SlideShare a Scribd company logo
ใบความรู้เรื่อง ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์
1. ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์(Computer Programming
Language) คือ ชุดคำาสั่งที่นักเขียนโปรแกรมหรือโปรแกรมเมอร์
(Programmer) เขียนโปรแกรมซอร์สโค้ด (Source Code) ที่ถูกต้อง
ตามหลักไวยากรณ์ของภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เพื่อให้สามารถติดต่อ
สื่อสาร ควบคุมการรับส่งข้อมูล และสั่งให้คอมพิวเตอร์ทำางานตามที่นัก
เขียนโปรแกรมต้องการได้
นักเขียนโปรแกรมต้องมีความรู้และต้องศึกษาโครงสร้างภายใน
คอมพิวเตอร์ทางด้านฮาร์ดแวร์ อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ต่างๆ รวมทั้งคำาสั่งที่
ใช้ในการควบคุมและต้องมีความเข้าใจวิธีการใช้คำาสั่งในการควบคุม สั่ง
งานอุปกรณ์เหล่านั้นด้วย ซึ่งในการเขียนโปรแกรมควบคุมการทำางานของ
คอมพิวเตอร์จำาเป็นต้องเรียนรู้ภาษาคอมพิวเตอร์เพื่อใช้ในการติดต่อ
สื่อสารกับกลไกทางด้านฮาร์ดแวร์ของระบบคอมพิวเตอร์ต่างๆให้ทำางาน
ร่วมกันได้อย่างประสานสอดคล้องกันตั้งแต่ภาษาระดับตำ่าที่เรียกว่า ภาษา
เครื่อง(Machine Language) ซึ่งใช้รหัสเลขฐานสองในการเขียนคำาสั่ง
ไปจนถึงภาษาระดับสูง (High-Level Language) ที่คล้ายคลึงกับภาษา
และวิธีการคิดของมนุษย์พร้อมยังมีเครื่องมือช่วยอำานวยความสะดวกใน
การเขียนโปรแกรมและแปลคำาสั่งไปเป็นภาษาเครื่องได้ง่ายขึ้น
2. ประเภทของภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ในปัจจุบันได้มีการพัฒนาภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ มากมาย
หลายภาษา และให้เหมาะกับการใช้งานประเภทต่างๆ โดยแบ่งระดับของ
ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ออกเป็น 5 ยุคคือ
ยุคที่ 1 ภาษาเครื่อง (Machine Language)
ภาษาเครื่อง เป็นภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ระดับตำ่าที่สุดซึ่ง
คอมพิวเตอร์เข้าใจได้ทันทีโดยไม่ต้องผ่านตัวแปลภาษาเพราะเขียนคำาสั่ง
และแทนข้อมูลด้วยเลขฐานสอง(Binary Code) ทั้งหมด ซึ่งเป็นการเขียน
คำาสั่งด้วยเลข 0 หรือ 1 ดังตัวอย่างคำาสั่งภาษาเครื่อง ดังนี้
คำาสั่งภาษาเครื่อง (Machine
Code)
ความหมาย
0010 0000 โหลดข้อมูลจากหน่วยความ
จำา
0100 0000 ดำาเนินการบวกข้อมูล
0011 0000 เก็บข้อมูลลงในหน่วยความ
จำา
ก่อนปี ค.ศ. 1952 มีการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้วยภาษา
เครื่องเพียงภาษาเดียวเท่านั้นที่ใช้ติดต่อกับคอมพิวเตอร์โดยตรง และ
คอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องจะมีภาษาเครื่องแตกต่างกันขึ้นอยู่กับชนิดของ
เครื่องคอมพิวเตอร์และหน่วยประมวลผลกลาง (Central Processor
Unit: CPU) โดยมีรูปแบบคำาสั่งเฉพาะเครื่อง ดังนั้นนักเขียนโปรแกรมจึง
ไม่นิยมที่จะเขียนโปรแกรมด้วยภาษาเครื่อง เพราะทำาการแก้ไขและเขียน
โปรแกรมได้ยาก ทำาให้เกิดยุ่งยากในการจดจำาและเขียนคำาสั่งต้องใช้เวลา
มากในการเขียนโปรแกรมรวมทั้งการหาข้อผิดพลาดจากการทำางานของ
โปรแกรม และโปรแกรมที่เขียนขึ้นทำางานเฉพาะคอมพิวเตอร์ที่มีฮาร์ดแวร์
เดียวกันเท่านั้น (Machine Dependent)
ข้อดีของภาษาเครื่อง คือสามารถเขียนโปรแกรมควบคุมการ
ทำางานคอมพิวเตอร์ได้โดยตรงและสั่งงานให้คอมพิวเตอร์ทำางานได้อย่าง
รวดเร็ว
ยุคที่ 2 ภาษาแอสเซมบลี (Assembly Language)
ภาษาแอสเซมบลี จัดอยู่ในภาษาระดับตำ่าและเป็นภาษาที่พัฒนา
ต่อมาจากภาษาเครื่องในปี ค.ศ. 1952 ภาษาแอสเซมบลีมีความใกล้
เคียงกับภาษาเครื่องมาก คือ 1 คำาสั่งของภาษาแอสเซมบลีจะเท่ากับ 1 คำา
สั่งของภาษาเครื่อง โดยที่ภาษาแอสเซมบลีจะเขียนคำาสั่งเป็นตัวอักษร
ภาษาอังกฤษเพื่อใช้แทนคำาสั่งภาษาเครื่อง ทำาให้นักเขียนโปรแกรม
สามารถเขียนโปรแกรมได้ง่ายขึ้น โดยการจดจำารหัสคำาสั่งสั้นๆ ที่จำาได้
ง่าย ซึ่งเรียกว่า นิวมอนิกโค้ด (Mnemonic code) เช่น
คำาสั่งนิวมอนิกโค้ด
(Mnemonic code)
คำาสั่งภาษา
เครื่อง
ความหมาย
LOAD 0010 0000 โหลดข้อมูลจากหน่วยความจำา
ADD 0100 0000 ดำาเนินการบวกข้อมูล
SUB 1101 0000 ดำาเนินการลบข้อมูล
MOV 1001 0000 ย้ายข้อมูลเข้าออกจากหน่วยความ
จำา
STROE 0011 0000 เก็บข้อมูลไว้ในหน่วยความจำา
ตัวอย่างของคำาสั่งภาษาแอสเซมบลี ดังตัวอย่าง เช่น
CALL MySub ;transfer of control
MOV AX, 5 ;data transfer
ADD AX, 20 ;arithmetic
JZ Next1 ;logical (jump if zero)
IN A1, 20 ;input/output (read from hardware port)
RET ;return
เมื่อนักเขียนโปรแกรมเขียนโปรแกรมด้วยภาษาแอสเซมบลีแล้ว
ต้องใช้ตัวแปลภาษาที่เรียกว่า แอสเซมเบลอ (Assembler) เพื่อแปล
ภาษาแอสเซมบลีให้เป็นภาษาเครื่องจึงจะสามารถสั่งงานคอมพิวเตอร์ให้
ทำางานได้
สรุปคำาสั่งที่เขียนด้วยภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ในยุคที่ 1 และ
ที่ 2 จะต้องใช้เทคนิคการเขียนโปรแกรมสูงเพราะมีความยืดหยุ่นในการ
เขียนน้อยมากและมีความยากในการเขียนคำาสั่งสำาหรับผู้เขียนโปรแกรม
แต่สามารถควบคุมและเข้าถึงการทำางานของเครื่องคอมพิวเตอร์ได้
โดยตรงและมีความรวดเร็วกว่าการใช้ภาษาระดับอื่นๆ
ยุคที่ 3 ภาษาระดับสูง (High-level Language)
ภาษาระดับสูงถือว่าเป็นภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ในยุคที่สาม
(Third-generation language) ที่มีการใช้กันอย่างแพร่หลายในปี
ค.ศ. 1960 โดยมีโครงสร้างภาษาและชุดคำาสั่งเหมือนกับภาษาอังกฤษ
รวมทั้งสามารถใช้นิพจน์ทางคณิตศาสตร์ในการคำานวณได้ด้วย ทำาให้ผู้
เขียนโปรแกรมสะดวกในการเขียนคำาสั่งและแสดงผลลัพธ์ได้ตามต้องการ
ลดความยุ่งยากในการเขียนโปรแกรมลงได้มาก ทั้งยังทำาให้เกิดการใช้
งานคอมพิวเตอร์เพื่อการประมวลผลเพิ่มขึ้น เช่นการควบคุมและสั่งงาน
เครื่องคอมพิวเตอร์เมนเฟรม การแก้ปัญหาเฉพาะด้านทางด้าน
อุตสาหกรรม เช่นการควบคุมเครื่องจักรกลต่างๆ เป็นต้น
การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาระดับสูงจะต้องใช้ตัวแปลภาษา ที่
เรียกว่า คอมไพเลอร์(Compiler) เพื่อแปลภาษาระดับสูงโดยการตรวจ
สอบไวยากรณ์ของภาษาระดับสูงไปเป็นภาษาเครื่องเพื่อสั่งให้เครื่อง
คอมพิวเตอร์ทำางานต่อไป โดยคอมไพเลอร์ของภาษาระดับสูงแต่ละภาษา
จะแปลเฉพาะภาษาของตนเองและทำางานได้เฉพาะเครื่องคอมพิวเตอร์
ชนิดเดียวกันเท่านั้น เช่น คอมไพเลอร์ของภาษา COBOL บนเครื่อง
ไมโครคอมพิวเตอร์ จะแปลภาษาเฉพาะคำาสั่งของภาษา COBOL และจะ
ทำางานได้บนเครื่องคอมพิวเตอร์ที่เหมือนกันเท่านั้น ถ้าต้องการนำาไปใช้
กับเครื่องคอมพิวเตอร์แบบอื่นๆ เช่น เมนเฟรม จะต้องใช้คอมไพเลอร์ของ
ภาษา COBOL แบบใหม่
ตัวอย่างของภาษาคอมพิวเตอร์ระดับสูงได้แก่ ภาษา BASIC
ภาษา COBOL ภาษา FORTRAN และ ภาษา C ที่ได้รับความนิยมมาก
เช่นกัน สามารถเขียนโปรแกรมแก้ปัญหาเฉพาะด้าน เช่น การควบคุมหุ่น
ยนต์ การสร้างภาพกราฟิก ได้เป็นอย่างดีเพราะมีความยืดหยุ่นและเหมาะ
กับการใช้งานทั่วๆ ไปได้
สรุปภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ในยุคที่ 3 มีการเขียนโปรแกรม
ที่ง่ายกว่าในยุคที่ 2 สามารถทำางานได้บนเครื่องคอมพิวเตอร์หลาย
ระดับ(Machine Independent) โดยต้องใช้ควบคู่กับตัวแปลภาษา
(Compiler or Interpreter) สำาหรับเครื่องนั้นๆ และมีความยืดหยุ่นใน
การแก้ปัญหาได้มากกว่าภาษาระดับตำ่า
ยุคที่4 ภาษาระดับสูงมาก (Very high-level Language)
ภาษาระดับสูงมากเป็นภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ยุคที่สี่
(Fourth-generation language) ซึ่งเป็นภาษาที่ใช้ในการเขียน
โปรแกรมด้วยคำาสั่งสั้นๆและง่ายกว่าภาษาในยุคก่อนๆ มีการทำางานแบบ
ไม่จำาเป็นต้องบอกลำาดับของขั้นตอนการทำางาน (Nonprocedural
language) เพียงนักเขียนโปรแกรมกำาหนดว่าต้องการให้โปรแกรมทำา
อะไรเท่านั้นโดยไม่ต้องทราบว่าทำาได้อย่างไร ทำาให้เขียนโปรแกรมได้
ง่ายและรวดเร็ว กว่าภาษาระดับสูงในยุคที่ 3 ที่มีการเขียนโปรแกรมแบบ
บอกขั้นตอนการทำางาน (Procedural language) ภาษาระดับสูงมาก
ทำางานเหมือนกับภาษาพูดว่าต้องการอะไร และเขียนเหมือนภาษาอังกฤษ
ดังตัวอย่าง เช่น
TABLE FILE SALES
SUM UNITS BY MONTH BY CUSTOMER BY PRODUCT
ON CUSTOMMER SUBTOTAL PAGE BREAK
END
ข้อดีของภาษาคอมพิวเตอร์ในยุคที่ 4
• การเขียนโปรแกรมจะสั้นและง่าย เพราะเน้นที่ผลลัพธ์ของ
งานว่าต้องการอะไร โดยไม่สนใจว่าจะทำาได้อย่าง ไร
• การเขียนคำาสั่ง สามารถทำาได้ง่ายและแก้ไข เปลี่ยนแปลง
โปรแกรมได้สะดวก ทำาให้พัฒนาโปรแกรมได้รวดเร็วขึ้น
• ผู้เขียนโปรแกรมสามารถเขียนโปรแกรมได้เร็ว โดยไม่ต้อง
เสียเวลาอบรม หรือมีความรู้ด้านการเขียนโปรแกรมหรือไม่ เพราะชุดคำา
สั่งเหมือนภาษาพูด
• ผู้เขียนโปรแกรมไม่จำาเป็นต้องทราบถึงฮาร์ดแวร์ ของเครื่อง
และโครงสร้างคำาสั่งของภาษาโปรแกรม
ตัวอย่างภาษาคอมพิวเตอร์ในยุคที่ 4 ประกอบด้วย Report
Generators, Query Language, Application Generators และ
Interactive Database Management System Programs
ภาษาที่ใช้สำาหรับเรียกดูข้อมูลจากฐานข้อมูลได้เรียกว่า ภาษา
สอบถาม (Query languages) จัดเป็นภาษาในยุคที่ 4 ซึ่งสามารถใช้ค้น
คืนสารสนเทศของฐานข้อมูล มาตรฐานของภาษาชนิดนี้ขึ้นอยู่กับฐาน
ข้อมูลที่แตกต่างกัน ที่นิยมใช้กันมากที่สุดคือ SQL(Structured Query
Language) และนอกจาก นี้ยังมีภาษา Query By Example หรือ QBE
ที่ได้รับความนิยมในการใช้งาน
Report Generator หรือ Report Writer คือโปรแกรมสำาหรับ
ผู้ใช้ (End user) ที่ใช้สำาหรับสร้างรายงาน รายงานอาจแสดงที่
เครื่องพิมพ์หรือจอภาพก็ได้อาจจะแสดงทั้งหมดหรือบางส่วนของฐาน
ข้อมูลก็ได้ ท่านอาจจะกำาหนดรูปแบบบรรทัดคอลัมน์ส่วนหัวรายงาน และ
อื่นๆได้
Application Generators คือเครื่องมือของผู้เขียนโปรแกรมที่
ใช้ในการสร้างโปรแกรมประยุกต์ จากการอภิปรายปัญหาได้เร็วกว่าการ
เขียนโปรแกรมทั่วๆไป
ยุคที่5 ภาษาธรรมชาติ (Natural Language)
ภาษาธรรมชาติจัดเป็นภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ยุคที่ห้า
(Fifth generation language) คือการเขียนคำาสั่ง หรือสั่งงาน
คอมพิวเตอร์ทำางานโดยการใช้ภาษาธรรมชาติต่างๆ เช่น ภาพ หรือ เสียง
โดยไม่สนใจรูปแบบไวยากรณ์หรือโครงสร้างของภาษามากนัก ซึ่ง
