SlideShare a Scribd company logo
1 of 41
Download to read offline
บทนำ
คำถำม : หากต้องการสร้างโปรแกรมประยุกต์งาน เพื่อคานวณหายอดขายเฉลี่ยของพนักงานฝ่ าย
ขายโดยที่ยอดขายเฉลี่ยมาจากยอดขาย/จานวนสินค้า




คำตอบ : หากท่านเริ่ มต้นที่ข้นตอนเขียนคาสังควบคุมงานด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ใดๆก็ตาม ท่าน
                             ั            ่
ยอมทาได้ แต่มีโอกาสเสี่ยงที่จะได้งานโปรแกรมที่มีความผิดพลาดสูง เปรี ยบเสมือนกับการเดินทาง
ที่ไม่มีการวางแผน อาจหลงทาง หรื อต้องพบสิ่งที่มิได้คาดหมายไว้ ทาให้คนหาตาแหน่งเพื่อแก้ไข
                                                                       ้
ได้ยาก
     การสร้างโปรแกรมประยุกต์งาน มีข้นตอนดาเนินงานที่เรี ยกว่าการพัฒนาระบบงานทาง
                                       ั
คอมพิวเตอร์ มีผนาเสนอแนวทางขั้นตอนการดาเนินงานหลากหลายรู ปแบบให้เลือกใช้งาน สาหรับ
                  ู้
บทนี้เป็ นแนวทางหนึ่งที่นาเสนอในรู ปแบบขั้นตอนสรุ ป เพื่อให้เหมาะสมกับลักษณะงานคานวณ
จึงขอนาเสนอว่าท่านควรเริ่ มต้นที่ข้นตอนวิเคราะห์ระบบงานเบื้องต้น ซึ่งมีข้นตอนการทางานย่อย
                                   ั                                     ั
6 ขั้นตอน และขั้นตอนการวางแผนลาดับการทางาน ในที่น้ ีใช้ผงงานโปรแกรม ทั้งสองขั้นตอนนี้มี
                                                             ั
ความสาคัญมากต่อขั้นตอนการเขียนคาสังควบคุมงานด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ กล่าวคือ หากวิเคราะห์
                                         ่
ระบบงานผิด วางแผนลาดับการทางานผิด ย่อมส่งผลให้ลาดับคาสังควบคุมงานผิดไปด้วย แต่ทว่า
                                                               ่
หากมีขอผิดพลาดประการใดเกิดขึ้นกับงานโปรแกรม สามารถย้อนกลับมาตรวจสอบใน 2 ขั้นตอน
         ้
ดังกล่าว ซึ่งช่วยให้วิเคราะห์หาสาเหตุของจุดผิดพลาดได้เร็วขึ้นกว่าการอ่านชุดคาสังงานโปรแกรม
                                                                               ่
เพียงอย่างเดียว อีกทั้งมีประโยชน์ในด้านการใช้เป็ นคู่มือประกอบการพัฒนาระบบงานในอนาคตได้
อีกด้วย
1. ควำมสำคัญของภำษำคอมพิวเตอร์
         ภำษำคอมพิวเตอร์ (Computer Language) เป็ นสัญลักษณ์ที่ผพฒนาภาษากาหนดรหัส
                                                               ู้ ั
คาสังขึ้นมา ใช้ควบคุมการทางานอุปกรณ์ในระบบคอมพิวเตอร์ พัฒนาการภาษาคอมพิวเตอร์ เริ่ ม
    ่
จากรหัสคาสังอยูในรู ปแบบเลขฐานสอง จากนั้นพัฒนารู ปแบบเป็ นข้อความภาษาอังกฤษในยุค
             ่ ่
ปัจจุบน ภาษาคอมพิวเตอร์มีมากมายหลายภาษาให้เลือกใช้งาน มีจุดเด่นด้านประสิทธิภาพคาสัง
      ั                                                                            ่
แตกต่างกันไป ดังนั้นผูสร้างงานโปรแกรมต้องศึกษาว่าภาษาใดมีคาสังที่มีประสิทธิภาพควบคุมการ
                      ้                                      ่
ทางานตามความต้องการ เพื่อเลือกไปใช้สร้างโปรแกรมประยุกต์งานตามที่ได้กาหนดจุดประสงค์
ไว้

1.1 พัฒนำกำรภำษำคอมพิวเตอร์
          ภาษาคอมพิวเตอร์ได้รับการพัฒนาควบคู่กบการประดิษฐ์เครื่ องคอมพิวเตอร์ เพื่อใช้เป็ น
                                                       ั
คาสังควบคุมการทางาน มีพฒนาการของการสร้างรหัสคาสังจนมาเป็ นรู ปแบบในปัจจุบน ดังนี้
     ่                           ั                            ่                      ั
          ช่ วงที่ 1 คอมพิวเตอร์ จดเป็ นเครื่ องคานวณทางอิเล็กทรอนิกส์ จึงทางานลักษณะวงจรเปิ ด-
                                        ั
ปิ ด แทนค่าด้วย 0 กับ 1 ผูสร้างภาษาจึงออกแบบรหัสคาสังเป็ นชุดเลขฐานสอง เรี ยกว่าภาษาเครื่ อง
                               ้                          ่
(Machine Language) ผูที่จะเขียนรหัสคาสังควบคุมระบบได้จึงจากัดอยูเ่ ฉพาะกลุ่ม และใช้ใน
                           ้                       ่
ห้องปฏิบติการทดลองดาเนินงาน
            ั
          ช่ วงที่ 2 จากช่วงแรกที่รหัสคาสังเป็ นชุดเลขฐานสองมีความยุงยากในการจาชุดรหัสของ
                                                 ่                    ่
รหัสคาสังควบคุมการทางาน จึงมีผพฒนารหัสคาสังเป็ นอักษรภาษาอังกฤษร่ วมกับเลขฐานอื่น เช่น
          ่                                 ู้ ั     ่
เลขฐานสิบหก เพื่อให้เขียนคาสังควบคุมงานง่ายขึ้น ตั้งชื่อภาษาว่า ภาษาแอสเซมบลีหรื อภาษา
                                      ่
สัญลักษณ์ (Assembly/Symbolic Language) พร้อมกันนี้ตองพัฒนาโปรแกรมแปลภาษาขึ้นมาด้วย
                                                            ้
(Translator Program) คือโปรแกรมแอสเซมเบลอร์ (Assembler) ใช้แปลรหัสคาสังกลับมาเป็ น
                                                                               ่
เลขฐานสอง เพื่อให้ระบบสามารถประมวลผลได้
          ช่ วงที่ 3 เป็ นช่วงที่บริ ษทหลายแห่งสร้างภาษาคอมพิวเตอร์หลากหลายภาษา เน้นให้ใช้
                                          ั
งานง่ายขึ้น โดยรหัสคาสังเป็ นข้อความใกล้เคียงกับภาษาอังกฤษที่ใช้ในการสื่อสารกันอยูแล้ว จัดให้
                             ่                                                         ่
เป็ นกลุ่มภาษาระดับสูง (High Level Language) เช่น ภาษาเบสิก ภาษาปาสคาล ภาษาซี ในส่วนของ
โปรแกรมแปลภาษามี 2 ลักษณะคือ อินเทอร์พรี ตเทอร์ และคอมไพเลอร์
          ช่ วงที่ 4 เน้นเพิ่มประสิทธิภาพภาษาคอมพิวเตอร์ให้นาไปใช้ควบคุมการทางานระบบ
คอมพิวเตอร์ที่ใช้งานร่ วมกับเทคโนโลยีการสื่อสาร ภาษามีรูปแบบการเขียนรหัสคาสังเป็ นงาน
                                                                                   ่
โปรแกรมเชิงวัตถุ
1.2 ภำษำระดับสู ง
         ภาษาคอมพิวเตอร์กลุ่มภาษาระดับสูงได้รับความนิยมใช้งานจนถึงปัจจุบน เพราะเป็ นภาษา
                                                                        ั
ที่มีรูปแบบการเขียนรหัสคาสังสั้น สื่อความหมายตรงกับการทางาน ใช้ระยะเวลาในการเรี ยนรู้เพื่อ
                           ่
เขียนชุดรหัสคาสังควบคุมการทางาน ใช้หน่วยความจาระบบน้อย จึงเหมาะกับผูเ้ ริ่ มฝึ กทักษะสร้าง
                  ่
งานโปรแกรมประยุกต์งานคานวณในสาขางานต่างๆ เช่น ระบบงานคานวณทางวิศวกรรมโยธา
ระบบงานคานวณทางวิทยาศาสตร์
         ตัวอย่างภาษาระดับสูงที่ได้รับความนิยมใช้งานมีดงนี้
                                                       ั
        1.2.1 ภำษำเบสิ ก (BASIC: Beginner’s All-purpose Symbolic Instruction
Code) เป็ นภาษาในเริ่ มแรกที่พฒนาขึ้นมาเพื่อใช้ในห้องปฏิบติการของสถาบันการศึกษา เพื่อฝึ ก
                              ั                          ั
ทักษะการเขียนรหัสคาสังควบคุมการทางานของคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กคือ ไมโครคอมพิวเตอร์
                           ่
       ข้อดี คือรู ปแบบคาสังใช้งานสั้น มีจานวนคาสังไม่มาก กฎเกณฑ์การใช้คาสังน้อย ใช้
                             ่                       ่                         ่
ระยะเวลาศึกษาเรี ยนรู้ส้ น เหมาะสมที่จะใช้ในการเรี ยนการสอน เพื่อฝึ กทักษะการเขียนรหัสคาสัง
                         ั                                                                ่
ควบคุมการทางานระบบ
       ข้อจากัด คือประสิทธิภาพของคาสังงานมีนอย เป็ นภาษาที่ไม่มีรูปแบบโครงสร้าง จึงไม่
                                         ่        ้
เหมาะสมในการนาไปใช้สร้างโปรแกรมประยุกต์งานในองค์กร

        1.2.2 ภำษำโคบอล (COBOL: Common Business Oriented Language) เป็ น
ภาษาในยุคแรกที่มีลกษณะโปรแกรมเชิงโครงสร้าง ช่วงต้นของภาษาได้รับการออกแบบรหัสคาสัง
                      ั                                                                  ่
เพื่อควบคุมการทางานคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ประเภท เมนเฟรม และมินิ ต่อมาจึงปรับรู ปแบบ
คาสังให้ใช้กบไมโครคอมพิวเตอร์ได้
     ่       ั
         ข้อดี คือให้ผเู้ รี ยนได้ฝึกทักษะเขียนรหัสคาสังควบคุมการทางานไมโครคอมพิวเตอร์
                                                       ่
ก่อนที่จะไปเขียนรหัสคาสังควบคุมคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ในการทางานจริ ง
                               ่
         ข้อจากัด คือโครงสร้างภาษามีส่วนประกอบของบรรทัดคาสังงานมาก รู ปแบบรหัสคาสังมี
                                                                   ่                   ่
ความยาว จดจาคาสังได้ยาก ไม่เหมาะกับผูเ้ ริ่ มฝึ กทักษะสร้างงานโปรแกรม
                    ่

        1.2.3 ภำษำปำสคำล (PASCAL) เป็ นภาษาที่มีรูปแบบเป็ นโครงสร้าง ได้รับการ
ออกแบบมาเพื่อใช้เขียนรหัสคาสังควบคุมการทางานไมโครคอมพิวเตอร์
                                ่
         ข้อดี คือแต่ละส่วนของโครงสร้างกาหนดหน้าที่การเขียนรหัสคาสังควบคุมงานชัดเจน
                                                                      ่
คาสังสั้น สื่อความหมายดี จึงจดจาได้ง่าย ประสิทธิภาพคาสังงานมีเลือกใช้งาน หลากหลายรู ปแบบ
    ่                                                  ่
ใช้ระยะเวลาสั้นในการเรี ยนรู้ เหมาะสมนาไปใช้ในกลักสูตรการเรี ยนการสอน
ข้อจากัด คือประสิทธิภาพของคาสังไม่สามารถใช้ควบคุมการทางานในลักษณะระบบงาน
                                        ่
แบบฐานข้อมูล หรื อแบบเครื อข่ายได้ แต่อาจใช้เป็ นพื้นฐานความรู้สาหรับภาษาอื่นได้ เช่น ภาษา
เดลไฟ ที่คาสังคล้ายภาษาปาสคาล
             ่

       1.2.4 ภำษำซี (C) เป็ นภาษาที่มีรูปแบบเป็ นโครงสร้าง เน้นให้คาสังมีประสิทธิภาพการ
                                                                      ่
คานวณที่รวดเร็ ว เข้าถึงอุปกรณ์ในระบบร่ วมกับภาษาแอสเซมบลีได้ ใช้ควบคุมการทางาน
ไมโครคอมพิวเตอร์
            ข้อดี คือภาษาได้รับการพัฒนามาอย่างต่อเนื่อง การออกแบบรหัสคาสังมีมาตรฐานร่ วมกัน
                                                                            ่
ถึงแม้จะเป็ นภาษาซีต่างบริ ษทก็ใช้งานในส่วนคาสังพื้นฐานร่ วมกันได้ ใช้ระยะเวลาสั้นในการ
                               ั                  ่
เรี ยนรู้ จึงเหมาะสมนาไปใช้ในหลักสูตรการเรี ยนการสอนและนาไปสร้างงานโปรแกรมใน
ระบบงานขนาดใหญ่ได้
            ข้อจากัด คืออยูในส่วนของรุ่ นภาษาซีมากกว่า เช่น เทอร์โบซีจะไม่สามารถนาไปสร้าง
                           ่
ระบบงานแบบฐานข้อมูลได้ แต่หากต้องการนาไปสร้างแบบโปรแกรมแบบฐานข้อมูลต้องใช้วิชวล
ซีพลัสพลัส (Visual C++) เป็ นต้น

1.3 ตัวแปลภำษำคอมพิวเตอร์ (Translator Program)
         การเขียนรหัสคาสังควบคุมการทางานระบบด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ใดๆก็ตาม ที่มิใช่
                           ่
ภาษาเครื่ อง ระบบจะไม่สามารถประมวลผลได้ในทันที เพราะการทางานของระบบเป็ นรหัส
เลขฐานสองคือ 0 กับ 1 ดังนั้นผูสร้างภาษาคอมพิวเตอร์ ต้องสร้างโปรแกรมสาหรับแปลรหัสให้
                               ้
เป็ นรหัสเลขฐานสองด้วย โปรแกรมแปลรหัสคาสังภาษาคอมพิวเตอร์มีการทางาน 3 ลักษณะ คือ
                                                 ่
         1.3.1 โปรแกรมแปลภำษำแบบแอสเซมเบลอร์ (Assembler) ใช้แปลรหัสคาสัง              ่
เฉพาะภาษาแอสเซมบลีให้เป็ นเลขฐานสอง
         1.3.2 โปรแกรมแปลภำษำแบบคอมไพเลอร์ (Compiler) ลักษณะการแปลคือ แปล
คาสังทั้งโครงสร้างโปรแกรมแล้วจึงแจ้งข้อผิดพลาดทั้งหมดเพื่อแก้ไข จากนั้นต้องประมวลผลใหม่
     ่
หากไม่มีขอผิดพลาดจะสร้างแฟ้ มโปรแกรมใหม่อตโนมัติเพื่อเก็บรหัสเครื่ องภายหลังเมื่อเรี ยกใช้
           ้                                   ั
โปรแกรมนี้ เครื่ องจะอ่านรหัสจากโปรแกรมที่สร้างไว้น้ น จึงไม่ตองเริ่ มแปลรหัสใหม่
                                                     ั        ้
         ข้อดี คือทางานได้รวดเร็ ว เพราะไม่ตองแปลรหัสใหม่ทุกครั้ง
                                            ้
         ข้อจากัด คือต้องเขียนโปรแกรมให้ครบทุกส่วนของโครงสร้างภาษาคอมพิวเตอร์ จึงจะ
สามารถคอมไพล์และประมวลผลเพื่อแสดงผลได้
         1.3.3 โปรแกรมแปลภำษำแบบอินเทอร์ พรีตเทอร์ (Interpreter) ลักษณะการแปล
คือ แปลรหัสทีละคาสัง เมื่อพบข้อผิดพลาดจะหยุดทางาน แล้วแจ้งข้อผิดพลาดให้ทราบ เพื่อแก้ไข
                      ่
จากนั้นประมวลผลใหม่ จนกว่าจะไม่มขอผิดพลาด แต่ไม่มการสร้างแฟ้ มโปรแกรมใหม่เพื่อเก็บ
                                   ี ้               ี
รหัสคาสัง
        ่
        ข้อดี คือสังให้ประมวลผลรหัสคาสังเพื่อดูผลการทางานได้ทนทีที่ตองการ โดยไม่ตองเขียน
                   ่                     ่                   ั      ้            ้
โปรแกรมถึงบรรทัดสุดท้าย
        ข้อจากัด คือหารโปรแกรมมีบรรทัดคาสังจานวนมากจะประมวลผลช้า เพราะต้องเริ่ มแปล
                                              ่
รหัสคาสังใหม่ที่บรรทัดคาสังแรกทุกครั้งที่สงให้ประมวลผล
          ่                ่               ่ั

