SlideShare a Scribd company logo
1 of 47
นพ.ปรัชญา ศรีสว่าง
21-Jul-14 1
21-Jul-14 2
โรคอ้วนลงพุง
ภัยเงียบคุกคามคนไทยนับล้านคน
แล้ว ‘คุณ’ ล่ะเป็นหนึ่งในนั้นหรือเปล่า?
• ปัจจุบันคนไทยที่รูปร่างท้วมจนถึงระดับอ้วนประมาณ17 ล้านคน
• เสียชีวิตจากโรคอ้วนถึงปีละ 20,000 คน
• เป็นโรคที่เกิดจากวิถีชีวิตและพฤติกรรมของคนไทย
• พฤติกรรมที่มีการกินอาหารรสหวาน มัน เค็มเพิ่มขึ้น
• กินผักผลไม้น้อยลง ขาดกิจกรรมทางกาย
21-Jul-14 3
ความหมายของภาวะอ้วนลงพุง
(Metabolic syndrome)
• ภาวะที่มีไขมันสะสมในช่องท้อง หรืออวัยวะในช่องท้องมากเกินควร
• เมื่อไขมันถูกสะสมมากขึ้นจะถูกนาไปเก็บไว้ในเซลล์ไขมันที่มีอยู่ทั่ว
ร่างกาย
• โดยเฉพาะอวัยวะในช่องท้องและแผงโอเม็นตั้ม
• เมื่อมีไขมันสะสมในช่องท้องมากๆ จะเห็นหน้าท้องยื่นออกมาชัดเจน
หรือที่เรียกว่า “มีพุง”
21-Jul-14 4
ปัจจัยเสี่ยงที่อาจจะทาให้เกิดภาวะอ้วนลงพุง
• อายุ : อายุมาก มีโอกาสเป็นเพิ่มขึ้น
• เชื้อชาติ : โดยคนผิวดาจะมีโอกาสเกิดภาวะอ้วนลงพุงมากกว่า
ปกติ
• คนอ้วน : มีความเสี่ยงมากกว่าคนผอม
• ผู้ที่มีประวัติครอบครัว : เป็นโรคเบาหวาน จะมีโอกาสเป็นโรค
สูงกว่า
• ผู้ที่มีโรคอื่นๆ เช่น ความดันโลหิตสูง
21-Jul-14 5
ภาวะอ้วนลงพุงก่อให้เกิดผลเสียต่อสุขภาพ
• ทาให้หลอดเลือดแดงที่ไปเลี้ยงหัวใจตีบทาให้เกิดโรคหัวใจ
• ไตจะขับเกลือออกได้น้อยลง ทาให้เกิดความดันโลหิตสูง
• ไขมันไตรกลีเซอไรด์ที่สูง เป็นปัจจัยเสี่ยงของการเกิดหลอดเลือดตีบ
ทาให้อุดหลอดเลือดที่ไปเลี้ยงสมองหรือหัวใจ ทาให้เป็นโรคเบาหวาน
ได้ง่าย
• จะเห็นว่าผลเสียส่วนใหญ่ส่งผลต่อหลอดเลือดแดง ไม่ว่าจะเป็นโรค
ความดันโลหิตสูง ไขมันในเลือดสูง โรคอ้วน หรือเบาหวาน
21-Jul-14 6
21-Jul-14 7
เกณฑ์การวินิจฉัยอ้วนลงพุง
21-Jul-14 8
เกณฑ์เส้นรอบพุง
ส่วนสูง = ปกติ
2
เกณฑ์การวินิจฉัยอ้วนลงพุง
• ปัจจัยเสี่ยงของโรคอ้วนลงพุง คือ ผู้มีรอบพุงเกินเกณฑ์ร่วมกับความ
ผิดปกติปัจจัยเสี่ยงอีก 2 ใน 4 อย่าง ต่อไปนี้
1. ความดันโลหิตสูง 130/85 มิลลิเมตรปรอทขึ้นไป
2. น้าตาลในเลือดขณะอดอาหารสูง 100 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตรขึ้นไป
3. ระดับไขมันไตรกลีเซอไรด์สูง 150 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตรขึ้นไป
4. ระดับไขมัน HDL น้อยกว่า 40 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตรสาหรับ
ผู้ชายหรือ น้อยกว่า 50 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตรสาหรับผู้หญิง
21-Jul-14 9
วิธีการวัดเส้นรอบพุง
• อยู่ในท่ายืน เท้า 2 ข้างห่างกันประมาณ 10 เซนติเมตร
• ใช้สายวัด วัดรอบพุงโดยวัดผ่านสะดือ
• วัดในช่วงหายใจออก (ท้องแฟบ) โดยให้สายวัดแนบกับลาตัวไม่
รัดแน่น
• ให้ระดับของสายวัดที่วัดรอบเอววางอยู่ในแนวขนานกับพื้น
21-Jul-14 10
ไขมันในช่องท้อง
• ไขมันในช่องท้องอันตรายมากเมื่อเทียบกับไขมันสะสมใน
บริเวณอื่น ๆ ของร่างกาย