คอมพิวเตอร์จะพยายามคิดวิเคราะห์ และแปลความหมายโดยอาศัยการ
เรียนรู้ด้วยตนเองและระบบองค์ความรู้ (Knowledge Base System) มา
ช่วยแปลความหมายของคำาสั่งต่างๆและตอบสนองต่อผู้ใช้งาน
ตัวอย่างภาษาคอมพิวเตอร์ในยุคที่ 5 เช่น
SUM SHIPMENTS BY STATE BY DATE
ข้อดีของภาษาคอมพิวเตอร์ในยุคที่ 5 คือผู้เขียนโปรแกรม
สามารถเขียนโปรแกรมได้เร็ว โดยไม่ต้องมีความรู้ด้านการเขียนโปรแกรม
แต่คอมพิวเตอร์ที่ใช้โปรแกรมต้องมีระบบรับคำาสั่ง และประมวลผลแบบ
อัจฉริยะ สามารถตอบสนองและทำางานได้หลายแบบ
3. ตัวอย่างภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ใช้เขียนโปรแกรมเพื่อแก้ปัญหาต่างๆ
มีมากมายหลายภาษา ซึ่งแต่ละภาษาโปรแกรมมีข้อดีและเหมาะกับใช้งาน
ต่างๆ กัน ในการเลือกใช้ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์มาใช้งาน ควร
พิจารณาสิ่งต่างๆ ดังนี้คือ
1. เลือกภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่เหมาะกับความชำานาญ
ของบุคลากร หรือนักเขียนโปรแกรม
2. คำานึงถึงเวลาและค่าใช้จ่ายในการพัฒนาและเขียนโปรแกรม
3. เลือกภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่นักเขียนโปรแกรมเข้าใจ
ง่าย มีการประยุกต์ใช้งานได้อย่างแพร่หลาย และสามารถพัฒนาต่อไปใน
อนาคตได้
4. เลือกภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ให้เหมาะกับฮาร์ดแวร์และ
สามารถทำางานร่วมกันได้ระหว่างอุปกรณ์คอมพิวเตอร์
ตัวอย่างภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่นำามาใช้ในงานด้านต่างๆ
สามารถสรุปได้ดังตาราง ต่อไปนี้
ภาษาคอมพิวเตอร์ การใช้งานหลัก
• FORTRAN (FORmula
TRANslator)
ใช้ในงานคำาทางด้านวิทยาศาสตร์
วิศวกรรมศาสตร์ หรืองานวิจัย การ
แก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ หรือการ
วิเคราะห์ทางเศรษฐศาสตร์ได้
• ALGOL (ALGOrithmic
Language)
เริ่มต้นได้รับการออกแบบให้เป็น
ภาษาสำาหรับงานวิทยาศาสตร์และต่อ
มามีการพัฒนาต่อเป็นภาษา PL/I
และ Pascal
• COBOL
(Common Business
Oriented Language)
ใช้ในการประมวลผลแฟ้มข้อมูล
ขนาดใหญ่ การคำานวณทางด้าน
ธุรกิจบนเครื่องขนาดใหญ่
PL/I (Programming
Language One)
ถูกออกแบบมาใช้กับงานทั้งทางด้าน
วิทยาศาสตร์ และธุรกิจ
• BASIC
(Beginner’s All-purpose
Symbolic Instruction
Code)
สำาหรับผู้เริ่มศึกษาการเขียน
โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ประยุกต์ใช้
งานทางด้านวิทยาศาสตร์และธุรกิจ
• Pascal (ชื่อของ Blaise
Pascal)
นิยมใช้กันอย่างแพร่หลายทุกด้าน
• C และ C++ สำาหรับนักเขียนโปรแกรม ผู้ผลิต
ซอฟต์แวร์ และโปรแกรมประยุกต์
ต่างๆ
• LISP (LISt Processing) ออกแบบโดยบริษัท IBM ในปี ค.ศ.
1968 เป็นภาษาที่
โต้ตอบกับผู้ใช้ทันที เหมาะสำาหรับ
จัดการกับกลุ่มของข้อมูลที่สัมพันธ์
กันในรูปแบบตาราง
• LOGO นิยมใช้ในโรงเรียน เพื่อสอนทักษะ
การแก้ปัญหาให้กับ นักเรียน
• PROLOG (PROgramming
LOGic)
นิยมใช้มากในงานด้าน ปัญญา
ประดิษฐ์จัดเป็นภาษาธรรมชาติ
ภาษาหนึ่ง
• RPG (Report Program
Generator)
ถูกออกแบบให้ใช้กับงานทางธุรกิจ
จะมีคุณสมบัติในการสร้างโปรแกรม
สำาหรับพิมพ์รายงานที่ยืดหยุ่นมาก
ตัวอย่างภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ปัจจุบันนี้มีภาษาคอมพิวเตอร์
ให้เลือกใช้มากมายหลายภาษา แต่ละภาษาก็ถูกออกแบบ มาให้ใช้กับงาน
ด้านต่าง ๆ กัน ตัวอย่างเช่น บางภาษาก็ออกแบบมาเพื่อแกปัญหาทาง
ธุรกิจ บางภาษาใช้ในการคำานวณที่ซับซ้อน ซึ่งจะกล่าวโดยสรุปถึงการใช้
งานของแต่ละภาษาดังนี้
1. ภาษาฟอร์แทรน (FORTRAN : FORmula
TRANslator)
ภาษาฟอร์แทรนเป็นภาษาระดับสูงที่ได้รับการพัฒนาโดยบริษัท
IBM มาตั้งแต่ปี ค.ศ. 1957 ย่อมาจากคำาว่า FORmula TRANslator
ซึ่งถือว่าเป็นการกำาเนิดของภาษาระดับสูงภาษาแรก นิยมใช้สำาหรับงานที่
มีการคำานวณมาก ๆ เช่น งานทางด้านคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และ
วิศวกรรมศาสตร์ ภาษา FORTRAN สามารถใช้ในการแก้ปัญหาสมการ
ทางคณิตสาสตร์ที่ซับซ้อนได้ดี หรือการวิเคราะห์ทางเศรษฐศาสตร์
ตัวอย่างการเขียนโปรแกรมด้วยภาษา FORTRAN
FORTRAN PROGRAM
SUM = 0
COUNTER = 0
WRITE ( 6 , 60 )
READ ( 5 , 40 ) NUMBER
1 IF ( NUMBER) .EQ. 999 ) GOTO 2
SUM = SUM + NUMBER
COUNTER = COUNTER + 1
WRITE ( 6 , 70 )
READ ( 5 , 70 ) NUMBER
GOTO 1
2 AVERAGE = SUM / COUNTER
WRITE ( 6 , 80 ) AVERAGE
STOP
END
2. ภาษา ALGOL
ภาษา ALGOL หรือ Algorithmic Language คิดค้นโดยกลุ่ม
นักคอมพิวเตอร์ ที่มาประชุมวิชาการ ที่ซูริค ในปี 1958 และออกเผยแพร่
ปี 1960 มีคำาสั่งกำาหนดโครงสร้าง และชนิดข้อมูลอย่างสมบูรณ์ และมี
การนำาไปเป็นพื้นฐานในการออกแบบภาษารุ่นที่ 3 ที่นิยมกันอย่างมากใน
ปัจจุบัน เช่น Pascal โดยภาษา ALGOL ที่เป็นมาตรฐาน ได้แก่ ALGOL-
60 และ ALGOL-68
3. ภาษาโคบอล (COBOL)
ภาษาโคบอลเป็นภาษาระดับสูงที่ออกแบบมาตั้งแต่ปี ค.ศ. 1960
โดยสถาบันมาตรฐานแห่งสหรัฐอเมริกากับบริษัทผู้ผลิตคอมพิวเตอร์หลาย
แห่ง และได้มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องจากมาตรฐานของภาษาโคบอลในปี
1968 กำาหนดโดย The American National Standard Institute
และในปี 1974 ได้ออกมาตรฐานที่เรียกว่า ANSI - COBOL ต่อมาเป็น
COBOL85 ภาษาโคบอลเป็นภาษาที่ออกแบบให้ใช้กับงานทางธุรกิจได้
เป็นอย่างดี สำาหรับการประมวลผลแฟ้มข้อมูลขนาดใหญ่ การคำานวณทาง
ธุรกิจเช่นการจัดเก็บ เรียกใช้และประมวลผลทางด้านบัญชี ตลอดจน
ทำางานด้านการควบคุมสินค้าคงคลัง การรับและจ่ายเงิน เป็นต้น
คำาสั่งของภาษา COBOL จะคล้ายกับภาษาอังกฤษทำาให้สามารถ
อ่านและเขียนโปรแกรม ได้ไม่ยากนัก ในยุคแรก ๆ ภาษา COBOL จะได้
รับความนิยมบนเครื่องระดับเมนเฟรม แต่ปัจจุบันนี้จะ มีตัวแปลภาษา
COBOL ที่ใช้บนเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ด้วย รวมทั้งมีภาษา COBOL ที่
ได้รับการ ออกแบบตามแนวทางเชิงวัตถุ (Object Oriented) เรียกว่า
Visual COBOL ซึ่งจะช่วยให้การโปรแกรมสามารถทำาได้ง่ายขึ้น และ
สามารถนำาโปรแกรมที่เขียนไว้มาใช้ในการพัฒนางานอื่น ๆ อีก
ตัวอย่างการเขียนโปรแกรมด้วยภาษา COBOL
IF SALES-AMOUNT IS GREATER THAN SALES-QUOTA
COMPUTE COMMISSION = MAX-RATE * SALES -
AMOUNT
ELSE
COMPUTE COMMISSION = MIN-RATE * SALES -
AMOUNT
4. ภาษาเบสิก (BASIC)
ภาษาเบสิก (Basic ย่อมาจาก Beginners All - purpose
Symbolic Instruction Code) เป็นภาษาที่ง่ายต่อการเรียนรู้ พัฒนา
โดย Dartmouth Collage แนะนำาโดย John Kemeny และ Thomas
Krutz ในปี 1965 เป็นภาษาที่ใช้ง่าย และติดตั้งอยู่บนเครื่องไมโคร
คอมพิวเตอร์ส่วนมาก ใช้สำาหรับ ผู้เริ่มต้นศึกษาการเขียนโปรแกรม และ
ได้มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องจากภาษา BASIC, QBASIC ปัจจุบันเป็น
Visual BASIC เป็นที่นิยมใช้กันอย่างแพร่หลาย สามารถประยุกต์ใช้งาน
ได้ทั้งทางวิทยาศาสตร์และทางธุรกิจ
ตัวอย่างการเขียนโปรแกรมด้วยภาษา BASIC
CLS
PRINT “PLEASE ENTER A NUMBER”
INPUT NUMBER
DO WHILE NUMBER <> 999
SUM = SUM + NUMBER
COUNTER = COUNTER + 1
PRINT “PLEASE ENTER THE NEXT NUMBER”
INPUT NUMBER
LOOP
AVERAGE = SUM/COUNTER
PRINT “THE AVERAGE OF THE NUMBER IS”;
AVERAGE
END
5. ภาษา PL/1
ภาษา PL/I เป็นภาษาที่พัฒนาขึ้นโดยทีมงานของบริษัทไอบีเอ็ม
ที่ตั้งใจจะรวมความสามารถของภาษา FORTRAN, ALGOL, COBOL
เข้าด้วยกัน ดังนั้นจึงอาจกล่าวได้ว่า ภาษานี้เป็นภาษาแรกที่ทำางานได้
กว้างขวางจริงๆ ทั้งทางด้านวิทยาศาสตร์ วิศวกรรม และธุรกิจ แต่ขณะ
เดียวกัน ก็ทำาให้ตัวแปลภาษาใหญ่มาก จนไม่สามารถนำาไปใช้กับเครื่อง
ขนาดเล็กได้ ภาษานี้กำาหนดรูปแบบ/ประเภทข้อมูลได้หลายแบบ ทำางาน
หลายงานพร้อมกันได้ (Multitasking) ทำางานกับอุปกรณ์รับส่งข้อมูล ที่
ซับซ้อนได้ และประมวลรายการได้ (List Processing) แต่ภาษานี้ไม่เป็น
ที่ยอมรับมากนัก
6. ภาษาปาสคาล (Pascal)
ภาษาปาสคาลเป็นภาษาที่ได้รับการพัฒนาโดยนิคลอส เวิร์ธ
(Niklaus Wirth) แห่งสถาบันเทคโนโลยีของรัฐในเมือง ซูริค (Zurick)
ประเทศสวิสเซอร์แลนด์ เมื่อปี ค.ศ. 1968 ชื่อของภาษานี้ตั้งชื่อเพื่อเป็น
เกียรติแก่นักคณิตศาสตร์ชาวฝรั่งเศสคนสำาคัญที่ชื่อว่า Blaise Pascal
ภาษานี้ออกแบบมาเพื่อให้ง่ายต่อการเขียนโปรแกรม ง่ายต่อการเรียนรู้
แตกต่างกับภาษาเบสิกก็คือ ภาษาปาสคาลเป็นภาษาโครงสร้าง
(Structure Programming) นิยมใช้เป็นภาษาสำาหรับการเรียนการสอน
และการเขียนโปรแกรมประยุกต์ต่าง ๆ ภาษาปาสคาลมีตัวแปลภาษาทั้งที่
เป็นแบบ Interpreter และ Compiler โดยจะมีโปรแกรม เทอร์โบปาส
คาล (Turbo Pascal) ที่ได้รับความนิยมอย่างสูงทั้งในวงการศึกษาและ
ธุรกิจ เนื่องจากได้รับ การปรับปรุงให้ตัดข้อเสียของภาษาปาสคลารุ่นแรก
ๆ ออกไป
ตัวอย่างการเขียนโปรแกรมด้วยภาษา Pascal
PROGRAM AVERAGE OF NUMBER:
VAR
COUNTER , NUMBER , SUM : INTEGER ;
AVERAGE : REAL ;
BEGIN
SUM := 0 ;
COUNTER := 0;
WRITELN (‘PLEASE ENTER A NUMBER’);
READLN ( NUMBER);
WHILE NUMBER <> 999 DO
BEGIN (* WHILE LOOP *)
SUM := SUM + COUNTER;
WRITELN (‘PLEASE ENTER THE NEXT
NUMBER’);
READ ( NUMBER);
END ; (* WHILE LOOP*)
AVERAGE := SUM / COUNTER;
WRITELN (‘THE AVERAGE OF THE NUMBERS IS’
, AVERAGE : 2 );
END.
7. ภาษา Modula-2
ภาษา Modula-2 เป็นภาษาที่นิคลอส เวิร์ธ ปรับปรุงจากภาษา
ปาสกาล โดยพยายามให้มีลักษณะที่ดีของภาษา สำาหรับเขียนโปรแกรม
มากขึ้น เช่น การทำาให้มีการซ่อนสารสนเทศ (Information Hiding)
หลักการนามธรรม (Abstraction) การกำาหนดชนิดข้อมูล ซึ่งสามารถนำา
ไปใช้กับการดำาเนินงานแบบ Recursion และ Concurrency ได้ด้วย
ปัจจุบันภาษานี้ไม่ได้รับความนิยมเท่าที่ควร
8. ภาษา C และ C++
ภาษา C ถูกพัฒนาขึ้นโดย Dennis Ritchie ในปี ค.ศ. 1972
ที่ห้องปฏิบัติการเบลล ของบริษัท AT&T เป็นภาษาที่ใช้เขียนระบบปฏิบัติ
การ UNIX ซึ่งเป็นระบบปฏิบัติการที่ได้รับ ความนิยมคู่กับภาษาซี และมี
การใช้งานอยู่ในเครื่องทุกระดับ
ภาษา C เป็นภาษาระดับสูงที่ได้รับความนิยมในหมู่นักเขียน
