SlideShare a Scribd company logo
1 of 9
Download to read offline
แผนการจัดการเรียนรู้
รหัส-ชื่อรายวิชา ว30131 เคมีพื้นฐาน                           ชั้น ม.4               ภาคเรียนที่ 1                ปีการศึกษา 2555
แผนการเรียน เรื่อง โครงสร้างอะตอม                                                                  เวลา               3             คาบ
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
     ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
1.มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด (หลักสูตรโรงเรียนวิทยาศาสตร์และหลักสูตรแกนกลาง 2551)
            มาตรฐานที่ 1 เข้าใจสมบัติของสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสารกับโครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยว
ระหว่างอนุภาค มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ นาความรู้ไปใช้ประโยชน์
            ตัวชี้วัด
            1.1 สืบค้นข้อมูลและอธิบายโครงสร้างอะตอม และสัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ
            มาตรฐาน ว 8.1 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การ
แก้ปัญหา รู้ว่าปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้
ภายใต้ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้นๆ เข้าใจว่า วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อมมีความ
เกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน
            ตัวชี้วัด
            ว 8.1 ม.4-6/1 ตั้งคาถามที่อยู่บนพื้นฐานของความรู้และความเข้าใจทางวิทยาศาสตร์ หรือความสนใจ หรือ
จากประเด็นที่เกิดขึ้นในขณะนั้น ที่สามารถ ทาการสารวจตรวจสอบหรือศึกษาค้นคว้าได้อย่างครอบคลุมและเชื่อถือได้
            ว 8.1 ม.4-6/2 สร้างสมมติฐานที่มีทฤษฎีรองรับ หรือคาดการณ์สิ่งที่จะพบ หรือสร้างแบบจาลองหรือสร้าง
รูปแบบ เพื่อนาไปสู่การสารวจตรวจสอบ
            ว 8.1 ม.4-6/3 ค้นคว้ารวบรวมข้อมูลที่ต้องพิจารณาปัจจัยหรือ ตัวแปรสาคัญ ปัจจัยที่มีผลต่อปัจจัยอื่น
ปัจจัยที่ ควบคุมไม่ได้ และจานวนครั้งของการสารวจ ตรวจสอบเพื่อให้ได้ผลที่มีความเชื่อมั่นอย่างเพียงพอ
            ว 8.1 ม.4-6/4 เลือกวัสดุ เทคนิควิธี อุปกรณ์ที่ใช้ในการสังเกต การวัด การสารวจตรวจสอบอย่างถูกต้องทั้ง
ทางกว้างและลึก ในเชิงปริมาณและคุณภาพ
            ว 8.1 ม.4-6/5 รวบรวมข้อมูลและบันทึกผลการสารวจตรวจสอบอย่างเป็นระบบถูกต้อง ครอบคลุมทั้งใน