• จะสลายตัวเป็นกรดไขมันอิสระ ส่งผลให้ในกระแสเลือดมีกรด
ไขมันอิสระเพิ่มขึ้น
• เป็นสาเหตุทาให้เกิดผลเสียต่อระบบต่าง ๆ ในร่างกาย
• โดยกรดไขมันชนิดนี้จะไปยับยั้งกระบวนการเผาผลาญของ
กลูโคสที่กล้ามเนื้อ
21-Jul-14 11
ไขมันในช่องท้อง อันตรายอย่างไร
• ทาให้ระดับน้าตาลในเลือดสูงขึ้น เกิดภาวะดื้อต่ออินซูลิน
ความดันโลหิตสูง
• ผู้ที่มีรอบพุงใหญ่จะมีโรคไม่ติดต่อตามมา ทั้งโรคเบาหวาน
หัวใจ กรดไหลย้อน เสื่อมสมรรถภาพทางเพศ
21-Jul-14 12
ทาไม?...
ต้องกังวลใจว่ากินเค็มมากเกินไป
• ความเค็มของอาหารส่วนใหญ่มาจากเกลือ
• ถ้าร่างกายได้รับเกลือในปริมาณที่มากเกิน ทาให้เสี่ยงที่จะเกิดโรคความ
ดันโลหิตสูง
• ระยะแรกจะไม่แสดงอาการ แต่จะทาลายอวัยวะต่าง ๆ ไปเรื่อย ๆ และมี
ภาวะรุนแรงต่อสมอง หัวใจ ตับ และไต
• ทาให้เกิดอัมพฤกษ์ อัมพาตได้
21-Jul-14 13
21-Jul-14 14
การรักษา
• การรับประทานอาหารที่ดี ลดอาหารประเภทไขมันลง ไม่รับประทานอาหารพวก
แป้งเกินร้อยละ 50 ของอาหารที่รับประทาน แต่ให้รับประทานอาหารที่มีใยอาหาร
สูง
• ลดอาหารเค็ม เพื่อช่วยลดความดันโลหิต
• ลดน้าหนัก จะชะลอหรือลดความเสี่ยงในการเกิดโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง
และไขมันในเลือดสูง
• แนะนาให้ออกกาลังกายวันละ 30 นาที สัปดาห์ละ 5 วัน จะช่วยลดการเกิดโรคความ
ดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน
• หากปรับเปลี่ยนพฤติกรรมแล้วยังไม่สามารถควบคุมระดับน้าตาล ไขมันหรือ
ความดันโลหิตได้ตามเป้ าหมาย ก็จาเป็นต้องใช้ยาในการควบคุม โดยแพทย์จะ
พิจารณาเลือกใช้ยาให้เหมาะสมกับโรคที่เป็น
21-Jul-14 15
กิจกรรมทางกาย
• การเคลื่อนไหวโดยใช้กล้ามเนื้อโครงสร้าง และมีการใช้พลังงานของ
ร่างกายมากกว่าในขณะพัก
• ถ้าได้มีการเคลื่อนไหวร่างกายอย่างสม่าเสมอ จะเป็นพฤติกรรมสร้าง
เสริมสุขภาพ
• มีผลต่อการป้ องกันโรค เช่น โรคหลอดเลือดหัวใจตีบ เส้นเลือดในสมอง
ตีบ กระดูกหักง่าย และโรคอ้วน
• ลดความเสี่ยงของโรคซึมเศร้า และวิตกกังวล
21-Jul-14 16
กิจกรรมทางกาย
• สามารถแบ่งได้เป็น 3 ระดับ ดังนี้
 ระดับเบา คือ ระดับที่มีการเคลื่อนไหวน้อยมาก เช่น การยืน การนั่ง
 ระดับปานกลาง คือ การเคลื่อนไหวออกแรงที่ใช้กล้ามเนื้อมัดใหญ่
ซึ่งมีความหนักและเหนื่อยในระดับเดียวกับการเดินเร็ว การขี่
จักรยาน การเต้นรา การทางานบ้าน
 ระดับหนัก คือ การเคลื่อนไหวร่างกายที่มีการทาซ้าและต่อเนื่อง โดย
มีการใช้กล้ามเนื้อมัดใหญ่ และมีระดับชีพจรมากกว่า ร้อยละ 70 ของ
การเต้นชีพจรสูงสุด
21-Jul-14 17
21-Jul-14 18
21-Jul-14 19
ผลของการขาดกิจกรรมทางกาย
• ผู้ที่มีกิจกรรมทางกายไม่เพียงพอจะเพิ่มโอกาสเกิดโรคอีก7 โรค ดังนี้
 โรคหลอดเลือดหัวใจตีบ กล้ามเนื้อหัวใจตาย 1.45-2 เท่า
 โรคอัมพฤกษ์ อัมพาต 1.6-2 เท่า
 โรคความดันโลหิตสูง 1.3-1.5 เท่า
 โรคเบาหวาน 1.3-1.5 เท่า
 โรคมะเร็งลาไส้ใหญ่ 1.4-2 เท่า
 โรคมะเร็งเต้านม 1.1-1.3 เท่า
 โรคกระดูกพรุน 1.8-2 เท่า
21-Jul-14 20