1.4 เลือกใช้ ภำษำคอมพิวเตอร์
    การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ มีขอแนะนาในการในไปใช้เป็ นแนวทางพิจารณา
                                                   ้
เลือกภาษาคอมพิวเตอร์ ดังนี้
    1. พิจารณาจุดเด่นประสิทธิภาพของคาสังงานของแต่ละภาษา เปรี ยบเทียบกับลักษณะงาน
                                              ่
       เช่น สร้างโปรแกรมระบบงานคานวณทางวิศวกรรมศาสตร์อาจเลือกใช้ภาษาซี ภาษา
       ปาสคาล
    2. พิจารณาลักษณะการประมวลผล เช่น ระบบงานต้องประมวลผลบนเครื อข่ายอาจเลือกใช้
       ภาษาวิชวลเบสิก ในรุ่ นของโปรแกรมที่มคาสังควบคุมการทางานได้
                                                  ี ่
    3. พิจารณาคุณสมบัติเครื่ องคอมพิวเตอร์และรุ่ นของระบบปฏิบติการที่ใช้ควบคุม เพื่อเลือก
                                                                   ั
       ภาษาคอมพิวเตอร์ที่สามารถใช้งานร่ วมกันกับระบบได้
    4. ควรเลือกภาษาที่ทีมงานพัฒนาระบบงานโปรแกรมมีความชานาญอยูแล้ว เพื่อไม่ตอง
                                                                          ่            ้
       เสียเวลาเริ่ มต้นการศึกษาเรี ยนรู้ภาษาใหม่ หรื อหากเป็ นภาษาใหม่ ควรเป็ นภาษาที่มี
       ลักษณะใกล้เคียงกับความรู้เดิม
    5. ควรเป็ นภาษาที่มีลกษณะเป็ นโครงสร้าง มีความยืดหยุนสูง เอื้ออานวยสะดวกในการ
                           ั                                  ่
       ปรับปรุ งพัฒนาระบบงานในอนาคต
    6. หากระบบงานต้องการความปลอดภัยเรื่ องการเข้าถึงข้อมูล ต้องคัดเลือกภาษาคอมพิวเตอร์
       ที่มีประสิทธิภาพในเรื่ องนี้ดวย
                                     ้
    7. พิจารณางบประมาณ ใช้จดหาภาษาคอมพิวเตอร์ที่มีลิขสิทธิ์ถกต้องมาใช้งาน เพื่อป้ องกัน
                                 ั                                   ู
       ปัญหาทางกฎหมายและโดยเฉพาะอย่างยิงจะไม่ก่อปัญหาเมื่อขยายพัฒนาระบบงานเพิ่ม
                                                ่
       มากขึ้นในอนาคต
    8. เป็ นภาษาคอมพิวเตอร์ที่ได้รับความนิยมใช้งานทัวไปเพื่อศึกษารวบรวมข้อมูล และป้ องกัน
                                                         ่
       ปัญหาที่อาจจะเกิดขึ้นได้ในอนาคต และมีความเชื่อมันว่าจะมีผเู้ ชี่ยวชาญให้คาปรึ กษาหาก
                                                            ่
       เกิดปัญหาได้
2. กำรพัฒนำระบบงำนทำงคอมพิวเตอร์
         กำรพัฒนำระบบงำน (System Development) เป็ นกระบวนการพัฒนาระบบงานเดิม ให้
เป็ นระบบการทางานแบบใหม่ มีจุดประสงค์ให้ระบบการทางานมีประสิทธิภาพมากขึ้น สาหรับการ
พัฒนาระบบงานทางคอมพิวเตอร์นอกจากจัดหาอุปกรณ์ เช่น เครื่ องคอมพิวเตอร์ เพื่อนามาใช้งาน
แล้วยังต้องจัดหาโปรแกรมประยุกต์งานมาใช้ในการดาเนินงานอีกด้วย
         ขั้นตอนการสร้างโปรแกรมประยุกต์งาน อาจปรับเปลี่ยนได้ตามความเหมาะสม ในที่น้ ีมี
แนวทางดาเนินงานดังนี้
2.1 ขั้นกำหนดขอบเขตปั ญหำ (Problem Definition)
          เริ่ มต้นด้วยการวิเคราะห์ระบบงานเดิม เพื่อพัฒนาเป็ นระบบงานใหม่ อาจวิเคราะห์งานจาก
ผลลัพธ์ เช่น รู ปแบบรายงาน เพื่อวิเคราะห์ส่วนทีเกี่ยวข้องต่อไป เช่น สมการที่ใช้คานวณ การนาเข้า
ข้อมูล ที่ใช้ประมวลผล
          กรณี เป็ นระบบงานใหญ่ ความซับซ้อนของงานย่อมมากขึ้น อาจเริ่ มจากศึกษาสภาพปัญหา
โดยรวบรวมข้อมูลปัญหาและ ความต้ องการ ต่างๆ จากผูที่เกี่ยวข้อง เช่น ผูบริ หาร ผูปฏิบติงาน เพื่อ
                                                         ้                ้      ้ ั
สรุ ปและศึกษา ความเป็ นไปได้ ในการพัฒนาระบบงานใหม่
     กำรกำหนดควำมต้องกำร (Requirements Specification) เป็ นความต้องการประสิทธิภาพการ
ทางานจากระบบงานใหม่ รวบรวมข้อมูลความต้องการโดยใช้เครื่ องมือทางสถิติ เช่น แบบสอบถาม
แบบสัมภาษณ์ การสังเกต เพื่อหาข้อสรุ ปร่ วมกันที่ชดเจนระหว่างผูพฒนาระบบและผูใช้ระบบ การ
                                                     ั              ้ ั            ้
กาหนดความต้องการนั้นมีแนวทางดาเนินงาน ดังนี้
     1. ประสานงานรวบรวมข้อมูลจากผูที่เกี่ยวข้องกับระบบ เพื่อประมวลความต้องการทั้งหมด
                                            ้
     2. จัดทาข้อสรุ ปความต้องการ บันทึกลงเอกสาร และลงนามทุกฝ่ ายที่เกี่ยวข้อง เพื่อป้ องกันข้อ
          ขัดแย้งที่อาจเกิดขึ้นในขั้นตอนรับมอบระบบงาน
     3. การให้คาจากัดความต่างๆ ในเอกสาร ต้องมีความชัดเจน ไม่กากวม
     กำรศึกษำควำมเป็ นไปได้ (Feasibility Study) ศึกษาสิ่งที่เกี่ยวข้องกับระบบงานที่เป็ นปัจจัยเอื้อ
ต่อการทางาน หรื ออุปสรรคในการทางานมีแนวทางศึกษาดังนี้
     1. ศึกษาความเป็ นไปได้ดานเทคนิค (Technical Feasibility) เช่น ศึกษาระบบคอมพิวเตอร์ที่มี
                                   ้
          อยูเ่ ดิมต้องปรับปรุ ง (Upgrade) ประสิทธิภาพเครื่ องอย่างไรบ้าง
     2. ศึกษาความเป็ นไปได้เชิงเศรษฐศาสตร์ (Economical Feasibility) เช่น ต้นทุนค่าใช้จ่ายใน
          การดาเนินงานระบบงานใหม่ หรื อด้านงบประมาณที่ได้รับการจัดสรร
     3. ศึกษาความเป็ นไปได้ดานการปฏิบติงาน (Operational Feasibility) เช่น ทักษะเดิมของผูใช้
                                     ้        ั                                                ้
          ระบบงานใหม่ การยอมรับระบบใหม่ที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในการทางาน
2.1 ขั้นกำรวำงแผนและกำรออกแบบ (Plannig & Design)
     ขั้นตอนการวางแผนวิเคราะห์ลาดับการทางานมีหลายวิธีให้เลือกใช้ เช่น วิธีอลกอริ ทึม
                                                                           ั
(Algorithm) วิธีซูโดโคด (Pseudocode) วิธีผงงาน (Flowchart) สาหรับขั้นตอนการออกแบบระบบ
                                           ั
เช่น การออกแบบรู ปแบบการแสดงผล (Output Design) การออกแบบรู ปแบบการนาเข้าข้อมูล
(Input Design) มีแนวทางการออกแบบระบบ ดังนี้
     1. จานวนและประเภทเนื้อหาของข้อมูล (Content) ต้องมีเพียงพอ ครบถ้วนสมบูรณ์ นาเสนอ
          เฉพาะข้อมูลที่เกี่ยวข้องกันและแยกเป็ นระบบงานย่อย
     2. รู ปแบบ (Form) การนาเสนอข้อมูลต้องอยูในรู ปแบบที่ผใช้ระบบเข้าใจง่าย เช่น การ
                                                  ่          ู้
          นาเสนอข้อมูลสรุ ปด้วยกราฟดีกว่าการนาเสนอข้อมูลสรุ ปในรู ปแบบตาราง
     3. รู ปแบบแสดงผล (Output Format) คานึงว่าเป็ นการแสดงผลรายงานทางจอภาพ หรื อ
          เครื่ องพิมพ์ เพราะการกาหนดรู ปแบบ และรายละเอียดมีความแตกต่างกัน

2.3 ขั้นดำเนินกำรเขียนคำสั่ งงำน (Coding)
    เป็ นขั้นตอนเขียนคาสังควบคุมงาน ด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ตามกฎเกณฑ์ไวยากรณ์ที่กาหนดไว้
                           ่
ต้องลาดับคาสังตามขั้นตอนที่วิเคราะห์ไว้ สาหรับขั้นตอนการเขียนคาสังงาน มีแนวทางดาเนินงาน
               ่                                                    ่
ดังนี้
    1. จัดทีมงานในองค์กรวิเคราะห์และพัฒนาระบบงานเอง มีขอดีคือ ปรับแก้ไขโปรแกรมได้
                                                                ้
         ตามต้องการ ได้รับความร่ วมมือจากคนในองค์กรในระดับดี เพราะเป็ นกลุ่มบุคคลใน
         องค์การเดียวกัน ข้อเสียคือหากไม่มีหน่วยงานรับผิดชอบโดยตรง เป็ นการทางานเฉพาะกิจ
         จะเกิดความเสี่ยงในระบบงาน เช่น งานล่าช้า หรื องานไม่เสร็ จสิ้นตามกาหนด
    2. จัดซื้อโปรแกรมสาเร็ จรู ป ข้อดีคือ มีโปรแกรมที่นามาใช้กบงานได้ทนที งานขององค์กรไม่
                                                                  ั      ั
         หยุดชะงัก และมีบริ การอบรมการใช้โปรแกรม ส่วนใหญ่โปรแกรมออกแบบมาดี จึงใช้
         งานง่าย ข้อเสียคือ โปรแกรมสาเร็ จรู ปมีขอจากัดในตัวเอง ไม่สามารถตอบสนองความ
                                                 ้
         ต้องการผูใช้ระบบได้ครอบคลุมทุกด้าน และผูใช้ไม่สามารถแก้ไขข้อจากัดต่างๆ ของ
                  ้                                  ้
         โปรแกรมได้ดวยตนเอง
                        ้
    3. จัดจ้าบริ ษทพัฒนาระบบ ข้อดีคือ พัฒนาระบบงานได้รวดเร็ วเพราะมีทีมงานที่มความ
                    ั                                                           ี
         ชานาญงาน ระบบงานตรงตามความต้องการของผูใช้ระบบ ข้อเสียคือ ค่าจ้างการพัฒนามี
                                                         ้
         ราคาสูง เพราะต้องวิเคราะห์ระบบงานใหม่ และรวมราคาการบารุ งรักษาโปรแกรมใน
         อนาคตไว้แล้ว
2.4 ขั้นทดสอบและแก้ ไขโปรแกรม (Testing & Debugging)
ข้อผิดพลาดที่เกิดจากการทดสอบ โดยสรุ ปมี 2 รู ปแบบ คือ
    1. ข้อผิดพลาดที่เกิดจากการใช้คาสังผิดรู ปแบบไวยากรณ์ที่ภาษากาหนดไว้ (Syntax Errors)
                                      ่
    2. ข้อผิดพลาดที่เกิดจากกระบวนการวิเคราะห์งานผิด (Logic Errors)
มีแนวทางจัดฝึ กอบรมการใช้โปรแกรม ดังนี้
    1. ฝึ กอบรมโดยวิทยากร ใช้วิธี บรรยาย สาธิต และจาลองข้อมูลนาเข้า เพื่อทดสอบระบบ
    2. เรี ยนรู้ดวยตนเอง ผูใช้ระบบศึกษาอ่านจากคู่มือระบบงาน หรื อใช้ซีดีรอมเรี ยนรู้ดวยตนเอง
                 ้         ้                                                         ้

2.5 ขั้นจัดทำคู่มือระบบ (Documentation)
   เมื่อโปรแกรมผ่านการทดสอบ ผูพฒนาระบบจะต้องรวบรวมเอกสารเพื่อจัดทาคู่มือการใช้
                                   ้ ั
ระบบงาน คู่มือระบบงานมีหลายแบบ เช่น
   1. คู่มือสาหรับผูใช้ระบบ (User Documentation) เป็ นส่วนอธิบายขั้นตอนการทางานของ
                     ้
        ระบบ เพื่อให้ผใช้ระบบเรี ยนรู้การทางาน เช่น วิธีกรอกข้อมูลในส่วนต่างๆ
                       ู้
   2. คู่มือระบบงาน (System Documentation) จัดทาสาหรับผูดแลระบบ เช่น ขั้นตอนการติดตั้ง
                                                             ู้
        โปรแกรม การแก้ปัญหาระบบงานขั้นพื้นฐาน

2.6 ขั้นกำรติดตั้ง (Implementation)
    เป็ นขั้นตอนนาระบบใหม่ที่ผานการทดสอบ และได้รับการยอมรับจากกลุ่มตัวแทนผูใช้ระบบ
                                 ่                                                  ้
ว่าสามารถนามาทดแทนระบบงานเดิม มีแนวทางใช้ระบบงานใหม่ดงนี้         ั
    1. ติดตั้งระบบแบบหยุดระบบงานเดิมทั้งหมด และใช้ระบบงานใหม่ทนที (Directั
         Changeover) วิธีน้ ีสะดวกกับผูใช้คือ ทางานระบบงานเดียว แต่มีความเสี่ยงสูง หาก
                                         ้
         ระบบงานใหม่มีปัญหาจะไม่สามารถใช้งานระบบใดได้เลย
    2. ติดตั้งระบบแบบคู่ขนาน (Parallel Running) เป็ นการทางาน 2 ระบบในคราวเดียวกัน เพื่อ
         ป้ องกันปัญหาที่อาจเกิดขึ้นกับระบบงานใหม่ ยังคงมีระบบงานเดิมสารองความผิดพลาดที่
         ไม่อาจคาดคิด เกิดขึ้นได้ แต่เป็ นการเพิ่มภาระงานของผูใช้ระบบที่ตองทางานทั้ง 2 ระบบ
                                                              ้            ้
         จนกว่าจะแน่ใจว่าระบบงานใหม่ สามารถใช้รองรับการทางานได้โดยไม่มีขอผิดพลาดใดๆ
                                                                                ้
    3. ติดตั้งระบบแบบทีละเฟส (Phase Changeover) เป็ นการติดตั้งระบบย่อยทีละระบบจาก
         ระบบงานทั้งหมด เพื่อพิจารณาประสิทธิภาพการทางาน หากมีขอผิดพลาดที่เฟสใดจะ
                                                                     ้
         ดาเนินการแก้ไขเฉพาะเฟสนั้นก่อน จากนั้นจึงขยายจนครบทั้งระบบ
4. ติดตั้งระบบแบบโครงการนาร่ อง (Pilot Project) พิจารณาจัดทาเฉพาะงานของหน่วยงาน
       ในองค์กรที่มีความสาคัญและความจาเป็ น พิจารณาผลงานที่ได้ หากไม่มีปัญหาเรื่ องใด จึง
       ขยายระบบงานต่อไป

2.7 ขั้นกำรบำรุงรักษำ (Maintenance)
     เป็ นการดูแลระบบงานหลังติดตั้งระบบ ให้อยูในสภาพร้อมใช้งานได้ตลอดเวลา สาเหตุที่ตอง
                                                  ่                                       ้
บารุ งรักษา มีดงนี้
                  ั
     1. การบารุ งรักษาด้วยการแก้ไขระบบให้ถกต้อง (Corrective Maintenance) เป็ นข้อผิดพลาดที่
                                                ู
          เกิดขึ้นหลังจากมีการใช้ขอมูลจริ งในระบบงาน ซึ่งตรวจสอบไม่พบในขั้นการทดสอบ
                                  ้
          ระบบ
     2. การบารุ งรักษาด้วยการปรับปรุ งให้ดีข้ ึน (Perfective Maintenance) เป็ นการปรับระบบงาน
          กรณี ผลกระทบอื่น เช่น การปรับปรุ งการคานวณภาษีที่มีการเปลี่ยนแปลงไปตามนโยบาย
          ของรัฐ
     3. การบารุ งรักษาด้วยการป้ องกัน (Preventive Maintenance) เช่น ป้ องกันการเกิดความสูญ
          หายของข้อมูลที่อาจเกิดจากระบบไฟฟ้ า การทาระบบสารองข้อมูล การป้ องกันไวรัส
          คอมพิวเตอร์ (Virus) การบุกรุ กข้อมูล (Hacker)



3. แนวทำงสร้ ำงโปรแกรมประยุกต์ งำน
    กรณี โปรแกรมประยุกต์งาน เป็ นงานโปรแกรมเพื่อใช้แก้ปัญหางานคานวณในสายวิชาชีพ
เฉพาะสาขา เช่น งานวิศวกรรมศาสตร์ งานวิทยาศาสตร์ ดังนั้นหากผูสร้างงานโปรแกรมเป็ นผูอยูใน
                                                            ้                     ้ ่
สายวิชาชีพนั้นย่อมสามารถวิเคราะห์ วางแผนลาดับการทางาน และลาดับคาสังควบคุมการทางาน
                                                                    ่
ได้ดี ถูกต้องกว่าให้ผอื่นจัดทา ระบบงานโปรแกรมมีลกษณะตอบสนองความต้องการของผูใช้
                     ู้                         ั                              ้
ระบบได้มากที่สุด และสามารถปรับระบบงานได้ดวยตนเอง มีแนวทางดาเนินงานสร้างโปรแกรม
                                             ้
ประยุกต์งาน ดังนี้

