SlideShare a Scribd company logo
การสร้างงานโปรแกรม
ด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
ความสําคัญของภาษาคอมพิวเตอร์ ภาษาคอมพิวเตอร์ (Computer
Language) เป็นสัญลักษณ์ที่ผู้พัฒนาภาษา กําหนด
รหัสคําสั่ง ขึ้นมา ใช้ควบคุมการทํางานอุปกรณ์ในระบบ
คอมพิวเตอร์ พัฒนาการภาษาคอมพิวเตอร์ เริ่มจากรหัส
คําสั่งอยู่ในรูปแบบเลขฐานสอง จากนั้นพัฒนารูปแบบ
เป็นข้อความภาษาอังกฤษ ในยุคปัจจุบัน
ภาษาคอมพิวเตอร์มีอีกมากมายหลายภาษาให้เลือกใช้งาน
มีจุดเด่นด้าน ประสิทธิภาพคําสั่งแตกตางกันไป ดังนั้น
ผู้สร้างงานโปรแกรมต้องศึกษาว่า ภาษาใดมีคําสั่งที่มี
ประสิทธิภาพควบคุมการทํางานตามต้องการ เพื่อเลือกไป
ใช้สร้างโปรแกรมประยุกต์งานตามที่ได้กําหนด
จุดประสงค์ไว้
พัฒนาการภาษาคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการวิเคราะห์และออกแบบระบบงาน
ในการวิเคราะห์และออกแบบระบบงานนั้น มีวิธีการและขั้นตอนการทํางาน
หลายแนวทาง แต่ในที่นี้คือการวิเคราะห์และออกแบบระบบตามแนวทาง
แบบ SDLC (System Development Life Cycle) หรือ
วงจรการพัฒนาระบบงานคอมพิวเตอร์ ซึ่งแบ่งขั้นตอนการทํางานหรือ
กิจกรรมต่าง ๆ
1. การหาปัญหา โอกาส และเป้ าหมาย (Problem
Recognition)
เป็นกิจกรรมแรกที่สําคัญ นักวิเคราะห์ระบบต้องสนในหาปัญหา โอกาสและ
เป้ าหมายที่ชัดเจนของงานต่างๆ เมื่อเห็นปัญหาและโอกาสที่สามารถนํา
ระบบคอมพิวเตอร์เข้ามาแก้ไขได้ เป็นจุดเริ่มในการสร้างระบบงาน
นักวิเคราะห์ระบบจะต้องพยายามหาโอกาสในการปรับปรุงโดยใช้ระบบ
คอมพิวเตอร์เข้าไปช่วยในงานด้านต่างๆ
2. การศึกษาความเหมาะสม (Feasibility Study)
การศึกษาความเหมาะสมนี้ต้องศึกษาใน 3 ประเด็นต่อไปนี้
1.1 เทคนิค เครื่องมือหรืออุปกรณ์ต่าง ๆ ที่ใช้อยู่ มีอะไรบ้าง เป็นระบบ
ที่ใช้คอมพิวเตอร์หรือไม่
1.2 บุคลากรในหน่วยงานมีความพร้อมและเหมาะสมที่จะร่วมพัฒนา
และรับผิดชอบหรือไม่
1.3 ค่าใช้จ่ายและเวลาที่เสียไป (Cost/Time) คุ้มกับการ
ผลประโยชน์ที่ได้รับหรือไม่
3. การวิเคราะห์ระบบ
ในการวิเคราะห์ระบบจะต้องทําการเก็บรวบรวมข้อมูลต่าง ๆ จากขั้นที่
2 มาเขียนเป็นแผน
ภาพที่แสดงทิศทางการไหลของข้อมูล (Data Flow
Diagram) และ ผังงานระบบ (System Flowchart) เพื่อ
แสดงวิธีการ ขั้นตอนการทํางานและสิ่งต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับระบบ
4. การออกแบบระบบ
การออกแบบระบบ ต้องทําการออกแบบทางตรรกศาสตร์
(Logical Design) ซึ่งเป็นส่วนที่ทําการติดต่อกับผู้ใช้งาน
เช่น การใช้แป้ นพิมพ์หรือการใช้เมาส์ในการเลือกส่วนการทํางาน
