SlideShare a Scribd company logo
1 of 34
Download to read offline
Fertilization
Overview for
fertilization
เมื่อมีการร่วมเพศอสุจิ
เดินทางเข้าสู่ช่องคลอดไปที่ cervical
canal เข้า uterine cavity เข้าปีก
มดลูก ส่วนที่เป็น intramural ,
isthmus แล้วเข้าสู่ ampulla แล้ว
พบกับไข่ และจะปฏิสนธิขึ้นใน
ampulla part ของปีกมดลูก
Cervical canal
Uterine cavityปีกมดลูก
intramural isthmus ampulla
ผสมกับไข่ เกิดปฏิสนธิที่
ampulla part
Fertilization
ระยะที่ 1 อสุจิแทรกผ่าน corona radiata
ระยะที่ 2 อสุจิแทรกผ่าน zona pellucida
เกิดปฏิกิริยา acrosomal reaction ทาให้
acrosome หลั่งเอนไซม์ acrosin เพื่อย่อย zona
pellucida ทาให้อสุจิเคลื่อนที่ผ่านไปยัง ผนังเยื่อ
หุ้มเซลล์ไข่ แล้วเกิดปฏิกิริยา ที่เยื่อหุ้มเซลล์ไข่
ป้องกันไม่ให้เกิดการปฏิสนธิซ้อน (polyspermy)
เซลล์ไข่อยู่ในระยะ metaphase ของ
meiosis
- แบ่งตัวจนถึงสิ้นสุด meiosis2 จะเกิดไข่
ที่เจริญสมบูรณ์
- นิวเคลียสของเซลล์ไข่รวมหนาแน่น อสุจิ
อยู่ภายใน นิวเคลียสเซลล์สืบพันธุ์ผู้หญิง
และผู้ชายอยู่แยกกัน
- เกิดการรวมกันของโครโมโซมทั้ง
สอง เป็นกระจุกเดียว เรียกว่า
โปรนิวคลีโอไล
(pronucleoli)
- โปรนิวคลีโอไลเคลื่อนมาอยู่ตรง
กลางเชื่อมเป็น 23 คู่
ระยะที่ 3
ถ้าเกิดภาวะผิดปกติที่ไซโกตไม่เคลื่อนที่ต่อไปในโพรงมดลูก แล้วจะฝังตัวที่ปีก
มดลูกแทน เรียก ภาวะนี้ว่า การตั้งครรภ์ที่ปีกมดลูก ทาให้ตัวอ่อนเจริญบริเวณนี้ได้ไม่นานจะทา
ให้เกิดการแตกของมดลูก แล้วไซโกตจะหลุดไปฝังตัวในช่องท้อง ซึ่งเรียกรวมว่า “ภาวการณ์
ตั้งครรภ์นอกมดลูก” หรือ ectopic pregnancy
การแบ่งตัว (cleavage)
การแบ่งตัว 2 (cleavage)
การแบ่งตัว 3 (cleavage)
การแบ่งตัว 4 (cleavage)
การฝังตัว (implantation)
เกิดประมาณวันที่ 7-8 หลังจากปฏิสนธิ
มีการเปลี่ยนจาก endometrium เป็น
decidua เรียงตัว 3 ชั้น ได้แก่
ชั้นติดกลับโพรงมดลูก : decidua compacta
ชั้นกลาง : decidua spongiosa
ชั้นสุดติดกับกล้ามเนื้อมดลูก : decidua basalis
การฝังตัว 2 (implantation)
หลังการฝังตัวของ blastocyst สมบูรณ์
แล้ว decidua จะประกอบด้วย 3 ส่วน คือ
Decidua basalis คือ ส่วนของเยื่อบุมดลูกที่อยู่ใต้ต่อ
chorionic vesicle และติดกับ myometrium
Decidua vera คือ ส่วนของเยื่อบุมดลูกรอบผนังมดลูกที่
ไม่ใช่ตาแหน่งที่มีการฝังตัวของ chorionic vesicle
Decidua capsularis คือ เยื่อบุโพรงมดลูกส่วนที่คลุมรอบ
chorionic vesicle หลังจาการฝังตัวสมบูรณ์
Occurrence of
the placenta
เจริญมาจาก Trophoblasts cells ด้านที่ฝังตัวลงไปในเยื่อบุมดลูก
เรียกกลุ่มเซลล์ด้านนี้ว่า Chorion frondosum
- Trophoblasts cells ด้านที่อยู่ติดกับโพรงมดลูก เรียกกลุ่มเซลล์ด้าน
นี้ว่า Chorion leave และจะเสื่อมลงกลายเป็นเยื่อบางๆ(Chorion)
การเกิดรก
-รกที่เจริญจนครบกาหนดจะมีลักษณะกลม แบน กว้างประมาณ 15-20 ซม. หนัก
ประมาณ 1/5-1/6 เท่าของน้าหนักของทารก หนาประมาณ 2-3 ซม.
-ทาหน้าที่แลกเปลี่ยนสารต่างๆระหว่างแม่กับทารก โดยมีเยื่อบางๆ เรียก
Placental membrane กั้นระหว่างเลือดของแม่และลูก เพื่อป้องกันการผ่านของ
สารบางชนิด รก แบ่งเป็น 2 ด้าน
1.Maternal side(ด้านแม่) = ด้านที่ติดกับผนังมดลูก เมื่อรกคลอดจะ
มีลักษณะเป็นก้อนๆ
เรียก Coteledon แต่ละก้อนมีร่องแยกจากกัน เรียกว่า Placenta sulcus
2.Fetal side(ด้านลูก) = ด้านที่มีสายสะดือมาเกา
มารดา สายสะดือทารก ทารก
1 เส้น
Uterine artery Umbilical vein
Body
&
Placenta
Uterine vein
2 เส้น
Umbilical
artery
การไหลเวียนเลือดที่รก
หน้าที่ของรก
1.ทาหน้าที่แทนปอดของ
ทารก
2.ทาหน้าที่แทนไต โดย
ขับถ่ายผ่านเลือดมารดา
3.ให้อาหารแก่ทารก
(สร้างขึ้นเองและจาก
เลือดของมารดา)
4.ให้ภูมิต้านทานแก่
ทารก ได้รับจากมารดา
ได้แก่ IgG และ IgA
5.สร้างฮอร์โมน 2 กลุ่ม
คือ
5.1 กลุ่ม Steroids 1.