โปรแกรมเป็นอย่างมาก เนื่องจากภาษา C เป็นภาษาที่รวมเอาข้อดีของ
ภาษาระดับสูงในเรื่องของความยืดหยุ่น และไวยากรณ์ ที่ง่ายต่อการ
เข้าใจกับข้อดีของภาษาแอสเซมบลีในเรื่องของประสิทธิภาพและความเร็ว
ในการทำางาน ทำาให้โปรแกรมที่พัฒนาด้วย ภาษาซีทำางานได้เร็วกว่า
โปรแกรมที่เขียนด้วยภาษาระดับสูงอื่น ๆ ในขณะที่การพัฒนาและแก้ไข
โปรแกรมสามารถทำาได้ง่ายเช่นเดียวกับภาษาระดับสูงทั่ว ๆ ไป นอกจากนี้
ภาษา C ยังได้มีการพัฒนาก้าวหน้าขึ้นไปอีก โดยทำาการประยุกต์แนว
ความคิดของการ โปรแกรมเชิงวัตถุเข้ามาใช้ในภาษา ทำาให้เกิดเป็นภาษา
ใหม่คือ C++ (++ ในความหมายของภาษาซีคือ การเพิ่มขึ้นอีกหนึ่ง
นั่นเอง) ซึ่งเป็นภาษาที่ได้รับความนิยมใช้ในงานพัฒนาโปรแกรมอย่าง
มาก
ตัวอย่างการเขียนโปรแกรมด้วยภาษา C และ C++
/* http://www.thaiall.com/tc */
#include <stdio.h>
#include <conio.h>
void main(){
int i, j;
printf("Put integer :");
scanf ("%d", &i);
printf("n========n");
j = 0;
while (i > j){
printf("%dn", ++j);
}
getch();
}
9. ภาษา Ada
ภาษา Ada พัฒนาขึ้นตามสัญญาว่าจ้างของกระทรวงกลาโหม
สหรัฐอเมริกา ที่ต้องการได้ภาษาคอมพิวเตอร์ ที่สามารถใช้แทนภาษาอื่นๆ
ที่หน่วยงานต่างๆ ภายในกระทรวงกำาลังใช้อยู่ในขณะนั้นได้ ภาษานี้มี
โครงสร้างคล้ายภาษาปาสกาล แต่ทำางานได้มากกว่า เช่น ทำางานหลาย
งานได้พร้อมกัน (Mustitasking) จัดการกับการขัดจังหวะได้
(Interrupt handling) จัดจังหวะการทำางานให้เข้ากัน (Intertask
Synchronization) เป็นต้น ซึ่งนับว่าเป็นภาษาที่มากด้วย โครงสร้างแบบ
ต่างๆ จึงมีขนาดใหญ่ด้วย
10. ภาษา Lisp
ภาษา Lisp (LISt Processing) เป็นภาษาที่นับได้ว่าเก่าแก่พอๆ
กับภาษาฟอร์แทรน พัฒนาในปี 1950 โดย จอห์น แมคคาร์ธี (John
McCarthy) สถาบันเทคโนโลยีแห่งแมสสาชูเสตต์ เหมาะสมกับงาน
ประมวลสัญลักษณ์ หรือรายการต่างๆ ในปัญหาประเภท Combinatorial
ซึ่งใช้ในงานปัญญาประดิษฐ์ เช่น การพิสูจน์ทฤษฏี การค้นหาข้อมูล ที่จัด
โครงสร้างแบบต้นไม้ เป็นต้น ภาษานี้มีโปรแกรมย่อย ในรูปของฟังก์ชัน ที่
มีลักษณะเป็นเอกเทศ สามารถนำามาทำาเป็นคลังฟังก์ชันขนาดใหญ่ได้ และ
เป็นการเน้นหลักการ ด้านการนำากลับมาใช้ใหม่ได้เป็นอย่างดี ปัจจุบันมี
การนำามาใช้ในการสร้าง ระบบผู้เชี่ยวชาญกันมาก เพราะลักษณะของ
ภาษา เอื้ออำานวยต่อการใช้ระบุความจริง กฎเกณฑ์ และการอนุมานต่างๆ
อันจำาเป็นต่องานระบบอิงฐานความรู้
11. ภาษา Prolog
ภาษา Prolog (PROgramming in LOGic) เป็นอีกภาษาที่
นิยมใช้ในการสร้างระบบผู้เชี่ยวชาญ (Artificial Intelligence) เพราะ
เหมาะสำาหรับใช้แสดงความรู้ (Knowledge Representation) โดยนำา
ความรู้มาเขียนในรูปของ อนุประโยค (Clause) ซึ่งเป็นภาษาคู่แข่งกับ
ภาษา Lisp พัฒนาโดย Colmerauer แห่ง University of Marseilles
ในปี 1970 จากนั้น Clocksin กับ Mellish จาก University of
Edinburgh ได้นำามาพัฒนาเพื่อใช้งานต่อ
12. ภาษา APL
ภาษา APL(A Programming Language) เป็นภาษาระดับสูงที่
คิดสร้างโดย เค. อี. ไอเออร์สัน (Ken Iverson) แห่งบริษัทไอบีเอ็ม เมื่อปี
1960 มีลักษณะแตกต่างจาก ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาอื่นอยู่มาก เช่น ใช้
สัญลักษณ์แทนการทำางาน หรือการดำาเนินการทางเลขคณิต และอักขระ
ทำาให้โปรแกรมมีขนาดกระทัดรัด จึงเป็นภาษาที่นิยมใช้แก้ปัญหา
คณิตศาสตร์
13. ภาษาโปรแกรมเชิงวัตถุ (Object-Oriented
Programming Language)
ภาษาโปรแกรมเชิงวัตถุ (Object-Oriented Programming)
หรือ OOP เหมาะกับการเขียนโปรแกรมประยุกต์ขนาดใหญ่ทำาให้งาน
เขียนโปรแกรมเป็นสิ่งที่ง่ายและสามารถเขียนได้อย่างรวดเร็ว เพราะจะสิ่ง
ต้องการเขียนโปรแกรมเป็นคลาสของวัตถุ (Class) ซึ่งประกอบด้วย
คุณสมบัติ (Property) และวิธีการทำางาน (Method) สามารถทำาการ
แก้ไข หรือเพิ่มเติมคำาสั่งใน Method ได้โดยไม่กระทบโปรแกรมส่วนอื่นๆ
ทั้งยังสามารถสืบทอดคุณสมบัติของ Class ได้อีกด้วย มีหน้าจอของการ
โต้ตอบ (dialog box) หรือไอคอน บนจอภาพ เป็นต้น ตัวอย่างของภาษา
OOP เช่น
- Smalltalk เป็นภาษา OOP ภาษาแรก ได้สร้างขึ้นในปี
1970 โดยนักคอมพิวเตอร์ชื่อ Alan kay ภาษานี้ใช้แป้นพิมพ์ในการ
ป้อนข้อมูลแต่การทำางานทั้งหมดใช้เมาส์
- C++ เป็นการพัฒนาจากภาษา C เพื่อให้เป็นภาษา OOP
ได้สร้างขึ้นโดย Bjarne Strousup การเขียนภาษานี้ใช้รหัสมาตรฐาน
ของภาษา C ภาษา C++ สามารถเขียนแบบธรรมดาและแบบ OOP
ภาษาคอมพิวเตอร์ที่อยู่ในตระกูล Visual เป็นภาษาที่พัฒนาต่อ
จาก OOP เป้าหมายของ Visual Programming ทำาให้โปรแกรมเมอร์
เขียนโปรแกรมได้ง่าย การทำางานจะเป็นกราฟฟิกส์ ทำาให้ผู้ใช้คิดเกี่ยวกับ
การแก้ปัญหาได้ง่าย การสร้างโปรแกรมใช้ Icon แทนการเขียนโปรแกรม
ประจำาโปรแกรมเมอรจะเชื่อมต่อระหว่าง Object โดยการวาดรูป การชี้
การคลิกบนไดอะแกรม การเขียนโปรแกรมแบบ Visual จะต้องเป็นระบบ
GUI ตัวอย่างของภาษาในกลุ่มนี้ที่นิยมคือ Visual Basic พัฒนาโดย
ไมโครซอฟต์ ในปี 1990 จัดเป็นภาษาในยุคที่ 4 ในกลุ่มของ OOP
14. ภาษา Visual Basic
ภาษา Visual Basic เป็นภาษาระดับสูงในยุคที่ 4 พัฒนาโดย
บริษัท Microsoft ในปี ค.ศ. 1987 แต่เริ่มได้รับความนิยมในปี
ค.ศ.1991 นับว่าเป็นภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาแรกที่มีเครื่องมือเป็นภาพ
กราฟฟิกคอยอำานวยสะดวกในการเขียนโปรแกรม และได้รับความนิยมใน
การพัฒนาโปรแกรมบน Windows เพราะมีหลักการเขียนโปรแกรมแบบ
Event – Driven ซึ่งเป็นการเขียนโปรแกรมเพื่อกำาหนดการทำางานให้กับ
Control ต่างๆที่สร้างขึ้นตามเหตุการณ์ (Event) ที่เกิดขึ้น เช่น การคลิก
เมาส์ของผู้ใช้ หรือการรับข้อมูลจากคีย์บอร์ด เป็นต้น
Private Sub Form_Load()
Dim i As Integer
For i = -5 To 5
If i < 0 Then
MsgBox i &" เป็นตัวเลขจำานวนเต็มลบ",
vbOKOnly + vbInformation, "Show"
Else
MsgBox i &" เป็นตัวเลขจำานวนเต็มบวก",
vbOKOnly + vbInformation, "Show"
End If
Next
End Sub
16. ภาษา Java
ภาษา Java เป็นภาษาระดับสูงในยุคที่ 4 ที่สนับสนุนการเขียน
โปรแกรมเชิงวัตถุ ซึ่งเป็นเทคนิคที่ใช้วัตถุ (Object) เป็นหลักในการ
พิจารณาสิ่งต่างๆที่สนใจ ดังนั้นโปรแกรมที่เขียนด้วยภาษา Java ซึ่ง
ประกอบด้วยกลุ่มของ Object ถูกจัดกลุ่มในรูปของ Class โดยที่แต่ละ
คลาสมีคุณสมบัติการถ่ายทอดลักษณะ (Inheritance) ภาษา Java ได้รับ
ความนิยมอย่างสูง เนื่องจากโปรแกรมที่เขียนด้วยภาษา Java สามารถ
ทำางานบนเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีสภาวะแวดล้อมต่างกันได้โดยไม่ขึ้นกับ
แพตฟอร์มใดๆ (Platform Independent) เป็นภาษาที่มีไวยากรณ์
เข้าใจง่าย ดังตัวอย่างต่อไปนี้
class TestJava
{
public static void main(String[] args)
{
System.out.println("Hello World!");
}
}
4. ตัวแปลภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ (Computer Language
Translator)
ตัวแปลภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เป็นโปรแกรมที่ใช้ในการแปล
ความหมายของคำาสั่งในภาษาคอมพิวเตอร์ชนิดต่างๆไปเป็นภาษาเครื่อง
ซึ่งเป็นภาษาที่คอมพิวเตอร์เข้าใจและทำางานตามคำาสั่งได้ โดยโปรแกรมที่
เขียนเป็นโปรแกรมต้นฉบับ หรือ ซอร์สโค้ด (Source code) ซึ่ง
โปรแกรมเมอร์เขียนคำาสั่งตามหลักการออกแบบโปรแกรมและจำาเป็นต้อง
ใช้ตัวแปลภาษาคอมพิวเตอร์เพื่อตรวจสอบไวยากรณ์ของภาษาว่าเขียน
ถูกต้องหรือไม่ และทดสอบผลลัพธ์ว่าเป็นอย่างไร ซึ่งภาษาคอมพิวเตอร์
ชนิดต่างๆจะมีตัวแปลภาษาของตนเองโดยเฉพาะ โปรแกรมที่แปลจาก
โปรแกรมต้นฉบับแล้วจะเรียกว่า ออบเจ็คโค้ด (Object code) ซึ่งเป็น
ภาษาเครื่องที่ประกอบด้วย รหัสคำาสั่งที่คอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจและนำา
ไปปฏิบัติได้ต่อไป
ตัวแปลภาษาคอมพิวเตอร์มีการใช้งานสำาหรับการแปลภาษา
คอมพิวเตอร์ชนิดต่างๆ แบ่งออกเป็น 3 ประเภท
1. แอสเซมเบลอร์ (Assembler) เป็นตัวแปลภาษาแอสเซมบลี
ซึ่งเป็นภาษาระดับตำ่า ให้เป็นภาษาเครื่อง
2. อินเทอร์พรีเตอร์ (Interpreter) เป็นตัวแปลภาษา
คอมพิวเตอร์ระดับสูงไปเป็นภาษาเครื่อง โดยใช้หลักการแปลคำาสั่งครั้งละ
1 คำาสั่งให้เป็นภาษาเครื่อง แล้วนำาคำาสั่งที่เป็นภาษาเครื่องนั้นไปทำาการ
ประมวลผลและแสดงผลลัพธ์ทันทีหากไม่พบข้อผิดพลาด หลังจากนั้นจะ
แปลคำาสั่งถัดไปเรื่อยๆจนกว่าจะจบโปรแกรม ในระหว่างการแปลคำาสั่ง ถ้า
หากพบข้อผิดพลาดทางไวยากรณ์ของภาษา โปรแกรมอินเทอร์พรีเตอร์ก็
จะหยุดการทำางานพร้อมแจ้งข้อผิดพลาดให้ทำาการแก้ไขซึ่งทำาได้ง่ายและ
รวดเร็ว แต่ออบเจ็คโค้ดที่ได้จากการแปลคำาสั่งโดยใช้อินเทอพรีเตอร์นั้น
ไม่สามารถเก็บไว้ใช้ใหม่ได้ จะต้องแปลโปรแกรมใหม่ทุกครั้งที่ต้องการใช้
งาน ทำาให้โปรแกรม ทำางานได้ค่อนข้างช้า
3. คอมไพเลอร์ (Compiler) เป็นตัวแปลภาษาคอมพิวเตอร์
ระดับสูงไปเป็นภาษาเครื่อง โดยทำาการตรวจสอบความถูกต้องของการ
เขียนคำาสั่งทั้งหมดทั้งโปรแกรมให้เป็นออบเจ็คโค้ด แล้วจึงทำาการแปลคำา
สั่งไปเป็นภาษาเครื่อง จากนั้นจึงทำาทำาการประมวลผลและแสดงผลลัพธ์
หากพบข้อผิดพลาดของการเขียนโปรแกรม หรือมีคำาสั่งที่ผิดหลัก
ไวยากรณ์ของภาษาคอมพิวเตอร์ โปรแกรมคอมไพเลอร์จะแจ้งให้
โปรแกรมเมอร์ทำาการแก้ไขให้ถูกต้องทั้งหมดก่อนแล้วจึงคอมไพล์ใหม่อีก
ครั้ง จนกว่าไม่พบข้อผิดพลาดถึงจะนำาโปรแกรมไปใช้งานได้
ข้อดีของคอมไพเลอร์คือโปรแกรมออปเจ็คโค้ดที่ได้จะรวบรวมคำาสั่ง
ที่สำาคัญในการรันโปรแกรมและได้โปรแกรมที่ทำางานเองได้ หรือ
Execute Program ซึ่งสามารถทำางานได้ไม่จำากัด ไม่ต้องเสียเวลาใน
การแปลใหม่ทุกครั้ง ทำาให้การทำางานของโปรแกรมเป็นไปอย่างรวดเร็ว
จึงเป็นรูปแบบการแปลที่ได้รับความนิยมอย่างมาก
ในปัจจุบัน มีหลักการแปลภาษาคอมพิวเตอร์แบบใหม่เกิดขึ้น คือ
แปลจากซอรสโค้ด ไปเป็นรหัสชั่วคราว หรืออินเทอมีเดียตโค้ด
(Intermediate Code) ซึ่งสามารถนำาไปทำางานได้ด้วย การใช้โปรแกรม
ในการอ่านและทำางานตามรหัสชั่วคราวนั้น โดยโปรแกรมนี้จะมีหลักการ
ทำางาน คล้ายกับอินเทอพรีเตอร์ แต่จะทำางานได้เร็วกว่าเนื่องจากรหัส
ชั่วคราวจะใกล้เคียงกับภาษาเครื่องมาก มีข้อดีคือสามารถนำารหัสชั่วคราว
นั้นไปใช้ได้กับทุก ๆ เครื่องมี่มีโปรแกรมตีความได้ทันที