3.1 ขั้นวิเครำะห์ ระบบงำนเบื้องต้ น
    อาจวิเคราะห์จากผลลัพธ์ หรื อลักษณะรู ปแบบรายงานของระบบงานนั้น เพื่อวิเคราะห์ยอนกลับ
                                                                                    ้
ไปถึงที่มาของข้อมูลคือสมการคานวณ จนถึงข้อมูลที่ตองป้ อนเข้าระบบเพื่อใช้ในสมการ แนว
                                                  ้
ทางการวิเคราะห์ระบบงานเบื้องต้นโดยสรุ ปมีข้นตอนย่อยดังนี้ 1) สิ่งที่ตองการ 2) สมการคานวณ
                                           ั                         ้
3) ข้อมูลนาเข้า 4) การแสดงผล 5) กาหนดคุณสมบัติตวแปร และ 6) ลาดับขั้นตอนการทางาน
                                                ั
3.2 ขั้นวำงแผนลำดับกำรทำงำน
   มีหลายวิธี เช่น อัลกอริ ทึม ซูโดโคด ผังงาน ต่างมีจุดประสงค์เพื่อแสดงลาดับขั้นตอน
กระบวนการแก้ปัญหางานเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ตามต้องการ ก่อนไปสู่ข้นตอนการเขียนคาสังงาน และ
                                                                  ั                ่
กรณี โปรแกรมมีขอผิดพลาด สามารถย้อนกลับมาตรวจสอบที่ข้นตอนนี้ได้
                  ้                                         ั

3.3 ขั้นดำเนินกำรเขียนโปรแกรม
     เป็ นขั้นตอนเขียนคาสังควบคุยตามลาดับการทางานที่ได้วิเคราะห์ไว้ในกระบวนการวางแผน
                          ่
ลาดับการทางาน ขั้นตอนนี้ตองใช้คาสังให้ถกต้องตามรู ปแบบกฎเกณฑ์ไวยากรณ์การใช้งานคาสัง
                            ้       ่ ู                                              ่
ที่แต่ละภาษาได้กาหนดได้

3.4 ขั้นทดสอบและแก้ ไขโปรแกรม
      กรณี ผสร้างระบบงานและผูใช้ระบบงานเป็ นคนเดียวกัน การทดสอบจึงมีข้นตอนเดียวคือ
            ู้                ้                                       ั
ทดสอบไวยากรณ์คาสังงาน และทดสอบโดยใช้ขอมูลจริ งเพื่อตรวจสอบค่าผลลัพธ์ แต่กรณี ที่
                       ่                     ้
ผูสร้างระบบงานและผูใช้ระบบงานมิใช่คนเดียวกัน การทดสอบระบบจะมี 2 ช่วงคือ ทดสอบโดย
  ้                      ้
ผูสร้างระบบงาน เมื่อไม่มีขอผิดพลาดใด จึงส่งให้ผใช้ระบบงานเป็ นผูทดสอบ หากมีขอผิดพลาดใด
    ้                      ้                   ู้               ้           ้
จะถูกส่งกลับไปให้ผสร้างระบบงานแก้ไข และตรวจสอบจนกว่าจะถูกต้องแล้วจึงส่งมอบ
                    ู้
ระบบงาน

3.5 ขั้นเขียนเอกสำรประกอบ
       เมื่อโปรแกรมผ่านการทดสอบให้ผลลัพธ์การทางานถูกต้อง ต้องจัดทาเอกสารประกอบการ
ใช้โปรแกรมด้วย คู่มือระบบงานที่ง่ายที่สุดคือ รวบรวมเอกสารที่จดทาจาก 3.1-3.4 มารวมเล่ม
                                                             ั
นอกนั้นอาจมีรายละเอียดเกี่ยวกับวิธีใช้โปรแกรมระบบงาน เช่น วิธีป้อนข้อมูล หรื ออาจมีวิธีติดตั้ง
โปรแกรมระบบงาน รวมทั้งคุณสมบัติเครื่ องคอมพิวเตอร์ที่สามารถนาโปรแกรมไปใช้งาน เป็ นต้น


4. กำรลำดับขั้นตอนงำนด้ วยผังงำน
    ผังงานเป็ นขั้นตอนการทางานทางคอมพิวเตอร์อย่างหนึ่ง มีจุดประสงค์เพื่อแสดงลาดับการ
ควบคุมการทางาน โดยใช้สญลักษณ์ที่กาหนดความหมายใช้งานเป็ นมาตรฐาน เชื่อมโยงการทางาน
                             ั
ด้วยลูกศร ในที่น้ ีกล่าวถึงการลาดับขั้นตอนการทางานด้วยผังงานประเภทผังงานโปรแกรม ดังนี้
4.1 สั ญลักษณ์ ของผังงำน
      ในที่น้ ีกล่าวถึงเฉพาะสัญลักษณ์ที่ใช้ในการเขียนผังงานโปรแกรมเป็ นส่วนใหญ่ ดังนี้
4.2 หลักในกำรเขียนผังงำน
     ข้อแนะนาในการเขียนผังงานเพื่อให้ผอ่านระบบงาน ใช้ศึกษา ตรวจสอบลาดับการทางานได้
                                       ู้
ง่าย ไม่สบสน มีแนวทางปฏิบติ ดังนี้
         ั                  ั
     1. ทิศทางการทางานต้องเรี ยงลาดับตามขั้นตอนที่ได้วิเคราะห์ไว้
     2. ใช้ชื่อหน่วยความจา เช่น ตัวแปร ให้ตรงกับขั้นตอนที่ได้วิเคราะห์ไว้
     3. ลูกศรกากับทิศทางใช้หวลูกศรตรงปลายทางเท่านั้น
                              ั
     4. เส้นทางการทางานห้ามมีจุดตัดการทางาน
     5. ต้องไม่มีลกศรลอยๆ โดยไม่มีการต่อจุดการทางานใดๆ
                   ู
     6. ใช่สญลักษณ์ให้ตรงกับความหมายการใช้งาน
              ั
     7. หากมีคาอธิบายเพิมเติมให้เขียนไว้ดานขวาของสัญลักษณ์น้ น
                        ่                 ้                      ั

4.3 ประโยชน์ ของผังงำน
   การเขียนผังงานโปรแกรมของคอมพิวเตอร์น้นมีประโยชน์ ดังนี้
                                        ั
   1. ทาให้มองเห็นรู ปแบบของงานได้ท้งหมด โดยใช้เวลาไม่มาก
                                    ั
   2. การเขียนผังงานเป็ นสากล สามารถนาไปเขียนคาสังได้ทุกภาษา
                                                 ่
   3. สามารถตรวจสอบข้อผิดพลาดของโปรแกรมได้อย่างรวดเร็ ว

4.4 รู ปแบบกำรเขียนผังงำน
          การเขียนผังงานแสดงลาดับการทางานขอบระบบงานไม่มรูปแบบการเขียนตายตัว ในส่วน
                                                        ี
นี้เป็ นการนาเสนอรู ปแบบการเขียนผังงานโปรแกรม ดังนี้
          4.4.1 กำรเขียนผังงำนแบบเรียงลำดับ แสดงขั้นตอนการทางานตามลาดับ เช่น
4.4.2 กำรเขียนผังงำนแบบมีทำงเลือกกำรทำงำน แสดงขั้นตอนการทางานที่มี
ลักษณะกาหนดเงื่อนไขทางตรรกะ ให้ระบบสรุ ปว่าจริ งหรื อเท็จ เพื่อเลือกทิศทางประมวลผลคาสัง
                                                                                      ่
ที่ได้กาหนดไว้ เช่น
4.4.3 กำรเขียนผังงำนแบบตรวจสอบเงือนไขก่ อนวนซ้ำ แสดงขั้นตอนการทางานที่
                                        ่
มีลกษณะ กาหนดเงื่อนไขทางตรรกะให้ระบบตรวจสอบก่อน เพื่อเลือกทิศทางการวนซ้ า หรื อออก
   ั
จากการวนซ้ า เช่น




   4.4.4 กำรเขียนผังงำนแบบตรวจสอบเงือนไขหลังวนซ้ำ แสดงขั้นตอนการทางานที่มี
                                    ่
ลักษณะทางานก่อน 1 รอบ แล้วจึงกาหนดเงื่อนไขทางตรรกะให้ระบบตรวจสอบ เพื่อเลือกทิศ
ทางการวนซ้ า หรื อออกจากการวนซ้ า เช่น
5. กรณีศึกษำกำรวิเครำะห์ ระบบงำนและผังงำน
    ในที่น้ ียกตัวอย่างแสดงการวิเคราะห์ระบบงานเบื้องต้น และเขียนลาดับการทางานด้วยผังงาน
โปรแกรม เพื่อใช้ประมวลผลระบบงานระดับพื้นฐานคือ ประมวลผลแบบไม่มเี งื่อนไข ประมวลผล
แบบมีเงื่อนไขเพื่อตัดสิ นใจเลือกทางทางาน ประมวลผลลักษณะวนซ้ า อธิบายการทางานเรื่ องต่างๆ
เหล่านี้ดวยกรณี ศึกษาในลาดับต่อไป
         ้
5.1 กรณีศึกษำระบบงำนประมวลผลแบบไม่ มีเงื่อนไข
         หมายถึงการทางานที่เรี ยงลาดับตามคาสังงานโดยรับค่าข้อมูล เพื่อบันทึกลงหน่วยความจา
                                              ่
ซึ่งอาจเป็ นค่าคงที่หรื อตัวแปร เพื่อนาไปประมวลผลตามนิพจน์ที่กาหนด แล้วอ่านค่าจาก
หน่วยความจาตัวแปรที่ดาเนินการประมวลผลตามนิพจน์ที่กาหนดไว้เพื่อแสดงผลทางอุปกรณ์ที่
ระบุ ยกตัวอย่างงานดังนี้
โจทย์ : บริ ษท OK ต้องการคานวณยอดขายเฉลี่ยพนักงานขายแต่ละราย กาหนดการแสดงผลดังนี้
             ั




แนวทำงขั้นตอนกำรสร้ ำงงำนโปรแกรม
1. กำรวิเครำะห์ ระบบงำนเบืองต้น
                          ้
    1.1 สิ่งที่ตองการ ค่าเฉลี่ยยอดขาย
                ้
    1.2 สมการคานวณ ค่าเฉลี่ยยอดขาย = ยอดขาย / จานวนสินค้า
    1.3 ข้อมูลนาเข้า รหัสพนักงาน ชื่อพนักงาน ยอดขาย จานวนสินค้า
    1.4 การแสดงผล ตามโจทย์กาหนด
    1.5 กาหนดคุณสมบัติตวแปร ั
ข้ อมูล         ชื่อหน่ วยควำมจำ            ชนิดข้อมูล
            รหัสพนักงาน                  no                กลุ่มอักขระ
            ชื่อพนักงาน                  name              กลุ่มอักขระ
            ยอดขาย                       sum               ตัวเลขจานวนเต็ม
            จานวนสินค้า                  num               ตัวเลขจานวนเต็ม
            ค่าเฉลี่ยยอดขาย              avg               ตัวเลขทศนิยม

         1.6 ลาดับขั้นตอนการทางาน (action)
                 1) พิมพ์หวข้อรายงาน
                           ั
                 2) ป้ อนข้อมูลรหัสพนักงาน (no) ชื่อพนักงาน (name) ยอดขาย (sum) จานวน
สินค้า (num)
                 3) คานวณค่าเฉลี่ยยอดขาย (avg) = sum/num
                 4) พิมพ์ avg
                 5) จบการทางาน
2. ลำดับกำรทำงำนด้ วยผังงำนโปรแกรม




           รูปผังงำนที่ 1.6 ผังงานกรณี ศึกษาระบบงานประมวลผลแบบไม่มีเงื่อนไข
5.2 กรณีศึกษำระบบงำนประมวลผลแบบมีเงื่อนไขเลือกทำงทำงำน
         การทางานแบบมีเงื่อนไขเลือกทางาน มีลกษณะการทางานที่ตองกาหนดเงื่อนไขแบบ
                                            ั               ้
ตรรกะไว้ล่วงหน้าเมื่อมีขอมูลตรงตามที่กาหนด ระบบจะเลือกทางประมวลผลตามคาสังทางใดทาง
                           ้                                              ่
หนึ่งเท่านั้น ยกตัวอย่างดังนี้
โจทย์ : บริ ษท OK ต้องการคานวณเงินโบนัสพนักงาน กาหนดเกณฑ์พิจารณาตามเงื่อนไขดังนี้
              ั
         - ถ้ายอดขายมากกว่า 50,000 บาท ให้โบนัส 30% ของยอดขาย

      - นอกเหนือจากนี้ให้โบนัส 10% ของยอดขาบ กาหนดการแสดงผลทางจอภาพ ดังนี้




แนวทำงขั้นตอนกำรสร้ ำงงำนโปรแกรม
      1. กำรวิเครำะห์ ระบบงำนเบืองต้น
                                ้

          1.1 สิ่งที่ตองการ
                      ้       โบนัสพนักงาน

          1.2 สมการคานวณ เลือกคานวณค่าโบนัสตามเงื่อนไขดังนี้

                              ถ้ายอดขาย > 50,000 คานวณโบนัส = ยอดขาย * 30/100

                              นอกเหนือจากนี้    คานวณโบนัส = ยอดขาย * 10/100

          1.3 ข้อมูลนาเข้า    รหัสพนักงาน

          1.4 การแสดงผล       ตามโจทย์กาหนด

          1.5 กาหนดคุณสมบัติตวแปร
                             ั

                   ข้ อมูล         ชื่อหน่ วยควำมจำ        ชนิดข้อมูล
             รหัสพนักงาน                 no            กลุ่มอักขระ
             ชื่อพนักงาน                 name          กลุ่มอักขระ
             ยอดขาย                      sum           ตัวเลขจานวนเต็ม
โบนัส                     bonus            ตัวเลขทศนิยม
     1.6 ลาดับขั้นตอนการทางาน (action)

        1) พิมพ์หวข้อรายงาน
                 ั

        2) ป้ อนข้อมูล รหัสพนักงาน (no) ชื่อพนักงาน (name) ยอดขาย (sum)

        3) คานวณ โบนัส (bonus) ตามเงื่อนไขดังนี้

               ถ้า sum > 50000 ให้คานวณ bonus = sum * 30/100

               นอกเหนือจากนี้ ให้คานวณ bonus = sum * 10/100

        4) พิมพ์ bonus

        5) จบการทางาน

2. ลำดับกำรทำงำนด้ วยผังงำนโปรแกรม




รูปผังงำนที่ 1.7 ผังงานกรณี ศึกษาระบบงานประมวลผลแบบมีเงื่อนไขเลือกทางทางาน
5.3 กรณีศึกษำ ระบบงำนประมวลผลแบบวนซ้ำ เพือหำผลรวม
                                         ่
       การควบคุมการวนซ้ าหมายถึง การทางานที่ตองตรวจสอบเงื่อนไขเพื่อวนซ้ าการทางาน
                                             ้
หรื อออกจากระบบการทางาน

       แนวคิด การให้ระบบนับจานวนเพิ่มค่าทีละ 1

               เช่น    ให้หน่วยความจาชื่อ num เป็ นตัวแปรนับจานวนพนักงาน

                       ใช้สมการ num = num + 1

               อธิบาย รอบการทางานที่ 1 num = num + 1



                       รอบการทางานที่ 2 num = num + 1



               ดังนั้นหากวนซ้ า 2 รอบ num จึงมีค่าเป็ น 2 หมายถึงพนักงานมี 2 คนนันเอง
                                                                                 ่

โจทย์ : บริ ษท OK ต้องการคานวณเงินโบนัสพนักงานกาหนดเกณฑ์พจารณาตามเงื่อไขดังนี้
             ั                                           ิ

       - ถ้ายอดขายมากกว่า 50,000 บาท ให้โบนัส 30% ของยอดขาย

       - นอกเหนือจากนี้ให้โบนัส 10% ของยอดขาย

       กาหนดเงื่อนไขการวนซ้ า หากกดรหัสพนักงานเป็ นเลข 0 หมายถึงการเลิกวนซ้ า และให้
แสดงตัวเลขผลรวมจานวนพนักงานทั้งหมดที่คานวณในครั้งนี้
       กาหนดการแสดงผลทางจอภาพ ดังนี้
แนวทำงขั้นตอนกำรสร้ ำงงำนโปรแกรม
      1. กำรวิเครำะห์ ระบบงำนเบืองต้น
                                ้

         1.1 สิ่งที่ตองการ โบนัสพนักงาน จานวนพนักงาน
                     ้

         1.2 สมการคานวณ

             1) โบนัส คานวณตามเงื่อนไขดังนี้

                    ถ้ายอดขาย > 50,000 คานวณโบนัส = ยอดขาย *30/100

                    นอกเหนือจากนี้      คานวณโบนัส = ยอดขาย *10/100

             2) จานวนพนักงาน คานวณสมการดังนี้

                    จานวนพนักงาน = จานวนพนักงาน +1

         1.3 ข้อมูลนาเข้า รหัสพนักงาน ชื่อพนักงาน ยอดขาย

         1.4 การแสดงผลตามโจทย์กาหนด

         1.5 กาหนดคุณสมบัติตวแปร
                            ั

                ข้ อมูล         ชื่อหน่ วยควำมจำ                ชนิดข้อมูล
         รหัสพนักงาน                 no                    กลุ่มอักขระ
         ชื่อพนักงาน                 name                  กลุ่มอักขระ
         ยอดขาย                      sum                   ตัวเลขจานวนเต็ม
         โบนัส                       bonus                 ตัวเลขทศนิยม
         จานวนพนักงาน                num                   ตัวเลขจานวนเต็ม
         1.6 ลาดับขั้นตอนการทางาน (action)

             1) พิมพ์หวข้อรายงาน
                      ั

             2) ป้ อนข้อมูลรหัสพนักงาน (no)

             3) ตรวจสอบค่าของ no
ถ้า ( no != 0 ) ให้วนซ้ าข้อ 3.1 – 3.6

       นอกจากนี้ ให้ออกจากการวนซ้ าไปข้อ 4

       3.1) ป้ อนข้อมูล ชื่อพนักงาน (name) ยอดขาย (sum)

       3.2) คานวณโบนัส (bonus)

                  ถ้า sum > 50,000 ให้คานวณ bonus = sum * 30/100

                  นอกเหนือจากนี้ ให้คานวณ bonus = sum * 10/100

       3.3) พิมพ์ bonus

       3.4) คานวณจานวนพนักงาน (num)

                  num = num + 1

       3.5) ป้ อนข้อมูลรหัสพนักงาน (no)