Progesterone -
Muscle tone และการ
หดตัวของมดลูกลดลง
5.2 กลุ่ม Glycoprotein
1.Human chorionic
gonadotropin (hCG) -
สร้างโดย Trophoblast
cells
-เจริญมาจาก Cytotrophoblast cells
-ประกอบด้วย Whaton’s jelly ,Umbilical arteries 2 เส้น และ
Umbilical vein 1 เส้น
หน้าที่ของสายสะดือ
1.เชื่อมต่อรกกับทารก
2.ท่อลาเลียงเลือดเพื่อแลกเปลี่ยนสารระหว่างแม่กับทารก
ตาแหน่งที่ติดของสายสะดือบนรก
1.Insertio centralis = ตรงกลางรก
2.Insertio lateralis = ค่อนไปด้านใดด้านหนึ่งของรก
3.Insertio maginalis = ติดอยู่ที่ขอบของรก คล้ายด้ามแรกเก็ต
4.Insertio valamentosa = บนเยื่อหุ้มชั้น Chorion และมีแขนง
หลอดเลือดทอดไปถึงรกอีกต่อหนึ่ง
Umbilical cord สายสะดือ
“บางครั้งหลอดเลือดยาวกว่าสาย
สะดือ ทาให้มีการขดงอของหลอด
เลือด จะเห็นลักษณะคล้ายปม
เรียกว่า False vascular knot”
“Whaton’s jelly knot หนาขึ้นเป็น
ปม เรียกว่า False jelly knot”
ความผิดปกติของสายสะดือ
1.ความยาวผิดปกติ
-สั้นมากกว่าปกติ : ในกรณีที่น้าคร่าน้อย ทาให้
เกิดการลอกตัวก่อนกาหนดของรกจากการ ดึงรั้ง
-ยาวมากกว่าปกติ : กรณีมี Thromboli อุดตัน
ในหลอดเลือด ทาให้เกิดปมของสะดือหรือสาย
สะดือพันคอทารก
2.สายสะดือเกาะผิดตาแหน่ง
3.การไหลเวียนเลือดผิดปกติ
4.สายสะดือตีบ : มีความสัมพันธ์กับการขาด
Whaton’s jelly
เยื่อหุ้มทารก
เยื่อหุ้มทารกชั้นนอก
ติดกับผนังมดลูก ติดต่อเป็น
ผืนเดียวกับรก ด้านในติดกับ
Amnion
เยื่อหุ้มทารกชั้นใน
ไม่มีหลอดเลือดและ
เส้นประสาทมาเลี้ยง มี
ลักษณะเป็นถุง(Amniotic
sac) ภายในจะมีตัวอ่อนและ
น้าคร่า(Amniotic fluid)
สร้างและเก็บน้าคร่า
เป็นแหล่งสร้าง
สาร Prostaglandins
ที่ทาให้มดลูกหดรัด
ความผิดปกติของน้าคร่า
สีผิดปกติ เช่น มีขี้เท้าปน(meconium
stain) มีกลิ่นเหม็น อาจแสดงถึงการติดเชื้อ
ปริมาณผิดปกติ อาจจะมากหรือน้อยกว่าปกติ
อาจเนื่องจากความพิการของทารก
ถุงไข่แดง (yolk sac หรือ umbilical vesicle) เป็นถุง
ขนาดเล็ก ภายในประกอบด้วยของเหลวแต่ไม่มีไข่แดง ทา
หน้าที่เป็นแหล่งสร้างเลือดในตัวอ่อนอายุประมาณ 3-6
สัปดาห์ ขนส่งอาหาร เป็นแหล่งต้นกาเนิดของเซลล์
สืบพันธุ์ เมื่ออายุครรภ์มากขึ้น yolk sac จะเสื่อมสลายไป
การพัฒนาและการเจริญเติบโตของทารกในครรภ์
อายุครรภ์มีการนับอยู่ 2 แบบ คือ
Gestational age หรือ menstrual
age หมายถึง อายุครรภ์ที่นับจากวัน
แรกของ ประจาเดือนครั้งสุดท้าย (last
normal menstrual period =
LNMP / LMP) ถึงครรภ์ครบกาหนด
เท่ากับ 280 วัน หรือ 40 สัปดาห์ หรือ
10 เดือน
Ovulation age หรือ fertilization
age หมายถึง อายุครรภ์ที่นับตั้งแต่วัน
ตกไข่หรือ ปฏิสนธิจนครบกาหนดคลอด
เท่ากับ 266 วัน (วันที่ไข่ตกประมาณ
วันที่ 14 ของรอบประจาเดือน)
การเจริญของมนุษย์
ระยะก่อนคลอด (prenatal
period) หรือ การพัฒนาและการ
เจริญเติบโตของทารก ในครรภ์
หมายถึง ระยะเริ่มต้นตั้งแต่มีการ
ปฏิสนธิไปจนถึงคลอด
ระยะหลังคลอด (postnatal period)
หมายถึง ระยะตั้งแต่หลังคลอดไปจนกระทั่ง
เสียชีวิต
การเจริญในระยะนี้ประกอบด้วย 7 ระยะ
ดังต่อไปนี้
1. Newborn 2. Infant 3. Child
4. Pubescent 5. Adolescent
6. Adult 7. Old age
ระยะก่อนตัวอ่อน
- ระยะตั้งแต่เกิดการปฏิสนธิจนถึงตัวอ่อน
แบ่งตัว
- แบ่งได้ 3 ชั้น คือ
1. ชั้นนอก ectoderm เจริญเป็น ระบบ
ประสาท ผิวหนัง ต่อมน้าลาย ต่อมน้านม
จนถึงส่วนบนของ pharynx ช่องทวารหนัก
แก้วตา และหูส่วนนอก
2. ชั้นกลาง mesoderm เจริญไปเป็น
ระบบกล้ามเนื้อ ระบบกระดูก ชั้นไขมันใต้
ผิวหนัง ระบบไหลเวียนเลือดและ
น้าเหลือง ฯลฯ
3. ชั้นใน endoderm เจริญไปเป็น เยื่อบุ
ผิวของทางเดินอาหาร ทางเดินหายใจ
ฯลฯ
ระยะตัวอ่อน ( embryonic period )
Week 3-4 Week 5-6 Week 7-8
สัปดาห์ที่ 3 : เริ่มมีระบบหัวใจ
และหลอดเลือด
สัปดาห์ที่ 4 : หัวใจใหญ่ขึ้น
ปรากฏตุ่มและแขนขา
สัปดาห์ที่ 5 : หัวใหญ่กว่าตัว มีนิ้วมือ