เชิงปริมาณและคุณภาพ โดยตรวจสอบความเป็นไปได้ ความเหมาะสมหรือความผิดพลาดของข้อมูล
            ว 8.1 ม.4-6/6 จัดกระทาข้อมูล โดยคานึงถึงการรายงานผลเชิงตัวเลขที่มีระดับความถูกต้องและนาเสนอ
ข้อมูลด้วยเทคนิควิธีที่เหมาะสม
            ว 8.1 ม.4-6/7 วิเคราะห์ข้อมูล แปลความหมายข้อมูลและประเมินความสอดคล้องของข้อสรุปหรือ
สาระสาคัญ เพื่อตรวจสอบกับสมมติฐานที่ตั้งไว้
            ว 8.1 ม.4-6/8 พิจารณาความน่าเชื่อถือของวิธีการ และผลการสารวจตรวจสอบ โดยใช้หลักความ
คลาดเคลื่อนของการวัดและการสังเกต เสนอแนะการปรับปรุงวิธีการสารวจตรวจสอบ
            ว 8.1 ม.4-6/9 นาผลของการสารวจตรวจสอบที่ได้ ทั้งวิธีการและองค์ความรู้ที่ได้ไปสร้างคาถามใหม่
นาไปใช้แก้ปัญหาในสถานการณ์ใหม่และในชีวิตจริง
            ว 8.1 ม.4-6/10 ตระหนักถึงความสาคัญในการที่จะต้องมี ส่วนร่วมรับผิดชอบการอธิบาย การลงความเห็น
และการสรุปผลการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ที่นาเสนอต่อสาธารณชนด้วยความถูกต้อง
            ว 8.1 ม.4-6/11 บันทึกและอธิบายผลการสารวจตรวจสอบอย่างมีเหตุผล ใช้พยานหลักฐานอ้างอิงหรือ
ค้นคว้าเพื่อเติม เพื่อหาหลักฐานอ้างอิงที่เชื่อถือได้ และยอมรับว่าความรู้เดิมอาจมีการเปลี่ยนแปลงได้ เมื่อมีข้อมูลและ
ประจักษ์พยานใหม่เพิ่มเติมหรือโต้แย้งจากเดิม ซึ่งท้าทายให้มีการตรวจสอบ อย่างระมัดระวัง อันจะนามาสู่ การ
ยอมรับเป็นความรู้ใหม่
ว 8.1 ม.4-6/12 จัดแสดงผลงาน เขียนรายงาน และ/หรืออธิบายเกี่ยวกับแนวคิด กระบวนการ และผลของ
โครงงานหรือชิ้นงานให้ผู้อื่นเข้าใจ

2. สาระสาคัญ
        นักวิทยาศาสตร์ได้สร้างแบบจาลองอะตอมเพื่ออธิบายลักษณะและสมบัติของอะตอม ซึ่งอะตอมประกอบด้วย
อนุภาคมูลฐาน 3 ชนิด คือ โปรตอน นิวตรอน และอิเล็กตรอน ธาตุที่เป็นกลางทางไฟฟ้าจะมีจานวนโปรตอนและ
อิเล็กตรอนเท่ากัน โดยธาตุชนิดเดียวกันจะมีจานวนโปรตอนเท่ากัน และจานวนอนุภาคมูลฐานในอะตอมของธาตุนั้น
แสดงได้ด้วยสัญลักษณ์นิวเคลียร์ โดยเลขมวลคือจานวนรวมของโปรตอนกับนิวตรอน และเลขอะตอมคือจานวนของ
โปรตอน

3. จุดประสงค์การเรียนรู้
     3.1 ความรู้
          1. อธิบายโครงสร้างพื้นฐานของอะตอม
          2. อธิบายความหมายของสัญลักษณ์นิวเคลียร์ และคานวณหาอนุภาคมูลฐานจากสัญลักษณ์นิวเคลียร์
          3. อธิบายความหมายของแบบจาลองอะตอมและบอกสาเหตุที่ทาให้แบบจาลองอะตอมเปลี่ยนแปลงไปได้
          4. บอกความแตกต่างของแบบจาลองอะตอมของดอลตัน ทอมสัน รัทเทอร์ฟอร์ด โบร์และแบบจาลองอะตอม
     แบบกลุ่มหมอกได้
     3.2 ทักษะกระบวนการ