       3.6) วนกลับไปข้อ 3

4) พิมพ์ค่า num
5) จบการทางาน
2. ลำดับกำรทำงำนด้ วยผังงำนโปรแกรม




        รูปผังงำนที่ 1.8 ผังงานกรณี ศึกษาระบบงานประมวลผลแบบวนซาเพื่อหาผลรวม
                                                              ้

       อธิบำย ( no != 0 ) หมายถึงหน่วยความทรงจาของตัวแปรชื่อ no มีค่าไม่เท่ากับ 0

5.4 กรณีศึกษำระบบงำนประมวลผลแบบวนซ้ำ เพือหำค่ ำเฉลี่ย
                                        ่
        แนวคิด 1. การหาค่าเฉลี่ยมาจาก ผลรวมของค่าค่าหนึ่ง / จานวน
               2. การให้ระบบเก็บข้อมูลในลักษณะสะสมเพิ่มค่า
                  เช่น ให้หน่วยความจาชื่อ sum เป็ นตัวแปรเก็บสะสมค่าโบนัสรวม ที่ใช้ตวแปร
                                                                                    ั
        ชื่อ
                        bonus ใช้สมการ sum = sum + bonus
                  กาหนดข้อมูลสมมติ เช่น คานวณโบนัสรอบการทางานที่ 1 ได้ 3000 รอบการ
ทางานที่ 2
                  ได้ 2000
                  อธิบาย รอบการทางานที่ 1 sum =         sum + bonus

                         รอบการทางานที่ 2 sum =         sum + bonus
ดังนั้นหากวนซ้ า 2 รอบ sum จึงมีค่าเป็ น 5000 นันเอง
                                                                          ่
โจทย์ : บริ ษท OK ต้องการคานวณเงินโบนัสพนักงาน กาหนดเกณฑ์พิจารณาตามเงื่อนไข ดังนี้
             ั
        - ถ้ายอดขายมากกว่า 50,000 บาท ให้โบนัส 30% ของยอดขาย

       - นอกเหนือจากนี้ให้โบนัส 10% ของยอดขาย

       กาหนดเงื่อนไขการวนซ้ า หากกดรหัสพนักงานเป็ นเลข 0 หมายถึง เลิกวนซ้ า และแสดง
       ข้อมูลโบนัสรวม ค่าโบนัสเฉลี่ย และจานวนพนักงาน
       กาหนดการแสดงผลทางจอภาพ ดังนี้




แนวทำงขั้นตอนกำรสร้ ำงงำนโปรแกรม
1. กำรวิเครำะห์ ระบบงำนเบืองต้น้
        1.1 สิ่งที่ตองการ โบนัสพนักงาน โบนัสรวม โบนัสเฉลี่ย จานวนพนักงาน
                    ้
        1.2 สมกาคานวณ
                   1) โบนัส คานวณตามเงื่อนไขดังนี้
                           ถ้ายอดขาย > 50,000 คานวณ โบนัส = ยอดขาย * 30/100
                           นอกเหนือจากนี้ คานวณ โบนัส = ยอดขาย * 10/100
                   2) จานวนพนักงาน คานวณสมการดังนี้
                           จานวนพนักงาน = จานวนพนักงาน + 1
                   3) โบนัสพนักงานทุกราย คานวณสมการดังนี้
                           โบนัสรวม = โบนัสรวม + โบนัส
                   4) ค่าเฉลี่ยโบนัส คานวณสมการดังนี้

                       โบนัสเฉลี่ย = โบนัสรวม / จานวนพนักงาน

       1,3 ข้อมูลนาเข้า รหัสพนักงาน ชื่อพนักงาน ยอดขาย
       1.4 การแสดงผลตามโจทย์กาหนด
       1.5 กาหนดคุณสมบัติตวแปร
                             ั
ข้ อมูล            ชื่ อหน่ วยควำมจำ          ชนิดข้ อมูล
     รหัสพนักงาน                      no             กลุ่มอักขระ
     ชื่ อพนักงาน                     name           กลุ่มอักขระ
     ยอดขาย                           sum            ตัวเลขจานวนเต็ม
     โบนัส                            bonus          ตัวเลขทศนิ ยม
     จานวนพนักงาน                     num            ตัวเลขจานวนเต็ม
     โบนัสรวม                         sum_ bonus     ตัวเลขทศนิ ยม
     โบนัสเฉลี่ย                     avg_ bonus      ตัวเลขทศนิ ยม
1.6 ลาดับขั้นตอนการทางาน (action)
        1) พิมพ์หวข้อรายงาน
                  ั
        2) ป้ อนข้อมูลรหัสพนักงาน (no)
        3) ตรวจสอบค่าของ no
                 ถ้า ( no != 0 ) ให้วนซ้ าข้อ 3.1 -3.7
                 นอกจากนี้ให้ออกจากการวนซ้ าไปข้อ 4
                 3.1) ป้ อนข้อมูล ชื่อพนักงาน (name) ยอดขาย (sum)

                  3.2) คานวณโบนัส (bonus)

                          ถ้า sum > 50,000 ให้คานวณ bonus = sum * 30/100

                          นอกเหนือจากนี้ ให้คานวณ bonus = sum * 10/100

                  3.3) พิมพ์ bonus

                  3.4) คานวณจานวนพนักงาน (num)

                          num = num + 1

                  3.5) คานวณโบนัสรวม (sum_bonus)

                          sum_bonus = sum_bonus + bonus

                  3.6) ป้ อนข้อมูลรหัสพนักงาน (no)

                  3.7) วนกลับไปข้อ 3

        4) คานวณโบนัสเฉลี่ย (avg_bonus) = sum_bonus/num
5) พิมพ์ค่า num sum_bonus, avg_bonus, num
              6) จบการทางาน

2. ลำดับกำรทำงำนด้ วยผังงำนโปรแกรม




       รูปผังงำนที่ 1.9 ผังงานกรณี ศึกษาระบบงานประมวลผลแบบวนซา เพื่อหาค่ าเฉลี่ย
                                                             ้
5.5 กรณีศึกษำระบบงำนประมวลผลแบบวนซ้ำ เพือหำค่ ำมำกที่สุด
                                        ่
       แนวคิด การหาค่ามากที่สุด
              1. ใช้วิธีกาหนดหน่วยความจาเก็บค่ามากที่สุด (max_bonus) เริ่ มต้นมีค่า 0

               2. ป้ อนค่าตัวเลขที่ตองการนามาเปรี ยบเทียบ (max_bonus)
                                    ้

               3. เปรี ยบเทียบตรวจสอบเงื่อนไขว่า

                   3.1) max_bonus > bonus จริ ง ให้ทางานสมการ max_bonus = bonus

                       (นาค่า bonus ไปไว้ใน max_bonus)

                   3.2) max_bonus <= bonus จริ ง ให้ทางานสมการ max_bonus = max_bonus

                       (เก็บค่าเดิม)

                    เมือค่าสิ้นสุดการวนซ้ า ค่าที่อยูใน max_bonus คือค่าที่มากที่สุด
                        ่                             ่

โจทย์ : บริ ษท OK ต้องการคานวณเงินโบนัสพนักงาน กาหนดเกณฑ์พิจารณาตามเงื่อนไข ดังนี้
             ั
        - ถ้ายอดขายมากกว่า 50,000 บาท ให้โบนัส 30% ของยอดขาย

       - นอกเหนือจากนี้ให้โบนัส 10% ของยอดขาย

       กำหนดเงื่อนไขกำรวนซ้ำ หากกดรหัสพนักงานเป็ นเลข 0 หมายถึง เลิกวนซ้ า และแสดง
       ตัวเลขโบนัสค่ามากที่สุด ของพนักงานกลุ่มนี้
       กาหนดการแสดงผลทางจอภาพ ดังนี้
แนวทำงขั้นตอนกำรสร้ ำงงำนโปรแกรม
1. กำรวิเครำะห์ ระบบงำนเบืองต้น
                              ้
        1.1 สิ่งที่ตองการ โบนัสพนักงาน โบนัสรวม โบนัสค่ามากที่สุด
                    ้
        1.2 สมการคานวณ
                   1) โบนัส คานวณตามเงื่อนไขดังนี้
                           ถ้ายอดขาย > 50,000 คานวณ โบนัส = ยอดขาย * 30/100
                           นอกเหนือจากนี้ คานวณ โบนัส = ยอดขาย * 10/100
                   3) โบนัสค่ามากที่สุด คานวณสมการดังนี้
                           ถ้าโบนัส > ค่าโบนัสมากที่สุดให้ ค่าโบนัสมากที่สุด = โบนัส
                           นอกเหนือจากนี้                 โบนัสค่ามากที่สุด = โบนัสค่ามากที่สุด
        1,3 ข้อมูลนาเข้า รหัสพนักงาน ชื่อพนักงาน ยอดขาย
        1.4 การแสดงผลตามโจทย์กาหนด
        1.5 กาหนดคุณสมบัติตวแปร ั
                       ข้ อมูล          ชื่ อหน่ วยควำมจำ             ชนิดข้ อมูล
              รหัสพนักงาน                    no                กลุ่มอักขระ
              ชื่ อพนักงาน                   name              กลุ่มอักขระ
              ยอดขาย                         sum               ตัวเลขจานวนเต็ม
              โบนัส                          bonus             ตัวเลขทศนิ ยม
              โบนัสค่ามากที่สุด              max_ bonus        ตัวเลขทศนิ ยม
        1.6 ลาดับขั้นตอนการทางาน (action)
                1) พิมพ์หวข้อรายงาน
                          ั
                2) กาหนดโบนัสค่ามากที่สุด (max_bonus) = 0
                3) ป้ อนข้อมูลรหัสพนักงาน (no)
                4) ตรวจสอบค่าของ no
                         ถ้า ( no != 0 ) ให้วนซ้ าข้อ 4.1 -4.6
                         นอกจากนี้ให้ออกจากการวนซ้ าไปข้อ 5
                         4.1) ป้ อนข้อมูล ชื่อพนักงาน (name) ยอดขาย (sum)

                          4.2) คานวณโบนัส (bonus)

                                  ถ้า sum > 50,000 ให้คานวณ bonus = sum * 30/100

                                  นอกเหนือจากนี้ ให้คานวณ bonus = sum * 10/100
4.3) พิมพ์ bonus

                      4.4) คานวณ max_bonus
                              ถ้าbonus > max_bonus ประมวลสมการ max_bonus = bonus
                              นอกเหนือจากนี้       ประมวลสมการ max_bonus =
max_bonus
                      4.5) ป้ อนข้อมูลรหัสพนักงาน (no)

                      4.6 วนกลับไปข้อ 4

              5) พิมพ์ค่า max_bonus
              6) จบการทางาน

2. ลำดับกำรทำงำนด้ วยผังงำนโปรแกรม




     รูปผังงำนที่ 1.10 ผังงานกรณี ศึกษาระบบงานประมวลผลแบบวนซา เพื่อหาค่ ามากที่สุด
                                                            ้
5.6 กรณีศึกษำระบบงำนประมวลผลแบบวนซ้ำ เพือหำค่ ำน้ อยที่สุด
                                        ่
       แนวคิด การหาค่าน้อยที่สุด
              1.ใช้วิธีกาหนดหน่วยความจาเก็บค่าน้อยที่สุด (min_bonus) เริ่ มต้นมีค่า 100,000
              2. ป้ อนค่าตัวเลขที่ตองการนามาเปรี ยบเทียบ (bonus)
                                   ้
              3. เปรี ยบเทียบตรวจสอบเงื่อนไขว่า
                    3.1) min_bonus > bonus จริ ง ให้ทางานสมการ min_bonus = bonus

                        (นาค่า bonus ไปไว้ใน min_bonus)

                   3.2) min_bonus <= bonus จริ ง ให้ทางานสมการ min_bonus = min_bonus

                        (เก็บค่าเดิม)

                    เมื่อค่าสิ้นสุดการวนซ้ า ค่าที่อยูใน min_bonus คือค่าที่นอยที่สุด
                                                       ่                      ้

โจทย์ : บริ ษท OK ต้องการคานวณเงินโบนัสพนักงาน กาหนดเกณฑ์พิจารณาตามเงื่อนไข ดังนี้
             ั
        - ถ้ายอดขายมากกว่า 50,000 บาท ให้โบนัส 30% ของยอดขาย

       - นอกเหนือจากนี้ให้โบนัส 10% ของยอดขาย

       กำหนดเงื่อนไขกำรวนซ้ำ หากกดรหัสพนักงานเป็ นเลข 0 หมายถึง เลิกวนซ้ า และแสดง
       ตัวเลขโบนัสค่ามากที่สุด ของพนักงานกลุ่มนี้
       กาหนดการแสดงผลทางจอภาพ ดังนี้




แนวทำงขั้นตอนกำรสร้ ำงงำนโปรแกรม
1. กำรวิเครำะห์ ระบบงำนเบืองต้น
                            ้
        1.1 สิ่งที่ตองการ โบนัสพนักงาน โบนัสรวม โบนัสค่าน้อยที่สุด
                    ้
        1.2 สมการคานวณ
1) โบนัส คานวณตามเงื่อนไขดังนี้
                 ถ้ายอดขาย > 50,000 คานวณ โบนัส = ยอดขาย * 30/100
                 นอกเหนือจากนี้ คานวณ โบนัส = ยอดขาย * 10/100
         3) โบนัสค่าน้อยที่สุด คานวณสมการดังนี้
                 ถ้าโบนัส > ค่าโบนัสน้อยที่สุดให้ ค่าโบนัสน้อยที่สุด = โบนัส
                 นอกเหนือจากนี้                 โบนัสค่าน้อยที่สุด = โบนัสค่าน้อยที่สุด
1,3 ข้อมูลนาเข้า รหัสพนักงาน ชื่อพนักงาน ยอดขาย
1.4 การแสดงผลตามโจทย์กาหนด
1.5 กาหนดคุณสมบัติตวแปรั
             ข้ อมูล            ชื่อหน่ วยควำมจำ            ชนิดข้ อมูล
     รหัสพนักงาน                    no                กลุ่มอักขระ
     ชื่อพนักงาน                    name              กลุ่มอักขระ
     ยอดขาย                         sum               ตัวเลขจานวนเต็ม
     โบนัส                          bonus             ตัวเลขทศนิยม
     โบนัสค่าน้อยที่สุด             min_ bonus        ตัวเลขทศนิยม
1.6 ลาดับขั้นตอนการทางาน (action)
        1) พิมพ์หวข้อรายงาน
                  ั
        2) กาหนดโบนัสค่ามากที่สุด (min_bonus) = 100000
        3) ป้ อนข้อมูลรหัสพนักงาน (no)
        4) ตรวจสอบค่าของ no
                 ถ้า ( no != 0 ) ให้วนซ้ าข้อ 4.1 -4.6
                 นอกจากนี้ให้ออกจากการวนซ้ าไปข้อ 5
                 4.1) ป้ อนข้อมูล ชื่อพนักงาน (name) ยอดขาย (sum)

                 4.2) คานวณโบนัส (bonus)

                          ถ้า sum > 50,000 ให้คานวณ bonus = sum * 30/100

                          นอกเหนือจากนี้ ให้คานวณ bonus = sum * 10/100

                 4.3) พิมพ์ bonus

                 4.4) คานวณ min_bonus
ถ้าbonus > min_bonus ประมวลสมการ min_bonus = bonus
                                      นอกเหนือจากนี้     ประมวลสมการ min_bonus =
min_bonus
                       4.5) ป้ อนข้อมูลรหัสพนักงาน (no)

                       4.6 วนกลับไปข้อ 4

               5) พิมพ์ค่า min_bonus
               6) จบการทางาน
2. ลำดับกำรทำงำนด้ วยผังงำนโปรแกรม




     รูปผังงำนที่ 1.11 ผังงานกรณี ศึกษาระบบงานประมวลผลแบบวนซา เพื่อหาค่ าน้ อยที่สุด
                                                            ้
รายงาน
“การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ”
วิชา การเขียนโปรแกรมเพื่องานอาชีพ (รหัสวิชา ง30212)

                         เสนอ
               ครู ทรงศักดิ์  โพธิ์เอี่ยม

                          จัดทาโดย
   1.นายนราธิ ป           โรจนสุ วรพงค์       เลขที่ 1
   2. นายจักริ นทร์       จันทร์แย้ม          เลขที่ 4
   3. นายปัญญา            จันทยา              เลขที่ 11
   4. น.ส.นาฏอนงค์ พลอยงาม                    เลขที่ 21
   5. น.ส.ไพลิน           สื บเรื อง          เลขที่ 22
   6. น.ส.นารี รัตน์      ณรงค์วงศ์วฒนา
                                     ั        เลขที่ 30
   7. น.ส.เมธาวี          เงินยวง             เลขที่ 40
                   ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 6/2

โรงเรี ยนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรี นคริ นทร์ กาญจนบุรี
คำนำ
                รายงานฉบับนี้เป็ นส่วนหนึ่งของวิชา การเขียนโปรแกรมเพื่องานอาชีพ
(รหัสวิชา ง30212) ซึ่ งรายงานฉบับนี้ได้รวบรวมเรื่ อง “การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษา
คอมพิวเตอร์ ” เพื่ออธิบายจุดเด่น ประสิ ทธิภาพการทางาน วิธีการทางาน รวมทั้งการ
ทางานของสัญลักษณ์ต่างๆของภาษาคอมพิวเตอร์ เพื่อให้ผอ่านหรื อผูที่ศึกษาได้เข้าใจ
                                                            ู้      ้
ถึงจุดเด่น ประสิ ทธิภาพการทางาน วิธีการทางาน รวมทั้งการทางานของสัญลักษณ์ต่างๆ
ของภาษา คอมพิวเตอร์ มากยิ่งขึ้น
                ทั้งนี้หากรายงานฉบับนี้มีขอผิดพลาดประการใดทางคณะผูจดทาต้องขออภัย
                                          ้                           ้ั
ไว้ ณ ที่น้ ีดวย
              ้