ก้าวเดินอย่างไร จึงจะเกิดประโยชน์
• ก้าวเร็วอย่างน้อย ครั้งละ 10 นาที สะสมให้ได้อย่างน้อยวันละ 30 นาที
อย่างน้อย 5 วันต่อสัปดาห์
• ถ้าต้องการลดน้าหนัก ควรเดินเร็ว 45-60 นาที
• การเดินเร็วเทียบเท่ากับการเดินรอบสนามฟุตบอล(400เมตร) ใน
ระยะเวลา 4-5 นาที หรือเดิน 3-4 ช่วงเสาไฟฟ้ า ภายในระยะเวลา 1 นาที
• หรือเดินให้ได้ระยะทางประมาณ 3 กิโลเมตร ในระยะเวลา 30 นาที
• หรือขณะที่เดินเร็วคุณหายใจเร็วขึ้นแต่ไม่หอบ
21-Jul-14 21
21-Jul-14 22
แกว่งแขนบาบัดโรค
• ยืนตรง เท้าสองข้างแยกออกจากกันให้มีระยะเท่ากับหัวไหล่
• ปล่อยมือสองข้างลงตามธรรมชาติ อย่าเกร็ง ให้นิ้วมือชิดกันหันอุ้งมือไป
ข้างหลัง
• หดท้องน้อยเข้า เอวตั้งตรง เหยียดหลัง ผ่อนคลาย กระดูกลาคอศีรษะ
และปากผ่อนคลายตามธรรมชาติ
• จิกปลายนิ้วเท้ายึดเกาะพื้น ส้นเท้าออกแรงเหยียบลงบนพื้นให้แน่น ให้
แรงจนกล้ามเนื้อโคนเท้า โคนขา และท้องตึง ๆ เป็นใช้ได้
21-Jul-14 23
แกว่งแขนบาบัดโรค
• บั้นท้ายควรให้งอขึ้นเล็กน้อย ระหว่างบริหารต้องหดก้นหรือขมิบทวาร
หนัก
• ตามองตรงไปจุดใดจุดหนึ่ง สลัดความคิดฟุ้ งซ่าน กังวล ออกให้หมด
• แกว่งแขนไปข้างหน้าเบาหน่อย ทามุม30 องศากับลาตัว แล้วแกว่งไป
หลังแรงหน่อยทามุม60 องศากับลาตัว จะทาให้เกิดแรงเหนื่อย นับเป็น
1 ครั้ง
• โดยเริ่มจากทาวันละ 500 ถึง 1,000-2,000 ครั้ง ซึ่งจะใช้เวลา 30 นาที
21-Jul-14 24
21-Jul-14 25
21-Jul-14 26
21-Jul-14 27
21-Jul-14 28
ไขมันในเลือดสูง
 เป็นสาเหตุทาให้หลอดเลือดแดงแข็งและตีบ
 ทาให้เกิดโรคหัวใจขาดเลือด หรือเกิดโรคสมองขาดเลือด
 เป็นสาเหตุทาให้เสียชีวิตในอันดับต้น ๆ
21-Jul-14 29
21-Jul-14 30
อันตรายต่อร่างกายอย่างไร
ระบบ ผลเสีย
ผลเสียต่อเลือด • ทาให้เลือดมีความหนืดมากขึ้น
• ส่งผลให้เลือดไหลเวียนไม่สะดวกและ
ตกตะกอนตามผนังหลอดเลือด
ผลเสียต่อหัวใจ • เสี่ยงต่อกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดหรือ
หัวใจวาย
ผลเสียต่อสมอง • ทาให้หลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตันและ
มักจะกลายเป็นอัมพฤกษ์ อัมพาต
ผลเสียต่อถุงน้าดี • โคเลสเตอรอลมีผลต่อการสร้างน้าดี แต่
ปริมาณโคเลสเตอรอลที่มากเกินไปจะทาให้
เกิดนิ่วในถุงน้าดี
21-Jul-14 31
โรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด
• เกิดจากเส้นโลหิตที่ไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจเกิดอาการตีบ ทาให้เลือดไป
เลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจไม่ได้
• เกิดการขาดออกซิเจนชั่วขณะ ทาให้มีอาการเจ็บหน้าอก
• ถ้าเส้นเลือดที่ตีบเกิดอุดตันอย่างเฉียบพลัน จะทาให้เกิดกล้ามเนื้อหัวใจ
ตายเฉียบพลัน ทาให้เกิดอาการเจ็บหน้าอกอย่างรุนแรง อาจมีอาการ
หัวใจเต้นผิดจังหวะ หรือหัวใจหยุดเต้น และเสียชีวิต
21-Jul-14 32
สาเหตุ
• เพศชาย มีโอกาสเกิดโรคหัวใจขาดเลือด มากกว่าเพศหญิง3-5 เท่า
• อายุ ในเพศชาย มักจะเริ่มตั้งแต่ อายุ35 ปีขึ้นไป ในเพศหญิงจะเกิดช้า