More Related Content

What's hot

1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
Saipanyarangsit School
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอAum Forfang
 
ภาษาคอมพิวเตอร์ ม.3
ภาษาคอมพิวเตอร์ ม.3ภาษาคอมพิวเตอร์ ม.3
ภาษาคอมพิวเตอร์ ม.3
Diiz Yokiiz
 
โปรแกรมและภาษาคอมพิวเตอร์
โปรแกรมและภาษาคอมพิวเตอร์โปรแกรมและภาษาคอมพิวเตอร์
โปรแกรมและภาษาคอมพิวเตอร์
'เบื่อแล้วคำว่ารอ จะให้รอไปถึงไหน
 
08 ณัฐนนท์-3-9
08 ณัฐนนท์-3-908 ณัฐนนท์-3-9
08 ณัฐนนท์-3-9
naraporn buanuch
 
หน่วยที่ 4
หน่วยที่ 4หน่วยที่ 4
หน่วยที่ 4
จูน นะค่ะ
 
09 ณัฐพล-3-9
09 ณัฐพล-3-909 ณัฐพล-3-9
09 ณัฐพล-3-9
naraporn buanuch
 
24 พงศธร-ปวช.3-7
24 พงศธร-ปวช.3-724 พงศธร-ปวช.3-7
24 พงศธร-ปวช.3-7
naraporn buanuch
 
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
Patitta Intarasopa
 
โปรแกรมคอม
โปรแกรมคอมโปรแกรมคอม
โปรแกรมคอมOnrutai Intanin
 
โปรแกรมคอม
โปรแกรมคอมโปรแกรมคอม
โปรแกรมคอมOnrutai Intanin
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์Onpreeya Sahnguansak
 
lesson1
lesson1lesson1
ข้อสอบกลางภาค (1)
ข้อสอบกลางภาค (1)ข้อสอบกลางภาค (1)
ข้อสอบกลางภาค (1)
Non Thanawat
 
งานคอมกลุ่ม
งานคอมกลุ่มงานคอมกลุ่ม
งานคอมกลุ่ม
Group1st
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
Chanikan Kongkaew
 
ความรู้ภาษาซี
ความรู้ภาษาซีความรู้ภาษาซี
ความรู้ภาษาซี
ssuser5adb53
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
tyt13
 
Software languge
Software langugeSoftware languge
Software languge
monchai chaiprakarn
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
Kh ook
 

What's hot (20)

1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอ
 
ภาษาคอมพิวเตอร์ ม.3
ภาษาคอมพิวเตอร์ ม.3ภาษาคอมพิวเตอร์ ม.3
ภาษาคอมพิวเตอร์ ม.3
 
โปรแกรมและภาษาคอมพิวเตอร์
โปรแกรมและภาษาคอมพิวเตอร์โปรแกรมและภาษาคอมพิวเตอร์
โปรแกรมและภาษาคอมพิวเตอร์
 
08 ณัฐนนท์-3-9
08 ณัฐนนท์-3-908 ณัฐนนท์-3-9
08 ณัฐนนท์-3-9
 
หน่วยที่ 4
หน่วยที่ 4หน่วยที่ 4
หน่วยที่ 4
 
09 ณัฐพล-3-9
09 ณัฐพล-3-909 ณัฐพล-3-9
09 ณัฐพล-3-9
 
24 พงศธร-ปวช.3-7
24 พงศธร-ปวช.3-724 พงศธร-ปวช.3-7
24 พงศธร-ปวช.3-7
 
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
โปรแกรมคอม
โปรแกรมคอมโปรแกรมคอม
โปรแกรมคอม
 
โปรแกรมคอม
โปรแกรมคอมโปรแกรมคอม
โปรแกรมคอม
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
lesson1
lesson1lesson1
lesson1
 
ข้อสอบกลางภาค (1)
ข้อสอบกลางภาค (1)ข้อสอบกลางภาค (1)
ข้อสอบกลางภาค (1)
 
งานคอมกลุ่ม
งานคอมกลุ่มงานคอมกลุ่ม
งานคอมกลุ่ม
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
 
ความรู้ภาษาซี
ความรู้ภาษาซีความรู้ภาษาซี
ความรู้ภาษาซี
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
 
Software languge
Software langugeSoftware languge
Software languge
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 

Similar to ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์

36 ธีรศักดิ์-ปวช.3-7
36 ธีรศักดิ์-ปวช.3-736 ธีรศักดิ์-ปวช.3-7
36 ธีรศักดิ์-ปวช.3-7
naraporn buanuch
 
16 พีรพล-ปวช3-7
16 พีรพล-ปวช3-716 พีรพล-ปวช3-7
16 พีรพล-ปวช3-7
naraporn buanuch
 
32 วรดร-ปวช.3-7
32 วรดร-ปวช.3-732 วรดร-ปวช.3-7
32 วรดร-ปวช.3-7
naraporn buanuch
 
22 อังศิญา-ปวช3-7
22 อังศิญา-ปวช3-722 อังศิญา-ปวช3-7
22 อังศิญา-ปวช3-7
naraporn buanuch
 
41 สุรศักดิ์-ปวช-3-7
41 สุรศักดิ์-ปวช-3-741 สุรศักดิ์-ปวช-3-7
41 สุรศักดิ์-ปวช-3-7
naraporn buanuch
 
43 สุรศักดิ์-ปวช-3-7
43 สุรศักดิ์-ปวช-3-743 สุรศักดิ์-ปวช-3-7
43 สุรศักดิ์-ปวช-3-7
naraporn buanuch
 
45 วัชเรนทร์-ปวช.3-7
45 วัชเรนทร์-ปวช.3-745 วัชเรนทร์-ปวช.3-7
45 วัชเรนทร์-ปวช.3-7
naraporn buanuch
 
09 ขนิษฐา-ปวช3-7
09 ขนิษฐา-ปวช3-709 ขนิษฐา-ปวช3-7
09 ขนิษฐา-ปวช3-7
naraporn buanuch
 
1 ปัญญากร-ปวช3-7
1 ปัญญากร-ปวช3-71 ปัญญากร-ปวช3-7
1 ปัญญากร-ปวช3-7
naraporn buanuch
 
04 ปรเมษฐ์ 3-9
04 ปรเมษฐ์  3-904 ปรเมษฐ์  3-9
04 ปรเมษฐ์ 3-9
naraporn buanuch
 
31 จิรภัืทร-ปวช.3-7
31 จิรภัืทร-ปวช.3-731 จิรภัืทร-ปวช.3-7
31 จิรภัืทร-ปวช.3-7
naraporn buanuch
 
การสอบกลางภาค5ข้อ
การสอบกลางภาค5ข้อการสอบกลางภาค5ข้อ
การสอบกลางภาค5ข้อ
Thanisorn Deenarn
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์Onpreeya Sahnguansak
 
33 กิติศักดิ์-ปวช.3-7
33 กิติศักดิ์-ปวช.3-733 กิติศักดิ์-ปวช.3-7
33 กิติศักดิ์-ปวช.3-7
naraporn buanuch
 
123456
123456123456
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
N'Name Phuthiphong
 
ทดสอบกลางภาค31
ทดสอบกลางภาค31ทดสอบกลางภาค31
ทดสอบกลางภาค31
Starng Sathiankhetta
 
6 บุญเกียรติ-ปวช.3-7
6 บุญเกียรติ-ปวช.3-76 บุญเกียรติ-ปวช.3-7
6 บุญเกียรติ-ปวช.3-7
naraporn buanuch
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
Thanyalak Aranwatthananon
 

Similar to ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ (20)

36 ธีรศักดิ์-ปวช.3-7
36 ธีรศักดิ์-ปวช.3-736 ธีรศักดิ์-ปวช.3-7
36 ธีรศักดิ์-ปวช.3-7
 
16 พีรพล-ปวช3-7
16 พีรพล-ปวช3-716 พีรพล-ปวช3-7
16 พีรพล-ปวช3-7
 
32 วรดร-ปวช.3-7
32 วรดร-ปวช.3-732 วรดร-ปวช.3-7
32 วรดร-ปวช.3-7
 
22 อังศิญา-ปวช3-7
22 อังศิญา-ปวช3-722 อังศิญา-ปวช3-7
22 อังศิญา-ปวช3-7
 
41 สุรศักดิ์-ปวช-3-7
41 สุรศักดิ์-ปวช-3-741 สุรศักดิ์-ปวช-3-7
41 สุรศักดิ์-ปวช-3-7
 