                                                                     คณะผูจดทา
                                                                          ้ั
งาน #1
งาน #1
งาน #1
งาน #1
งาน #1
งาน #1
งาน #1
งาน #1

More Related Content

What's hot

ภาษาคอมพิวเตอร์ (Computer languages)
ภาษาคอมพิวเตอร์ (Computer languages)ภาษาคอมพิวเตอร์ (Computer languages)
ภาษาคอมพิวเตอร์ (Computer languages)
พัน พัน
 
Generation of computer languages
Generation of computer languagesGeneration of computer languages
Generation of computer languages
kitturashmikittu
 
ศิลาจารึก
ศิลาจารึก ศิลาจารึก
ศิลาจารึก
KruBowbaro
 

What's hot (17)

Computer Programming: Chapter 1
Computer Programming: Chapter 1Computer Programming: Chapter 1
Computer Programming: Chapter 1
 
บทที่ 12
บทที่ 12บทที่ 12
บทที่ 12
 
ภาษาคอมพิวเตอร์ (Computer languages)
ภาษาคอมพิวเตอร์ (Computer languages)ภาษาคอมพิวเตอร์ (Computer languages)
ภาษาคอมพิวเตอร์ (Computer languages)
 
1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 15
บทที่ 15บทที่ 15
บทที่ 15
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
 
ผังงาน
ผังงานผังงาน
ผังงาน
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
Computer and its language
Computer and its languageComputer and its language
Computer and its language
 
البرمجيات
البرمجياتالبرمجيات
البرمجيات
 
ใบงาน1ประมวลผลคำ
ใบงาน1ประมวลผลคำใบงาน1ประมวลผลคำ
ใบงาน1ประมวลผลคำ
 
บทที่ 14
บทที่ 14บทที่ 14
บทที่ 14
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
Generation of computer languages
Generation of computer languagesGeneration of computer languages
Generation of computer languages
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
ศิลาจารึก
ศิลาจารึก ศิลาจารึก
ศิลาจารึก
 

Similar to งาน #1

การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_
การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_
การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_
Aoy-Phisit Modify-Computer
 
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์
Adisak' Jame
 
โปรแกรมคอม
โปรแกรมคอมโปรแกรมคอม
โปรแกรมคอม
Onrutai Intanin
 
โปรแกรมคอม
โปรแกรมคอมโปรแกรมคอม
โปรแกรมคอม
Onrutai Intanin
 
การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
Pete Panupong
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ฟลุ๊ค
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์  ฟลุ๊คการสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์  ฟลุ๊ค
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ฟลุ๊ค
Thidaporn Kaewta
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอ
Aum Forfang
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
Onpreeya Sahnguansak
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
Onpreeya Sahnguansak
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
Onpreeya Sahnguansak
 
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
Sarocha Makranit
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
Chatkal Sutoy
 

Similar to งาน #1 (20)

งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอ
 
ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์
 
การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_
การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_
การสร างงานโปรแกรมด วยภาษาคอมพ_วเตอร_
 
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
งานคอมกลุ่ม
งานคอมกลุ่มงานคอมกลุ่ม
งานคอมกลุ่ม
 
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิมเตอร์
 
โปรแกรมคอม
โปรแกรมคอมโปรแกรมคอม
โปรแกรมคอม
 
โปรแกรมคอม
โปรแกรมคอมโปรแกรมคอม
โปรแกรมคอม
 
การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ฟลุ๊ค
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์  ฟลุ๊คการสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์  ฟลุ๊ค
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ฟลุ๊ค
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอ
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์
 