กว่า คือ มักจะเกิดในวัยหมดประจาเดือน อายุประมาณ50-55 ปี
• สูบบุหรี่
• ไขมันในเลือดสูง
21-Jul-14 33
สาเหตุ
• โรคความดันโลหิตสูง
• โรคเบาหวาน
• อ้วนและไม่ค่อยได้ออกกาลังกาย
• เครียดง่าย เครียดบ่อย
• มีประวัติโรคหัวใจขาดเลือดของคนในครอบครัว
21-Jul-14 34
ป้ องกันโรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด
1. หลีกเลี่ยงอาหารหวาน อาหารที่มีไขมัน - กะทิ รวมทั้งไข่แดง ทา
ให้มีการสะสมไขมันในหลอดเลือด
2. ควรรับประทานอาหารที่มีไขมันน้อย และอาหารที่มีกากมากๆ
3. ออกกาลังกายเป็นประจา อย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 ครั้ง ครั้งละ 20
นาที
21-Jul-14 35
ป้ องกันโรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด
4. หลีกเลี่ยงการสูบบุหรี่
5. นอนพักผ่อนให้เพียงพอ ไม่เครียดกับงาน ควรทาสมาธิหรือฟัง
เพลงเบาๆ
6. ควบคุมน้าหนักไม่ให้อ้วนโดยใช้วิธีออกกาลังกายและ
รับประทานอาหารที่ถูกต้อง
7. ตรวจเช็คสุขภาพอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง
21-Jul-14 36
เบาหวาน
 เป็นภาวะที่ร่างกายมีน้าตาลในเลือดสูงกว่าปกติ
 เกิดจากการขาดฮอร์โมนอินซูลินหรือจากการดื้อต่อฤทธิ์ของ
อินซูลิน
 ทาให้ร่างกายไม่สามารถนาน้าตาลในเลือดไปใช้ได้ตามปกติ
 น้าตาลในเลือดที่สูงอยู่เป็นระยะเวลานานทาให้เกิดโรคแทรก
ซ้อนของอวัยวะต่าง ๆ
21-Jul-14 37
ปัจจัยเสี่ยงของโรคเบาหวาน
 น้าหนักเกิน
 กรรมพันธุ์
 เครียดเรื้อรัง
 อื่น ๆ เช่น จากเชื้อโรค หรือยาบางอย่าง (เหล้า) ทาลายตับอ่อน
ทาให้สร้างอินซูลินไม่ได้
21-Jul-14 38
ภาวะแทรกซ้อนเรื้อรัง
เบาหวาน
อัมพาต,สมองเสื่อม
โรคหัวใจขาดเลือด
หัวใจวายตายฉับพลัน
ต้อกระจก
จอประสาทตาเสื่อม
ไตวาย
แผลเรื้อรัง,ตัดเท้า
21-Jul-14 39
ความดันโลหิตสูงคืออะไร
21-Jul-14 40
องค์การอนามัยโลก
กาหนดว่าความดันโลหิตสูง
• ความดันโลหิตที่วัดตัวบนได้มากกว่าหรือเท่ากับ140
ม.ม.ปรอท และ/หรือวัดความดันโลหิตตัวล่างได้
มากกว่าหรือเท่ากับ 90 ม.ม.ปรอท
21-Jul-14 41
ระดับความรุนแรงของความดันโลหิตสูง
21-Jul-14 42
สาเหตุความดันโลหิตสูง
 กรรมพันธุ์
 เชื้อชาติ
 ความเครียด
 ขาดการออกกาลังกาย
 ความอ้วน
 รับประทานอาหารที่มีแคลอรีสูง
 สูบบุหรี่ ดื่มสุรา
21-Jul-14 43
อันตรายของความดันโลหิตสูง
 หัวใจ : ทาให้กล้ามเนื้อหัวใจตาย และเกิดภาวะหัวใจล้มเหลว
 สมอง : ทาให้เส้นเลือดในสมองแตก เป็นอัมพาตครึ่งซีก
 ไต : ทาให้เกิดภาวะไตวาย
 ตา : ทาให้เส้นเลือดที่ตาตีบหรือแตก เกิดเลือดออกในตา มีอาการ
ตามัว ถึงตาบอด
21-Jul-14 44
ปฏิบัติตัวอย่างไรเมื่อความดันโลหิตสูง
 งดอาหารเค็ม
 ลดน้าหนักส่วนเกิน
 กินยาตามแพทย์สั่ง อย่าหยุดยา หรือลดยาเอง
 เลิกสูบบุหรี่ และดื่มสุรา
 ออกกาลังกายสม่าเสมอ
 ตรวจเช็คความดันโลหิตเป็นประจา อย่างน้อยทุก6 เดือน และควรมี
สมุดบันทึกความดันโลหิตประจาตัว
21-Jul-14 45
21-Jul-14 46
ช่องทางการติดต่อ…
Facebook:
prachaya56@hotmail.com
21-Jul-14 47