43 สุรศักดิ์-ปวช-3-7
43 สุรศักดิ์-ปวช-3-743 สุรศักดิ์-ปวช-3-7
43 สุรศักดิ์-ปวช-3-7
 
45 วัชเรนทร์-ปวช.3-7
45 วัชเรนทร์-ปวช.3-745 วัชเรนทร์-ปวช.3-7
45 วัชเรนทร์-ปวช.3-7
 
09 ขนิษฐา-ปวช3-7
09 ขนิษฐา-ปวช3-709 ขนิษฐา-ปวช3-7
09 ขนิษฐา-ปวช3-7
 
1 ปัญญากร-ปวช3-7
1 ปัญญากร-ปวช3-71 ปัญญากร-ปวช3-7
1 ปัญญากร-ปวช3-7
 
04 ปรเมษฐ์ 3-9
04 ปรเมษฐ์  3-904 ปรเมษฐ์  3-9
04 ปรเมษฐ์ 3-9
 
31 จิรภัืทร-ปวช.3-7
31 จิรภัืทร-ปวช.3-731 จิรภัืทร-ปวช.3-7
31 จิรภัืทร-ปวช.3-7
 
การสอบกลางภาค5ข้อ
การสอบกลางภาค5ข้อการสอบกลางภาค5ข้อ
การสอบกลางภาค5ข้อ
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
33 กิติศักดิ์-ปวช.3-7
33 กิติศักดิ์-ปวช.3-733 กิติศักดิ์-ปวช.3-7
33 กิติศักดิ์-ปวช.3-7
 
123456
123456123456
123456
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
 
ทดสอบกลางภาค31
ทดสอบกลางภาค31ทดสอบกลางภาค31
ทดสอบกลางภาค31
 
6 บุญเกียรติ-ปวช.3-7
6 บุญเกียรติ-ปวช.3-76 บุญเกียรติ-ปวช.3-7
6 บุญเกียรติ-ปวช.3-7
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
 

More from คีตะบลู รักคำภีร์

ใบความรู้ที่ 7 เรื่อง การใส่เสียงและการเอ็กซ์พอร์ต
ใบความรู้ที่ 7 เรื่อง การใส่เสียงและการเอ็กซ์พอร์ตใบความรู้ที่ 7 เรื่อง การใส่เสียงและการเอ็กซ์พอร์ต
ใบความรู้ที่ 7 เรื่อง การใส่เสียงและการเอ็กซ์พอร์ตคีตะบลู รักคำภีร์
 
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง การสร้างฉากและการนำตัวละครมาแสดงร่วมกัน
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง การสร้างฉากและการนำตัวละครมาแสดงร่วมกันใบความรู้ที่ 6 เรื่อง การสร้างฉากและการนำตัวละครมาแสดงร่วมกัน
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง การสร้างฉากและการนำตัวละครมาแสดงร่วมกันคีตะบลู รักคำภีร์
 
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การสร้างการเคลื่อนไหว
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การสร้างการเคลื่อนไหวใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การสร้างการเคลื่อนไหว
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การสร้างการเคลื่อนไหวคีตะบลู รักคำภีร์
 
ใบความรู้ที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับมัลติมิเดีย
ใบความรู้ที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับมัลติมิเดียใบความรู้ที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับมัลติมิเดีย
ใบความรู้ที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับมัลติมิเดียคีตะบลู รักคำภีร์
 
ใบความรู้ที่2 การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหา
ใบความรู้ที่2 การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหาใบความรู้ที่2 การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหา
ใบความรู้ที่2 การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหาคีตะบลู รักคำภีร์
 
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง โครงงานเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง โครงงานเทคโนโลยีสารสนเทศใบความรู้ที่ 1 เรื่อง โครงงานเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง โครงงานเทคโนโลยีสารสนเทศคีตะบลู รักคำภีร์
 
ใบความรู้ที่ 7 เรื่อง การใช้งานselection
ใบความรู้ที่ 7 เรื่อง การใช้งานselectionใบความรู้ที่ 7 เรื่อง การใช้งานselection
ใบความรู้ที่ 7 เรื่อง การใช้งานselectionคีตะบลู รักคำภีร์
 
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง การสร้างตัวอักษรลงในภาพ
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง การสร้างตัวอักษรลงในภาพใบความรู้ที่ 6 เรื่อง การสร้างตัวอักษรลงในภาพ
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง การสร้างตัวอักษรลงในภาพคีตะบลู รักคำภีร์
 
ใบความรู้ที่ 5 เรื่อง การใช้งานฟิลเตอร์
ใบความรู้ที่ 5 เรื่อง การใช้งานฟิลเตอร์ใบความรู้ที่ 5 เรื่อง การใช้งานฟิลเตอร์
ใบความรู้ที่ 5 เรื่อง การใช้งานฟิลเตอร์คีตะบลู รักคำภีร์
 
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การใช้เครื่องมือในการปรับแต่งสี
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การใช้เครื่องมือในการปรับแต่งสีใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การใช้เครื่องมือในการปรับแต่งสี
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การใช้เครื่องมือในการปรับแต่งสีคีตะบลู รักคำภีร์
 
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง การทำงานของlayer
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง การทำงานของlayerใบความรู้ที่ 3 เรื่อง การทำงานของlayer
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง การทำงานของlayerคีตะบลู รักคำภีร์
 
ใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
คีตะบลู รักคำภีร์
 

More from คีตะบลู รักคำภีร์ (18)

ตัวอย่างผลงานนักเรียน
ตัวอย่างผลงานนักเรียนตัวอย่างผลงานนักเรียน
ตัวอย่างผลงานนักเรียน
 
ใบความรู้ที่ 7 เรื่อง การใส่เสียงและการเอ็กซ์พอร์ต
ใบความรู้ที่ 7 เรื่อง การใส่เสียงและการเอ็กซ์พอร์ตใบความรู้ที่ 7 เรื่อง การใส่เสียงและการเอ็กซ์พอร์ต
ใบความรู้ที่ 7 เรื่อง การใส่เสียงและการเอ็กซ์พอร์ต
 
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง การสร้างฉากและการนำตัวละครมาแสดงร่วมกัน
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง การสร้างฉากและการนำตัวละครมาแสดงร่วมกันใบความรู้ที่ 6 เรื่อง การสร้างฉากและการนำตัวละครมาแสดงร่วมกัน
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง การสร้างฉากและการนำตัวละครมาแสดงร่วมกัน
 
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การสร้างการเคลื่อนไหว
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การสร้างการเคลื่อนไหวใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การสร้างการเคลื่อนไหว
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การสร้างการเคลื่อนไหว
 
การใช้เครื่องมือวาดภาพและลงสี
การใช้เครื่องมือวาดภาพและลงสีการใช้เครื่องมือวาดภาพและลงสี
การใช้เครื่องมือวาดภาพและลงสี
 
รู้จักกับโปรแกรม adobe flash cs3
รู้จักกับโปรแกรม adobe flash cs3รู้จักกับโปรแกรม adobe flash cs3
รู้จักกับโปรแกรม adobe flash cs3
 
ใบความรู้ที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับมัลติมิเดีย
ใบความรู้ที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับมัลติมิเดียใบความรู้ที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับมัลติมิเดีย
ใบความรู้ที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับมัลติมิเดีย
 
โปรแกรมTinker
โปรแกรมTinkerโปรแกรมTinker
โปรแกรมTinker
 
หน้าจอหลักโปรแกรม Tinker
หน้าจอหลักโปรแกรม Tinkerหน้าจอหลักโปรแกรม Tinker
หน้าจอหลักโปรแกรม Tinker
 
คู่มือGogoboard
คู่มือGogoboardคู่มือGogoboard
คู่มือGogoboard
 
ใบความรู้ที่2 การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหา
ใบความรู้ที่2 การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหาใบความรู้ที่2 การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหา
ใบความรู้ที่2 การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหา
 
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง โครงงานเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง โครงงานเทคโนโลยีสารสนเทศใบความรู้ที่ 1 เรื่อง โครงงานเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง โครงงานเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ใบความรู้ที่ 7 เรื่อง การใช้งานselection
ใบความรู้ที่ 7 เรื่อง การใช้งานselectionใบความรู้ที่ 7 เรื่อง การใช้งานselection
ใบความรู้ที่ 7 เรื่อง การใช้งานselection
 
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง การสร้างตัวอักษรลงในภาพ
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง การสร้างตัวอักษรลงในภาพใบความรู้ที่ 6 เรื่อง การสร้างตัวอักษรลงในภาพ
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง การสร้างตัวอักษรลงในภาพ
 
ใบความรู้ที่ 5 เรื่อง การใช้งานฟิลเตอร์
ใบความรู้ที่ 5 เรื่อง การใช้งานฟิลเตอร์ใบความรู้ที่ 5 เรื่อง การใช้งานฟิลเตอร์
ใบความรู้ที่ 5 เรื่อง การใช้งานฟิลเตอร์
 
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การใช้เครื่องมือในการปรับแต่งสี
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การใช้เครื่องมือในการปรับแต่งสีใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การใช้เครื่องมือในการปรับแต่งสี
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การใช้เครื่องมือในการปรับแต่งสี
 
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง การทำงานของlayer
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง การทำงานของlayerใบความรู้ที่ 3 เรื่อง การทำงานของlayer
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง การทำงานของlayer
 
ใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
 

Recently uploaded

1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
Bangkok, Thailand
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (10)