นิ้วเท้า และหู เริ่มมีการเจริญของ
สมอง
สัปดาห์ที่ 6 : เห็น หัว นิ้วมือ-นิ้วเท้า
ตับเริ่มสร้างเม็ดเลือดแดง
สัปดาห์ที่ 7 : เห็นหน้า ตา แข
ขา ชัด มีผิวหนังบางๆคลุมตัว
เริ่มสร้าง testis
สัปดาห์ที่ 8 : โครงสร้างส่วน
ใหญ่เจริญดี สมองเจริญเร็ว
ระยะทารก ( fetal period )
เดือนที่ 3-4 เดือนที่ 5-6
เดือนที่ 7-8 เดือนที่ 9-10
- ตลอดตัวยาว 6-19 ซม.
- หนัก 45 – 200 กรัม
- มีเล็บ ฟัน และดูดกลืนอาหาร
- แยกเพศได้ชัดเจน มีขน ผนังกั้น
หัวใจ ไตเริ่มขับปัสสาวะ
- ตลอดตัวยาว 25-30ซม.
- หนัก 450-800 กรัม
- มีขนที่ตัว ผมขึ้น ฟังเสียงหัวใจได้ชัด
- มี serfactant ที่ปอด ทาให้ปอดไม่
แฟบเวลาหายใจ
- ตลอดตัวยาว 35-40 ซม.
- หนัก 1,100-1,600 กรัม
- สามารถลืมตาได้ มีขนตา
- Testis เคลื่อนลงสู่ scrotum
- ขนหาย มองเห็นตุ่ม nipple
เล็บมือยาวถึงปลายนิ้ว
- ตลอดตัวยาว 45-50ซม.
- หนัก 2,600-3,400กรัม
- มี subcutaneous fat ใต้
ผิวหนังเพิ่มขึ้น
- มีลักษณะทารกที่ครบกาหนด
ทุกประการ
ระบบไหลเวียนเลือดของทารกในครรภ์
- มี umbilical vein และ
umbilical arteries
- Ductus venosus อยู่ระหว่าง
umbilical vein กับ inferior
vena cava
- Foramen ovale อยู่
ระหว่าง right atrium
กับ left atrium
- Ductus arteriosus นาเลือด
จาก right ventricle โดยผ่าน
ออกทาง pulmonary trunk
และส่งต่อไปยัง arch of aorta
ระบบไหลเวียนเลือดของทารกในครรภ์ 2
ระบบไหลเวียนเลือดของทารกในครรภ์ 3
Respiratory system of the fetus
ระบบทางเดินหายใจของทารกในครรภ์
ความสมบูรณ์ของปอดทารก ขึ้นอยู่กับสาร
surfactant ที่ alveoli ของปอด ซึ่งลดความตึงผิว
(surface tension) หรือ ช่วยให้ปอดทารกขยายได้
เพียงพอ เมื่อคลอดออกมาจึงสามารถหายใจได้ดี
Surfactant เป็น phospholipid ที่สร้างจาก
pneumocyte type II ของ alveoli
surfactant จะเริ่มสร้างเมื่ออายุครรภ์24
สัปดาห์และเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ จนอายุครรภ์34-35 สัปดาห์จะ
เพิ่มขึ้นรวดเร็วมาก ระบบหายใจ เริ่มมีการเคลื่อนไหวของ
ทรวงอกในครรภ์เมื่ออายุครรภ์11 สัปดาห์และเมื่ออายุ
ครรภ์16 สัปดาห์มีการเคลื่อนไหวของทรวงอก
Digestive system
ระบบทางเดินอาหาร เริ่มมีการบีบรัดตัวของลาไส้เล็ก
(peristalsis) เมื่ออายุครรภ์ครบ 11 สัปดาห์และ
สามารถดูดซึมน้าตาล glucose ได้ ปลายเดือนที่ 3
ทารกสามารถกลืนน้าคร่าได้ เมื่ออายุครรภ์ครบ
กาหนด ทารกสามารถกลืนน้าคร่าเข้าไปวันละ
ประมาณ 450 มล.
การกลืนน้าคร่าของทารกเป็นการช่วยควบคุม
ปริมาณของน้าคร่าขี้เทา (meconium) ประกอบด้วยกากของ
สารที่ทารกกลืนน้าคร่าเข้าไปแล้วไม่ย่อย รวมทั้งสิ่งคัดหลั่ง
จากท่อระบบทางเดินอาหาร ซึ่งทารกจะขับถ่ายขี้เทาออกมา
ปนน้าคร่ามากขึ้นเมื่อมีภาวะขาดออกซิเจน หรือ มี
ความเครียด
Urinary system
ระบบทางเดินปัสสาวะ
ส่วนทีพัฒนาก่อน คือ pronephons และ mesonephrons
หลังจากนั้นจึงเป็น metanephons ภายหลังสามเดือนแรกของการตั้งครรภ์
nephron เริ่มมีการขับถ่ายได้ แต่ยังไม่เต็มที่และยังไม่สามารถควบคุม pH ของ
ปัสสาวะ ปัสสาวะของทารกมีสภาพเป็น hypotonic ขณะอยู่ในครรภ์ไตทารก
ทาหน้าที่ควบคุมปริมาณและส่วนประกอบของน้าคร่า เมื่ออายุครรภ์ 30
สัปดาห์จะขับปัสสาวะ ประมาณ 10 มล./ ชม. และเมื่อครบกาหนดจะขับถ่ายได้
ประมาณ 27 มล./ชม. หรือ 650 มล. /วัน
Nervous system
ระบบประสาท
ระบบประสาทจะเริ่มพัฒนาตั้งแต่ระยะตัวอ่อน
ประมาณสัปดาห์ที่ 8 ทารกก้มงอศีรษะและลาตัวได้ ถ้าเอาทาร
กออกจากครรภ์ขณะอายุครรภ์ 10 สัปดาห์ จะเคลื่อนไหวได้เอง
ถ้ากระตุ้นอาจมีการตอบสนอง หรือมี reflex เช่น กลอกตา อ้า
ปาก เป็นต้น สัปดาห์ที่ 12-13 เริ่มการดูดและการกลืน (sucking
and swallowing reflex) ซึ่งจะพัฒนาขึ้นเมื่อสัปดาห์ที่ 24
Respiratory movement พบได้เมื่ออายุครรภ์
ประมาณ 16 สัปดาห์ ความสัมพันธ์ระหว่างระบบประสาทและ