และการออกแบบระบบ (System Design) จะเป็นการ
ออกแบบในส่วนของการป้ อนข้อมูล (Input), รายละเอียด
ขั้นตอนการประมวลผล (Process Details) เช่นการ
คํานวณ, การจัดเก็บข้อมูล (Stored)
5. การสร้างระบบและการจัดทําเอกสาร
เป็นขั้นที่นําสิ่งต่าง ๆ ที่วิเคราะห์และออกแบบมาแล้วจากขั้นที่ 3
และ ขั้นที่ 4 มาจัดสร้างซอฟต์แวร์ เป็นการทํางานร่วมกันระหว่าง
โปรแกรมเมอร์และนักวิเคราะห์ระบบ ในการพัฒนาซอฟต์แวร์
อาจใช้ภาษาคอมพิวเตอร์หรือ ซอฟต์แวร์ประเภทที่มีเครื่องมือ
ช่วยในการสร้างโปรแกรมที่เรียกว่า CASE (Computer
Aided Software Engineering) ก็ได้
6. การทดสอบและบํารุงรักษาระบบ
ก่อนจะนําระบบไปใช้งานจริงต้องมีการทดสอบการทํางานของ
ระบบโดยโปรแกรมเมอร์หรือบางครั้งก็เป็นตัวผู้ใช้งานระบบ
หรือทดสอบการทํางานร่วมกันระหว่างโปรแกรมเมอร์และ
ผู้ใช้งานระบบการทดสอบควรใช้ข้อมูลที่ปฏิบัติงานจริงเพื่อดู
ผลลัพธ์ที่ได้ว่าถูกต้องและตรงตามความต้องการของผู้ใช้
หรือไม่ เมื่อพบว่ามีข้อผิดพลาดเกิดขึ้นจากการทํางานของ
ระบบจะต้อง มีการปรับแก้ซึ่งเรียกว่าการบํารุงรักษาระบบ โดย
ใช้เอกสารที่จัดทําขึ้นในขั้นที่ 5
7. การติดตามและการประเมิลผล
เป็นขั้นตอนสุดท้ายของกระบวนการพัฒนาระบบงาน ซึ่งต้องมี
การฝึกอบรมการใช้งานระบบให้แก่ผู้ใช้งาน เพื่อจะทราบความ
พึงพอใจของผู้ใช้
แนวทางสร้างโปรแกรมประยุกต์งาน
โปรแกรมประยุกต์
ในบางครั้งเรียกย่อว่า แอปพลิเคชัน คือซอฟต์แวร์ประเภทหนึ่ง
สําหรับใช้งานสําหรับงานเฉพาะทาง ซึ่งแตกต่างกับซอฟต์แวร์
ประเภทอื่น เช่น ระบบปฏิบัติการ ที่ใช้สําหรับรับรองการทํางาน
หลายด้าน โดยไม่จําเพาะเจาะจง
ตัวอย่างโปรแกรมประยุกต์ เช่น
โปรแกรมสําหรับการใช้งานอินเทอร์เน็ต เช่น อินเทอร์เน็ตเอกซ์พลอ
เรอร์ ไฟร์ฟอกซ์ไฟล์ซิลลา
โปรแกรมเล่นเพลง เช่น วินแอมป์ วินโดวส์มีเดียเพลเยอร์ ไอทูนส์
โปรแกรมสํานักงาน เช่น ไมโครซอฟท์ ออฟฟิศ โอเพนออฟฟิศ
โปรแกรมอื่น ๆ เช่น ออโตแคด ไมโครสเตชัน
ตัวอย่างวิธีการสร้างโปรแกรมประยุกต์
วิธีการสร้างโปรแกรมแรก ASP เว็บประยุกต์ของคุณในหน้าของ
เซิร์ฟเวอร์ที่ใช้งานอยู่ของ Microsoft
บทความนี้อธิบายถึงวิธีการเริ่มต้นด้วย Active Server
Pages (ASP) และมีไว้สําหรับผู้เริ่มและลูกค้าระดับกลางที่
คุ้นเคยกับการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ถึงแม้ว่าจะมีประโยชน์
ประสบการณ์ก่อนหน้านี้ด้วยภาษาพัฒนาเว็บเช่น HTML คุณไม่
จําเป็นต้องมีประสบการณ์ก่อนหน้านี้ให้ทําตามขั้นตอนแบบทีละ
ขั้นตอนการติดตั้ง ASP
1.คลิกเริ่มชี้ไปที่การตั้งค่าและจากนั้น คลิก'แผงควบคุม' ใน'
