจะเกิดขึ้นบริเวณท่อนา
ไข่ ของเพศหญิง
การปฏิสนธิ คือ การที่นิวเคลียสของ
เซลล์อสุจิเข้ารวมตัวตัวนิวเคลียสของ
เซลล์ไข่ เกิดเป็นไซโกตหลังจากนั้นอีก
30-37 ชั่วโมง ไซโกตจะแบ่งตัวจาก 1
เป็น 2 จาก2 เป็น 4 จนได้กลุ่มเซลล์ที่
เรียกว่า เอ็มบริโอ ( Embyo )
การเปลี่ยนแปลงของไข่ที่ได้รับการผสม
เมื่อไข่ได้รับการผสมจะ
แบ่งเซลล์จาก 1 เป็น 2
และ 4 ตามลาดับ เรียก
ระยะนี้ว่า ไซโกต
เมื่อเป็นกลุ่ม เซลล์
เรียกว่า เอ็มบริโอ
เอ็มบริโอนี้จะเคลื่อนที่ไปฝังตัวที่ผนัง
มดลูกซึ่งหนาตัวขึ้นเพื่อรองรับการฝังตัว
ของเอ็มบริโอ และเมื่อตัวอ่อนฝังตัว ที่ผนัง
มดลูกจะมีการพัฒนาอวัยวะพิเศษของตัว
อ่อนคือรก ซึ่งทาหน้าที่ดูดซึมอาหารและ
ออกซิเจนจากผนังมดลูกของแม่ส่งมาเลี้ยง
ตัวอ่อน
ดังนั้นขณะที่ทารกอาศัยอยู่ ในครรภ์จะได้รับ
อาหารและอากาศโดยผ่านทางรก หลอดเลือด
จากรกจะเชื่อมต่อกับตัวทารกทางสายสะดือ
ขณะที่ทารกเจริญเติบโตอยู่ในครรภ์ ทารกจะ
อาศัยอยู่ใน ถุงน้าคร่า ซึ่งทาหน้าที่ช่วยป้องกัน
อันตราย ทารกจะเจริญเติบโตในครรภ์มารดา
ประมาณ 38 สัปดาห์หรือ 9 เดือน หรือ 280 วัน
นับจากวันแรก ของการมีประจาเดือน ครั้ง
สุดท้าย
เมื่อครบกาหนดคลอด รกจะเริ่มเสื่อมสภาพ
ทารกเตรียมพร้อมที่จะคลอด และมีการ
เปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นกับตัวแม่ โดยฮอร์โมนจาก
ต่อมใต้สมองจะกระตุ้นให้ กล้ามเนื้อผนังมดลูก
บีบตัว ประกอบกับการหดตัวของกล้ามเนื้อหน้า
ท้องทาให้ปากมดลูกเปิด ถุงน้าคร่าจะแตก
มดลูกจะบีบตัวอย่างแรง ดันให้ทารกคลอด
ออกมาทาง ช่องคลอด
โดยปกติส่วนหัวของทารกจะโผล่ออกมา
ก่อนหลังจากทารกคลอดออกมา แพทย์จะ
ผูกสายสะดือให้แน่นทั้งทางด้านตัวแม่และ
ทาง ด้านตัวลูกก่อนที่จะตัด สายสะดือเพื่อ
ป้องกันการเสียเลือด หลังจากทารกคลอด
ออกมาประมาณ 10-15 นาที มดลูกจะบีบ
ตัวให้รกหลุดออกมา

More Related Content

What's hot

วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อาหาร
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อาหารวิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อาหาร
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อาหารKatewaree Yosyingyong
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจDuangnapa Inyayot
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ Thitaree Samphao
 
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์dnavaroj
 
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังการเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุลบทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุลJariya Jaiyot
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนkrupornpana55
 
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respirationการหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respirationPat Pataranutaporn
 
ระบบสืบพันธุ์เพศชาย
ระบบสืบพันธุ์เพศชายระบบสืบพันธุ์เพศชาย
ระบบสืบพันธุ์เพศชายNokko Bio
 
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์krupornpana55
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบThanyamon Chat.
 