งาน #1

  • 1. บทนำ คำถำม : หากต้องการสร้างโปรแกรมประยุกต์งาน เพื่อคานวณหายอดขายเฉลี่ยของพนักงานฝ่ าย ขายโดยที่ยอดขายเฉลี่ยมาจากยอดขาย/จานวนสินค้า คำตอบ : หากท่านเริ่ มต้นที่ข้นตอนเขียนคาสังควบคุมงานด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ใดๆก็ตาม ท่าน ั ่ ยอมทาได้ แต่มีโอกาสเสี่ยงที่จะได้งานโปรแกรมที่มีความผิดพลาดสูง เปรี ยบเสมือนกับการเดินทาง ที่ไม่มีการวางแผน อาจหลงทาง หรื อต้องพบสิ่งที่มิได้คาดหมายไว้ ทาให้คนหาตาแหน่งเพื่อแก้ไข ้ ได้ยาก การสร้างโปรแกรมประยุกต์งาน มีข้นตอนดาเนินงานที่เรี ยกว่าการพัฒนาระบบงานทาง ั คอมพิวเตอร์ มีผนาเสนอแนวทางขั้นตอนการดาเนินงานหลากหลายรู ปแบบให้เลือกใช้งาน สาหรับ ู้ บทนี้เป็ นแนวทางหนึ่งที่นาเสนอในรู ปแบบขั้นตอนสรุ ป เพื่อให้เหมาะสมกับลักษณะงานคานวณ จึงขอนาเสนอว่าท่านควรเริ่ มต้นที่ข้นตอนวิเคราะห์ระบบงานเบื้องต้น ซึ่งมีข้นตอนการทางานย่อย ั ั 6 ขั้นตอน และขั้นตอนการวางแผนลาดับการทางาน ในที่น้ ีใช้ผงงานโปรแกรม ทั้งสองขั้นตอนนี้มี ั ความสาคัญมากต่อขั้นตอนการเขียนคาสังควบคุมงานด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ กล่าวคือ หากวิเคราะห์ ่ ระบบงานผิด วางแผนลาดับการทางานผิด ย่อมส่งผลให้ลาดับคาสังควบคุมงานผิดไปด้วย แต่ทว่า ่ หากมีขอผิดพลาดประการใดเกิดขึ้นกับงานโปรแกรม สามารถย้อนกลับมาตรวจสอบใน 2 ขั้นตอน ้ ดังกล่าว ซึ่งช่วยให้วิเคราะห์หาสาเหตุของจุดผิดพลาดได้เร็วขึ้นกว่าการอ่านชุดคาสังงานโปรแกรม ่ เพียงอย่างเดียว อีกทั้งมีประโยชน์ในด้านการใช้เป็ นคู่มือประกอบการพัฒนาระบบงานในอนาคตได้ อีกด้วย
  • 2. 1. ควำมสำคัญของภำษำคอมพิวเตอร์ ภำษำคอมพิวเตอร์ (Computer Language) เป็ นสัญลักษณ์ที่ผพฒนาภาษากาหนดรหัส ู้ ั คาสังขึ้นมา ใช้ควบคุมการทางานอุปกรณ์ในระบบคอมพิวเตอร์ พัฒนาการภาษาคอมพิวเตอร์ เริ่ ม ่ จากรหัสคาสังอยูในรู ปแบบเลขฐานสอง จากนั้นพัฒนารู ปแบบเป็ นข้อความภาษาอังกฤษในยุค ่ ่ ปัจจุบน ภาษาคอมพิวเตอร์มีมากมายหลายภาษาให้เลือกใช้งาน มีจุดเด่นด้านประสิทธิภาพคาสัง ั ่ แตกต่างกันไป ดังนั้นผูสร้างงานโปรแกรมต้องศึกษาว่าภาษาใดมีคาสังที่มีประสิทธิภาพควบคุมการ ้ ่ ทางานตามความต้องการ เพื่อเลือกไปใช้สร้างโปรแกรมประยุกต์งานตามที่ได้กาหนดจุดประสงค์ ไว้ 1.1 พัฒนำกำรภำษำคอมพิวเตอร์ ภาษาคอมพิวเตอร์ได้รับการพัฒนาควบคู่กบการประดิษฐ์เครื่ องคอมพิวเตอร์ เพื่อใช้เป็ น ั คาสังควบคุมการทางาน มีพฒนาการของการสร้างรหัสคาสังจนมาเป็ นรู ปแบบในปัจจุบน ดังนี้ ่ ั ่ ั ช่ วงที่ 1 คอมพิวเตอร์ จดเป็ นเครื่ องคานวณทางอิเล็กทรอนิกส์ จึงทางานลักษณะวงจรเปิ ด- ั ปิ ด แทนค่าด้วย 0 กับ 1 ผูสร้างภาษาจึงออกแบบรหัสคาสังเป็ นชุดเลขฐานสอง เรี ยกว่าภาษาเครื่ อง ้ ่ (Machine Language) ผูที่จะเขียนรหัสคาสังควบคุมระบบได้จึงจากัดอยูเ่ ฉพาะกลุ่ม และใช้ใน ้ ่ ห้องปฏิบติการทดลองดาเนินงาน ั ช่ วงที่ 2 จากช่วงแรกที่รหัสคาสังเป็ นชุดเลขฐานสองมีความยุงยากในการจาชุดรหัสของ ่ ่ รหัสคาสังควบคุมการทางาน จึงมีผพฒนารหัสคาสังเป็ นอักษรภาษาอังกฤษร่ วมกับเลขฐานอื่น เช่น ่ ู้ ั ่ เลขฐานสิบหก เพื่อให้เขียนคาสังควบคุมงานง่ายขึ้น ตั้งชื่อภาษาว่า ภาษาแอสเซมบลีหรื อภาษา ่ สัญลักษณ์ (Assembly/Symbolic Language) พร้อมกันนี้ตองพัฒนาโปรแกรมแปลภาษาขึ้นมาด้วย ้ (Translator Program) คือโปรแกรมแอสเซมเบลอร์ (Assembler) ใช้แปลรหัสคาสังกลับมาเป็ น ่ เลขฐานสอง เพื่อให้ระบบสามารถประมวลผลได้ ช่ วงที่ 3 เป็ นช่วงที่บริ ษทหลายแห่งสร้างภาษาคอมพิวเตอร์หลากหลายภาษา เน้นให้ใช้ ั งานง่ายขึ้น โดยรหัสคาสังเป็ นข้อความใกล้เคียงกับภาษาอังกฤษที่ใช้ในการสื่อสารกันอยูแล้ว จัดให้ ่ ่ เป็ นกลุ่มภาษาระดับสูง (High Level Language) เช่น ภาษาเบสิก ภาษาปาสคาล ภาษาซี ในส่วนของ โปรแกรมแปลภาษามี 2 ลักษณะคือ อินเทอร์พรี ตเทอร์ และคอมไพเลอร์ ช่ วงที่ 4 เน้นเพิ่มประสิทธิภาพภาษาคอมพิวเตอร์ให้นาไปใช้ควบคุมการทางานระบบ คอมพิวเตอร์ที่ใช้งานร่ วมกับเทคโนโลยีการสื่อสาร ภาษามีรูปแบบการเขียนรหัสคาสังเป็ นงาน ่ โปรแกรมเชิงวัตถุ
  • 3. 1.2 ภำษำระดับสู ง ภาษาคอมพิวเตอร์กลุ่มภาษาระดับสูงได้รับความนิยมใช้งานจนถึงปัจจุบน เพราะเป็ นภาษา ั ที่มีรูปแบบการเขียนรหัสคาสังสั้น สื่อความหมายตรงกับการทางาน ใช้ระยะเวลาในการเรี ยนรู้เพื่อ ่ เขียนชุดรหัสคาสังควบคุมการทางาน ใช้หน่วยความจาระบบน้อย จึงเหมาะกับผูเ้ ริ่ มฝึ กทักษะสร้าง ่ งานโปรแกรมประยุกต์งานคานวณในสาขางานต่างๆ เช่น ระบบงานคานวณทางวิศวกรรมโยธา ระบบงานคานวณทางวิทยาศาสตร์ ตัวอย่างภาษาระดับสูงที่ได้รับความนิยมใช้งานมีดงนี้ ั 1.2.1 ภำษำเบสิ ก (BASIC: Beginner’s All-purpose Symbolic Instruction Code) เป็ นภาษาในเริ่ มแรกที่พฒนาขึ้นมาเพื่อใช้ในห้องปฏิบติการของสถาบันการศึกษา เพื่อฝึ ก ั ั ทักษะการเขียนรหัสคาสังควบคุมการทางานของคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กคือ ไมโครคอมพิวเตอร์ ่ ข้อดี คือรู ปแบบคาสังใช้งานสั้น มีจานวนคาสังไม่มาก กฎเกณฑ์การใช้คาสังน้อย ใช้ ่ ่ ่ ระยะเวลาศึกษาเรี ยนรู้ส้ น เหมาะสมที่จะใช้ในการเรี ยนการสอน เพื่อฝึ กทักษะการเขียนรหัสคาสัง ั ่ ควบคุมการทางานระบบ ข้อจากัด คือประสิทธิภาพของคาสังงานมีนอย เป็ นภาษาที่ไม่มีรูปแบบโครงสร้าง จึงไม่ ่ ้ เหมาะสมในการนาไปใช้สร้างโปรแกรมประยุกต์งานในองค์กร 1.2.2 ภำษำโคบอล (COBOL: Common Business Oriented Language) เป็ น ภาษาในยุคแรกที่มีลกษณะโปรแกรมเชิงโครงสร้าง ช่วงต้นของภาษาได้รับการออกแบบรหัสคาสัง ั ่ เพื่อควบคุมการทางานคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ประเภท เมนเฟรม และมินิ ต่อมาจึงปรับรู ปแบบ คาสังให้ใช้กบไมโครคอมพิวเตอร์ได้ ่ ั ข้อดี คือให้ผเู้ รี ยนได้ฝึกทักษะเขียนรหัสคาสังควบคุมการทางานไมโครคอมพิวเตอร์ ่ ก่อนที่จะไปเขียนรหัสคาสังควบคุมคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ในการทางานจริ ง ่ ข้อจากัด คือโครงสร้างภาษามีส่วนประกอบของบรรทัดคาสังงานมาก รู ปแบบรหัสคาสังมี ่ ่ ความยาว จดจาคาสังได้ยาก ไม่เหมาะกับผูเ้ ริ่ มฝึ กทักษะสร้างงานโปรแกรม ่ 1.2.3 ภำษำปำสคำล (PASCAL) เป็ นภาษาที่มีรูปแบบเป็ นโครงสร้าง ได้รับการ ออกแบบมาเพื่อใช้เขียนรหัสคาสังควบคุมการทางานไมโครคอมพิวเตอร์ ่ ข้อดี คือแต่ละส่วนของโครงสร้างกาหนดหน้าที่การเขียนรหัสคาสังควบคุมงานชัดเจน ่ คาสังสั้น สื่อความหมายดี จึงจดจาได้ง่าย ประสิทธิภาพคาสังงานมีเลือกใช้งาน หลากหลายรู ปแบบ ่ ่ ใช้ระยะเวลาสั้นในการเรี ยนรู้ เหมาะสมนาไปใช้ในกลักสูตรการเรี ยนการสอน
  • 4. ข้อจากัด คือประสิทธิภาพของคาสังไม่สามารถใช้ควบคุมการทางานในลักษณะระบบงาน ่ แบบฐานข้อมูล หรื อแบบเครื อข่ายได้ แต่อาจใช้เป็ นพื้นฐานความรู้สาหรับภาษาอื่นได้ เช่น ภาษา เดลไฟ ที่คาสังคล้ายภาษาปาสคาล ่ 1.2.4 ภำษำซี (C) เป็ นภาษาที่มีรูปแบบเป็ นโครงสร้าง เน้นให้คาสังมีประสิทธิภาพการ ่ คานวณที่รวดเร็ ว เข้าถึงอุปกรณ์ในระบบร่ วมกับภาษาแอสเซมบลีได้ ใช้ควบคุมการทางาน ไมโครคอมพิวเตอร์ ข้อดี คือภาษาได้รับการพัฒนามาอย่างต่อเนื่อง การออกแบบรหัสคาสังมีมาตรฐานร่ วมกัน ่ ถึงแม้จะเป็ นภาษาซีต่างบริ ษทก็ใช้งานในส่วนคาสังพื้นฐานร่ วมกันได้ ใช้ระยะเวลาสั้นในการ ั ่ เรี ยนรู้ จึงเหมาะสมนาไปใช้ในหลักสูตรการเรี ยนการสอนและนาไปสร้างงานโปรแกรมใน ระบบงานขนาดใหญ่ได้ ข้อจากัด คืออยูในส่วนของรุ่ นภาษาซีมากกว่า เช่น เทอร์โบซีจะไม่สามารถนาไปสร้าง ่ ระบบงานแบบฐานข้อมูลได้ แต่หากต้องการนาไปสร้างแบบโปรแกรมแบบฐานข้อมูลต้องใช้วิชวล ซีพลัสพลัส (Visual C++) เป็ นต้น 1.3 ตัวแปลภำษำคอมพิวเตอร์ (Translator Program) การเขียนรหัสคาสังควบคุมการทางานระบบด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ใดๆก็ตาม ที่มิใช่ ่ ภาษาเครื่ อง ระบบจะไม่สามารถประมวลผลได้ในทันที เพราะการทางานของระบบเป็ นรหัส เลขฐานสองคือ 0 กับ 1 ดังนั้นผูสร้างภาษาคอมพิวเตอร์ ต้องสร้างโปรแกรมสาหรับแปลรหัสให้ ้ เป็ นรหัสเลขฐานสองด้วย โปรแกรมแปลรหัสคาสังภาษาคอมพิวเตอร์มีการทางาน 3 ลักษณะ คือ ่ 1.3.1 โปรแกรมแปลภำษำแบบแอสเซมเบลอร์ (Assembler) ใช้แปลรหัสคาสัง ่ เฉพาะภาษาแอสเซมบลีให้เป็ นเลขฐานสอง 1.3.2 โปรแกรมแปลภำษำแบบคอมไพเลอร์ (Compiler) ลักษณะการแปลคือ แปล คาสังทั้งโครงสร้างโปรแกรมแล้วจึงแจ้งข้อผิดพลาดทั้งหมดเพื่อแก้ไข จากนั้นต้องประมวลผลใหม่ ่ หากไม่มีขอผิดพลาดจะสร้างแฟ้ มโปรแกรมใหม่อตโนมัติเพื่อเก็บรหัสเครื่ องภายหลังเมื่อเรี ยกใช้ ้ ั โปรแกรมนี้ เครื่ องจะอ่านรหัสจากโปรแกรมที่สร้างไว้น้ น จึงไม่ตองเริ่ มแปลรหัสใหม่ ั ้ ข้อดี คือทางานได้รวดเร็ ว เพราะไม่ตองแปลรหัสใหม่ทุกครั้ง ้ ข้อจากัด คือต้องเขียนโปรแกรมให้ครบทุกส่วนของโครงสร้างภาษาคอมพิวเตอร์ จึงจะ สามารถคอมไพล์และประมวลผลเพื่อแสดงผลได้ 1.3.3 โปรแกรมแปลภำษำแบบอินเทอร์ พรีตเทอร์ (Interpreter) ลักษณะการแปล คือ แปลรหัสทีละคาสัง เมื่อพบข้อผิดพลาดจะหยุดทางาน แล้วแจ้งข้อผิดพลาดให้ทราบ เพื่อแก้ไข ่
  • 5. จากนั้นประมวลผลใหม่ จนกว่าจะไม่มขอผิดพลาด แต่ไม่มการสร้างแฟ้ มโปรแกรมใหม่เพื่อเก็บ ี ้ ี รหัสคาสัง ่ ข้อดี คือสังให้ประมวลผลรหัสคาสังเพื่อดูผลการทางานได้ทนทีที่ตองการ โดยไม่ตองเขียน ่ ่ ั ้ ้ โปรแกรมถึงบรรทัดสุดท้าย ข้อจากัด คือหารโปรแกรมมีบรรทัดคาสังจานวนมากจะประมวลผลช้า เพราะต้องเริ่ มแปล ่ รหัสคาสังใหม่ที่บรรทัดคาสังแรกทุกครั้งที่สงให้ประมวลผล ่ ่ ่ั 1.4 เลือกใช้ ภำษำคอมพิวเตอร์ การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ มีขอแนะนาในการในไปใช้เป็ นแนวทางพิจารณา ้ เลือกภาษาคอมพิวเตอร์ ดังนี้ 1. พิจารณาจุดเด่นประสิทธิภาพของคาสังงานของแต่ละภาษา เปรี ยบเทียบกับลักษณะงาน ่ เช่น สร้างโปรแกรมระบบงานคานวณทางวิศวกรรมศาสตร์อาจเลือกใช้ภาษาซี ภาษา ปาสคาล 2. พิจารณาลักษณะการประมวลผล เช่น ระบบงานต้องประมวลผลบนเครื อข่ายอาจเลือกใช้ ภาษาวิชวลเบสิก ในรุ่ นของโปรแกรมที่มคาสังควบคุมการทางานได้ ี ่ 3. พิจารณาคุณสมบัติเครื่ องคอมพิวเตอร์และรุ่ นของระบบปฏิบติการที่ใช้ควบคุม เพื่อเลือก ั ภาษาคอมพิวเตอร์ที่สามารถใช้งานร่ วมกันกับระบบได้ 4. ควรเลือกภาษาที่ทีมงานพัฒนาระบบงานโปรแกรมมีความชานาญอยูแล้ว เพื่อไม่ตอง ่ ้ เสียเวลาเริ่ มต้นการศึกษาเรี ยนรู้ภาษาใหม่ หรื อหากเป็ นภาษาใหม่ ควรเป็ นภาษาที่มี ลักษณะใกล้เคียงกับความรู้เดิม 5. ควรเป็ นภาษาที่มีลกษณะเป็ นโครงสร้าง มีความยืดหยุนสูง เอื้ออานวยสะดวกในการ ั ่ ปรับปรุ งพัฒนาระบบงานในอนาคต 6. หากระบบงานต้องการความปลอดภัยเรื่ องการเข้าถึงข้อมูล ต้องคัดเลือกภาษาคอมพิวเตอร์ ที่มีประสิทธิภาพในเรื่ องนี้ดวย ้ 7. พิจารณางบประมาณ ใช้จดหาภาษาคอมพิวเตอร์ที่มีลิขสิทธิ์ถกต้องมาใช้งาน เพื่อป้ องกัน ั ู ปัญหาทางกฎหมายและโดยเฉพาะอย่างยิงจะไม่ก่อปัญหาเมื่อขยายพัฒนาระบบงานเพิ่ม ่ มากขึ้นในอนาคต 8. เป็ นภาษาคอมพิวเตอร์ที่ได้รับความนิยมใช้งานทัวไปเพื่อศึกษารวบรวมข้อมูล และป้ องกัน ่ ปัญหาที่อาจจะเกิดขึ้นได้ในอนาคต และมีความเชื่อมันว่าจะมีผเู้ ชี่ยวชาญให้คาปรึ กษาหาก ่ เกิดปัญหาได้
  • 6. 2. กำรพัฒนำระบบงำนทำงคอมพิวเตอร์ กำรพัฒนำระบบงำน (System Development) เป็ นกระบวนการพัฒนาระบบงานเดิม ให้ เป็ นระบบการทางานแบบใหม่ มีจุดประสงค์ให้ระบบการทางานมีประสิทธิภาพมากขึ้น สาหรับการ พัฒนาระบบงานทางคอมพิวเตอร์นอกจากจัดหาอุปกรณ์ เช่น เครื่ องคอมพิวเตอร์ เพื่อนามาใช้งาน แล้วยังต้องจัดหาโปรแกรมประยุกต์งานมาใช้ในการดาเนินงานอีกด้วย ขั้นตอนการสร้างโปรแกรมประยุกต์งาน อาจปรับเปลี่ยนได้ตามความเหมาะสม ในที่น้ ีมี แนวทางดาเนินงานดังนี้ 2.1 ขั้นกำหนดขอบเขตปั ญหำ (Problem Definition) เริ่ มต้นด้วยการวิเคราะห์ระบบงานเดิม เพื่อพัฒนาเป็ นระบบงานใหม่ อาจวิเคราะห์งานจาก ผลลัพธ์ เช่น รู ปแบบรายงาน เพื่อวิเคราะห์ส่วนทีเกี่ยวข้องต่อไป เช่น สมการที่ใช้คานวณ การนาเข้า ข้อมูล ที่ใช้ประมวลผล กรณี เป็ นระบบงานใหญ่ ความซับซ้อนของงานย่อมมากขึ้น อาจเริ่ มจากศึกษาสภาพปัญหา โดยรวบรวมข้อมูลปัญหาและ ความต้ องการ ต่างๆ จากผูที่เกี่ยวข้อง เช่น ผูบริ หาร ผูปฏิบติงาน เพื่อ ้ ้ ้ ั สรุ ปและศึกษา ความเป็ นไปได้ ในการพัฒนาระบบงานใหม่ กำรกำหนดควำมต้องกำร (Requirements Specification) เป็ นความต้องการประสิทธิภาพการ ทางานจากระบบงานใหม่ รวบรวมข้อมูลความต้องการโดยใช้เครื่ องมือทางสถิติ เช่น แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ การสังเกต เพื่อหาข้อสรุ ปร่ วมกันที่ชดเจนระหว่างผูพฒนาระบบและผูใช้ระบบ การ ั ้ ั ้ กาหนดความต้องการนั้นมีแนวทางดาเนินงาน ดังนี้ 1. ประสานงานรวบรวมข้อมูลจากผูที่เกี่ยวข้องกับระบบ เพื่อประมวลความต้องการทั้งหมด ้ 2. จัดทาข้อสรุ ปความต้องการ บันทึกลงเอกสาร และลงนามทุกฝ่ ายที่เกี่ยวข้อง เพื่อป้ องกันข้อ ขัดแย้งที่อาจเกิดขึ้นในขั้นตอนรับมอบระบบงาน 3. การให้คาจากัดความต่างๆ ในเอกสาร ต้องมีความชัดเจน ไม่กากวม กำรศึกษำควำมเป็ นไปได้ (Feasibility Study) ศึกษาสิ่งที่เกี่ยวข้องกับระบบงานที่เป็ นปัจจัยเอื้อ ต่อการทางาน หรื ออุปสรรคในการทางานมีแนวทางศึกษาดังนี้ 1. ศึกษาความเป็ นไปได้ดานเทคนิค (Technical Feasibility) เช่น ศึกษาระบบคอมพิวเตอร์ที่มี ้ อยูเ่ ดิมต้องปรับปรุ ง (Upgrade) ประสิทธิภาพเครื่ องอย่างไรบ้าง 2. ศึกษาความเป็ นไปได้เชิงเศรษฐศาสตร์ (Economical Feasibility) เช่น ต้นทุนค่าใช้จ่ายใน การดาเนินงานระบบงานใหม่ หรื อด้านงบประมาณที่ได้รับการจัดสรร 3. ศึกษาความเป็ นไปได้ดานการปฏิบติงาน (Operational Feasibility) เช่น ทักษะเดิมของผูใช้ ้ ั ้ ระบบงานใหม่ การยอมรับระบบใหม่ที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในการทางาน
  • 7. 2.1 ขั้นกำรวำงแผนและกำรออกแบบ (Plannig & Design) ขั้นตอนการวางแผนวิเคราะห์ลาดับการทางานมีหลายวิธีให้เลือกใช้ เช่น วิธีอลกอริ ทึม ั (Algorithm) วิธีซูโดโคด (Pseudocode) วิธีผงงาน (Flowchart) สาหรับขั้นตอนการออกแบบระบบ ั เช่น การออกแบบรู ปแบบการแสดงผล (Output Design) การออกแบบรู ปแบบการนาเข้าข้อมูล (Input Design) มีแนวทางการออกแบบระบบ ดังนี้ 1. จานวนและประเภทเนื้อหาของข้อมูล (Content) ต้องมีเพียงพอ ครบถ้วนสมบูรณ์ นาเสนอ เฉพาะข้อมูลที่เกี่ยวข้องกันและแยกเป็ นระบบงานย่อย 2. รู ปแบบ (Form) การนาเสนอข้อมูลต้องอยูในรู ปแบบที่ผใช้ระบบเข้าใจง่าย เช่น การ ่ ู้ นาเสนอข้อมูลสรุ ปด้วยกราฟดีกว่าการนาเสนอข้อมูลสรุ ปในรู ปแบบตาราง 3. รู ปแบบแสดงผล (Output Format) คานึงว่าเป็ นการแสดงผลรายงานทางจอภาพ หรื อ เครื่ องพิมพ์ เพราะการกาหนดรู ปแบบ และรายละเอียดมีความแตกต่างกัน 2.3 ขั้นดำเนินกำรเขียนคำสั่ งงำน (Coding) เป็ นขั้นตอนเขียนคาสังควบคุมงาน ด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ตามกฎเกณฑ์ไวยากรณ์ที่กาหนดไว้ ่ ต้องลาดับคาสังตามขั้นตอนที่วิเคราะห์ไว้ สาหรับขั้นตอนการเขียนคาสังงาน มีแนวทางดาเนินงาน ่ ่ ดังนี้ 1. จัดทีมงานในองค์กรวิเคราะห์และพัฒนาระบบงานเอง มีขอดีคือ ปรับแก้ไขโปรแกรมได้ ้ ตามต้องการ ได้รับความร่ วมมือจากคนในองค์กรในระดับดี เพราะเป็ นกลุ่มบุคคลใน องค์การเดียวกัน ข้อเสียคือหากไม่มีหน่วยงานรับผิดชอบโดยตรง เป็ นการทางานเฉพาะกิจ จะเกิดความเสี่ยงในระบบงาน เช่น งานล่าช้า หรื องานไม่เสร็ จสิ้นตามกาหนด 2. จัดซื้อโปรแกรมสาเร็ จรู ป ข้อดีคือ มีโปรแกรมที่นามาใช้กบงานได้ทนที งานขององค์กรไม่ ั ั หยุดชะงัก และมีบริ การอบรมการใช้โปรแกรม ส่วนใหญ่โปรแกรมออกแบบมาดี จึงใช้ งานง่าย ข้อเสียคือ โปรแกรมสาเร็ จรู ปมีขอจากัดในตัวเอง ไม่สามารถตอบสนองความ ้ ต้องการผูใช้ระบบได้ครอบคลุมทุกด้าน และผูใช้ไม่สามารถแก้ไขข้อจากัดต่างๆ ของ ้ ้ โปรแกรมได้ดวยตนเอง ้ 3. จัดจ้าบริ ษทพัฒนาระบบ ข้อดีคือ พัฒนาระบบงานได้รวดเร็ วเพราะมีทีมงานที่มความ ั ี ชานาญงาน ระบบงานตรงตามความต้องการของผูใช้ระบบ ข้อเสียคือ ค่าจ้างการพัฒนามี ้ ราคาสูง เพราะต้องวิเคราะห์ระบบงานใหม่ และรวมราคาการบารุ งรักษาโปรแกรมใน อนาคตไว้แล้ว
  • 8. 2.4 ขั้นทดสอบและแก้ ไขโปรแกรม (Testing & Debugging) ข้อผิดพลาดที่เกิดจากการทดสอบ โดยสรุ ปมี 2 รู ปแบบ คือ 1. ข้อผิดพลาดที่เกิดจากการใช้คาสังผิดรู ปแบบไวยากรณ์ที่ภาษากาหนดไว้ (Syntax Errors) ่ 2. ข้อผิดพลาดที่เกิดจากกระบวนการวิเคราะห์งานผิด (Logic Errors) มีแนวทางจัดฝึ กอบรมการใช้โปรแกรม ดังนี้ 1. ฝึ กอบรมโดยวิทยากร ใช้วิธี บรรยาย สาธิต และจาลองข้อมูลนาเข้า เพื่อทดสอบระบบ 2. เรี ยนรู้ดวยตนเอง ผูใช้ระบบศึกษาอ่านจากคู่มือระบบงาน หรื อใช้ซีดีรอมเรี ยนรู้ดวยตนเอง ้ ้ ้ 2.5 ขั้นจัดทำคู่มือระบบ (Documentation) เมื่อโปรแกรมผ่านการทดสอบ ผูพฒนาระบบจะต้องรวบรวมเอกสารเพื่อจัดทาคู่มือการใช้ ้ ั ระบบงาน คู่มือระบบงานมีหลายแบบ เช่น 1. คู่มือสาหรับผูใช้ระบบ (User Documentation) เป็ นส่วนอธิบายขั้นตอนการทางานของ ้ ระบบ เพื่อให้ผใช้ระบบเรี ยนรู้การทางาน เช่น วิธีกรอกข้อมูลในส่วนต่างๆ ู้ 2. คู่มือระบบงาน (System Documentation) จัดทาสาหรับผูดแลระบบ เช่น ขั้นตอนการติดตั้ง ู้ โปรแกรม การแก้ปัญหาระบบงานขั้นพื้นฐาน 2.6 ขั้นกำรติดตั้ง (Implementation) เป็ นขั้นตอนนาระบบใหม่ที่ผานการทดสอบ และได้รับการยอมรับจากกลุ่มตัวแทนผูใช้ระบบ ่ ้ ว่าสามารถนามาทดแทนระบบงานเดิม มีแนวทางใช้ระบบงานใหม่ดงนี้ ั 1. ติดตั้งระบบแบบหยุดระบบงานเดิมทั้งหมด และใช้ระบบงานใหม่ทนที (Directั Changeover) วิธีน้ ีสะดวกกับผูใช้คือ ทางานระบบงานเดียว แต่มีความเสี่ยงสูง หาก ้ ระบบงานใหม่มีปัญหาจะไม่สามารถใช้งานระบบใดได้เลย 2. ติดตั้งระบบแบบคู่ขนาน (Parallel Running) เป็ นการทางาน 2 ระบบในคราวเดียวกัน เพื่อ ป้ องกันปัญหาที่อาจเกิดขึ้นกับระบบงานใหม่ ยังคงมีระบบงานเดิมสารองความผิดพลาดที่ ไม่อาจคาดคิด เกิดขึ้นได้ แต่เป็ นการเพิ่มภาระงานของผูใช้ระบบที่ตองทางานทั้ง 2 ระบบ ้ ้ จนกว่าจะแน่ใจว่าระบบงานใหม่ สามารถใช้รองรับการทางานได้โดยไม่มีขอผิดพลาดใดๆ ้ 3. ติดตั้งระบบแบบทีละเฟส (Phase Changeover) เป็ นการติดตั้งระบบย่อยทีละระบบจาก ระบบงานทั้งหมด เพื่อพิจารณาประสิทธิภาพการทางาน หากมีขอผิดพลาดที่เฟสใดจะ ้ ดาเนินการแก้ไขเฉพาะเฟสนั้นก่อน จากนั้นจึงขยายจนครบทั้งระบบ
  • 9. 4. ติดตั้งระบบแบบโครงการนาร่ อง (Pilot Project) พิจารณาจัดทาเฉพาะงานของหน่วยงาน ในองค์กรที่มีความสาคัญและความจาเป็ น พิจารณาผลงานที่ได้ หากไม่มีปัญหาเรื่ องใด จึง ขยายระบบงานต่อไป 2.7 ขั้นกำรบำรุงรักษำ (Maintenance) เป็ นการดูแลระบบงานหลังติดตั้งระบบ ให้อยูในสภาพร้อมใช้งานได้ตลอดเวลา สาเหตุที่ตอง ่ ้ บารุ งรักษา มีดงนี้ ั 1. การบารุ งรักษาด้วยการแก้ไขระบบให้ถกต้อง (Corrective Maintenance) เป็ นข้อผิดพลาดที่ ู เกิดขึ้นหลังจากมีการใช้ขอมูลจริ งในระบบงาน ซึ่งตรวจสอบไม่พบในขั้นการทดสอบ ้ ระบบ 2. การบารุ งรักษาด้วยการปรับปรุ งให้ดีข้ ึน (Perfective Maintenance) เป็ นการปรับระบบงาน กรณี ผลกระทบอื่น เช่น การปรับปรุ งการคานวณภาษีที่มีการเปลี่ยนแปลงไปตามนโยบาย ของรัฐ 3. การบารุ งรักษาด้วยการป้ องกัน (Preventive Maintenance) เช่น ป้ องกันการเกิดความสูญ หายของข้อมูลที่อาจเกิดจากระบบไฟฟ้ า การทาระบบสารองข้อมูล การป้ องกันไวรัส คอมพิวเตอร์ (Virus) การบุกรุ กข้อมูล (Hacker) 3. แนวทำงสร้ ำงโปรแกรมประยุกต์ งำน กรณี โปรแกรมประยุกต์งาน เป็ นงานโปรแกรมเพื่อใช้แก้ปัญหางานคานวณในสายวิชาชีพ เฉพาะสาขา เช่น งานวิศวกรรมศาสตร์ งานวิทยาศาสตร์ ดังนั้นหากผูสร้างงานโปรแกรมเป็ นผูอยูใน ้ ้ ่ สายวิชาชีพนั้นย่อมสามารถวิเคราะห์ วางแผนลาดับการทางาน และลาดับคาสังควบคุมการทางาน ่ ได้ดี ถูกต้องกว่าให้ผอื่นจัดทา ระบบงานโปรแกรมมีลกษณะตอบสนองความต้องการของผูใช้ ู้ ั ้ ระบบได้มากที่สุด และสามารถปรับระบบงานได้ดวยตนเอง มีแนวทางดาเนินงานสร้างโปรแกรม ้ ประยุกต์งาน ดังนี้ 3.1 ขั้นวิเครำะห์ ระบบงำนเบื้องต้ น อาจวิเคราะห์จากผลลัพธ์ หรื อลักษณะรู ปแบบรายงานของระบบงานนั้น เพื่อวิเคราะห์ยอนกลับ ้ ไปถึงที่มาของข้อมูลคือสมการคานวณ จนถึงข้อมูลที่ตองป้ อนเข้าระบบเพื่อใช้ในสมการ แนว ้ ทางการวิเคราะห์ระบบงานเบื้องต้นโดยสรุ ปมีข้นตอนย่อยดังนี้ 1) สิ่งที่ตองการ 2) สมการคานวณ ั ้ 3) ข้อมูลนาเข้า 4) การแสดงผล 5) กาหนดคุณสมบัติตวแปร และ 6) ลาดับขั้นตอนการทางาน ั
  • 10. 3.2 ขั้นวำงแผนลำดับกำรทำงำน มีหลายวิธี เช่น อัลกอริ ทึม ซูโดโคด ผังงาน ต่างมีจุดประสงค์เพื่อแสดงลาดับขั้นตอน กระบวนการแก้ปัญหางานเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ตามต้องการ ก่อนไปสู่ข้นตอนการเขียนคาสังงาน และ ั ่ กรณี โปรแกรมมีขอผิดพลาด สามารถย้อนกลับมาตรวจสอบที่ข้นตอนนี้ได้ ้ ั 3.3 ขั้นดำเนินกำรเขียนโปรแกรม เป็ นขั้นตอนเขียนคาสังควบคุยตามลาดับการทางานที่ได้วิเคราะห์ไว้ในกระบวนการวางแผน ่ ลาดับการทางาน ขั้นตอนนี้ตองใช้คาสังให้ถกต้องตามรู ปแบบกฎเกณฑ์ไวยากรณ์การใช้งานคาสัง ้ ่ ู ่ ที่แต่ละภาษาได้กาหนดได้ 3.4 ขั้นทดสอบและแก้ ไขโปรแกรม กรณี ผสร้างระบบงานและผูใช้ระบบงานเป็ นคนเดียวกัน การทดสอบจึงมีข้นตอนเดียวคือ ู้ ้ ั ทดสอบไวยากรณ์คาสังงาน และทดสอบโดยใช้ขอมูลจริ งเพื่อตรวจสอบค่าผลลัพธ์ แต่กรณี ที่ ่ ้ ผูสร้างระบบงานและผูใช้ระบบงานมิใช่คนเดียวกัน การทดสอบระบบจะมี 2 ช่วงคือ ทดสอบโดย ้ ้ ผูสร้างระบบงาน เมื่อไม่มีขอผิดพลาดใด จึงส่งให้ผใช้ระบบงานเป็ นผูทดสอบ หากมีขอผิดพลาดใด ้ ้ ู้ ้ ้ จะถูกส่งกลับไปให้ผสร้างระบบงานแก้ไข และตรวจสอบจนกว่าจะถูกต้องแล้วจึงส่งมอบ ู้ ระบบงาน 3.5 ขั้นเขียนเอกสำรประกอบ เมื่อโปรแกรมผ่านการทดสอบให้ผลลัพธ์การทางานถูกต้อง ต้องจัดทาเอกสารประกอบการ ใช้โปรแกรมด้วย คู่มือระบบงานที่ง่ายที่สุดคือ รวบรวมเอกสารที่จดทาจาก 3.1-3.4 มารวมเล่ม ั นอกนั้นอาจมีรายละเอียดเกี่ยวกับวิธีใช้โปรแกรมระบบงาน เช่น วิธีป้อนข้อมูล หรื ออาจมีวิธีติดตั้ง โปรแกรมระบบงาน รวมทั้งคุณสมบัติเครื่ องคอมพิวเตอร์ที่สามารถนาโปรแกรมไปใช้งาน เป็ นต้น 4. กำรลำดับขั้นตอนงำนด้ วยผังงำน ผังงานเป็ นขั้นตอนการทางานทางคอมพิวเตอร์อย่างหนึ่ง มีจุดประสงค์เพื่อแสดงลาดับการ ควบคุมการทางาน โดยใช้สญลักษณ์ที่กาหนดความหมายใช้งานเป็ นมาตรฐาน เชื่อมโยงการทางาน ั ด้วยลูกศร ในที่น้ ีกล่าวถึงการลาดับขั้นตอนการทางานด้วยผังงานประเภทผังงานโปรแกรม ดังนี้
  • 11. 4.1 สั ญลักษณ์ ของผังงำน ในที่น้ ีกล่าวถึงเฉพาะสัญลักษณ์ที่ใช้ในการเขียนผังงานโปรแกรมเป็ นส่วนใหญ่ ดังนี้
  • 12. 4.2 หลักในกำรเขียนผังงำน ข้อแนะนาในการเขียนผังงานเพื่อให้ผอ่านระบบงาน ใช้ศึกษา ตรวจสอบลาดับการทางานได้ ู้ ง่าย ไม่สบสน มีแนวทางปฏิบติ ดังนี้ ั ั 1. ทิศทางการทางานต้องเรี ยงลาดับตามขั้นตอนที่ได้วิเคราะห์ไว้ 2. ใช้ชื่อหน่วยความจา เช่น ตัวแปร ให้ตรงกับขั้นตอนที่ได้วิเคราะห์ไว้ 3. ลูกศรกากับทิศทางใช้หวลูกศรตรงปลายทางเท่านั้น ั 4. เส้นทางการทางานห้ามมีจุดตัดการทางาน 5. ต้องไม่มีลกศรลอยๆ โดยไม่มีการต่อจุดการทางานใดๆ ู 6. ใช่สญลักษณ์ให้ตรงกับความหมายการใช้งาน ั 7. หากมีคาอธิบายเพิมเติมให้เขียนไว้ดานขวาของสัญลักษณ์น้ น ่ ้ ั 4.3 ประโยชน์ ของผังงำน การเขียนผังงานโปรแกรมของคอมพิวเตอร์น้นมีประโยชน์ ดังนี้ ั 1. ทาให้มองเห็นรู ปแบบของงานได้ท้งหมด โดยใช้เวลาไม่มาก ั 2. การเขียนผังงานเป็ นสากล สามารถนาไปเขียนคาสังได้ทุกภาษา ่ 3. สามารถตรวจสอบข้อผิดพลาดของโปรแกรมได้อย่างรวดเร็ ว 4.4 รู ปแบบกำรเขียนผังงำน การเขียนผังงานแสดงลาดับการทางานขอบระบบงานไม่มรูปแบบการเขียนตายตัว ในส่วน ี นี้เป็ นการนาเสนอรู ปแบบการเขียนผังงานโปรแกรม ดังนี้ 4.4.1 กำรเขียนผังงำนแบบเรียงลำดับ แสดงขั้นตอนการทางานตามลาดับ เช่น
  • 13. 4.4.2 กำรเขียนผังงำนแบบมีทำงเลือกกำรทำงำน แสดงขั้นตอนการทางานที่มี ลักษณะกาหนดเงื่อนไขทางตรรกะ ให้ระบบสรุ ปว่าจริ งหรื อเท็จ เพื่อเลือกทิศทางประมวลผลคาสัง ่ ที่ได้กาหนดไว้ เช่น
  • 14. 4.4.3 กำรเขียนผังงำนแบบตรวจสอบเงือนไขก่ อนวนซ้ำ แสดงขั้นตอนการทางานที่ ่ มีลกษณะ กาหนดเงื่อนไขทางตรรกะให้ระบบตรวจสอบก่อน เพื่อเลือกทิศทางการวนซ้ า หรื อออก ั จากการวนซ้ า เช่น 4.4.4 กำรเขียนผังงำนแบบตรวจสอบเงือนไขหลังวนซ้ำ แสดงขั้นตอนการทางานที่มี ่ ลักษณะทางานก่อน 1 รอบ แล้วจึงกาหนดเงื่อนไขทางตรรกะให้ระบบตรวจสอบ เพื่อเลือกทิศ ทางการวนซ้ า หรื อออกจากการวนซ้ า เช่น
  • 15. 5. กรณีศึกษำกำรวิเครำะห์ ระบบงำนและผังงำน ในที่น้ ียกตัวอย่างแสดงการวิเคราะห์ระบบงานเบื้องต้น และเขียนลาดับการทางานด้วยผังงาน โปรแกรม เพื่อใช้ประมวลผลระบบงานระดับพื้นฐานคือ ประมวลผลแบบไม่มเี งื่อนไข ประมวลผล แบบมีเงื่อนไขเพื่อตัดสิ นใจเลือกทางทางาน ประมวลผลลักษณะวนซ้ า อธิบายการทางานเรื่ องต่างๆ เหล่านี้ดวยกรณี ศึกษาในลาดับต่อไป ้ 5.1 กรณีศึกษำระบบงำนประมวลผลแบบไม่ มีเงื่อนไข หมายถึงการทางานที่เรี ยงลาดับตามคาสังงานโดยรับค่าข้อมูล เพื่อบันทึกลงหน่วยความจา ่ ซึ่งอาจเป็ นค่าคงที่หรื อตัวแปร เพื่อนาไปประมวลผลตามนิพจน์ที่กาหนด แล้วอ่านค่าจาก หน่วยความจาตัวแปรที่ดาเนินการประมวลผลตามนิพจน์ที่กาหนดไว้เพื่อแสดงผลทางอุปกรณ์ที่ ระบุ ยกตัวอย่างงานดังนี้ โจทย์ : บริ ษท OK ต้องการคานวณยอดขายเฉลี่ยพนักงานขายแต่ละราย กาหนดการแสดงผลดังนี้ ั แนวทำงขั้นตอนกำรสร้ ำงงำนโปรแกรม 1. กำรวิเครำะห์ ระบบงำนเบืองต้น ้ 1.1 สิ่งที่ตองการ ค่าเฉลี่ยยอดขาย ้ 1.2 สมการคานวณ ค่าเฉลี่ยยอดขาย = ยอดขาย / จานวนสินค้า 1.3 ข้อมูลนาเข้า รหัสพนักงาน ชื่อพนักงาน ยอดขาย จานวนสินค้า 1.4 การแสดงผล ตามโจทย์กาหนด 1.5 กาหนดคุณสมบัติตวแปร ั
  • 16. ข้ อมูล ชื่อหน่ วยควำมจำ ชนิดข้อมูล รหัสพนักงาน no กลุ่มอักขระ ชื่อพนักงาน name กลุ่มอักขระ ยอดขาย sum ตัวเลขจานวนเต็ม จานวนสินค้า num ตัวเลขจานวนเต็ม ค่าเฉลี่ยยอดขาย avg ตัวเลขทศนิยม 1.6 ลาดับขั้นตอนการทางาน (action) 1) พิมพ์หวข้อรายงาน ั 2) ป้ อนข้อมูลรหัสพนักงาน (no) ชื่อพนักงาน (name) ยอดขาย (sum) จานวน สินค้า (num) 3) คานวณค่าเฉลี่ยยอดขาย (avg) = sum/num 4) พิมพ์ avg 5) จบการทางาน 2. ลำดับกำรทำงำนด้ วยผังงำนโปรแกรม รูปผังงำนที่ 1.6 ผังงานกรณี ศึกษาระบบงานประมวลผลแบบไม่มีเงื่อนไข