แผงควบคุม' คลิก'เพิ่ม/เอาโปรแกรมออก
2.คลิกเพิ่ม/เอาคอมโพเนนต์ของWindowsและจากนั้น เลือก
กล่องกาเครื่องหมายของบริการข้อมูล ทางอินเทอร์เน็ต
3.คลิกถัดไปและทําตามคําบนหน้าจอคําแนะนํา
การลําดับขั้นตอนงานด้วยผังงาน
การเขียนผังงาน
คอมพิวเตอร์จะสามารถทําการประมวลผลได้
ดีก็ต่อเมื่อมีการกําหนด โปรแกรมคําสั่งที่เขียนขึ้นด้วย
ภาษาคอมพิวเตอร์ ซึ่งในการเขียนโปรแกรมคําสั่ง
จะต้องทําอย่างมีระบบและมีความแน่นอนเพื่อให้ได้
ผลลัพธ์ ที่ถูกต้องและประสิทธิภาพ
ประเภทและประโยชน์
ความหมายของผังงานผังงาน หมายถึง รูปภาพ
หรือสัญลักษณ์ที่ใช้แทนลําดับหรือขั้นตอนการทํางาน
รูปภาพและสัญลักษณ์ที่ใช้จะต้องเป็นเอกลักษณ์ คือ
แทนความหมายอย่างใดอย่างหนึ่ง
ประเภทของผังงาน
ผังงาน สามารถแบ่งได้เป็น 2 ประเภท ดังนี้ คือ
1. ผังงานระบบ (System Flowchart) หมายถึง สัญลักษณ์ที่แสดง
ให้เห็นถึงขั้นตอนการทางานในลักษณะของภาพกว้าง ๆ โดยไม่ต้อง
แสดงรายละเอียดว่าระบบงานย่อย ๆ นั้นมีการทางานอย่างไร
ผังงานระบบจะแสดงทิศทางการทางานในระบบ ซึ่งอาจเกี่ยวข้องกับบุคล
วัสดุ หรือเครื่องจักร ซึ่งแต่ละจุดประกอบไปด้วยการนาข้อมูลเข้า วิธีการ
ประมวลผล และแสดงผลลัพธ์
2. ผังงานโปรแกรม (Program Flowchart) แสดงถึงขั้นตอนของ
คาสั่งที่ใช้ในโปรแกรมผังงานนี้อาจสร้างมาจากผังงานระบบ โดยนามาใช้
เฉพาะจุดที่เกี่ยวข้องกับการทางานของคอมพิวเตอร์เพื่อให้ทราบว่า ควร
มีขั้นตอนคาสั่งอย่างไร เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ตามต้องการ แล้วนาไปใช้เป็น
แนวทางในการเขียนโปรแกรมต่อไป
ประโยชน์ของผังงาน
1. สามารถเรียนรู้และเข้าใจได้ง่าย เพื่อผังงานไม่ขึ้นอยู่กับ
ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาใดภาษาหนึ่งโดยเฉพาะ
2. ผังงานเป็นการสื่อความหมายด้วยภาพ ทาให้ง่ายและสะดวกใน
การพิจารณาถึงลาดับขั้นตอนในการทางาน ต่างกับการบรรยาย
เป็นตัวอักษร เพราะอาจสื่อความหมายผิดไปได้
3. ในโปรแกรมที่ไม่ซับซ้อน สามารถใช้ผังงานตรวจสอบความ
ถูกต้องของลาดับขั้นตอนได้ง่ายถ้ามีข้อผิดพลาด สามารถแก้ไขได้
สะดวกและรวดเร็ว
4. การเขียนโปรแกรมโดยพิจารณาจากผังงาน สามารถทางานง่าย
และรวดเร็ว
5. การบารุงรักษาโปรแกรม เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงแก้ไขโปรแกรม
สามารถดูผังงานเพื่อแก้ไขคาสั่งในโปรแกรมก่อนแก้ไขได้
ข้อจากัด/สัญลักษณ์ที่ใช้ในการเขียนผังงาน
ข้อจากัดของผังงาน
1. ผังงานเป็นสื่อความหมายระหว่างบุคคลต่อบุคคลมากกว่าที่จะ