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมแบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมdnavaroj
 
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะJariya Jaiyot
 
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อบทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อฟลุ๊ค ลำพูน
 
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมีทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมีพัน พัน
 

What's hot (20)

วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อาหาร
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อาหารวิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อาหาร
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อาหาร
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจ
 
การทำงานของเซลล์ประสาท
การทำงานของเซลล์ประสาทการทำงานของเซลล์ประสาท
การทำงานของเซลล์ประสาท
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ
 
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
 
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครูใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
 
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังการเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
 
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุลบทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
 
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respirationการหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
 
ระบบสืบพันธุ์เพศชาย
ระบบสืบพันธุ์เพศชายระบบสืบพันธุ์เพศชาย
ระบบสืบพันธุ์เพศชาย
 
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
 
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
 
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมแบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
 
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
 
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
 
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อบทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
 
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมีทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
หู
หูหู
หู
 

Similar to ระบบสืบพันธุ์เพศหญิง

โครงสร้างและหน้าที่ของผิวหนัง
โครงสร้างและหน้าที่ของผิวหนังโครงสร้างและหน้าที่ของผิวหนัง
โครงสร้างและหน้าที่ของผิวหนังKang ZenEasy
 
ระบบสืบพันธุ์
ระบบสืบพันธุ์ระบบสืบพันธุ์
ระบบสืบพันธุ์Issara Mo
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ระบบห่อหุ้มร่ากาย 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ระบบห่อหุ้มร่ากาย 2หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ระบบห่อหุ้มร่ากาย 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ระบบห่อหุ้มร่ากาย 2Yottapum
 

Similar to ระบบสืบพันธุ์เพศหญิง (6)

9789740328049
97897403280499789740328049
9789740328049
 
Body system
Body systemBody system
Body system
 
สุข
สุขสุข
สุข
 
โครงสร้างและหน้าที่ของผิวหนัง
โครงสร้างและหน้าที่ของผิวหนังโครงสร้างและหน้าที่ของผิวหนัง
โครงสร้างและหน้าที่ของผิวหนัง
 
ระบบสืบพันธุ์
ระบบสืบพันธุ์ระบบสืบพันธุ์
ระบบสืบพันธุ์
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ระบบห่อหุ้มร่ากาย 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ระบบห่อหุ้มร่ากาย 2หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ระบบห่อหุ้มร่ากาย 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ระบบห่อหุ้มร่ากาย 2
 

More from Nokko Bio

โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบNokko Bio
 
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้นโครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้นNokko Bio
 
พฤติกรรมของสัตว์
พฤติกรรมของสัตว์พฤติกรรมของสัตว์
พฤติกรรมของสัตว์Nokko Bio
 
ระบบสืบพันธุ์ สอน
ระบบสืบพันธุ์  สอนระบบสืบพันธุ์  สอน
ระบบสืบพันธุ์ สอนNokko Bio
 
ชุดการสอนระบบต่อมไร้ท่อ
ชุดการสอนระบบต่อมไร้ท่อชุดการสอนระบบต่อมไร้ท่อ
ชุดการสอนระบบต่อมไร้ท่อNokko Bio
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อNokko Bio
 
การรับรู้และการตอบนอง
การรับรู้และการตอบนองการรับรู้และการตอบนอง
การรับรู้และการตอบนองNokko Bio
 
การทำงานของระบบประสาทสั่งการ
การทำงานของระบบประสาทสั่งการการทำงานของระบบประสาทสั่งการ
การทำงานของระบบประสาทสั่งการNokko Bio
 
อวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึกอวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึกNokko Bio
 
การหายใจแสง
การหายใจแสงการหายใจแสง
การหายใจแสงNokko Bio
 
การสังเคราะห์ด้วยแสง
การสังเคราะห์ด้วยแสงการสังเคราะห์ด้วยแสง
การสังเคราะห์ด้วยแสงNokko Bio
 