More Related Content

What's hot

ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตUtai Sukviwatsirikul
 
ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด
ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด
ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด Utai Sukviwatsirikul
 
หนังสือความรู้เรื่องโรคไต
หนังสือความรู้เรื่องโรคไตหนังสือความรู้เรื่องโรคไต
หนังสือความรู้เรื่องโรคไตCAPD AngThong
 
โรคความดันโลหิตสูง
โรคความดันโลหิตสูงโรคความดันโลหิตสูง
โรคความดันโลหิตสูงbird090533
 
11แผน
11แผน11แผน
11แผนFmz Npaz
 
งานนำเสนอเบาหวาน
งานนำเสนอเบาหวานงานนำเสนอเบาหวาน
งานนำเสนอเบาหวานMuay Muay Somruthai
 
กินอย่างไรลดโรค ลดพุง
กินอย่างไรลดโรค ลดพุงกินอย่างไรลดโรค ลดพุง
กินอย่างไรลดโรค ลดพุงtechno UCH
 
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวาน
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวานคู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวาน
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวานUtai Sukviwatsirikul
 
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์Nan Natni
 
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้introduction : ไตของเรา เราต้องรู้
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้CAPD AngThong
 
ตอบคำถามจาก Soap note กรณีศึกษา Hypertension non compliance.
ตอบคำถามจาก Soap note กรณีศึกษา Hypertension non compliance.ตอบคำถามจาก Soap note กรณีศึกษา Hypertension non compliance.
ตอบคำถามจาก Soap note กรณีศึกษา Hypertension non compliance.Ziwapohn Peecharoensap
 
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุแนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุDashodragon KaoKaen
 
การให้ Enteral nutrition
การให้ Enteral nutrition การให้ Enteral nutrition
การให้ Enteral nutrition techno UCH
 
แนวทางปฏิบัติการป้องกันดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน (ตา ไต เท้า)
แนวทางปฏิบัติการป้องกันดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน (ตา ไต เท้า)แนวทางปฏิบัติการป้องกันดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน (ตา ไต เท้า)
แนวทางปฏิบัติการป้องกันดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน (ตา ไต เท้า)Utai Sukviwatsirikul
 
คู่มือบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ ศูนย์อนามัยที่ 2 สระบุรี
คู่มือบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ ศูนย์อนามัยที่ 2 สระบุรีคู่มือบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ ศูนย์อนามัยที่ 2 สระบุรี
คู่มือบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ ศูนย์อนามัยที่ 2 สระบุรีVorawut Wongumpornpinit
 
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)Aiman Sadeeyamu
 
อาหารในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
อาหารในผู้ป่วยไตเรื้อรังอาหารในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
อาหารในผู้ป่วยไตเรื้อรังCAPD AngThong
 

What's hot (20)

ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไต
 
ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด
ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด
ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด
 
หนังสือความรู้เรื่องโรคไต
หนังสือความรู้เรื่องโรคไตหนังสือความรู้เรื่องโรคไต
หนังสือความรู้เรื่องโรคไต
 
โรคความดันโลหิตสูง
โรคความดันโลหิตสูงโรคความดันโลหิตสูง
โรคความดันโลหิตสูง
 
11แผน
11แผน11แผน
11แผน
 
งานนำเสนอเบาหวาน
งานนำเสนอเบาหวานงานนำเสนอเบาหวาน
งานนำเสนอเบาหวาน
 
กินอย่างไรลดโรค ลดพุง
กินอย่างไรลดโรค ลดพุงกินอย่างไรลดโรค ลดพุง
กินอย่างไรลดโรค ลดพุง
 
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวาน
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวานคู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวาน
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวาน
 
Ppt.DLP
Ppt.DLPPpt.DLP
Ppt.DLP
 
Cardiovascular drugs
Cardiovascular drugsCardiovascular drugs
Cardiovascular drugs
 
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
 
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้introduction : ไตของเรา เราต้องรู้
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้
 
ตอบคำถามจาก Soap note กรณีศึกษา Hypertension non compliance.
ตอบคำถามจาก Soap note กรณีศึกษา Hypertension non compliance.ตอบคำถามจาก Soap note กรณีศึกษา Hypertension non compliance.
ตอบคำถามจาก Soap note กรณีศึกษา Hypertension non compliance.
 