สื่อความหมายบุคคลกับคอมพิวเตอร์ เพราะผังงานไม่ขึ้นอยู่กับ
ภาษาคอมพิวเตอร์ ภาษาใดภาษาหนึ่ง ทาให้เครื่องคอมพิวเตอร์
ไม่สามารถรับรู้ว่าผังงานต้องการอะไร
2. ในผังงานไม่อาจบอกให้ทราบว่า ขั้นตอนการทางานใดสาคัญ
กว่ากัน เพราะทุก ๆ ขั้นตอนใช้รูปภาพหรือสัญลักษณ์ในรูปแบบ
เดียวกัน
3. กรณีที่งานมีขนาดใหญ่ ผังงานจะมีขนาดใหญ่ด้วย ถ้ามีการ
เปลี่ยนแปลงแก้ไขสามรถทาได้ยาก
4. ผังงานไม่สามารถแทนลักษณะคาสั่งของภาษาคอมพิวเตอร์บาง
คาสั่งได้อย่างชัดเจน
สัญลักษณ์ที่ใช้ในการเขียนผังงาน
การเขียนผังงานที่ดี ควรคานึงถึงสิ่งต่าง ๆ ดังนี้
เลือกใช้สัญลักษณ์ที่ใช้ในการกาหนดรูปแบบไว้เป็นมาตรฐาน และมีการ
กาหนดความหมายไว้แล้วส่วนขนาดของสัญลักษณ์ที่ใช้ขึ้นอยู่ กับความ
เหมาะสม
ควรเขียนให้ทิศทางการไหลของผังงาน เริ่มจากบนลงล่าง หรือจากซ้าย
ไปขวาและควรใช้หัวลูกศรกากับทิศทาง ของผังงานด้วย
เขียนข้อความที่ต้องการอธิบายการปฏิบัติงานในแต่ละขั้นตอน ภายใน
กรอบรูปหรือสัญลักษณ์ที่ใช้ โดยเลือกใช้ข้อความที่เข้าใจง่าย สั้น และ
ชัดเจน
การเขียนผังงานควรหลีกเลี่ยงโยงเส้นไปมา ทาให้เกิดจุดตัดมากเพราะ
อาจทาให้เกิดข้อผิดพลาดง่าย ควรใช้สัญลักษณ์เชื่อมแทน และถ้า
เป็นไปได้ควรเขียนผังงานให้จบภายใน 1 หน้ากระดาษ
ต้องแน่ใจว่าสามารถเชื่อมโยงการปฏิบัติงานทุกจุดในผังงาน ไม่มีการ
ปล่อยจุด ใดจุดหนึ่งไว้เฉย ๆ
ในการตรวจสอบเงื่อนไขต้องแน่ใจว่า เงื่อนไขที่กาหนดสามารถ
ครอบคลุม ได้ทุกกรณี
ผังงานที่ดีควรมีความเป็นระเบียบเรียบร้อย สะอาดและชัดเจน สามารถ
เข้าใจและติดตามขั้นตอนได้ง่าย
การวิเคราะห์ระบบผังงานเบื้องต้น
การวิเคราะห์งาน (Job Analization)
การตัดสินใจเขียนโปรแกรมเพื่อ
สั่งงานให้คอมพิวเตอร์ทํานั้น สิ่งที่สําคัญที่สุดใน
การแก้ปัญหา จะต้องดําเนินการตามขั้นตอน
ของการเตรียมงาน เรียบเรียงลําดับขั้นตอนการ
ทํางานว่าขั้นตอนใดเป็นขั้นตอนแรกและขั้นตอน
ใดเป็นขั้นตอนเป็นลําดับถัดไป จนกระทั่งถึง
ขั้นตอนสุดท้าย
http://th.wikipedia.org/wiki/ภาษาคอมพิวเตอร์
- http://laddawan-siward.blogspot.com/2008/03/blog-
post.html
- http://th.wikipedia.org/wiki/โปรแกรมประยุกต์
- http://support.microsoft.com/kb/301097/th
http://www.kknbc.com/~weerasak/StudentProject/Sud
arut2553/
htdoc/6.html
เอกสารอ้างอิง
ผู้จัดทา
นายภัทรพล จั่นเพขร เลขที่ 4
นายพัชรพล เลิกนอก เลขที่ 7
นายเอกลาภ สัสดีทอง เลขที่ 10
นางสาวอรพรรณ โพทอง เลขที่ 16
นางสารจิราวรรณ สัมพันธ์ประเสิตร์ เลขที่ 26
นางสารพรรณภัทร มนพลับ เลขที่ 36
นางสาวอนันธิชา อชมหาต เลขที่ 37