การค้นคว้าเกี่ยวกับการสังเคราะห์ด้วยแสง
การค้นคว้าเกี่ยวกับการสังเคราะห์ด้วยแสงการค้นคว้าเกี่ยวกับการสังเคราะห์ด้วยแสง
การค้นคว้าเกี่ยวกับการสังเคราะห์ด้วยแสงNokko Bio
 
การงอกของเมล็ด
การงอกของเมล็ดการงอกของเมล็ด
การงอกของเมล็ดNokko Bio
 
การเกิดผลและเมล็ด
การเกิดผลและเมล็ดการเกิดผลและเมล็ด
การเกิดผลและเมล็ดNokko Bio
 
การเกิดผลและเมล็ด
การเกิดผลและเมล็ดการเกิดผลและเมล็ด
การเกิดผลและเมล็ดNokko Bio
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกNokko Bio
 
การแลกเปลี่ยนก๊าซ
การแลกเปลี่ยนก๊าซการแลกเปลี่ยนก๊าซ
การแลกเปลี่ยนก๊าซNokko Bio
 
การลำเลียงสารอาหารของพืช
การลำเลียงสารอาหารของพืชการลำเลียงสารอาหารของพืช
การลำเลียงสารอาหารของพืชNokko Bio
 

More from Nokko Bio (20)

โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
 
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้นโครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
 
พฤติกรรมของสัตว์
พฤติกรรมของสัตว์พฤติกรรมของสัตว์
พฤติกรรมของสัตว์
 
ระบบสืบพันธุ์ สอน
ระบบสืบพันธุ์  สอนระบบสืบพันธุ์  สอน
ระบบสืบพันธุ์ สอน
 
ชุดการสอนระบบต่อมไร้ท่อ
ชุดการสอนระบบต่อมไร้ท่อชุดการสอนระบบต่อมไร้ท่อ
ชุดการสอนระบบต่อมไร้ท่อ
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ
 
Ans sns
Ans snsAns sns
Ans sns
 
การรับรู้และการตอบนอง
การรับรู้และการตอบนองการรับรู้และการตอบนอง
การรับรู้และการตอบนอง
 
การทำงานของระบบประสาทสั่งการ
การทำงานของระบบประสาทสั่งการการทำงานของระบบประสาทสั่งการ
การทำงานของระบบประสาทสั่งการ
 
อวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึกอวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึก
 
การหายใจแสง
การหายใจแสงการหายใจแสง
การหายใจแสง
 
C3 c4-cam
C3 c4-camC3 c4-cam
C3 c4-cam
 
การสังเคราะห์ด้วยแสง
การสังเคราะห์ด้วยแสงการสังเคราะห์ด้วยแสง
การสังเคราะห์ด้วยแสง
 
การค้นคว้าเกี่ยวกับการสังเคราะห์ด้วยแสง
การค้นคว้าเกี่ยวกับการสังเคราะห์ด้วยแสงการค้นคว้าเกี่ยวกับการสังเคราะห์ด้วยแสง
การค้นคว้าเกี่ยวกับการสังเคราะห์ด้วยแสง
 
การงอกของเมล็ด
การงอกของเมล็ดการงอกของเมล็ด
การงอกของเมล็ด
 
การเกิดผลและเมล็ด
การเกิดผลและเมล็ดการเกิดผลและเมล็ด
การเกิดผลและเมล็ด
 
การเกิดผลและเมล็ด
การเกิดผลและเมล็ดการเกิดผลและเมล็ด
การเกิดผลและเมล็ด
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอก
 
การแลกเปลี่ยนก๊าซ
การแลกเปลี่ยนก๊าซการแลกเปลี่ยนก๊าซ
การแลกเปลี่ยนก๊าซ
 
การลำเลียงสารอาหารของพืช
การลำเลียงสารอาหารของพืชการลำเลียงสารอาหารของพืช
การลำเลียงสารอาหารของพืช
 

ระบบสืบพันธุ์เพศหญิง