  • 17. 5.2 กรณีศึกษำระบบงำนประมวลผลแบบมีเงื่อนไขเลือกทำงทำงำน การทางานแบบมีเงื่อนไขเลือกทางาน มีลกษณะการทางานที่ตองกาหนดเงื่อนไขแบบ ั ้ ตรรกะไว้ล่วงหน้าเมื่อมีขอมูลตรงตามที่กาหนด ระบบจะเลือกทางประมวลผลตามคาสังทางใดทาง ้ ่ หนึ่งเท่านั้น ยกตัวอย่างดังนี้ โจทย์ : บริ ษท OK ต้องการคานวณเงินโบนัสพนักงาน กาหนดเกณฑ์พิจารณาตามเงื่อนไขดังนี้ ั - ถ้ายอดขายมากกว่า 50,000 บาท ให้โบนัส 30% ของยอดขาย - นอกเหนือจากนี้ให้โบนัส 10% ของยอดขาบ กาหนดการแสดงผลทางจอภาพ ดังนี้ แนวทำงขั้นตอนกำรสร้ ำงงำนโปรแกรม 1. กำรวิเครำะห์ ระบบงำนเบืองต้น ้ 1.1 สิ่งที่ตองการ ้ โบนัสพนักงาน 1.2 สมการคานวณ เลือกคานวณค่าโบนัสตามเงื่อนไขดังนี้ ถ้ายอดขาย > 50,000 คานวณโบนัส = ยอดขาย * 30/100 นอกเหนือจากนี้ คานวณโบนัส = ยอดขาย * 10/100 1.3 ข้อมูลนาเข้า รหัสพนักงาน 1.4 การแสดงผล ตามโจทย์กาหนด 1.5 กาหนดคุณสมบัติตวแปร ั ข้ อมูล ชื่อหน่ วยควำมจำ ชนิดข้อมูล รหัสพนักงาน no กลุ่มอักขระ ชื่อพนักงาน name กลุ่มอักขระ ยอดขาย sum ตัวเลขจานวนเต็ม
  • 18. โบนัส bonus ตัวเลขทศนิยม 1.6 ลาดับขั้นตอนการทางาน (action) 1) พิมพ์หวข้อรายงาน ั 2) ป้ อนข้อมูล รหัสพนักงาน (no) ชื่อพนักงาน (name) ยอดขาย (sum) 3) คานวณ โบนัส (bonus) ตามเงื่อนไขดังนี้ ถ้า sum > 50000 ให้คานวณ bonus = sum * 30/100 นอกเหนือจากนี้ ให้คานวณ bonus = sum * 10/100 4) พิมพ์ bonus 5) จบการทางาน 2. ลำดับกำรทำงำนด้ วยผังงำนโปรแกรม รูปผังงำนที่ 1.7 ผังงานกรณี ศึกษาระบบงานประมวลผลแบบมีเงื่อนไขเลือกทางทางาน
  • 19. 5.3 กรณีศึกษำ ระบบงำนประมวลผลแบบวนซ้ำ เพือหำผลรวม ่ การควบคุมการวนซ้ าหมายถึง การทางานที่ตองตรวจสอบเงื่อนไขเพื่อวนซ้ าการทางาน ้ หรื อออกจากระบบการทางาน แนวคิด การให้ระบบนับจานวนเพิ่มค่าทีละ 1 เช่น ให้หน่วยความจาชื่อ num เป็ นตัวแปรนับจานวนพนักงาน ใช้สมการ num = num + 1 อธิบาย รอบการทางานที่ 1 num = num + 1 รอบการทางานที่ 2 num = num + 1 ดังนั้นหากวนซ้ า 2 รอบ num จึงมีค่าเป็ น 2 หมายถึงพนักงานมี 2 คนนันเอง ่ โจทย์ : บริ ษท OK ต้องการคานวณเงินโบนัสพนักงานกาหนดเกณฑ์พจารณาตามเงื่อไขดังนี้ ั ิ - ถ้ายอดขายมากกว่า 50,000 บาท ให้โบนัส 30% ของยอดขาย - นอกเหนือจากนี้ให้โบนัส 10% ของยอดขาย กาหนดเงื่อนไขการวนซ้ า หากกดรหัสพนักงานเป็ นเลข 0 หมายถึงการเลิกวนซ้ า และให้ แสดงตัวเลขผลรวมจานวนพนักงานทั้งหมดที่คานวณในครั้งนี้ กาหนดการแสดงผลทางจอภาพ ดังนี้
  • 20. แนวทำงขั้นตอนกำรสร้ ำงงำนโปรแกรม 1. กำรวิเครำะห์ ระบบงำนเบืองต้น ้ 1.1 สิ่งที่ตองการ โบนัสพนักงาน จานวนพนักงาน ้ 1.2 สมการคานวณ 1) โบนัส คานวณตามเงื่อนไขดังนี้ ถ้ายอดขาย > 50,000 คานวณโบนัส = ยอดขาย *30/100 นอกเหนือจากนี้ คานวณโบนัส = ยอดขาย *10/100 2) จานวนพนักงาน คานวณสมการดังนี้ จานวนพนักงาน = จานวนพนักงาน +1 1.3 ข้อมูลนาเข้า รหัสพนักงาน ชื่อพนักงาน ยอดขาย 1.4 การแสดงผลตามโจทย์กาหนด 1.5 กาหนดคุณสมบัติตวแปร ั ข้ อมูล ชื่อหน่ วยควำมจำ ชนิดข้อมูล รหัสพนักงาน no กลุ่มอักขระ ชื่อพนักงาน name กลุ่มอักขระ ยอดขาย sum ตัวเลขจานวนเต็ม โบนัส bonus ตัวเลขทศนิยม จานวนพนักงาน num ตัวเลขจานวนเต็ม 1.6 ลาดับขั้นตอนการทางาน (action) 1) พิมพ์หวข้อรายงาน ั 2) ป้ อนข้อมูลรหัสพนักงาน (no) 3) ตรวจสอบค่าของ no
  • 21. ถ้า ( no != 0 ) ให้วนซ้ าข้อ 3.1 – 3.6 นอกจากนี้ ให้ออกจากการวนซ้ าไปข้อ 4 3.1) ป้ อนข้อมูล ชื่อพนักงาน (name) ยอดขาย (sum) 3.2) คานวณโบนัส (bonus) ถ้า sum > 50,000 ให้คานวณ bonus = sum * 30/100 นอกเหนือจากนี้ ให้คานวณ bonus = sum * 10/100 3.3) พิมพ์ bonus 3.4) คานวณจานวนพนักงาน (num) num = num + 1 3.5) ป้ อนข้อมูลรหัสพนักงาน (no) 3.6) วนกลับไปข้อ 3 4) พิมพ์ค่า num 5) จบการทางาน
  • 22. 2. ลำดับกำรทำงำนด้ วยผังงำนโปรแกรม รูปผังงำนที่ 1.8 ผังงานกรณี ศึกษาระบบงานประมวลผลแบบวนซาเพื่อหาผลรวม ้ อธิบำย ( no != 0 ) หมายถึงหน่วยความทรงจาของตัวแปรชื่อ no มีค่าไม่เท่ากับ 0 5.4 กรณีศึกษำระบบงำนประมวลผลแบบวนซ้ำ เพือหำค่ ำเฉลี่ย ่ แนวคิด 1. การหาค่าเฉลี่ยมาจาก ผลรวมของค่าค่าหนึ่ง / จานวน 2. การให้ระบบเก็บข้อมูลในลักษณะสะสมเพิ่มค่า เช่น ให้หน่วยความจาชื่อ sum เป็ นตัวแปรเก็บสะสมค่าโบนัสรวม ที่ใช้ตวแปร ั ชื่อ bonus ใช้สมการ sum = sum + bonus กาหนดข้อมูลสมมติ เช่น คานวณโบนัสรอบการทางานที่ 1 ได้ 3000 รอบการ ทางานที่ 2 ได้ 2000 อธิบาย รอบการทางานที่ 1 sum = sum + bonus รอบการทางานที่ 2 sum = sum + bonus
  • 23. ดังนั้นหากวนซ้ า 2 รอบ sum จึงมีค่าเป็ น 5000 นันเอง ่ โจทย์ : บริ ษท OK ต้องการคานวณเงินโบนัสพนักงาน กาหนดเกณฑ์พิจารณาตามเงื่อนไข ดังนี้ ั - ถ้ายอดขายมากกว่า 50,000 บาท ให้โบนัส 30% ของยอดขาย - นอกเหนือจากนี้ให้โบนัส 10% ของยอดขาย กาหนดเงื่อนไขการวนซ้ า หากกดรหัสพนักงานเป็ นเลข 0 หมายถึง เลิกวนซ้ า และแสดง ข้อมูลโบนัสรวม ค่าโบนัสเฉลี่ย และจานวนพนักงาน กาหนดการแสดงผลทางจอภาพ ดังนี้ แนวทำงขั้นตอนกำรสร้ ำงงำนโปรแกรม 1. กำรวิเครำะห์ ระบบงำนเบืองต้น้ 1.1 สิ่งที่ตองการ โบนัสพนักงาน โบนัสรวม โบนัสเฉลี่ย จานวนพนักงาน ้ 1.2 สมกาคานวณ 1) โบนัส คานวณตามเงื่อนไขดังนี้ ถ้ายอดขาย > 50,000 คานวณ โบนัส = ยอดขาย * 30/100 นอกเหนือจากนี้ คานวณ โบนัส = ยอดขาย * 10/100 2) จานวนพนักงาน คานวณสมการดังนี้ จานวนพนักงาน = จานวนพนักงาน + 1 3) โบนัสพนักงานทุกราย คานวณสมการดังนี้ โบนัสรวม = โบนัสรวม + โบนัส 4) ค่าเฉลี่ยโบนัส คานวณสมการดังนี้ โบนัสเฉลี่ย = โบนัสรวม / จานวนพนักงาน 1,3 ข้อมูลนาเข้า รหัสพนักงาน ชื่อพนักงาน ยอดขาย 1.4 การแสดงผลตามโจทย์กาหนด 1.5 กาหนดคุณสมบัติตวแปร ั
  • 24. ข้ อมูล ชื่ อหน่ วยควำมจำ ชนิดข้ อมูล รหัสพนักงาน no กลุ่มอักขระ ชื่ อพนักงาน name กลุ่มอักขระ ยอดขาย sum ตัวเลขจานวนเต็ม โบนัส bonus ตัวเลขทศนิ ยม จานวนพนักงาน num ตัวเลขจานวนเต็ม โบนัสรวม sum_ bonus ตัวเลขทศนิ ยม โบนัสเฉลี่ย avg_ bonus ตัวเลขทศนิ ยม 1.6 ลาดับขั้นตอนการทางาน (action) 1) พิมพ์หวข้อรายงาน ั 2) ป้ อนข้อมูลรหัสพนักงาน (no) 3) ตรวจสอบค่าของ no ถ้า ( no != 0 ) ให้วนซ้ าข้อ 3.1 -3.7 นอกจากนี้ให้ออกจากการวนซ้ าไปข้อ 4 3.1) ป้ อนข้อมูล ชื่อพนักงาน (name) ยอดขาย (sum) 3.2) คานวณโบนัส (bonus) ถ้า sum > 50,000 ให้คานวณ bonus = sum * 30/100 นอกเหนือจากนี้ ให้คานวณ bonus = sum * 10/100 3.3) พิมพ์ bonus 3.4) คานวณจานวนพนักงาน (num) num = num + 1 3.5) คานวณโบนัสรวม (sum_bonus) sum_bonus = sum_bonus + bonus 3.6) ป้ อนข้อมูลรหัสพนักงาน (no) 3.7) วนกลับไปข้อ 3 4) คานวณโบนัสเฉลี่ย (avg_bonus) = sum_bonus/num
  • 25. 5) พิมพ์ค่า num sum_bonus, avg_bonus, num 6) จบการทางาน 2. ลำดับกำรทำงำนด้ วยผังงำนโปรแกรม รูปผังงำนที่ 1.9 ผังงานกรณี ศึกษาระบบงานประมวลผลแบบวนซา เพื่อหาค่ าเฉลี่ย ้
  • 26. 5.5 กรณีศึกษำระบบงำนประมวลผลแบบวนซ้ำ เพือหำค่ ำมำกที่สุด ่ แนวคิด การหาค่ามากที่สุด 1. ใช้วิธีกาหนดหน่วยความจาเก็บค่ามากที่สุด (max_bonus) เริ่ มต้นมีค่า 0 2. ป้ อนค่าตัวเลขที่ตองการนามาเปรี ยบเทียบ (max_bonus) ้ 3. เปรี ยบเทียบตรวจสอบเงื่อนไขว่า 3.1) max_bonus > bonus จริ ง ให้ทางานสมการ max_bonus = bonus (นาค่า bonus ไปไว้ใน max_bonus) 3.2) max_bonus <= bonus จริ ง ให้ทางานสมการ max_bonus = max_bonus (เก็บค่าเดิม)  เมือค่าสิ้นสุดการวนซ้ า ค่าที่อยูใน max_bonus คือค่าที่มากที่สุด ่ ่ โจทย์ : บริ ษท OK ต้องการคานวณเงินโบนัสพนักงาน กาหนดเกณฑ์พิจารณาตามเงื่อนไข ดังนี้ ั - ถ้ายอดขายมากกว่า 50,000 บาท ให้โบนัส 30% ของยอดขาย - นอกเหนือจากนี้ให้โบนัส 10% ของยอดขาย กำหนดเงื่อนไขกำรวนซ้ำ หากกดรหัสพนักงานเป็ นเลข 0 หมายถึง เลิกวนซ้ า และแสดง ตัวเลขโบนัสค่ามากที่สุด ของพนักงานกลุ่มนี้ กาหนดการแสดงผลทางจอภาพ ดังนี้
  • 27. แนวทำงขั้นตอนกำรสร้ ำงงำนโปรแกรม 1. กำรวิเครำะห์ ระบบงำนเบืองต้น ้ 1.1 สิ่งที่ตองการ โบนัสพนักงาน โบนัสรวม โบนัสค่ามากที่สุด ้ 1.2 สมการคานวณ 1) โบนัส คานวณตามเงื่อนไขดังนี้ ถ้ายอดขาย > 50,000 คานวณ โบนัส = ยอดขาย * 30/100 นอกเหนือจากนี้ คานวณ โบนัส = ยอดขาย * 10/100 3) โบนัสค่ามากที่สุด คานวณสมการดังนี้ ถ้าโบนัส > ค่าโบนัสมากที่สุดให้ ค่าโบนัสมากที่สุด = โบนัส นอกเหนือจากนี้ โบนัสค่ามากที่สุด = โบนัสค่ามากที่สุด 1,3 ข้อมูลนาเข้า รหัสพนักงาน ชื่อพนักงาน ยอดขาย 1.4 การแสดงผลตามโจทย์กาหนด 1.5 กาหนดคุณสมบัติตวแปร ั ข้ อมูล ชื่ อหน่ วยควำมจำ ชนิดข้ อมูล รหัสพนักงาน no กลุ่มอักขระ ชื่ อพนักงาน name กลุ่มอักขระ ยอดขาย sum ตัวเลขจานวนเต็ม โบนัส bonus ตัวเลขทศนิ ยม โบนัสค่ามากที่สุด max_ bonus ตัวเลขทศนิ ยม 1.6 ลาดับขั้นตอนการทางาน (action) 1) พิมพ์หวข้อรายงาน ั 2) กาหนดโบนัสค่ามากที่สุด (max_bonus) = 0 3) ป้ อนข้อมูลรหัสพนักงาน (no) 4) ตรวจสอบค่าของ no ถ้า ( no != 0 ) ให้วนซ้ าข้อ 4.1 -4.6 นอกจากนี้ให้ออกจากการวนซ้ าไปข้อ 5 4.1) ป้ อนข้อมูล ชื่อพนักงาน (name) ยอดขาย (sum) 4.2) คานวณโบนัส (bonus) ถ้า sum > 50,000 ให้คานวณ bonus = sum * 30/100 นอกเหนือจากนี้ ให้คานวณ bonus = sum * 10/100
  • 28. 4.3) พิมพ์ bonus 4.4) คานวณ max_bonus ถ้าbonus > max_bonus ประมวลสมการ max_bonus = bonus นอกเหนือจากนี้ ประมวลสมการ max_bonus = max_bonus 4.5) ป้ อนข้อมูลรหัสพนักงาน (no) 4.6 วนกลับไปข้อ 4 5) พิมพ์ค่า max_bonus 6) จบการทางาน 2. ลำดับกำรทำงำนด้ วยผังงำนโปรแกรม รูปผังงำนที่ 1.10 ผังงานกรณี ศึกษาระบบงานประมวลผลแบบวนซา เพื่อหาค่ ามากที่สุด ้
  • 29. 5.6 กรณีศึกษำระบบงำนประมวลผลแบบวนซ้ำ เพือหำค่ ำน้ อยที่สุด ่ แนวคิด การหาค่าน้อยที่สุด 1.ใช้วิธีกาหนดหน่วยความจาเก็บค่าน้อยที่สุด (min_bonus) เริ่ มต้นมีค่า 100,000 2. ป้ อนค่าตัวเลขที่ตองการนามาเปรี ยบเทียบ (bonus) ้ 3. เปรี ยบเทียบตรวจสอบเงื่อนไขว่า 3.1) min_bonus > bonus จริ ง ให้ทางานสมการ min_bonus = bonus (นาค่า bonus ไปไว้ใน min_bonus) 3.2) min_bonus <= bonus จริ ง ให้ทางานสมการ min_bonus = min_bonus (เก็บค่าเดิม)  เมื่อค่าสิ้นสุดการวนซ้ า ค่าที่อยูใน min_bonus คือค่าที่นอยที่สุด ่ ้ โจทย์ : บริ ษท OK ต้องการคานวณเงินโบนัสพนักงาน กาหนดเกณฑ์พิจารณาตามเงื่อนไข ดังนี้ ั - ถ้ายอดขายมากกว่า 50,000 บาท ให้โบนัส 30% ของยอดขาย - นอกเหนือจากนี้ให้โบนัส 10% ของยอดขาย กำหนดเงื่อนไขกำรวนซ้ำ หากกดรหัสพนักงานเป็ นเลข 0 หมายถึง เลิกวนซ้ า และแสดง ตัวเลขโบนัสค่ามากที่สุด ของพนักงานกลุ่มนี้ กาหนดการแสดงผลทางจอภาพ ดังนี้ แนวทำงขั้นตอนกำรสร้ ำงงำนโปรแกรม 1. กำรวิเครำะห์ ระบบงำนเบืองต้น ้ 1.1 สิ่งที่ตองการ โบนัสพนักงาน โบนัสรวม โบนัสค่าน้อยที่สุด ้ 1.2 สมการคานวณ
  • 30. 1) โบนัส คานวณตามเงื่อนไขดังนี้ ถ้ายอดขาย > 50,000 คานวณ โบนัส = ยอดขาย * 30/100 นอกเหนือจากนี้ คานวณ โบนัส = ยอดขาย * 10/100 3) โบนัสค่าน้อยที่สุด คานวณสมการดังนี้ ถ้าโบนัส > ค่าโบนัสน้อยที่สุดให้ ค่าโบนัสน้อยที่สุด = โบนัส นอกเหนือจากนี้ โบนัสค่าน้อยที่สุด = โบนัสค่าน้อยที่สุด 1,3 ข้อมูลนาเข้า รหัสพนักงาน ชื่อพนักงาน ยอดขาย 1.4 การแสดงผลตามโจทย์กาหนด 1.5 กาหนดคุณสมบัติตวแปรั ข้ อมูล ชื่อหน่ วยควำมจำ ชนิดข้ อมูล รหัสพนักงาน no กลุ่มอักขระ ชื่อพนักงาน name กลุ่มอักขระ ยอดขาย sum ตัวเลขจานวนเต็ม โบนัส bonus ตัวเลขทศนิยม โบนัสค่าน้อยที่สุด min_ bonus ตัวเลขทศนิยม 1.6 ลาดับขั้นตอนการทางาน (action) 1) พิมพ์หวข้อรายงาน ั 2) กาหนดโบนัสค่ามากที่สุด (min_bonus) = 100000 3) ป้ อนข้อมูลรหัสพนักงาน (no) 4) ตรวจสอบค่าของ no ถ้า ( no != 0 ) ให้วนซ้ าข้อ 4.1 -4.6 นอกจากนี้ให้ออกจากการวนซ้ าไปข้อ 5 4.1) ป้ อนข้อมูล ชื่อพนักงาน (name) ยอดขาย (sum) 4.2) คานวณโบนัส (bonus) ถ้า sum > 50,000 ให้คานวณ bonus = sum * 30/100 นอกเหนือจากนี้ ให้คานวณ bonus = sum * 10/100 4.3) พิมพ์ bonus 4.4) คานวณ min_bonus
  • 31. ถ้าbonus > min_bonus ประมวลสมการ min_bonus = bonus นอกเหนือจากนี้ ประมวลสมการ min_bonus = min_bonus 4.5) ป้ อนข้อมูลรหัสพนักงาน (no) 4.6 วนกลับไปข้อ 4 5) พิมพ์ค่า min_bonus 6) จบการทางาน 2. ลำดับกำรทำงำนด้ วยผังงำนโปรแกรม รูปผังงำนที่ 1.11 ผังงานกรณี ศึกษาระบบงานประมวลผลแบบวนซา เพื่อหาค่ าน้ อยที่สุด ้
  • 32. รายงาน “การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ” วิชา การเขียนโปรแกรมเพื่องานอาชีพ (รหัสวิชา ง30212) เสนอ ครู ทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม จัดทาโดย 1.นายนราธิ ป โรจนสุ วรพงค์ เลขที่ 1 2. นายจักริ นทร์ จันทร์แย้ม เลขที่ 4 3. นายปัญญา จันทยา เลขที่ 11 4. น.ส.นาฏอนงค์ พลอยงาม เลขที่ 21 5. น.ส.ไพลิน สื บเรื อง เลขที่ 22 6. น.ส.นารี รัตน์ ณรงค์วงศ์วฒนา ั เลขที่ 30 7. น.ส.เมธาวี เงินยวง เลขที่ 40 ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 6/2 โรงเรี ยนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรี นคริ นทร์ กาญจนบุรี
  • 33. คำนำ รายงานฉบับนี้เป็ นส่วนหนึ่งของวิชา การเขียนโปรแกรมเพื่องานอาชีพ (รหัสวิชา ง30212) ซึ่ งรายงานฉบับนี้ได้รวบรวมเรื่ อง “การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษา คอมพิวเตอร์ ” เพื่ออธิบายจุดเด่น ประสิ ทธิภาพการทางาน วิธีการทางาน รวมทั้งการ ทางานของสัญลักษณ์ต่างๆของภาษาคอมพิวเตอร์ เพื่อให้ผอ่านหรื อผูที่ศึกษาได้เข้าใจ ู้ ้ ถึงจุดเด่น ประสิ ทธิภาพการทางาน วิธีการทางาน รวมทั้งการทางานของสัญลักษณ์ต่างๆ ของภาษา คอมพิวเตอร์ มากยิ่งขึ้น ทั้งนี้หากรายงานฉบับนี้มีขอผิดพลาดประการใดทางคณะผูจดทาต้องขออภัย ้ ้ั ไว้ ณ ที่น้ ีดวย ้ คณะผูจดทา ้ั