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุแนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
 
การให้ Enteral nutrition
การให้ Enteral nutrition การให้ Enteral nutrition
การให้ Enteral nutrition
 
แนวทางปฏิบัติการป้องกันดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน (ตา ไต เท้า)
แนวทางปฏิบัติการป้องกันดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน (ตา ไต เท้า)แนวทางปฏิบัติการป้องกันดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน (ตา ไต เท้า)
แนวทางปฏิบัติการป้องกันดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน (ตา ไต เท้า)
 
คู่มือบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ ศูนย์อนามัยที่ 2 สระบุรี
คู่มือบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ ศูนย์อนามัยที่ 2 สระบุรีคู่มือบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ ศูนย์อนามัยที่ 2 สระบุรี
คู่มือบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ ศูนย์อนามัยที่ 2 สระบุรี
 
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
 
อาหารในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
อาหารในผู้ป่วยไตเรื้อรังอาหารในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
อาหารในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
 
Drug Therapy of Hypertension
Drug Therapy of HypertensionDrug Therapy of Hypertension
Drug Therapy of Hypertension
 

Viewers also liked

อ้วนและอ้วนลงพุง
อ้วนและอ้วนลงพุงอ้วนและอ้วนลงพุง
อ้วนและอ้วนลงพุงUtai Sukviwatsirikul
 
โรคไขมันอุดตันในเส้นเลือด
โรคไขมันอุดตันในเส้นเลือดโรคไขมันอุดตันในเส้นเลือด
โรคไขมันอุดตันในเส้นเลือดA'jumma WK
 
โรคหัวใจ และหลอดเลือด 2
โรคหัวใจ และหลอดเลือด 2โรคหัวใจ และหลอดเลือด 2
โรคหัวใจ และหลอดเลือด 2dumrongsuk
 
โรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจโรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจWan Ngamwongwan
 
วัยใส ใส่ใจสุขภาพ
วัยใส ใส่ใจสุขภาพวัยใส ใส่ใจสุขภาพ
วัยใส ใส่ใจสุขภาพPreeya Leelahagul
 
Powerpoint
PowerpointPowerpoint
Powerpointnin261
 
โรคอ้วน+2..[1]
โรคอ้วน+2..[1]โรคอ้วน+2..[1]
โรคอ้วน+2..[1]arpakornsw2
 
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแก้ไขภาวะ "อ้วน"
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแก้ไขภาวะ "อ้วน" การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแก้ไขภาวะ "อ้วน"
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแก้ไขภาวะ "อ้วน" Utai Sukviwatsirikul
 
Metabolic side effects of drugs in Psychiatry
Metabolic side effects of drugs in PsychiatryMetabolic side effects of drugs in Psychiatry
Metabolic side effects of drugs in PsychiatryDr. Sriram Raghavendran
 
Maternal Bisphenol A Programs Offspring Metabolic Syndrome
Maternal Bisphenol A Programs Offspring Metabolic SyndromeMaternal Bisphenol A Programs Offspring Metabolic Syndrome
Maternal Bisphenol A Programs Offspring Metabolic SyndromeDES Daughter
 
Metabolic syndrome and erectile dysfunction
Metabolic syndrome and erectile dysfunctionMetabolic syndrome and erectile dysfunction
Metabolic syndrome and erectile dysfunctionTarek Anis
 
คู่มือ ลดพุง ลดโรค ฉบับประชาชน
คู่มือ ลดพุง ลดโรค ฉบับประชาชนคู่มือ ลดพุง ลดโรค ฉบับประชาชน
คู่มือ ลดพุง ลดโรค ฉบับประชาชนUtai Sukviwatsirikul
 
โรคเบาหวานและการตรวจวัด โดยอาจารย์ธราธิป เรืองวิทยานนท์
โรคเบาหวานและการตรวจวัด โดยอาจารย์ธราธิป เรืองวิทยานนท์โรคเบาหวานและการตรวจวัด โดยอาจารย์ธราธิป เรืองวิทยานนท์
โรคเบาหวานและการตรวจวัด โดยอาจารย์ธราธิป เรืองวิทยานนท์Utai Sukviwatsirikul
 
เอกสารประกอบการสอน
เอกสารประกอบการสอนเอกสารประกอบการสอน
เอกสารประกอบการสอนChutchavarn Wongsaree
 
Sport's Psychology Case Study
Sport's Psychology Case StudySport's Psychology Case Study
Sport's Psychology Case StudyKody Springsteen
 

Viewers also liked (20)

อ้วนและอ้วนลงพุง
อ้วนและอ้วนลงพุงอ้วนและอ้วนลงพุง
อ้วนและอ้วนลงพุง
 
โรคไขมันอุดตันในเส้นเลือด
โรคไขมันอุดตันในเส้นเลือดโรคไขมันอุดตันในเส้นเลือด
โรคไขมันอุดตันในเส้นเลือด
 
โรคหัวใจ และหลอดเลือด 2
โรคหัวใจ และหลอดเลือด 2โรคหัวใจ และหลอดเลือด 2
โรคหัวใจ และหลอดเลือด 2
 
Ppt.ht
Ppt.htPpt.ht
Ppt.ht
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ โรคอ้วน
โครงงานคอมพิวเตอร์ โรคอ้วนโครงงานคอมพิวเตอร์ โรคอ้วน
โครงงานคอมพิวเตอร์ โรคอ้วน
 
โรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจโรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจ
 
วัยใส ใส่ใจสุขภาพ
วัยใส ใส่ใจสุขภาพวัยใส ใส่ใจสุขภาพ
วัยใส ใส่ใจสุขภาพ
 
Powerpoint
PowerpointPowerpoint
Powerpoint
 
โรคอ้วน+2..[1]
โรคอ้วน+2..[1]โรคอ้วน+2..[1]
โรคอ้วน+2..[1]
 