1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 

ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์

  • 1. ใบความรู้เรื่อง ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 1. ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์(Computer Programming Language) คือ ชุดคำาสั่งที่นักเขียนโปรแกรมหรือโปรแกรมเมอร์ (Programmer) เขียนโปรแกรมซอร์สโค้ด (Source Code) ที่ถูกต้อง ตามหลักไวยากรณ์ของภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เพื่อให้สามารถติดต่อ สื่อสาร ควบคุมการรับส่งข้อมูล และสั่งให้คอมพิวเตอร์ทำางานตามที่นัก เขียนโปรแกรมต้องการได้ นักเขียนโปรแกรมต้องมีความรู้และต้องศึกษาโครงสร้างภายใน คอมพิวเตอร์ทางด้านฮาร์ดแวร์ อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ต่างๆ รวมทั้งคำาสั่งที่ ใช้ในการควบคุมและต้องมีความเข้าใจวิธีการใช้คำาสั่งในการควบคุม สั่ง งานอุปกรณ์เหล่านั้นด้วย ซึ่งในการเขียนโปรแกรมควบคุมการทำางานของ คอมพิวเตอร์จำาเป็นต้องเรียนรู้ภาษาคอมพิวเตอร์เพื่อใช้ในการติดต่อ สื่อสารกับกลไกทางด้านฮาร์ดแวร์ของระบบคอมพิวเตอร์ต่างๆให้ทำางาน ร่วมกันได้อย่างประสานสอดคล้องกันตั้งแต่ภาษาระดับตำ่าที่เรียกว่า ภาษา เครื่อง(Machine Language) ซึ่งใช้รหัสเลขฐานสองในการเขียนคำาสั่ง ไปจนถึงภาษาระดับสูง (High-Level Language) ที่คล้ายคลึงกับภาษา และวิธีการคิดของมนุษย์พร้อมยังมีเครื่องมือช่วยอำานวยความสะดวกใน การเขียนโปรแกรมและแปลคำาสั่งไปเป็นภาษาเครื่องได้ง่ายขึ้น 2. ประเภทของภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ในปัจจุบันได้มีการพัฒนาภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ มากมาย หลายภาษา และให้เหมาะกับการใช้งานประเภทต่างๆ โดยแบ่งระดับของ ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ออกเป็น 5 ยุคคือ ยุคที่ 1 ภาษาเครื่อง (Machine Language) ภาษาเครื่อง เป็นภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ระดับตำ่าที่สุดซึ่ง คอมพิวเตอร์เข้าใจได้ทันทีโดยไม่ต้องผ่านตัวแปลภาษาเพราะเขียนคำาสั่ง และแทนข้อมูลด้วยเลขฐานสอง(Binary Code) ทั้งหมด ซึ่งเป็นการเขียน คำาสั่งด้วยเลข 0 หรือ 1 ดังตัวอย่างคำาสั่งภาษาเครื่อง ดังนี้ คำาสั่งภาษาเครื่อง (Machine Code) ความหมาย 0010 0000 โหลดข้อมูลจากหน่วยความ จำา 0100 0000 ดำาเนินการบวกข้อมูล 0011 0000 เก็บข้อมูลลงในหน่วยความ จำา
  • 2. ก่อนปี ค.ศ. 1952 มีการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้วยภาษา เครื่องเพียงภาษาเดียวเท่านั้นที่ใช้ติดต่อกับคอมพิวเตอร์โดยตรง และ คอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องจะมีภาษาเครื่องแตกต่างกันขึ้นอยู่กับชนิดของ เครื่องคอมพิวเตอร์และหน่วยประมวลผลกลาง (Central Processor Unit: CPU) โดยมีรูปแบบคำาสั่งเฉพาะเครื่อง ดังนั้นนักเขียนโปรแกรมจึง ไม่นิยมที่จะเขียนโปรแกรมด้วยภาษาเครื่อง เพราะทำาการแก้ไขและเขียน โปรแกรมได้ยาก ทำาให้เกิดยุ่งยากในการจดจำาและเขียนคำาสั่งต้องใช้เวลา มากในการเขียนโปรแกรมรวมทั้งการหาข้อผิดพลาดจากการทำางานของ โปรแกรม และโปรแกรมที่เขียนขึ้นทำางานเฉพาะคอมพิวเตอร์ที่มีฮาร์ดแวร์ เดียวกันเท่านั้น (Machine Dependent) ข้อดีของภาษาเครื่อง คือสามารถเขียนโปรแกรมควบคุมการ ทำางานคอมพิวเตอร์ได้โดยตรงและสั่งงานให้คอมพิวเตอร์ทำางานได้อย่าง รวดเร็ว ยุคที่ 2 ภาษาแอสเซมบลี (Assembly Language) ภาษาแอสเซมบลี จัดอยู่ในภาษาระดับตำ่าและเป็นภาษาที่พัฒนา ต่อมาจากภาษาเครื่องในปี ค.ศ. 1952 ภาษาแอสเซมบลีมีความใกล้ เคียงกับภาษาเครื่องมาก คือ 1 คำาสั่งของภาษาแอสเซมบลีจะเท่ากับ 1 คำา สั่งของภาษาเครื่อง โดยที่ภาษาแอสเซมบลีจะเขียนคำาสั่งเป็นตัวอักษร ภาษาอังกฤษเพื่อใช้แทนคำาสั่งภาษาเครื่อง ทำาให้นักเขียนโปรแกรม สามารถเขียนโปรแกรมได้ง่ายขึ้น โดยการจดจำารหัสคำาสั่งสั้นๆ ที่จำาได้ ง่าย ซึ่งเรียกว่า นิวมอนิกโค้ด (Mnemonic code) เช่น คำาสั่งนิวมอนิกโค้ด (Mnemonic code) คำาสั่งภาษา เครื่อง ความหมาย LOAD 0010 0000 โหลดข้อมูลจากหน่วยความจำา ADD 0100 0000 ดำาเนินการบวกข้อมูล SUB 1101 0000 ดำาเนินการลบข้อมูล MOV 1001 0000 ย้ายข้อมูลเข้าออกจากหน่วยความ จำา STROE 0011 0000 เก็บข้อมูลไว้ในหน่วยความจำา ตัวอย่างของคำาสั่งภาษาแอสเซมบลี ดังตัวอย่าง เช่น CALL MySub ;transfer of control MOV AX, 5 ;data transfer ADD AX, 20 ;arithmetic JZ Next1 ;logical (jump if zero) IN A1, 20 ;input/output (read from hardware port) RET ;return
  • 3. เมื่อนักเขียนโปรแกรมเขียนโปรแกรมด้วยภาษาแอสเซมบลีแล้ว ต้องใช้ตัวแปลภาษาที่เรียกว่า แอสเซมเบลอ (Assembler) เพื่อแปล ภาษาแอสเซมบลีให้เป็นภาษาเครื่องจึงจะสามารถสั่งงานคอมพิวเตอร์ให้ ทำางานได้ สรุปคำาสั่งที่เขียนด้วยภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ในยุคที่ 1 และ ที่ 2 จะต้องใช้เทคนิคการเขียนโปรแกรมสูงเพราะมีความยืดหยุ่นในการ เขียนน้อยมากและมีความยากในการเขียนคำาสั่งสำาหรับผู้เขียนโปรแกรม แต่สามารถควบคุมและเข้าถึงการทำางานของเครื่องคอมพิวเตอร์ได้ โดยตรงและมีความรวดเร็วกว่าการใช้ภาษาระดับอื่นๆ ยุคที่ 3 ภาษาระดับสูง (High-level Language) ภาษาระดับสูงถือว่าเป็นภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ในยุคที่สาม (Third-generation language) ที่มีการใช้กันอย่างแพร่หลายในปี ค.ศ. 1960 โดยมีโครงสร้างภาษาและชุดคำาสั่งเหมือนกับภาษาอังกฤษ รวมทั้งสามารถใช้นิพจน์ทางคณิตศาสตร์ในการคำานวณได้ด้วย ทำาให้ผู้ เขียนโปรแกรมสะดวกในการเขียนคำาสั่งและแสดงผลลัพธ์ได้ตามต้องการ ลดความยุ่งยากในการเขียนโปรแกรมลงได้มาก ทั้งยังทำาให้เกิดการใช้ งานคอมพิวเตอร์เพื่อการประมวลผลเพิ่มขึ้น เช่นการควบคุมและสั่งงาน เครื่องคอมพิวเตอร์เมนเฟรม การแก้ปัญหาเฉพาะด้านทางด้าน อุตสาหกรรม เช่นการควบคุมเครื่องจักรกลต่างๆ เป็นต้น การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาระดับสูงจะต้องใช้ตัวแปลภาษา ที่ เรียกว่า คอมไพเลอร์(Compiler) เพื่อแปลภาษาระดับสูงโดยการตรวจ สอบไวยากรณ์ของภาษาระดับสูงไปเป็นภาษาเครื่องเพื่อสั่งให้เครื่อง คอมพิวเตอร์ทำางานต่อไป โดยคอมไพเลอร์ของภาษาระดับสูงแต่ละภาษา จะแปลเฉพาะภาษาของตนเองและทำางานได้เฉพาะเครื่องคอมพิวเตอร์ ชนิดเดียวกันเท่านั้น เช่น คอมไพเลอร์ของภาษา COBOL บนเครื่อง ไมโครคอมพิวเตอร์ จะแปลภาษาเฉพาะคำาสั่งของภาษา COBOL และจะ ทำางานได้บนเครื่องคอมพิวเตอร์ที่เหมือนกันเท่านั้น ถ้าต้องการนำาไปใช้ กับเครื่องคอมพิวเตอร์แบบอื่นๆ เช่น เมนเฟรม จะต้องใช้คอมไพเลอร์ของ ภาษา COBOL แบบใหม่ ตัวอย่างของภาษาคอมพิวเตอร์ระดับสูงได้แก่ ภาษา BASIC ภาษา COBOL ภาษา FORTRAN และ ภาษา C ที่ได้รับความนิยมมาก เช่นกัน สามารถเขียนโปรแกรมแก้ปัญหาเฉพาะด้าน เช่น การควบคุมหุ่น ยนต์ การสร้างภาพกราฟิก ได้เป็นอย่างดีเพราะมีความยืดหยุ่นและเหมาะ กับการใช้งานทั่วๆ ไปได้ สรุปภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ในยุคที่ 3 มีการเขียนโปรแกรม ที่ง่ายกว่าในยุคที่ 2 สามารถทำางานได้บนเครื่องคอมพิวเตอร์หลาย ระดับ(Machine Independent) โดยต้องใช้ควบคู่กับตัวแปลภาษา
  • 4. (Compiler or Interpreter) สำาหรับเครื่องนั้นๆ และมีความยืดหยุ่นใน การแก้ปัญหาได้มากกว่าภาษาระดับตำ่า ยุคที่4 ภาษาระดับสูงมาก (Very high-level Language) ภาษาระดับสูงมากเป็นภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ยุคที่สี่ (Fourth-generation language) ซึ่งเป็นภาษาที่ใช้ในการเขียน โปรแกรมด้วยคำาสั่งสั้นๆและง่ายกว่าภาษาในยุคก่อนๆ มีการทำางานแบบ ไม่จำาเป็นต้องบอกลำาดับของขั้นตอนการทำางาน (Nonprocedural language) เพียงนักเขียนโปรแกรมกำาหนดว่าต้องการให้โปรแกรมทำา อะไรเท่านั้นโดยไม่ต้องทราบว่าทำาได้อย่างไร ทำาให้เขียนโปรแกรมได้ ง่ายและรวดเร็ว กว่าภาษาระดับสูงในยุคที่ 3 ที่มีการเขียนโปรแกรมแบบ บอกขั้นตอนการทำางาน (Procedural language) ภาษาระดับสูงมาก ทำางานเหมือนกับภาษาพูดว่าต้องการอะไร และเขียนเหมือนภาษาอังกฤษ ดังตัวอย่าง เช่น TABLE FILE SALES SUM UNITS BY MONTH BY CUSTOMER BY PRODUCT ON CUSTOMMER SUBTOTAL PAGE BREAK END ข้อดีของภาษาคอมพิวเตอร์ในยุคที่ 4 • การเขียนโปรแกรมจะสั้นและง่าย เพราะเน้นที่ผลลัพธ์ของ งานว่าต้องการอะไร โดยไม่สนใจว่าจะทำาได้อย่าง ไร • การเขียนคำาสั่ง สามารถทำาได้ง่ายและแก้ไข เปลี่ยนแปลง โปรแกรมได้สะดวก ทำาให้พัฒนาโปรแกรมได้รวดเร็วขึ้น • ผู้เขียนโปรแกรมสามารถเขียนโปรแกรมได้เร็ว โดยไม่ต้อง เสียเวลาอบรม หรือมีความรู้ด้านการเขียนโปรแกรมหรือไม่ เพราะชุดคำา สั่งเหมือนภาษาพูด • ผู้เขียนโปรแกรมไม่จำาเป็นต้องทราบถึงฮาร์ดแวร์ ของเครื่อง และโครงสร้างคำาสั่งของภาษาโปรแกรม ตัวอย่างภาษาคอมพิวเตอร์ในยุคที่ 4 ประกอบด้วย Report Generators, Query Language, Application Generators และ Interactive Database Management System Programs ภาษาที่ใช้สำาหรับเรียกดูข้อมูลจากฐานข้อมูลได้เรียกว่า ภาษา สอบถาม (Query languages) จัดเป็นภาษาในยุคที่ 4 ซึ่งสามารถใช้ค้น คืนสารสนเทศของฐานข้อมูล มาตรฐานของภาษาชนิดนี้ขึ้นอยู่กับฐาน ข้อมูลที่แตกต่างกัน ที่นิยมใช้กันมากที่สุดคือ SQL(Structured Query Language) และนอกจาก นี้ยังมีภาษา Query By Example หรือ QBE ที่ได้รับความนิยมในการใช้งาน Report Generator หรือ Report Writer คือโปรแกรมสำาหรับ ผู้ใช้ (End user) ที่ใช้สำาหรับสร้างรายงาน รายงานอาจแสดงที่