          นั ก เรี ย นสามารถเขี ย นและอธิ บ ายแบบจ าลองอะตอมของดอลตั น ทอมสั น รั ท เทอร์ ฟ อร์ ด โบร์ แ ละ
     แบบจาลองอะตอมแบบกลุ่มหมอกได้
         3.3 คุณลักษณะอันพึงประสงค์
          1. เข้าเรียน ปฏิบัติกิจกรรม และส่งงานตรงเวลา
          2. ร่วมมือในการเรียน แสวงหาความรู้ ตอบคาถาม ยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น และแสดงความคิดเห็น
      อย่างมีเหตุผล
          3. บันทึกข้อมูลจากการปฏิบัติกิจกรรม
          4. รักษาความสะอาดผลงาน ห้องเรียนและสถานที่ปฏิบัติกิจกรรม
4. สาระการเรียนรู้
          อะตอม คือ หน่วยย่อยที่เล็กที่สุดซึ่งไม่สามารถแบ่งให้เล็กลงไปได้อีก    แนวความคิดดังกล่าวนี้ได้จาก
นักปราชญ์ชาวกรีก ชื่อ ดิโมคริตุส (Demokritos)
          แบบจาลอง คือ มโนภาพที่สร้างขึ้นโดยอาศัยข้อมูลที่ได้จากการทดลอง แบบจาลองทางวิทยาศาสตร์ เป็น
มโนภาพที่นักวิทยาศาสตร์สร้างขึ้น เพื่อบอกลักษณะของสิ่งที่มองไม่เห็น เช่น อะตอม นอกจากนี้แบบจาลองยังใช้
เป็นคาอธิบายสิ่งหนึ่งสิ่งใดก็ได้ แบบจาลองสามารถเปลี่ยนแปลงได้เมื่อข้อมูลจากการทดลองเปลี่ยนแปลงไป
แบบจาลองอะตอมของดอลตัน
          นักวิทยาศาสตร์ที่เสนอแบบจาลองเป็นคนแรก คือ จอห์น ดอลตัน (Jhon Dalton) โดยเสนอความคิดเห็น
เกี่ยวกับอะตอมไว้ในปี พ.ศ. 2346 ซึ่งมีข้อความที่สาคัญสรุปได้ดังนี้
          1. สารแต่ละชนิดประกอบด้วยอนุภาคเล็ก ๆ เรียกว่าอะตอม ซึ่งแบ่งแยกไม่ได้
          2. อะตอมจะทาให้เกิดใหม่หรือสูญหายไปไม่ได้
3. อะตอมของธาตุชนิดเดียวกันมีสมบัติเหมือนกันและแตกต่างจากอะตอมของธาตุอื่น
         4.สารประกอบเกิ ด จากการรวมตั ว กั น ของ
อะตอมของธาตุต่างชนิดกันด้วยอัตราส่วนของจานวน
อะตอมคงที่เป็นเลขลงตัวน้อย ๆ
         5.โมเลกุลของสารประกอบชนิดเดียวกันย่อมมี
                   สมบั ติ เ หมื อ นกั น และแตกต่ า งจาก
                   โมเลกุลของสารประกอบอื่น
                   แบบจาลองอะตอมของทอมสัน
                    อะตอมมีลักษณะเป็นทรงกลม มีอนุภาคที่มีประจุบวก เรียกว่า โปรตอน อนุภาคที่มีประจุล บ
                          เรียกว่า อิเล็กตรอน และจานวนโปรตอนเท่ากับจานวนอิเล็กตรอนกระจายอยู่ทั่วไปในทรง
                          กลม
                          สโตนีย์ ได้ศึกษาผลงานของฟาราเดย์ และเป็นผู้สรุปว่า ไฟฟ้าประกอบด้วยอนุภาคทางไฟฟ้า
                          และตั้งชื่ออนุภาคนี้ว่า อิเล็กตรอน ซึ่งเป็นอนุภาคขนาดเล็กในอะตอมของธาตุ
                                    ออยแกน โกลด์สไตน์ นักวิทยาศาสตร์ชาวเยอรมัน ได้ทาการทดลองโดยใช้หลอด