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแก้ไขภาวะ "อ้วน"
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแก้ไขภาวะ "อ้วน" การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแก้ไขภาวะ "อ้วน"
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อแก้ไขภาวะ "อ้วน"
 
Metabolic side effects of drugs in Psychiatry
Metabolic side effects of drugs in PsychiatryMetabolic side effects of drugs in Psychiatry
Metabolic side effects of drugs in Psychiatry
 
Maternal Bisphenol A Programs Offspring Metabolic Syndrome
Maternal Bisphenol A Programs Offspring Metabolic SyndromeMaternal Bisphenol A Programs Offspring Metabolic Syndrome
Maternal Bisphenol A Programs Offspring Metabolic Syndrome
 
Metabolic syndrome and erectile dysfunction
Metabolic syndrome and erectile dysfunctionMetabolic syndrome and erectile dysfunction
Metabolic syndrome and erectile dysfunction
 
คู่มือ ลดพุง ลดโรค ฉบับประชาชน
คู่มือ ลดพุง ลดโรค ฉบับประชาชนคู่มือ ลดพุง ลดโรค ฉบับประชาชน
คู่มือ ลดพุง ลดโรค ฉบับประชาชน
 
Skilllab2
Skilllab2Skilllab2
Skilllab2
 
Ppt. stroke1
Ppt. stroke1Ppt. stroke1
Ppt. stroke1
 
โรคเบาหวานและการตรวจวัด โดยอาจารย์ธราธิป เรืองวิทยานนท์
โรคเบาหวานและการตรวจวัด โดยอาจารย์ธราธิป เรืองวิทยานนท์โรคเบาหวานและการตรวจวัด โดยอาจารย์ธราธิป เรืองวิทยานนท์
โรคเบาหวานและการตรวจวัด โดยอาจารย์ธราธิป เรืองวิทยานนท์
 
Nutrition Assessment
Nutrition AssessmentNutrition Assessment
Nutrition Assessment
 
เอกสารประกอบการสอน
เอกสารประกอบการสอนเอกสารประกอบการสอน
เอกสารประกอบการสอน
 
Sport's Psychology Case Study
Sport's Psychology Case StudySport's Psychology Case Study
Sport's Psychology Case Study
 

Similar to Ppt. metabolic syndrome

การดูแลสุขภาพฉัน (ฉันในอดีต ปัจจุบัน และอนาคต)
การดูแลสุขภาพฉัน (ฉันในอดีต ปัจจุบัน และอนาคต)การดูแลสุขภาพฉัน (ฉันในอดีต ปัจจุบัน และอนาคต)
การดูแลสุขภาพฉัน (ฉันในอดีต ปัจจุบัน และอนาคต)Udomsri Jungtrakul
 
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23 การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23 Phet103
 
สูตรลดความอ้วนของคุณม้า อรนภา และอีกหลายวิธี
สูตรลดความอ้วนของคุณม้า อรนภา และอีกหลายวิธีสูตรลดความอ้วนของคุณม้า อรนภา และอีกหลายวิธี
สูตรลดความอ้วนของคุณม้า อรนภา และอีกหลายวิธีSomchai Chatmaleerat
 
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมใหม่
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมใหม่โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมใหม่
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมใหม่fainaja
 
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23Phet103
 
ตัวฉัน ปรับแล้ว 1
ตัวฉัน ปรับแล้ว 1ตัวฉัน ปรับแล้ว 1
ตัวฉัน ปรับแล้ว 1phugun
 
ฉันในอดีต 2
ฉันในอดีต 2ฉันในอดีต 2
ฉันในอดีต 2LolliLK
 
สุขภาพที่ดีเริ่มต้นที่
สุขภาพที่ดีเริ่มต้นที่สุขภาพที่ดีเริ่มต้นที่
สุขภาพที่ดีเริ่มต้นที่guestcfd317
 
Tittaya suton1
Tittaya suton1Tittaya suton1
Tittaya suton1mayzahh
 
ตัวฉัน
ตัวฉันตัวฉัน
ตัวฉันphugun
 
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุสมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุUtai Sukviwatsirikul
 
ตัวฉัน ปรับแล้ว3
ตัวฉัน ปรับแล้ว3ตัวฉัน ปรับแล้ว3
ตัวฉัน ปรับแล้ว3phugun
 
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นงานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นjatupron2
 
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นงานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นjatupron2
 
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นงานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นjatupron2
 
ตัวฉัน ปรับแล้ว 2
ตัวฉัน ปรับแล้ว 2ตัวฉัน ปรับแล้ว 2
ตัวฉัน ปรับแล้ว 2phugun
 

Similar to Ppt. metabolic syndrome (20)