More Related Content

What's hot

ภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรม
ภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรม
ภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรมSarocha Makranit
 
การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์Pete Panupong
 
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
Patitta Intarasopa
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์Onpreeya Sahnguansak
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์Onpreeya Sahnguansak
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
tyt13
 
การสร้างงานโปรแกรม
การสร้างงานโปรแกรมการสร้างงานโปรแกรม
การสร้างงานโปรแกรม
Computer ITSWKJ
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ฟลุ๊ค
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์  ฟลุ๊คการสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์  ฟลุ๊ค
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ฟลุ๊ค
Thidaporn Kaewta
 
09 ขนิษฐา-ปวช3-7
09 ขนิษฐา-ปวช3-709 ขนิษฐา-ปวช3-7
09 ขนิษฐา-ปวช3-7
naraporn buanuch
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Chatkal Sutoy
 
การเขียนโปรแกรม
การเขียนโปรแกรมการเขียนโปรแกรม
การเขียนโปรแกรมthorthib
 
08 ณัฐนนท์-3-9
08 ณัฐนนท์-3-908 ณัฐนนท์-3-9
08 ณัฐนนท์-3-9
naraporn buanuch
 
mindmap
mindmapmindmap
36 ธีรศักดิ์-ปวช.3-7
36 ธีรศักดิ์-ปวช.3-736 ธีรศักดิ์-ปวช.3-7
36 ธีรศักดิ์-ปวช.3-7
naraporn buanuch
 
การสร้างงานโปรแกรม ด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรม ด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรม ด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรม ด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
นุ๊ก ฆ่าตกรโรคจิต
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
benz18
 

What's hot (20)

ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์
 
ภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรม
ภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรม
ภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรม
 
การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรเเกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอ
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
 
การสร้างงานโปรแกรม
การสร้างงานโปรแกรมการสร้างงานโปรแกรม
การสร้างงานโปรแกรม
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ฟลุ๊ค
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์  ฟลุ๊คการสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์  ฟลุ๊ค
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ฟลุ๊ค
 
09 ขนิษฐา-ปวช3-7
09 ขนิษฐา-ปวช3-709 ขนิษฐา-ปวช3-7
09 ขนิษฐา-ปวช3-7
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
การเขียนโปรแกรม
การเขียนโปรแกรมการเขียนโปรแกรม
การเขียนโปรแกรม
 
08 ณัฐนนท์-3-9
08 ณัฐนนท์-3-908 ณัฐนนท์-3-9
08 ณัฐนนท์-3-9
 
mindmap
mindmapmindmap
mindmap
 
36 ธีรศักดิ์-ปวช.3-7
36 ธีรศักดิ์-ปวช.3-736 ธีรศักดิ์-ปวช.3-7
36 ธีรศักดิ์-ปวช.3-7
 
การสร้างงานโปรแกรม ด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรม ด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรม ด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรม ด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 

Similar to งานนำเสนอ

การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์Onpreeya Sahnguansak
 
32 วรดร-ปวช.3-7
32 วรดร-ปวช.3-732 วรดร-ปวช.3-7
32 วรดร-ปวช.3-7
naraporn buanuch
 
6 บุญเกียรติ-ปวช.3-7
6 บุญเกียรติ-ปวช.3-76 บุญเกียรติ-ปวช.3-7
6 บุญเกียรติ-ปวช.3-7
naraporn buanuch
 