  • 5. เครื่องพิมพ์หรือจอภาพก็ได้อาจจะแสดงทั้งหมดหรือบางส่วนของฐาน ข้อมูลก็ได้ ท่านอาจจะกำาหนดรูปแบบบรรทัดคอลัมน์ส่วนหัวรายงาน และ อื่นๆได้ Application Generators คือเครื่องมือของผู้เขียนโปรแกรมที่ ใช้ในการสร้างโปรแกรมประยุกต์ จากการอภิปรายปัญหาได้เร็วกว่าการ เขียนโปรแกรมทั่วๆไป ยุคที่5 ภาษาธรรมชาติ (Natural Language) ภาษาธรรมชาติจัดเป็นภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ยุคที่ห้า (Fifth generation language) คือการเขียนคำาสั่ง หรือสั่งงาน คอมพิวเตอร์ทำางานโดยการใช้ภาษาธรรมชาติต่างๆ เช่น ภาพ หรือ เสียง โดยไม่สนใจรูปแบบไวยากรณ์หรือโครงสร้างของภาษามากนัก ซึ่ง คอมพิวเตอร์จะพยายามคิดวิเคราะห์ และแปลความหมายโดยอาศัยการ เรียนรู้ด้วยตนเองและระบบองค์ความรู้ (Knowledge Base System) มา ช่วยแปลความหมายของคำาสั่งต่างๆและตอบสนองต่อผู้ใช้งาน ตัวอย่างภาษาคอมพิวเตอร์ในยุคที่ 5 เช่น SUM SHIPMENTS BY STATE BY DATE ข้อดีของภาษาคอมพิวเตอร์ในยุคที่ 5 คือผู้เขียนโปรแกรม สามารถเขียนโปรแกรมได้เร็ว โดยไม่ต้องมีความรู้ด้านการเขียนโปรแกรม แต่คอมพิวเตอร์ที่ใช้โปรแกรมต้องมีระบบรับคำาสั่ง และประมวลผลแบบ อัจฉริยะ สามารถตอบสนองและทำางานได้หลายแบบ 3. ตัวอย่างภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ใช้เขียนโปรแกรมเพื่อแก้ปัญหาต่างๆ มีมากมายหลายภาษา ซึ่งแต่ละภาษาโปรแกรมมีข้อดีและเหมาะกับใช้งาน ต่างๆ กัน ในการเลือกใช้ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์มาใช้งาน ควร พิจารณาสิ่งต่างๆ ดังนี้คือ 1. เลือกภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่เหมาะกับความชำานาญ ของบุคลากร หรือนักเขียนโปรแกรม 2. คำานึงถึงเวลาและค่าใช้จ่ายในการพัฒนาและเขียนโปรแกรม 3. เลือกภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่นักเขียนโปรแกรมเข้าใจ ง่าย มีการประยุกต์ใช้งานได้อย่างแพร่หลาย และสามารถพัฒนาต่อไปใน อนาคตได้ 4. เลือกภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ให้เหมาะกับฮาร์ดแวร์และ สามารถทำางานร่วมกันได้ระหว่างอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ตัวอย่างภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่นำามาใช้ในงานด้านต่างๆ สามารถสรุปได้ดังตาราง ต่อไปนี้
  • 6. ภาษาคอมพิวเตอร์ การใช้งานหลัก • FORTRAN (FORmula TRANslator) ใช้ในงานคำาทางด้านวิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ หรืองานวิจัย การ แก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ หรือการ วิเคราะห์ทางเศรษฐศาสตร์ได้ • ALGOL (ALGOrithmic Language) เริ่มต้นได้รับการออกแบบให้เป็น ภาษาสำาหรับงานวิทยาศาสตร์และต่อ มามีการพัฒนาต่อเป็นภาษา PL/I และ Pascal • COBOL (Common Business Oriented Language) ใช้ในการประมวลผลแฟ้มข้อมูล ขนาดใหญ่ การคำานวณทางด้าน ธุรกิจบนเครื่องขนาดใหญ่ PL/I (Programming Language One) ถูกออกแบบมาใช้กับงานทั้งทางด้าน วิทยาศาสตร์ และธุรกิจ • BASIC (Beginner’s All-purpose Symbolic Instruction Code) สำาหรับผู้เริ่มศึกษาการเขียน โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ประยุกต์ใช้ งานทางด้านวิทยาศาสตร์และธุรกิจ • Pascal (ชื่อของ Blaise Pascal) นิยมใช้กันอย่างแพร่หลายทุกด้าน • C และ C++ สำาหรับนักเขียนโปรแกรม ผู้ผลิต ซอฟต์แวร์ และโปรแกรมประยุกต์ ต่างๆ • LISP (LISt Processing) ออกแบบโดยบริษัท IBM ในปี ค.ศ. 1968 เป็นภาษาที่ โต้ตอบกับผู้ใช้ทันที เหมาะสำาหรับ จัดการกับกลุ่มของข้อมูลที่สัมพันธ์ กันในรูปแบบตาราง
  • 7. • LOGO นิยมใช้ในโรงเรียน เพื่อสอนทักษะ การแก้ปัญหาให้กับ นักเรียน • PROLOG (PROgramming LOGic) นิยมใช้มากในงานด้าน ปัญญา ประดิษฐ์จัดเป็นภาษาธรรมชาติ ภาษาหนึ่ง • RPG (Report Program Generator) ถูกออกแบบให้ใช้กับงานทางธุรกิจ จะมีคุณสมบัติในการสร้างโปรแกรม สำาหรับพิมพ์รายงานที่ยืดหยุ่นมาก ตัวอย่างภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ปัจจุบันนี้มีภาษาคอมพิวเตอร์ ให้เลือกใช้มากมายหลายภาษา แต่ละภาษาก็ถูกออกแบบ มาให้ใช้กับงาน ด้านต่าง ๆ กัน ตัวอย่างเช่น บางภาษาก็ออกแบบมาเพื่อแกปัญหาทาง ธุรกิจ บางภาษาใช้ในการคำานวณที่ซับซ้อน ซึ่งจะกล่าวโดยสรุปถึงการใช้ งานของแต่ละภาษาดังนี้ 1. ภาษาฟอร์แทรน (FORTRAN : FORmula TRANslator) ภาษาฟอร์แทรนเป็นภาษาระดับสูงที่ได้รับการพัฒนาโดยบริษัท IBM มาตั้งแต่ปี ค.ศ. 1957 ย่อมาจากคำาว่า FORmula TRANslator ซึ่งถือว่าเป็นการกำาเนิดของภาษาระดับสูงภาษาแรก นิยมใช้สำาหรับงานที่ มีการคำานวณมาก ๆ เช่น งานทางด้านคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และ วิศวกรรมศาสตร์ ภาษา FORTRAN สามารถใช้ในการแก้ปัญหาสมการ ทางคณิตสาสตร์ที่ซับซ้อนได้ดี หรือการวิเคราะห์ทางเศรษฐศาสตร์ ตัวอย่างการเขียนโปรแกรมด้วยภาษา FORTRAN FORTRAN PROGRAM SUM = 0 COUNTER = 0 WRITE ( 6 , 60 ) READ ( 5 , 40 ) NUMBER 1 IF ( NUMBER) .EQ. 999 ) GOTO 2 SUM = SUM + NUMBER COUNTER = COUNTER + 1 WRITE ( 6 , 70 ) READ ( 5 , 70 ) NUMBER GOTO 1 2 AVERAGE = SUM / COUNTER WRITE ( 6 , 80 ) AVERAGE STOP
  • 8. END 2. ภาษา ALGOL ภาษา ALGOL หรือ Algorithmic Language คิดค้นโดยกลุ่ม นักคอมพิวเตอร์ ที่มาประชุมวิชาการ ที่ซูริค ในปี 1958 และออกเผยแพร่ ปี 1960 มีคำาสั่งกำาหนดโครงสร้าง และชนิดข้อมูลอย่างสมบูรณ์ และมี การนำาไปเป็นพื้นฐานในการออกแบบภาษารุ่นที่ 3 ที่นิยมกันอย่างมากใน ปัจจุบัน เช่น Pascal โดยภาษา ALGOL ที่เป็นมาตรฐาน ได้แก่ ALGOL- 60 และ ALGOL-68 3. ภาษาโคบอล (COBOL) ภาษาโคบอลเป็นภาษาระดับสูงที่ออกแบบมาตั้งแต่ปี ค.ศ. 1960 โดยสถาบันมาตรฐานแห่งสหรัฐอเมริกากับบริษัทผู้ผลิตคอมพิวเตอร์หลาย แห่ง และได้มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องจากมาตรฐานของภาษาโคบอลในปี 1968 กำาหนดโดย The American National Standard Institute และในปี 1974 ได้ออกมาตรฐานที่เรียกว่า ANSI - COBOL ต่อมาเป็น COBOL85 ภาษาโคบอลเป็นภาษาที่ออกแบบให้ใช้กับงานทางธุรกิจได้ เป็นอย่างดี สำาหรับการประมวลผลแฟ้มข้อมูลขนาดใหญ่ การคำานวณทาง ธุรกิจเช่นการจัดเก็บ เรียกใช้และประมวลผลทางด้านบัญชี ตลอดจน ทำางานด้านการควบคุมสินค้าคงคลัง การรับและจ่ายเงิน เป็นต้น คำาสั่งของภาษา COBOL จะคล้ายกับภาษาอังกฤษทำาให้สามารถ อ่านและเขียนโปรแกรม ได้ไม่ยากนัก ในยุคแรก ๆ ภาษา COBOL จะได้ รับความนิยมบนเครื่องระดับเมนเฟรม แต่ปัจจุบันนี้จะ มีตัวแปลภาษา COBOL ที่ใช้บนเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ด้วย รวมทั้งมีภาษา COBOL ที่ ได้รับการ ออกแบบตามแนวทางเชิงวัตถุ (Object Oriented) เรียกว่า Visual COBOL ซึ่งจะช่วยให้การโปรแกรมสามารถทำาได้ง่ายขึ้น และ สามารถนำาโปรแกรมที่เขียนไว้มาใช้ในการพัฒนางานอื่น ๆ อีก ตัวอย่างการเขียนโปรแกรมด้วยภาษา COBOL IF SALES-AMOUNT IS GREATER THAN SALES-QUOTA COMPUTE COMMISSION = MAX-RATE * SALES - AMOUNT ELSE COMPUTE COMMISSION = MIN-RATE * SALES - AMOUNT 4. ภาษาเบสิก (BASIC) ภาษาเบสิก (Basic ย่อมาจาก Beginners All - purpose Symbolic Instruction Code) เป็นภาษาที่ง่ายต่อการเรียนรู้ พัฒนา โดย Dartmouth Collage แนะนำาโดย John Kemeny และ Thomas Krutz ในปี 1965 เป็นภาษาที่ใช้ง่าย และติดตั้งอยู่บนเครื่องไมโคร
  • 9. คอมพิวเตอร์ส่วนมาก ใช้สำาหรับ ผู้เริ่มต้นศึกษาการเขียนโปรแกรม และ ได้มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องจากภาษา BASIC, QBASIC ปัจจุบันเป็น Visual BASIC เป็นที่นิยมใช้กันอย่างแพร่หลาย สามารถประยุกต์ใช้งาน ได้ทั้งทางวิทยาศาสตร์และทางธุรกิจ ตัวอย่างการเขียนโปรแกรมด้วยภาษา BASIC CLS PRINT “PLEASE ENTER A NUMBER” INPUT NUMBER DO WHILE NUMBER <> 999 SUM = SUM + NUMBER COUNTER = COUNTER + 1 PRINT “PLEASE ENTER THE NEXT NUMBER” INPUT NUMBER LOOP AVERAGE = SUM/COUNTER PRINT “THE AVERAGE OF THE NUMBER IS”; AVERAGE END 5. ภาษา PL/1 ภาษา PL/I เป็นภาษาที่พัฒนาขึ้นโดยทีมงานของบริษัทไอบีเอ็ม ที่ตั้งใจจะรวมความสามารถของภาษา FORTRAN, ALGOL, COBOL เข้าด้วยกัน ดังนั้นจึงอาจกล่าวได้ว่า ภาษานี้เป็นภาษาแรกที่ทำางานได้ กว้างขวางจริงๆ ทั้งทางด้านวิทยาศาสตร์ วิศวกรรม และธุรกิจ แต่ขณะ เดียวกัน ก็ทำาให้ตัวแปลภาษาใหญ่มาก จนไม่สามารถนำาไปใช้กับเครื่อง ขนาดเล็กได้ ภาษานี้กำาหนดรูปแบบ/ประเภทข้อมูลได้หลายแบบ ทำางาน หลายงานพร้อมกันได้ (Multitasking) ทำางานกับอุปกรณ์รับส่งข้อมูล ที่ ซับซ้อนได้ และประมวลรายการได้ (List Processing) แต่ภาษานี้ไม่เป็น ที่ยอมรับมากนัก 6. ภาษาปาสคาล (Pascal) ภาษาปาสคาลเป็นภาษาที่ได้รับการพัฒนาโดยนิคลอส เวิร์ธ (Niklaus Wirth) แห่งสถาบันเทคโนโลยีของรัฐในเมือง ซูริค (Zurick) ประเทศสวิสเซอร์แลนด์ เมื่อปี ค.ศ. 1968 ชื่อของภาษานี้ตั้งชื่อเพื่อเป็น เกียรติแก่นักคณิตศาสตร์ชาวฝรั่งเศสคนสำาคัญที่ชื่อว่า Blaise Pascal ภาษานี้ออกแบบมาเพื่อให้ง่ายต่อการเขียนโปรแกรม ง่ายต่อการเรียนรู้ แตกต่างกับภาษาเบสิกก็คือ ภาษาปาสคาลเป็นภาษาโครงสร้าง (Structure Programming) นิยมใช้เป็นภาษาสำาหรับการเรียนการสอน และการเขียนโปรแกรมประยุกต์ต่าง ๆ ภาษาปาสคาลมีตัวแปลภาษาทั้งที่ เป็นแบบ Interpreter และ Compiler โดยจะมีโปรแกรม เทอร์โบปาส
  • 10. คาล (Turbo Pascal) ที่ได้รับความนิยมอย่างสูงทั้งในวงการศึกษาและ ธุรกิจ เนื่องจากได้รับ การปรับปรุงให้ตัดข้อเสียของภาษาปาสคลารุ่นแรก ๆ ออกไป ตัวอย่างการเขียนโปรแกรมด้วยภาษา Pascal PROGRAM AVERAGE OF NUMBER: VAR COUNTER , NUMBER , SUM : INTEGER ; AVERAGE : REAL ; BEGIN SUM := 0 ; COUNTER := 0; WRITELN (‘PLEASE ENTER A NUMBER’); READLN ( NUMBER); WHILE NUMBER <> 999 DO BEGIN (* WHILE LOOP *) SUM := SUM + COUNTER; WRITELN (‘PLEASE ENTER THE NEXT NUMBER’); READ ( NUMBER); END ; (* WHILE LOOP*) AVERAGE := SUM / COUNTER; WRITELN (‘THE AVERAGE OF THE NUMBERS IS’ , AVERAGE : 2 ); END. 7. ภาษา Modula-2 ภาษา Modula-2 เป็นภาษาที่นิคลอส เวิร์ธ ปรับปรุงจากภาษา ปาสกาล โดยพยายามให้มีลักษณะที่ดีของภาษา สำาหรับเขียนโปรแกรม มากขึ้น เช่น การทำาให้มีการซ่อนสารสนเทศ (Information Hiding) หลักการนามธรรม (Abstraction) การกำาหนดชนิดข้อมูล ซึ่งสามารถนำา ไปใช้กับการดำาเนินงานแบบ Recursion และ Concurrency ได้ด้วย ปัจจุบันภาษานี้ไม่ได้รับความนิยมเท่าที่ควร 8. ภาษา C และ C++ ภาษา C ถูกพัฒนาขึ้นโดย Dennis Ritchie ในปี ค.ศ. 1972 ที่ห้องปฏิบัติการเบลล ของบริษัท AT&T เป็นภาษาที่ใช้เขียนระบบปฏิบัติ การ UNIX ซึ่งเป็นระบบปฏิบัติการที่ได้รับ ความนิยมคู่กับภาษาซี และมี การใช้งานอยู่ในเครื่องทุกระดับ ภาษา C เป็นภาษาระดับสูงที่ได้รับความนิยมในหมู่นักเขียน โปรแกรมเป็นอย่างมาก เนื่องจากภาษา C เป็นภาษาที่รวมเอาข้อดีของ