กล้ามเนื้อพัฒนารวดเร็วใน 3 เดือนสุดท้ายของการตั้งครรภ์ ตาไว
ต่อแสงเมื่ออายุครรภ์ครบ 7 เดือน แต่จะแยกแยะสี รูปร่าง ได้
สมบูรณ์ ภายหลังคลอดอีกนาน หูเริ่มได้ยินเสียงบางอย่าง เมื่อ
อายุครรภ์ครบ 24-26 สัปดาห์ และต่อมรับรสเริ่มมีการ
ตอบสนองต่อรสของสารต่างๆ เมื่อเดือนที่ 7 ของการตั้งครรภ
Nervous system (2)
ระบบประสาท
Endocrine and immunology systems
ระบบต่อมไร้ท่อเเละภูมิคุ้มกันวิทยา
ระบบต่อมไร้ท่อ
ภูมิคุ้มกันวิทยา
เมื่ออายุครรภ์ครบ 12
สัปดาห์ ต่อม pituitary ของ
ทารกสามารถสังเคราะห์และเก็บ
สะสมpituitary hormones
และภายหลังอายุครรภ์ 12
สัปดาห์ จนถึงครบกาหนดคลอด
มีการหลั่ง iodine จากต่อม
thyroid ของทารกมากขึ้น
ระบบภูมิคุ้มกันของทารก
พัฒนาจนสามารถทาหน้าที่ได้
ตั้งแต่อายุครรภ์ครบ 13 สัปดาห์
ในกระแสเลือดของทารกมีเพียง
IgG ซึ่งผ่านรกมาจากแม่ ดังนั้น
การตรวจพบ IgM ในเลือดจาก
สายสะดือ ย่อมบ่งชี้ถึงการติดเชื้อ
ในมดลูก เพราะ IgM จากแม่ผ่า
นรกไม่ได้ แสดงว่าทารกสร้าง IgM
เองเพื่อตอบสนองต่อ antigen
labor or delivery (การคลอด)
การคลอด หมายถึง การสิ้นสุดของการตั้งครรภ์ตั้งแต่อายุครรภ์ครบ 28 สัปดาห์ขึ้นไป
ถ้าอายุครรภ์ 28-37 สัปดาห์ เรียกว่า คลอดก่อนกาหนด (premature labour)
ถ้าอายุครรภ์ 38-42 สัปดาห์ เรียกว่า คลอดครบกาหนด (mature labour)
ถ้าอายุครรภ์ มากกว่า 42 สัปดาห์ เรียกว่า คลอดเกินกาหนด (posterm labour)
สาเหตุของการเจ็บครรภ์คลอด
labor or delivery (การคลอด)
สาเหตุแท้จริงไม่ทราบ แต่มีทฤษฎีสนับสนุนหลายทฤษฎี ที่
สาคัญคือ การสร้าง prostaglandins เพื่อเพิ่มขึ้นที่กล้ามเนื้อมดลูก ทาให้
กล้ามเนื้อมดลูกหดรัดตัว และทฤษฎีเกี่ยวกับ oxytocin ซึ่งเชื่อว่า มดลูก
ในระยะท้ายๆ ของการตั้งครรภ์มีความสามารถในการรับ หรือ สนองตอบ
ต่อ oxytocin เพิ่มขึ้น ซึ่ง oxytocin ทาให้กล้ามเนื้อมดลูกรัดตัว ดังนั้นจึง
ทาให้เกิดการ เจ็บครรภ์ การหดรัดตัวของกล้ามเนื้อมดลูก ทาให้ปาก
มดลูก (cervix) บางและเปิดขยายรวมทั้งขับ ดันให้เด็กเคลื่อนต่าลงมาและ
ผ่านมดลูกที่ขยายเต็มที่ ผ่านช่องคลอดออกสู่ภายนอกเมื่อเด็กคลอด รกจะ
เกิดการลอกตัวออกจากผนังมดลูกและคลอดตามออกมา
สมาชิกกลุ่ม
นางสาว กมลรัตน์ สุมี เลขที่ 2 รหัสนักศึกษา 62121670
นางสาวเกษราภรณ์ โพธิไพร เลขที่10 รหัสนักศึกษา 621216715
นางสาว ชญานันท์ บารุงนอก เลขที่ 16 รหัสนักศึกษา 621216728
นางสาว ชลิตา พายัพบรรพต เลขที่18 รหัสนักศึกษา 621216731
นางสาว ชุติกาญจน์ โปธิยอง เลขที่ 19 รหัสนักศึกษา 621216734
นาวสาว ณิชาภัทร ศรีนวล เลขที่ 25 รหัสนักศึกษา 621216747
นางสาว ธิดารัตน์ มายขุนทด เลขที่ 34 รหัสนักศึกษา 621216765
นางสาว บุศรา สินภักดี เลขที่ 41 รหัสนักศึกษา 621216781
นางสาว ปรียา สะอาดรักธรรม เลขที่ 45 รหัสนักศึกษา 621216789
นาย ปิยะฉัตร บารุงกุล เลขที่47 รหัสนักศึกษา 621216792
นางสาว วารุณี เงินแก้ว เลขที่ 60 รหัสนักศึกษา 621216819
นางสาว วีรดา ดารงเจริญศักดิ์ เลขที่61 รหัสนักศึกษา 621216821
นาย ศรราม สุริยกานต์พรรณ เลขที่ 62 รหัสนักศึกษา 621216823
สัตว์เดรัจฉาน กล่าวว่า
"ถ้าได้เกิดเป็นมนุษย์ เราจะสงเคราะห์สัตว์ตัวอื่นๆ เป็นสัตว์นั้นทุกข์มาก พูดก็
ไม่ได้ คิดอะไรฉลาดๆก็ไม่ได้ เป็นมนุษย์มีสมองมีปัญญา เราจะใช้ปัญญาของ
มนุษย์ทาให้ตัวเองไม่ต้องมาเป็นสัตว์อีก"
....................
เปรต กล่าวว่า
"เราไม่อยากมีหน้าตาน่าเกลียด ไม่อยากมีปากเท่ารูเข็ม มีรูปร่างสูงเหมือนต้น
ตาล ถ้าได้เกิดเป็นมนุษย์ เราจะถือศีล จะได้ไม่ต้องมาเป็นเปรตผู้หิวโหย อดๆ
อยากๆ ทนทุกข์ทรมานแบบนี้"
....................
สัตว์นรกในอเวจี กล่าวว่า
"ถ้าได้เกิดเป็นมนุษย์ เราจะทาความดี จะไม่ผิดศีล5อีก จะปฏิบัติธรรม เพราะ
นรกมันร้อนมันโหดร้าย อยู่แล้วมีแต่ความเจ็บปวด ทุรนทุราย ถ้าข้ามีโอกาสอีก
ครั้ง เราจะไม่ทาเลว เราไม่อยากทรมาน ไม่อยากได้ชื่อว่าเป็นสัตว์นรกอีก"