รังสีแคโทด พบว่า อนุภาคบวก มีค่าอัตราส่วนประจุต่อมวลไม่คงที่ ขึ้นอยู่กับชนิดของก๊าซ และอนุภาคบวกที่เกิดจาก
ไฮโดรเจน เรียกว่า โปรตอน
แบบจาลองอะตอมของรัทเทอร์ฟอร์ด
อะตอม ประกอบด้วย นิวเคลียสที่มีโปรตอนรวมอยู่ตรงกลาง มีขนาดเล็ก และมีมวลมาก และมีอิเล็กตรอนซึ่งมีมวล
น้อยวิ่งอยู่รอบ ๆ นิวเคลียส
ลอร์อเออร์เนสต์ รัทเทอร์ฟอร์ด นักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษ และฮันส์ ไกเกอร์ นักวิทยาศาสตร์ชาวเยอรมัน ได้ทาการ
ทดลองยิงอนุภาคแอลฟา ไปยังแผ่นทองคาบาง ๆ เรียกการทดลองนี้ว่าการทดลองการกระเจิงรังสีแอลฟาของ
รัทเทอร์ฟอร์ด จากการทดลองพบว่า
      อนุภาคแอลฟาส่วนใหญ่วิ่งเป็นแนวเส้นตรงทะลุแผ่นทองคาบาง ๆ
      อนุภาคแอลฟาบางส่วนวิ่งเบี่ยงเบนไปจากแนวเส้นตรง
      อนุภาคแอลฟาส่วนน้อยสะท้อนกลับ


                          ดังนั้นรัทเทอร์ฟอร์ด เชื่อว่า น่าจะมีอนุภาคอีกชนิดหนึ่งอยู่ภายในนิวเคลียส ซึ่งไม่มีประจุ แต่
                    มีมวลใกล้เคียงกับโปรตอน
                                เซอร์เจมส์ แชดวิก นักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษ ได้ทาการทดลองยิงอนุภาคแอลฟา ไปยัง
                    อะตอมของธาตุต่าง ๆ และได้สรุปว่า ในนิวเคลี ยสของอะตอมมีอนุภาคที่เป็นกลางทางไฟฟ้า
เรียกว่า นิวตรอน ดังนั้นแบบจาลองอะตอม จึงมีลักษณะดังรูป
แบบจาลองอะตอมของนีลส์ โบร์
         จากผลการศึกษาเกี่ยวกับการเกิดสเปกตรัมของธาตุ ทาให้นักวิทยาศาสตร์พบว่าอิเล็กตรอนที่อยู่รอบ ๆ
นิวเคลียสนั้นไม่ได้อยู่รวมกันที่เดียวทั้งหมด แต่แบ่งออกเป็นกลุ่ม ๆ ตามระดับพลังงานต่าง ๆ รอบ ๆ นิวเคลียส ใน
ปี พ.ศ. 2428 - 2505 นีลส์ โบร์ (Neils Bohr) นักวิทยาศาสตร์ชาวเดนมาร์ก ได้นามาสร้างแบบจาลองอะตอม
ขึ้นใหม่โดยขยายจากแบบจาลองรัทเทอร์ฟอร์ด ดังนี้
         “อะตอมประกอบด้วยโปรตอนและนิวตรอนรวมเป็นนิวเคลียส และมีอิเล็กตรอนในอะตอมวิ่งอยู่รอบ ๆ
นิวเคลียสเป็นชั้น ๆ ตามระดับพลังงาน” แบบจาลองอะตอมของนิลส์ โบร์ ทาให้เห็นมโนภาพเกี่ยวกับการจัด
อิเล็กตรอนภายในอะตอมรอบ ๆ นิวเคลียส ซึ่งเปรียบเสมือนกับระบบสุริยะจักรวาลที่มีดวงอาทิตย์อยู่ตรงกลาง และ
มีดาวเคราะห์โคจรอยู่รอบ ๆ นอกจากนี้ โบร์ยังได้กาหนดสัญลั กษณ์สาหรับพลังงานชั้นต่าง ๆ ไว้ด้วย โดยให้ระดับ
พลังงานที่อยู่ใกล้นิวเคลียสที่สุดเป็นชั้น K และชั้นถัด ๆ ไปเป็นชั้น L, M, N , …… ซึ่งในปัจจุบันเรียกระดับ
พลังงานที่อยู่ใกล้นิวเคลียสที่สุดว่าระดับพลังงาน n = 1 และระดับพลังงานถัดออกไปเป็น n = 2,n = 3,n = 4,….