  • 11. ภาษาระดับสูงในเรื่องของความยืดหยุ่น และไวยากรณ์ ที่ง่ายต่อการ เข้าใจกับข้อดีของภาษาแอสเซมบลีในเรื่องของประสิทธิภาพและความเร็ว ในการทำางาน ทำาให้โปรแกรมที่พัฒนาด้วย ภาษาซีทำางานได้เร็วกว่า โปรแกรมที่เขียนด้วยภาษาระดับสูงอื่น ๆ ในขณะที่การพัฒนาและแก้ไข โปรแกรมสามารถทำาได้ง่ายเช่นเดียวกับภาษาระดับสูงทั่ว ๆ ไป นอกจากนี้ ภาษา C ยังได้มีการพัฒนาก้าวหน้าขึ้นไปอีก โดยทำาการประยุกต์แนว ความคิดของการ โปรแกรมเชิงวัตถุเข้ามาใช้ในภาษา ทำาให้เกิดเป็นภาษา ใหม่คือ C++ (++ ในความหมายของภาษาซีคือ การเพิ่มขึ้นอีกหนึ่ง นั่นเอง) ซึ่งเป็นภาษาที่ได้รับความนิยมใช้ในงานพัฒนาโปรแกรมอย่าง มาก ตัวอย่างการเขียนโปรแกรมด้วยภาษา C และ C++ /* http://www.thaiall.com/tc */ #include <stdio.h> #include <conio.h> void main(){ int i, j; printf("Put integer :"); scanf ("%d", &i); printf("n========n"); j = 0; while (i > j){ printf("%dn", ++j); } getch(); } 9. ภาษา Ada ภาษา Ada พัฒนาขึ้นตามสัญญาว่าจ้างของกระทรวงกลาโหม สหรัฐอเมริกา ที่ต้องการได้ภาษาคอมพิวเตอร์ ที่สามารถใช้แทนภาษาอื่นๆ ที่หน่วยงานต่างๆ ภายในกระทรวงกำาลังใช้อยู่ในขณะนั้นได้ ภาษานี้มี โครงสร้างคล้ายภาษาปาสกาล แต่ทำางานได้มากกว่า เช่น ทำางานหลาย งานได้พร้อมกัน (Mustitasking) จัดการกับการขัดจังหวะได้ (Interrupt handling) จัดจังหวะการทำางานให้เข้ากัน (Intertask Synchronization) เป็นต้น ซึ่งนับว่าเป็นภาษาที่มากด้วย โครงสร้างแบบ ต่างๆ จึงมีขนาดใหญ่ด้วย 10. ภาษา Lisp ภาษา Lisp (LISt Processing) เป็นภาษาที่นับได้ว่าเก่าแก่พอๆ กับภาษาฟอร์แทรน พัฒนาในปี 1950 โดย จอห์น แมคคาร์ธี (John McCarthy) สถาบันเทคโนโลยีแห่งแมสสาชูเสตต์ เหมาะสมกับงาน
  • 12. ประมวลสัญลักษณ์ หรือรายการต่างๆ ในปัญหาประเภท Combinatorial ซึ่งใช้ในงานปัญญาประดิษฐ์ เช่น การพิสูจน์ทฤษฏี การค้นหาข้อมูล ที่จัด โครงสร้างแบบต้นไม้ เป็นต้น ภาษานี้มีโปรแกรมย่อย ในรูปของฟังก์ชัน ที่ มีลักษณะเป็นเอกเทศ สามารถนำามาทำาเป็นคลังฟังก์ชันขนาดใหญ่ได้ และ เป็นการเน้นหลักการ ด้านการนำากลับมาใช้ใหม่ได้เป็นอย่างดี ปัจจุบันมี การนำามาใช้ในการสร้าง ระบบผู้เชี่ยวชาญกันมาก เพราะลักษณะของ ภาษา เอื้ออำานวยต่อการใช้ระบุความจริง กฎเกณฑ์ และการอนุมานต่างๆ อันจำาเป็นต่องานระบบอิงฐานความรู้ 11. ภาษา Prolog ภาษา Prolog (PROgramming in LOGic) เป็นอีกภาษาที่ นิยมใช้ในการสร้างระบบผู้เชี่ยวชาญ (Artificial Intelligence) เพราะ เหมาะสำาหรับใช้แสดงความรู้ (Knowledge Representation) โดยนำา ความรู้มาเขียนในรูปของ อนุประโยค (Clause) ซึ่งเป็นภาษาคู่แข่งกับ ภาษา Lisp พัฒนาโดย Colmerauer แห่ง University of Marseilles ในปี 1970 จากนั้น Clocksin กับ Mellish จาก University of Edinburgh ได้นำามาพัฒนาเพื่อใช้งานต่อ 12. ภาษา APL ภาษา APL(A Programming Language) เป็นภาษาระดับสูงที่ คิดสร้างโดย เค. อี. ไอเออร์สัน (Ken Iverson) แห่งบริษัทไอบีเอ็ม เมื่อปี 1960 มีลักษณะแตกต่างจาก ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาอื่นอยู่มาก เช่น ใช้ สัญลักษณ์แทนการทำางาน หรือการดำาเนินการทางเลขคณิต และอักขระ ทำาให้โปรแกรมมีขนาดกระทัดรัด จึงเป็นภาษาที่นิยมใช้แก้ปัญหา คณิตศาสตร์ 13. ภาษาโปรแกรมเชิงวัตถุ (Object-Oriented Programming Language) ภาษาโปรแกรมเชิงวัตถุ (Object-Oriented Programming) หรือ OOP เหมาะกับการเขียนโปรแกรมประยุกต์ขนาดใหญ่ทำาให้งาน เขียนโปรแกรมเป็นสิ่งที่ง่ายและสามารถเขียนได้อย่างรวดเร็ว เพราะจะสิ่ง ต้องการเขียนโปรแกรมเป็นคลาสของวัตถุ (Class) ซึ่งประกอบด้วย คุณสมบัติ (Property) และวิธีการทำางาน (Method) สามารถทำาการ แก้ไข หรือเพิ่มเติมคำาสั่งใน Method ได้โดยไม่กระทบโปรแกรมส่วนอื่นๆ ทั้งยังสามารถสืบทอดคุณสมบัติของ Class ได้อีกด้วย มีหน้าจอของการ โต้ตอบ (dialog box) หรือไอคอน บนจอภาพ เป็นต้น ตัวอย่างของภาษา OOP เช่น - Smalltalk เป็นภาษา OOP ภาษาแรก ได้สร้างขึ้นในปี 1970 โดยนักคอมพิวเตอร์ชื่อ Alan kay ภาษานี้ใช้แป้นพิมพ์ในการ ป้อนข้อมูลแต่การทำางานทั้งหมดใช้เมาส์
  • 13. - C++ เป็นการพัฒนาจากภาษา C เพื่อให้เป็นภาษา OOP ได้สร้างขึ้นโดย Bjarne Strousup การเขียนภาษานี้ใช้รหัสมาตรฐาน ของภาษา C ภาษา C++ สามารถเขียนแบบธรรมดาและแบบ OOP ภาษาคอมพิวเตอร์ที่อยู่ในตระกูล Visual เป็นภาษาที่พัฒนาต่อ จาก OOP เป้าหมายของ Visual Programming ทำาให้โปรแกรมเมอร์ เขียนโปรแกรมได้ง่าย การทำางานจะเป็นกราฟฟิกส์ ทำาให้ผู้ใช้คิดเกี่ยวกับ การแก้ปัญหาได้ง่าย การสร้างโปรแกรมใช้ Icon แทนการเขียนโปรแกรม ประจำาโปรแกรมเมอรจะเชื่อมต่อระหว่าง Object โดยการวาดรูป การชี้ การคลิกบนไดอะแกรม การเขียนโปรแกรมแบบ Visual จะต้องเป็นระบบ GUI ตัวอย่างของภาษาในกลุ่มนี้ที่นิยมคือ Visual Basic พัฒนาโดย ไมโครซอฟต์ ในปี 1990 จัดเป็นภาษาในยุคที่ 4 ในกลุ่มของ OOP 14. ภาษา Visual Basic ภาษา Visual Basic เป็นภาษาระดับสูงในยุคที่ 4 พัฒนาโดย บริษัท Microsoft ในปี ค.ศ. 1987 แต่เริ่มได้รับความนิยมในปี ค.ศ.1991 นับว่าเป็นภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาแรกที่มีเครื่องมือเป็นภาพ กราฟฟิกคอยอำานวยสะดวกในการเขียนโปรแกรม และได้รับความนิยมใน การพัฒนาโปรแกรมบน Windows เพราะมีหลักการเขียนโปรแกรมแบบ Event – Driven ซึ่งเป็นการเขียนโปรแกรมเพื่อกำาหนดการทำางานให้กับ Control ต่างๆที่สร้างขึ้นตามเหตุการณ์ (Event) ที่เกิดขึ้น เช่น การคลิก เมาส์ของผู้ใช้ หรือการรับข้อมูลจากคีย์บอร์ด เป็นต้น Private Sub Form_Load() Dim i As Integer For i = -5 To 5 If i < 0 Then MsgBox i &" เป็นตัวเลขจำานวนเต็มลบ", vbOKOnly + vbInformation, "Show" Else MsgBox i &" เป็นตัวเลขจำานวนเต็มบวก", vbOKOnly + vbInformation, "Show" End If Next End Sub 16. ภาษา Java ภาษา Java เป็นภาษาระดับสูงในยุคที่ 4 ที่สนับสนุนการเขียน โปรแกรมเชิงวัตถุ ซึ่งเป็นเทคนิคที่ใช้วัตถุ (Object) เป็นหลักในการ พิจารณาสิ่งต่างๆที่สนใจ ดังนั้นโปรแกรมที่เขียนด้วยภาษา Java ซึ่ง ประกอบด้วยกลุ่มของ Object ถูกจัดกลุ่มในรูปของ Class โดยที่แต่ละ คลาสมีคุณสมบัติการถ่ายทอดลักษณะ (Inheritance) ภาษา Java ได้รับ
  • 14. ความนิยมอย่างสูง เนื่องจากโปรแกรมที่เขียนด้วยภาษา Java สามารถ ทำางานบนเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีสภาวะแวดล้อมต่างกันได้โดยไม่ขึ้นกับ แพตฟอร์มใดๆ (Platform Independent) เป็นภาษาที่มีไวยากรณ์ เข้าใจง่าย ดังตัวอย่างต่อไปนี้ class TestJava { public static void main(String[] args) { System.out.println("Hello World!"); } } 4. ตัวแปลภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ (Computer Language Translator) ตัวแปลภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เป็นโปรแกรมที่ใช้ในการแปล ความหมายของคำาสั่งในภาษาคอมพิวเตอร์ชนิดต่างๆไปเป็นภาษาเครื่อง ซึ่งเป็นภาษาที่คอมพิวเตอร์เข้าใจและทำางานตามคำาสั่งได้ โดยโปรแกรมที่ เขียนเป็นโปรแกรมต้นฉบับ หรือ ซอร์สโค้ด (Source code) ซึ่ง โปรแกรมเมอร์เขียนคำาสั่งตามหลักการออกแบบโปรแกรมและจำาเป็นต้อง ใช้ตัวแปลภาษาคอมพิวเตอร์เพื่อตรวจสอบไวยากรณ์ของภาษาว่าเขียน ถูกต้องหรือไม่ และทดสอบผลลัพธ์ว่าเป็นอย่างไร ซึ่งภาษาคอมพิวเตอร์ ชนิดต่างๆจะมีตัวแปลภาษาของตนเองโดยเฉพาะ โปรแกรมที่แปลจาก โปรแกรมต้นฉบับแล้วจะเรียกว่า ออบเจ็คโค้ด (Object code) ซึ่งเป็น ภาษาเครื่องที่ประกอบด้วย รหัสคำาสั่งที่คอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจและนำา ไปปฏิบัติได้ต่อไป ตัวแปลภาษาคอมพิวเตอร์มีการใช้งานสำาหรับการแปลภาษา คอมพิวเตอร์ชนิดต่างๆ แบ่งออกเป็น 3 ประเภท 1. แอสเซมเบลอร์ (Assembler) เป็นตัวแปลภาษาแอสเซมบลี ซึ่งเป็นภาษาระดับตำ่า ให้เป็นภาษาเครื่อง 2. อินเทอร์พรีเตอร์ (Interpreter) เป็นตัวแปลภาษา คอมพิวเตอร์ระดับสูงไปเป็นภาษาเครื่อง โดยใช้หลักการแปลคำาสั่งครั้งละ 1 คำาสั่งให้เป็นภาษาเครื่อง แล้วนำาคำาสั่งที่เป็นภาษาเครื่องนั้นไปทำาการ ประมวลผลและแสดงผลลัพธ์ทันทีหากไม่พบข้อผิดพลาด หลังจากนั้นจะ แปลคำาสั่งถัดไปเรื่อยๆจนกว่าจะจบโปรแกรม ในระหว่างการแปลคำาสั่ง ถ้า หากพบข้อผิดพลาดทางไวยากรณ์ของภาษา โปรแกรมอินเทอร์พรีเตอร์ก็ จะหยุดการทำางานพร้อมแจ้งข้อผิดพลาดให้ทำาการแก้ไขซึ่งทำาได้ง่ายและ รวดเร็ว แต่ออบเจ็คโค้ดที่ได้จากการแปลคำาสั่งโดยใช้อินเทอพรีเตอร์นั้น
  • 15. ไม่สามารถเก็บไว้ใช้ใหม่ได้ จะต้องแปลโปรแกรมใหม่ทุกครั้งที่ต้องการใช้ งาน ทำาให้โปรแกรม ทำางานได้ค่อนข้างช้า 3. คอมไพเลอร์ (Compiler) เป็นตัวแปลภาษาคอมพิวเตอร์ ระดับสูงไปเป็นภาษาเครื่อง โดยทำาการตรวจสอบความถูกต้องของการ เขียนคำาสั่งทั้งหมดทั้งโปรแกรมให้เป็นออบเจ็คโค้ด แล้วจึงทำาการแปลคำา สั่งไปเป็นภาษาเครื่อง จากนั้นจึงทำาทำาการประมวลผลและแสดงผลลัพธ์ หากพบข้อผิดพลาดของการเขียนโปรแกรม หรือมีคำาสั่งที่ผิดหลัก ไวยากรณ์ของภาษาคอมพิวเตอร์ โปรแกรมคอมไพเลอร์จะแจ้งให้ โปรแกรมเมอร์ทำาการแก้ไขให้ถูกต้องทั้งหมดก่อนแล้วจึงคอมไพล์ใหม่อีก ครั้ง จนกว่าไม่พบข้อผิดพลาดถึงจะนำาโปรแกรมไปใช้งานได้ ข้อดีของคอมไพเลอร์คือโปรแกรมออปเจ็คโค้ดที่ได้จะรวบรวมคำาสั่ง ที่สำาคัญในการรันโปรแกรมและได้โปรแกรมที่ทำางานเองได้ หรือ Execute Program ซึ่งสามารถทำางานได้ไม่จำากัด ไม่ต้องเสียเวลาใน การแปลใหม่ทุกครั้ง ทำาให้การทำางานของโปรแกรมเป็นไปอย่างรวดเร็ว จึงเป็นรูปแบบการแปลที่ได้รับความนิยมอย่างมาก ในปัจจุบัน มีหลักการแปลภาษาคอมพิวเตอร์แบบใหม่เกิดขึ้น คือ แปลจากซอรสโค้ด ไปเป็นรหัสชั่วคราว หรืออินเทอมีเดียตโค้ด (Intermediate Code) ซึ่งสามารถนำาไปทำางานได้ด้วย การใช้โปรแกรม ในการอ่านและทำางานตามรหัสชั่วคราวนั้น โดยโปรแกรมนี้จะมีหลักการ ทำางาน คล้ายกับอินเทอพรีเตอร์ แต่จะทำางานได้เร็วกว่าเนื่องจากรหัส ชั่วคราวจะใกล้เคียงกับภาษาเครื่องมาก มีข้อดีคือสามารถนำารหัสชั่วคราว นั้นไปใช้ได้กับทุก ๆ เครื่องมี่มีโปรแกรมตีความได้ทันที