More Related Content

Similar to Fertilization present

ระบบหายใจ
ระบบหายใจระบบหายใจ
ระบบหายใจWan Ngamwongwan
 
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasis
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasisการรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasis
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasissupreechafkk
 
ติวสอบเตรียมระบบย่อยและหมุนเวียน
ติวสอบเตรียมระบบย่อยและหมุนเวียนติวสอบเตรียมระบบย่อยและหมุนเวียน
ติวสอบเตรียมระบบย่อยและหมุนเวียนWichai Likitponrak
 
สื่อประกอบการสอนเรื่องสัตว์ครึ่งบก ครึ่งน้ำ
สื่อประกอบการสอนเรื่องสัตว์ครึ่งบก ครึ่งน้ำสื่อประกอบการสอนเรื่องสัตว์ครึ่งบก ครึ่งน้ำ
สื่อประกอบการสอนเรื่องสัตว์ครึ่งบก ครึ่งน้ำsavokclash
 
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน Wan Ngamwongwan
 
หัตถการที่จำเป็นทางสูติ
หัตถการที่จำเป็นทางสูติหัตถการที่จำเป็นทางสูติ
หัตถการที่จำเป็นทางสูติvora kun
 

Similar to Fertilization present (10)

ระบบหายใจ
ระบบหายใจระบบหายใจ
ระบบหายใจ
 
การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่
 
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasis
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasisการรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasis
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasis
 
ระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหารระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหาร
 
กลุ่ม 1
กลุ่ม 1กลุ่ม 1
กลุ่ม 1
 
ติวสอบเตรียมระบบย่อยและหมุนเวียน
ติวสอบเตรียมระบบย่อยและหมุนเวียนติวสอบเตรียมระบบย่อยและหมุนเวียน
ติวสอบเตรียมระบบย่อยและหมุนเวียน
 
สื่อประกอบการสอนเรื่องสัตว์ครึ่งบก ครึ่งน้ำ
สื่อประกอบการสอนเรื่องสัตว์ครึ่งบก ครึ่งน้ำสื่อประกอบการสอนเรื่องสัตว์ครึ่งบก ครึ่งน้ำ
สื่อประกอบการสอนเรื่องสัตว์ครึ่งบก ครึ่งน้ำ
 
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน
 
หัตถการที่จำเป็นทางสูติ
หัตถการที่จำเป็นทางสูติหัตถการที่จำเป็นทางสูติ
หัตถการที่จำเป็นทางสูติ
 