16 พีรพล-ปวช3-7
16 พีรพล-ปวช3-716 พีรพล-ปวช3-7
16 พีรพล-ปวช3-7
naraporn buanuch
 
การสร้างงานโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
ttyuj tgyhuj
 
29 จิราวรรณ์
29 จิราวรรณ์29 จิราวรรณ์
29 จิราวรรณ์
naraporn buanuch
 
31 จิรภัืทร-ปวช.3-7
31 จิรภัืทร-ปวช.3-731 จิรภัืทร-ปวช.3-7
31 จิรภัืทร-ปวช.3-7
naraporn buanuch
 
45 วัชเรนทร์-ปวช.3-7
45 วัชเรนทร์-ปวช.3-745 วัชเรนทร์-ปวช.3-7
45 วัชเรนทร์-ปวช.3-7
naraporn buanuch
 
1 ปัญญากร-ปวช3-7
1 ปัญญากร-ปวช3-71 ปัญญากร-ปวช3-7
1 ปัญญากร-ปวช3-7
naraporn buanuch
 
22 อังศิญา-ปวช3-7
22 อังศิญา-ปวช3-722 อังศิญา-ปวช3-7
22 อังศิญา-ปวช3-7
naraporn buanuch
 
33 กิติศักดิ์-ปวช.3-7
33 กิติศักดิ์-ปวช.3-733 กิติศักดิ์-ปวช.3-7
33 กิติศักดิ์-ปวช.3-7
naraporn buanuch
 
28 ธันย์ชนก-ปวช.3-7
28 ธันย์ชนก-ปวช.3-728 ธันย์ชนก-ปวช.3-7
28 ธันย์ชนก-ปวช.3-7
naraporn buanuch
 
18 ธนวัต-ปวช.3-7
18 ธนวัต-ปวช.3-718 ธนวัต-ปวช.3-7
18 ธนวัต-ปวช.3-7
naraporn buanuch
 

Similar to งานนำเสนอ (13)

การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
32 วรดร-ปวช.3-7
32 วรดร-ปวช.3-732 วรดร-ปวช.3-7
32 วรดร-ปวช.3-7
 
6 บุญเกียรติ-ปวช.3-7
6 บุญเกียรติ-ปวช.3-76 บุญเกียรติ-ปวช.3-7
6 บุญเกียรติ-ปวช.3-7
 
16 พีรพล-ปวช3-7
16 พีรพล-ปวช3-716 พีรพล-ปวช3-7
16 พีรพล-ปวช3-7
 
การสร้างงานโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
29 จิราวรรณ์
29 จิราวรรณ์29 จิราวรรณ์
29 จิราวรรณ์
 
31 จิรภัืทร-ปวช.3-7
31 จิรภัืทร-ปวช.3-731 จิรภัืทร-ปวช.3-7
31 จิรภัืทร-ปวช.3-7
 
45 วัชเรนทร์-ปวช.3-7
45 วัชเรนทร์-ปวช.3-745 วัชเรนทร์-ปวช.3-7
45 วัชเรนทร์-ปวช.3-7
 
1 ปัญญากร-ปวช3-7
1 ปัญญากร-ปวช3-71 ปัญญากร-ปวช3-7
1 ปัญญากร-ปวช3-7
 
22 อังศิญา-ปวช3-7
22 อังศิญา-ปวช3-722 อังศิญา-ปวช3-7
22 อังศิญา-ปวช3-7
 
33 กิติศักดิ์-ปวช.3-7
33 กิติศักดิ์-ปวช.3-733 กิติศักดิ์-ปวช.3-7
33 กิติศักดิ์-ปวช.3-7
 
28 ธันย์ชนก-ปวช.3-7
28 ธันย์ชนก-ปวช.3-728 ธันย์ชนก-ปวช.3-7
28 ธันย์ชนก-ปวช.3-7
 
18 ธนวัต-ปวช.3-7
18 ธนวัต-ปวช.3-718 ธนวัต-ปวช.3-7
18 ธนวัต-ปวช.3-7
 

งานนำเสนอ