การดูแลสุขภาพฉัน (ฉันในอดีต ปัจจุบัน และอนาคต)
การดูแลสุขภาพฉัน (ฉันในอดีต ปัจจุบัน และอนาคต)การดูแลสุขภาพฉัน (ฉันในอดีต ปัจจุบัน และอนาคต)
การดูแลสุขภาพฉัน (ฉันในอดีต ปัจจุบัน และอนาคต)
 
Clu5
Clu5Clu5
Clu5
 
Clu5
Clu5Clu5
Clu5
 
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23 การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23
 
สูตรลดความอ้วนของคุณม้า อรนภา และอีกหลายวิธี
สูตรลดความอ้วนของคุณม้า อรนภา และอีกหลายวิธีสูตรลดความอ้วนของคุณม้า อรนภา และอีกหลายวิธี
สูตรลดความอ้วนของคุณม้า อรนภา และอีกหลายวิธี
 
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมใหม่
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมใหม่โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมใหม่
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมใหม่
 
The Ultimate Product
The Ultimate ProductThe Ultimate Product
The Ultimate Product
 
อาหารตั้งครรภ์
อาหารตั้งครรภ์อาหารตั้งครรภ์
อาหารตั้งครรภ์
 
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23
 
ตัวฉัน ปรับแล้ว 1
ตัวฉัน ปรับแล้ว 1ตัวฉัน ปรับแล้ว 1
ตัวฉัน ปรับแล้ว 1
 
ฉันในอดีต 2
ฉันในอดีต 2ฉันในอดีต 2
ฉันในอดีต 2
 
สุขภาพที่ดีเริ่มต้นที่
สุขภาพที่ดีเริ่มต้นที่สุขภาพที่ดีเริ่มต้นที่
สุขภาพที่ดีเริ่มต้นที่
 
Tittaya suton1
Tittaya suton1Tittaya suton1
Tittaya suton1
 
ตัวฉัน
ตัวฉันตัวฉัน
ตัวฉัน
 
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุสมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
 
ตัวฉัน ปรับแล้ว3
ตัวฉัน ปรับแล้ว3ตัวฉัน ปรับแล้ว3
ตัวฉัน ปรับแล้ว3
 
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นงานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
 
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นงานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
 
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็นงานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
งานนำเสนอ กินเป็น อยู่เป็น
 
ตัวฉัน ปรับแล้ว 2
ตัวฉัน ปรับแล้ว 2ตัวฉัน ปรับแล้ว 2
ตัวฉัน ปรับแล้ว 2
 

More from Prachaya Sriswang

More from Prachaya Sriswang (20)

Ppt.ha
Ppt.haPpt.ha
Ppt.ha
 
ไข้เลือดออก
ไข้เลือดออกไข้เลือดออก
ไข้เลือดออก
 
ไข้เลือดออก
ไข้เลือดออกไข้เลือดออก
ไข้เลือดออก
 
Ppt.เพศ
Ppt.เพศPpt.เพศ
Ppt.เพศ
 
Ppt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใสPpt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใส
 
Ppt.ha
Ppt.haPpt.ha
Ppt.ha
 
Ppt influenza
Ppt influenzaPpt influenza
Ppt influenza
 
Ppt.trigger tool
Ppt.trigger toolPpt.trigger tool
Ppt.trigger tool
 
Ppt.clinical tracer
Ppt.clinical tracerPpt.clinical tracer
Ppt.clinical tracer
 
Ppt. service profile
Ppt. service profilePpt. service profile
Ppt. service profile
 
Ppt rm
Ppt rmPpt rm
Ppt rm
 
โรคอุบัติใหม่ 1
โรคอุบัติใหม่ 1โรคอุบัติใหม่ 1
โรคอุบัติใหม่ 1
 
Presentation2
Presentation2Presentation2
Presentation2
 
Ppt. patient safety goal
Ppt. patient safety goalPpt. patient safety goal
Ppt. patient safety goal
 
Ppt. patient safety goal
Ppt. patient safety goalPpt. patient safety goal
Ppt. patient safety goal
 
การเตรียมพร้อมก่อนวัยเกษียณอย่างมีความสุข.1
การเตรียมพร้อมก่อนวัยเกษียณอย่างมีความสุข.1การเตรียมพร้อมก่อนวัยเกษียณอย่างมีความสุข.1
การเตรียมพร้อมก่อนวัยเกษียณอย่างมีความสุข.1
 
Ppt. influenza (25.8.57)
Ppt. influenza (25.8.57)Ppt. influenza (25.8.57)
Ppt. influenza (25.8.57)
 
Ha overview.1
Ha overview.1Ha overview.1
Ha overview.1
 
Ppt.hfe
Ppt.hfePpt.hfe
Ppt.hfe
 
Ppt. root cause analysis (1)
Ppt. root cause analysis (1)Ppt. root cause analysis (1)
Ppt. root cause analysis (1)
 

Ppt. metabolic syndrome

Editor's Notes

  1. ขาดกิจกรรมทางกาย เรียกว่า ขาดความสมดุลระหว่าง พลังงานที่รับเข้าไปสะสมในร่างกาย และการเผาผลาญหรือการใช้พลังงานออกไปนั่นเอง