Circumcision
CircumcisionCircumcision
Circumcision
 

Fertilization present

  • 2. Overview for fertilization เมื่อมีการร่วมเพศอสุจิ เดินทางเข้าสู่ช่องคลอดไปที่ cervical canal เข้า uterine cavity เข้าปีก มดลูก ส่วนที่เป็น intramural , isthmus แล้วเข้าสู่ ampulla แล้ว พบกับไข่ และจะปฏิสนธิขึ้นใน ampulla part ของปีกมดลูก Cervical canal Uterine cavityปีกมดลูก intramural isthmus ampulla ผสมกับไข่ เกิดปฏิสนธิที่ ampulla part
  • 3. Fertilization ระยะที่ 1 อสุจิแทรกผ่าน corona radiata ระยะที่ 2 อสุจิแทรกผ่าน zona pellucida เกิดปฏิกิริยา acrosomal reaction ทาให้ acrosome หลั่งเอนไซม์ acrosin เพื่อย่อย zona pellucida ทาให้อสุจิเคลื่อนที่ผ่านไปยัง ผนังเยื่อ หุ้มเซลล์ไข่ แล้วเกิดปฏิกิริยา ที่เยื่อหุ้มเซลล์ไข่ ป้องกันไม่ให้เกิดการปฏิสนธิซ้อน (polyspermy)
  • 4. เซลล์ไข่อยู่ในระยะ metaphase ของ meiosis - แบ่งตัวจนถึงสิ้นสุด meiosis2 จะเกิดไข่ ที่เจริญสมบูรณ์ - นิวเคลียสของเซลล์ไข่รวมหนาแน่น อสุจิ อยู่ภายใน นิวเคลียสเซลล์สืบพันธุ์ผู้หญิง และผู้ชายอยู่แยกกัน - เกิดการรวมกันของโครโมโซมทั้ง สอง เป็นกระจุกเดียว เรียกว่า โปรนิวคลีโอไล (pronucleoli) - โปรนิวคลีโอไลเคลื่อนมาอยู่ตรง กลางเชื่อมเป็น 23 คู่ ระยะที่ 3 ถ้าเกิดภาวะผิดปกติที่ไซโกตไม่เคลื่อนที่ต่อไปในโพรงมดลูก แล้วจะฝังตัวที่ปีก มดลูกแทน เรียก ภาวะนี้ว่า การตั้งครรภ์ที่ปีกมดลูก ทาให้ตัวอ่อนเจริญบริเวณนี้ได้ไม่นานจะทา ให้เกิดการแตกของมดลูก แล้วไซโกตจะหลุดไปฝังตัวในช่องท้อง ซึ่งเรียกรวมว่า “ภาวการณ์ ตั้งครรภ์นอกมดลูก” หรือ ectopic pregnancy
  • 9. การฝังตัว (implantation) เกิดประมาณวันที่ 7-8 หลังจากปฏิสนธิ มีการเปลี่ยนจาก endometrium เป็น decidua เรียงตัว 3 ชั้น ได้แก่ ชั้นติดกลับโพรงมดลูก : decidua compacta ชั้นกลาง : decidua spongiosa ชั้นสุดติดกับกล้ามเนื้อมดลูก : decidua basalis
  • 10. การฝังตัว 2 (implantation) หลังการฝังตัวของ blastocyst สมบูรณ์ แล้ว decidua จะประกอบด้วย 3 ส่วน คือ Decidua basalis คือ ส่วนของเยื่อบุมดลูกที่อยู่ใต้ต่อ chorionic vesicle และติดกับ myometrium Decidua vera คือ ส่วนของเยื่อบุมดลูกรอบผนังมดลูกที่ ไม่ใช่ตาแหน่งที่มีการฝังตัวของ chorionic vesicle Decidua capsularis คือ เยื่อบุโพรงมดลูกส่วนที่คลุมรอบ chorionic vesicle หลังจาการฝังตัวสมบูรณ์
  • 11. Occurrence of the placenta เจริญมาจาก Trophoblasts cells ด้านที่ฝังตัวลงไปในเยื่อบุมดลูก เรียกกลุ่มเซลล์ด้านนี้ว่า Chorion frondosum - Trophoblasts cells ด้านที่อยู่ติดกับโพรงมดลูก เรียกกลุ่มเซลล์ด้าน นี้ว่า Chorion leave และจะเสื่อมลงกลายเป็นเยื่อบางๆ(Chorion) การเกิดรก -รกที่เจริญจนครบกาหนดจะมีลักษณะกลม แบน กว้างประมาณ 15-20 ซม. หนัก ประมาณ 1/5-1/6 เท่าของน้าหนักของทารก หนาประมาณ 2-3 ซม. -ทาหน้าที่แลกเปลี่ยนสารต่างๆระหว่างแม่กับทารก โดยมีเยื่อบางๆ เรียก Placental membrane กั้นระหว่างเลือดของแม่และลูก เพื่อป้องกันการผ่านของ สารบางชนิด รก แบ่งเป็น 2 ด้าน 1.Maternal side(ด้านแม่) = ด้านที่ติดกับผนังมดลูก เมื่อรกคลอดจะ มีลักษณะเป็นก้อนๆ เรียก Coteledon แต่ละก้อนมีร่องแยกจากกัน เรียกว่า Placenta sulcus 2.Fetal side(ด้านลูก) = ด้านที่มีสายสะดือมาเกา
  • 12. มารดา สายสะดือทารก ทารก 1 เส้น Uterine artery Umbilical vein Body & Placenta Uterine vein 2 เส้น Umbilical artery การไหลเวียนเลือดที่รก หน้าที่ของรก 1.ทาหน้าที่แทนปอดของ ทารก 2.ทาหน้าที่แทนไต โดย ขับถ่ายผ่านเลือดมารดา 3.ให้อาหารแก่ทารก (สร้างขึ้นเองและจาก เลือดของมารดา) 4.ให้ภูมิต้านทานแก่ ทารก ได้รับจากมารดา ได้แก่ IgG และ IgA 5.สร้างฮอร์โมน 2 กลุ่ม คือ 5.1 กลุ่ม Steroids 1. Progesterone - Muscle tone และการ หดตัวของมดลูกลดลง 5.2 กลุ่ม Glycoprotein 1.Human chorionic gonadotropin (hCG) - สร้างโดย Trophoblast cells
  • 13. -เจริญมาจาก Cytotrophoblast cells -ประกอบด้วย Whaton’s jelly ,Umbilical arteries 2 เส้น และ Umbilical vein 1 เส้น หน้าที่ของสายสะดือ 1.เชื่อมต่อรกกับทารก 2.ท่อลาเลียงเลือดเพื่อแลกเปลี่ยนสารระหว่างแม่กับทารก ตาแหน่งที่ติดของสายสะดือบนรก 1.Insertio centralis = ตรงกลางรก 2.Insertio lateralis = ค่อนไปด้านใดด้านหนึ่งของรก 3.Insertio maginalis = ติดอยู่ที่ขอบของรก คล้ายด้ามแรกเก็ต 4.Insertio valamentosa = บนเยื่อหุ้มชั้น Chorion และมีแขนง หลอดเลือดทอดไปถึงรกอีกต่อหนึ่ง Umbilical cord สายสะดือ “บางครั้งหลอดเลือดยาวกว่าสาย สะดือ ทาให้มีการขดงอของหลอด เลือด จะเห็นลักษณะคล้ายปม เรียกว่า False vascular knot” “Whaton’s jelly knot หนาขึ้นเป็น ปม เรียกว่า False jelly knot”
  • 14. ความผิดปกติของสายสะดือ 1.ความยาวผิดปกติ -สั้นมากกว่าปกติ : ในกรณีที่น้าคร่าน้อย ทาให้ เกิดการลอกตัวก่อนกาหนดของรกจากการ ดึงรั้ง -ยาวมากกว่าปกติ : กรณีมี Thromboli อุดตัน ในหลอดเลือด ทาให้เกิดปมของสะดือหรือสาย สะดือพันคอทารก 2.สายสะดือเกาะผิดตาแหน่ง 3.การไหลเวียนเลือดผิดปกติ 4.สายสะดือตีบ : มีความสัมพันธ์กับการขาด Whaton’s jelly
  • 15. เยื่อหุ้มทารก เยื่อหุ้มทารกชั้นนอก ติดกับผนังมดลูก ติดต่อเป็น ผืนเดียวกับรก ด้านในติดกับ Amnion เยื่อหุ้มทารกชั้นใน ไม่มีหลอดเลือดและ เส้นประสาทมาเลี้ยง มี ลักษณะเป็นถุง(Amniotic sac) ภายในจะมีตัวอ่อนและ น้าคร่า(Amniotic fluid) สร้างและเก็บน้าคร่า เป็นแหล่งสร้าง สาร Prostaglandins ที่ทาให้มดลูกหดรัด
  • 16. ความผิดปกติของน้าคร่า สีผิดปกติ เช่น มีขี้เท้าปน(meconium stain) มีกลิ่นเหม็น อาจแสดงถึงการติดเชื้อ ปริมาณผิดปกติ อาจจะมากหรือน้อยกว่าปกติ อาจเนื่องจากความพิการของทารก ถุงไข่แดง (yolk sac หรือ umbilical vesicle) เป็นถุง ขนาดเล็ก ภายในประกอบด้วยของเหลวแต่ไม่มีไข่แดง ทา หน้าที่เป็นแหล่งสร้างเลือดในตัวอ่อนอายุประมาณ 3-6 สัปดาห์ ขนส่งอาหาร เป็นแหล่งต้นกาเนิดของเซลล์ สืบพันธุ์ เมื่ออายุครรภ์มากขึ้น yolk sac จะเสื่อมสลายไป
  • 17. การพัฒนาและการเจริญเติบโตของทารกในครรภ์ อายุครรภ์มีการนับอยู่ 2 แบบ คือ Gestational age หรือ menstrual age หมายถึง อายุครรภ์ที่นับจากวัน แรกของ ประจาเดือนครั้งสุดท้าย (last normal menstrual period = LNMP / LMP) ถึงครรภ์ครบกาหนด เท่ากับ 280 วัน หรือ 40 สัปดาห์ หรือ 10 เดือน Ovulation age หรือ fertilization age หมายถึง อายุครรภ์ที่นับตั้งแต่วัน ตกไข่หรือ ปฏิสนธิจนครบกาหนดคลอด เท่ากับ 266 วัน (วันที่ไข่ตกประมาณ วันที่ 14 ของรอบประจาเดือน)
  • 18. การเจริญของมนุษย์ ระยะก่อนคลอด (prenatal period) หรือ การพัฒนาและการ เจริญเติบโตของทารก ในครรภ์ หมายถึง ระยะเริ่มต้นตั้งแต่มีการ ปฏิสนธิไปจนถึงคลอด ระยะหลังคลอด (postnatal period) หมายถึง ระยะตั้งแต่หลังคลอดไปจนกระทั่ง เสียชีวิต การเจริญในระยะนี้ประกอบด้วย 7 ระยะ ดังต่อไปนี้ 1. Newborn 2. Infant 3. Child 4. Pubescent 5. Adolescent 6. Adult 7. Old age
  • 19. ระยะก่อนตัวอ่อน - ระยะตั้งแต่เกิดการปฏิสนธิจนถึงตัวอ่อน แบ่งตัว - แบ่งได้ 3 ชั้น คือ 1. ชั้นนอก ectoderm เจริญเป็น ระบบ ประสาท ผิวหนัง ต่อมน้าลาย ต่อมน้านม จนถึงส่วนบนของ pharynx ช่องทวารหนัก แก้วตา และหูส่วนนอก 2. ชั้นกลาง mesoderm เจริญไปเป็น ระบบกล้ามเนื้อ ระบบกระดูก ชั้นไขมันใต้ ผิวหนัง ระบบไหลเวียนเลือดและ น้าเหลือง ฯลฯ 3. ชั้นใน endoderm เจริญไปเป็น เยื่อบุ ผิวของทางเดินอาหาร ทางเดินหายใจ ฯลฯ
  • 20. ระยะตัวอ่อน ( embryonic period ) Week 3-4 Week 5-6 Week 7-8 สัปดาห์ที่ 3 : เริ่มมีระบบหัวใจ และหลอดเลือด สัปดาห์ที่ 4 : หัวใจใหญ่ขึ้น ปรากฏตุ่มและแขนขา สัปดาห์ที่ 5 : หัวใหญ่กว่าตัว มีนิ้วมือ นิ้วเท้า และหู เริ่มมีการเจริญของ สมอง สัปดาห์ที่ 6 : เห็น หัว นิ้วมือ-นิ้วเท้า ตับเริ่มสร้างเม็ดเลือดแดง สัปดาห์ที่ 7 : เห็นหน้า ตา แข ขา ชัด มีผิวหนังบางๆคลุมตัว เริ่มสร้าง testis สัปดาห์ที่ 8 : โครงสร้างส่วน ใหญ่เจริญดี สมองเจริญเร็ว
  • 21. ระยะทารก ( fetal period ) เดือนที่ 3-4 เดือนที่ 5-6 เดือนที่ 7-8 เดือนที่ 9-10 - ตลอดตัวยาว 6-19 ซม. - หนัก 45 – 200 กรัม - มีเล็บ ฟัน และดูดกลืนอาหาร - แยกเพศได้ชัดเจน มีขน ผนังกั้น หัวใจ ไตเริ่มขับปัสสาวะ - ตลอดตัวยาว 25-30ซม. - หนัก 450-800 กรัม - มีขนที่ตัว ผมขึ้น ฟังเสียงหัวใจได้ชัด - มี serfactant ที่ปอด ทาให้ปอดไม่ แฟบเวลาหายใจ - ตลอดตัวยาว 35-40 ซม. - หนัก 1,100-1,600 กรัม - สามารถลืมตาได้ มีขนตา - Testis เคลื่อนลงสู่ scrotum - ขนหาย มองเห็นตุ่ม nipple เล็บมือยาวถึงปลายนิ้ว - ตลอดตัวยาว 45-50ซม. - หนัก 2,600-3,400กรัม - มี subcutaneous fat ใต้ ผิวหนังเพิ่มขึ้น - มีลักษณะทารกที่ครบกาหนด ทุกประการ
  • 22. ระบบไหลเวียนเลือดของทารกในครรภ์ - มี umbilical vein และ umbilical arteries - Ductus venosus อยู่ระหว่าง umbilical vein กับ inferior vena cava - Foramen ovale อยู่ ระหว่าง right atrium กับ left atrium - Ductus arteriosus นาเลือด จาก right ventricle โดยผ่าน ออกทาง pulmonary trunk และส่งต่อไปยัง arch of aorta
  • 25. Respiratory system of the fetus ระบบทางเดินหายใจของทารกในครรภ์ ความสมบูรณ์ของปอดทารก ขึ้นอยู่กับสาร surfactant ที่ alveoli ของปอด ซึ่งลดความตึงผิว (surface tension) หรือ ช่วยให้ปอดทารกขยายได้ เพียงพอ เมื่อคลอดออกมาจึงสามารถหายใจได้ดี Surfactant เป็น phospholipid ที่สร้างจาก pneumocyte type II ของ alveoli surfactant จะเริ่มสร้างเมื่ออายุครรภ์24 สัปดาห์และเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ จนอายุครรภ์34-35 สัปดาห์จะ เพิ่มขึ้นรวดเร็วมาก ระบบหายใจ เริ่มมีการเคลื่อนไหวของ ทรวงอกในครรภ์เมื่ออายุครรภ์11 สัปดาห์และเมื่ออายุ ครรภ์16 สัปดาห์มีการเคลื่อนไหวของทรวงอก
  • 26. Digestive system ระบบทางเดินอาหาร เริ่มมีการบีบรัดตัวของลาไส้เล็ก (peristalsis) เมื่ออายุครรภ์ครบ 11 สัปดาห์และ สามารถดูดซึมน้าตาล glucose ได้ ปลายเดือนที่ 3 ทารกสามารถกลืนน้าคร่าได้ เมื่ออายุครรภ์ครบ กาหนด ทารกสามารถกลืนน้าคร่าเข้าไปวันละ ประมาณ 450 มล. การกลืนน้าคร่าของทารกเป็นการช่วยควบคุม ปริมาณของน้าคร่าขี้เทา (meconium) ประกอบด้วยกากของ สารที่ทารกกลืนน้าคร่าเข้าไปแล้วไม่ย่อย รวมทั้งสิ่งคัดหลั่ง จากท่อระบบทางเดินอาหาร ซึ่งทารกจะขับถ่ายขี้เทาออกมา ปนน้าคร่ามากขึ้นเมื่อมีภาวะขาดออกซิเจน หรือ มี ความเครียด
  • 27. Urinary system ระบบทางเดินปัสสาวะ ส่วนทีพัฒนาก่อน คือ pronephons และ mesonephrons หลังจากนั้นจึงเป็น metanephons ภายหลังสามเดือนแรกของการตั้งครรภ์ nephron เริ่มมีการขับถ่ายได้ แต่ยังไม่เต็มที่และยังไม่สามารถควบคุม pH ของ ปัสสาวะ ปัสสาวะของทารกมีสภาพเป็น hypotonic ขณะอยู่ในครรภ์ไตทารก ทาหน้าที่ควบคุมปริมาณและส่วนประกอบของน้าคร่า เมื่ออายุครรภ์ 30 สัปดาห์จะขับปัสสาวะ ประมาณ 10 มล./ ชม. และเมื่อครบกาหนดจะขับถ่ายได้ ประมาณ 27 มล./ชม. หรือ 650 มล. /วัน
  • 28. Nervous system ระบบประสาท ระบบประสาทจะเริ่มพัฒนาตั้งแต่ระยะตัวอ่อน ประมาณสัปดาห์ที่ 8 ทารกก้มงอศีรษะและลาตัวได้ ถ้าเอาทาร กออกจากครรภ์ขณะอายุครรภ์ 10 สัปดาห์ จะเคลื่อนไหวได้เอง ถ้ากระตุ้นอาจมีการตอบสนอง หรือมี reflex เช่น กลอกตา อ้า ปาก เป็นต้น สัปดาห์ที่ 12-13 เริ่มการดูดและการกลืน (sucking and swallowing reflex) ซึ่งจะพัฒนาขึ้นเมื่อสัปดาห์ที่ 24
  • 29. Respiratory movement พบได้เมื่ออายุครรภ์ ประมาณ 16 สัปดาห์ ความสัมพันธ์ระหว่างระบบประสาทและ กล้ามเนื้อพัฒนารวดเร็วใน 3 เดือนสุดท้ายของการตั้งครรภ์ ตาไว ต่อแสงเมื่ออายุครรภ์ครบ 7 เดือน แต่จะแยกแยะสี รูปร่าง ได้ สมบูรณ์ ภายหลังคลอดอีกนาน หูเริ่มได้ยินเสียงบางอย่าง เมื่อ อายุครรภ์ครบ 24-26 สัปดาห์ และต่อมรับรสเริ่มมีการ ตอบสนองต่อรสของสารต่างๆ เมื่อเดือนที่ 7 ของการตั้งครรภ Nervous system (2) ระบบประสาท
  • 30. Endocrine and immunology systems ระบบต่อมไร้ท่อเเละภูมิคุ้มกันวิทยา ระบบต่อมไร้ท่อ ภูมิคุ้มกันวิทยา เมื่ออายุครรภ์ครบ 12 สัปดาห์ ต่อม pituitary ของ ทารกสามารถสังเคราะห์และเก็บ สะสมpituitary hormones และภายหลังอายุครรภ์ 12 สัปดาห์ จนถึงครบกาหนดคลอด มีการหลั่ง iodine จากต่อม thyroid ของทารกมากขึ้น ระบบภูมิคุ้มกันของทารก พัฒนาจนสามารถทาหน้าที่ได้ ตั้งแต่อายุครรภ์ครบ 13 สัปดาห์ ในกระแสเลือดของทารกมีเพียง IgG ซึ่งผ่านรกมาจากแม่ ดังนั้น การตรวจพบ IgM ในเลือดจาก สายสะดือ ย่อมบ่งชี้ถึงการติดเชื้อ ในมดลูก เพราะ IgM จากแม่ผ่า นรกไม่ได้ แสดงว่าทารกสร้าง IgM เองเพื่อตอบสนองต่อ antigen
  • 31. labor or delivery (การคลอด) การคลอด หมายถึง การสิ้นสุดของการตั้งครรภ์ตั้งแต่อายุครรภ์ครบ 28 สัปดาห์ขึ้นไป ถ้าอายุครรภ์ 28-37 สัปดาห์ เรียกว่า คลอดก่อนกาหนด (premature labour) ถ้าอายุครรภ์ 38-42 สัปดาห์ เรียกว่า คลอดครบกาหนด (mature labour) ถ้าอายุครรภ์ มากกว่า 42 สัปดาห์ เรียกว่า คลอดเกินกาหนด (posterm labour) สาเหตุของการเจ็บครรภ์คลอด
  • 32. labor or delivery (การคลอด) สาเหตุแท้จริงไม่ทราบ แต่มีทฤษฎีสนับสนุนหลายทฤษฎี ที่ สาคัญคือ การสร้าง prostaglandins เพื่อเพิ่มขึ้นที่กล้ามเนื้อมดลูก ทาให้ กล้ามเนื้อมดลูกหดรัดตัว และทฤษฎีเกี่ยวกับ oxytocin ซึ่งเชื่อว่า มดลูก ในระยะท้ายๆ ของการตั้งครรภ์มีความสามารถในการรับ หรือ สนองตอบ ต่อ oxytocin เพิ่มขึ้น ซึ่ง oxytocin ทาให้กล้ามเนื้อมดลูกรัดตัว ดังนั้นจึง ทาให้เกิดการ เจ็บครรภ์ การหดรัดตัวของกล้ามเนื้อมดลูก ทาให้ปาก มดลูก (cervix) บางและเปิดขยายรวมทั้งขับ ดันให้เด็กเคลื่อนต่าลงมาและ ผ่านมดลูกที่ขยายเต็มที่ ผ่านช่องคลอดออกสู่ภายนอกเมื่อเด็กคลอด รกจะ เกิดการลอกตัวออกจากผนังมดลูกและคลอดตามออกมา
  • 33. สมาชิกกลุ่ม นางสาว กมลรัตน์ สุมี เลขที่ 2 รหัสนักศึกษา 62121670 นางสาวเกษราภรณ์ โพธิไพร เลขที่10 รหัสนักศึกษา 621216715 นางสาว ชญานันท์ บารุงนอก เลขที่ 16 รหัสนักศึกษา 621216728 นางสาว ชลิตา พายัพบรรพต เลขที่18 รหัสนักศึกษา 621216731 นางสาว ชุติกาญจน์ โปธิยอง เลขที่ 19 รหัสนักศึกษา 621216734 นาวสาว ณิชาภัทร ศรีนวล เลขที่ 25 รหัสนักศึกษา 621216747 นางสาว ธิดารัตน์ มายขุนทด เลขที่ 34 รหัสนักศึกษา 621216765 นางสาว บุศรา สินภักดี เลขที่ 41 รหัสนักศึกษา 621216781 นางสาว ปรียา สะอาดรักธรรม เลขที่ 45 รหัสนักศึกษา 621216789 นาย ปิยะฉัตร บารุงกุล เลขที่47 รหัสนักศึกษา 621216792 นางสาว วารุณี เงินแก้ว เลขที่ 60 รหัสนักศึกษา 621216819 นางสาว วีรดา ดารงเจริญศักดิ์ เลขที่61 รหัสนักศึกษา 621216821 นาย ศรราม สุริยกานต์พรรณ เลขที่ 62 รหัสนักศึกษา 621216823
  • 34. สัตว์เดรัจฉาน กล่าวว่า "ถ้าได้เกิดเป็นมนุษย์ เราจะสงเคราะห์สัตว์ตัวอื่นๆ เป็นสัตว์นั้นทุกข์มาก พูดก็ ไม่ได้ คิดอะไรฉลาดๆก็ไม่ได้ เป็นมนุษย์มีสมองมีปัญญา เราจะใช้ปัญญาของ มนุษย์ทาให้ตัวเองไม่ต้องมาเป็นสัตว์อีก" .................... เปรต กล่าวว่า "เราไม่อยากมีหน้าตาน่าเกลียด ไม่อยากมีปากเท่ารูเข็ม มีรูปร่างสูงเหมือนต้น ตาล ถ้าได้เกิดเป็นมนุษย์ เราจะถือศีล จะได้ไม่ต้องมาเป็นเปรตผู้หิวโหย อดๆ อยากๆ ทนทุกข์ทรมานแบบนี้" .................... สัตว์นรกในอเวจี กล่าวว่า "ถ้าได้เกิดเป็นมนุษย์ เราจะทาความดี จะไม่ผิดศีล5อีก จะปฏิบัติธรรม เพราะ นรกมันร้อนมันโหดร้าย อยู่แล้วมีแต่ความเจ็บปวด ทุรนทุราย ถ้าข้ามีโอกาสอีก ครั้ง เราจะไม่ทาเลว เราไม่อยากทรมาน ไม่อยากได้ชื่อว่าเป็นสัตว์นรกอีก"