ตามลาดับ
         แบบจาลองอะตอมของโบร์ใช้อธิบ ายการเกิดสเปกตรัมได้ดี โดยเฉพาะกับอะตอมที่มีขนาดเล็ ก และมี
อิเล็กตรอนเดี่ยว เช่น อะตอมของไฮโดรเจน แต่สามารถใช้อธิบายอะตอมที่มีหลาย ๆ อิเล็กตรอนได้ นอกจากนี้ยัง
ทราบแต่เพียงว่าอิเล็กตรอนภายในอะตอมมีการจัดเรียงตัวเป็นชั้น ๆ ตามระดับพลังงาน แต่ไม่ทราบว่าในแต่ละระดับ
พลั ง งานจะมี อิเ ล็ กตรอนอยู่ กี่ ตั ว จึ ง ได้มี ก ารค้ นคว้ าเพิ่ ม เติ ม และเป็น เหตุ ใ ห้ แ บบจ าลองอะตอมเปลี่ ย นไปอี ก
แบบจาลองอะตอมแบบกลุ่มหมอก
เนื่องจากแบบจาลองอะตอมของโบร์ มีข้อจากัดที่ไม่สามารถใช้อธิบายสเปกตรัมของอะตอมที่มีหลายอิเล็กตรอน ได้มี
การศึกษาเพิ่มเติมจนได้ข้อมูลที่เชื่อว่าอิเล็กตรอนมีสมบัติเป็นทั้งอนุภาคและคลื่น โดยเคลื่อนที่รอบนิวเคลียสใน
ลักษณะของคลื่ นนิ่ง บริเวณที่พบอิเล็กตรอนได้พบได้ห ลายลักษณะเป็นรูปทรงต่าง ๆ ตามระดับพลังงานของ
อิเล็กตรอน จากการใช้ความรู้ทางกลศาสตร์ควอนตัมสร้างสมการขึ้นเพื่อคานวณหาโอกาสที่จะพบอิเล็กตรอนใน
ระดับพลังงานต่าง ๆ พบว่าแบบจาลองนี้อธิบายเส้นสเปกตรัมได้ดีกว่าแบบจาลองอะตอมของโบร์ โดยแบบจาลอง
อะตอมแบบกลุ่มหมอกกล่าวไว้ดังนี้
         1. อิเล็กตรอนมีขนาดเล็กมากและเคลื่อนที่อย่างรวดเร็วตลอดเวลาไปทั่วทั้งอะตอม จึงไม่สามารถบอก
ตาแหน่งที่แน่นอนของอะตอมได้
         2. มีโอกาสที่จะพบอิเล็กตรอนรอบนิวเคลียสบางบริเวณเท่านั้น ทาให้สร้างมโนภาพได้ว่าอะตอม
ประกอบด้วยกลุ่มหมอกของอิเล็กตรอนรอบ ๆ นิวเคลียส
         3. บริเวณที่กลุ่มหมอกทึบแสดงว่าโอกาสที่จะพบอิเล็กตรอนได้มากกว่าบริเวณที่มีกลุ่มหมอกจาง”

5. หลักฐาน หรือร่องรอยของการเรียนรู้ การวัดผลและประเมินผล
        5.1 ความรู้
       ภาระงาน/
                          วิธีการวัด          เครื่องมือ    เกณฑ์ที่ใช้ประเมิน                              ผู้ประเมิน
        ชิ้นงาน
   เขียนสรุปความรู้ ตรวจสอบการเขียน      - แบบประเมิน เขียนสรุปความรู้ที่ได้จาก                                 ครู
   จากการเรียนรู้ สรุปความรู้ที่ได้จาก   ชิ้นงาน         การเรียนรู้ถูกต้องอย่างน้อย
   (พับกระดาษ       การเรียนรู้                          80 %
   foldable)




   แผนผังความคิด วัดเมื่อจบบทเรียน    - Concept map                      ระดับ 4 ดีเยี่ยม 4 คะแนน               ครู
   (Graphic      ตามตัวชี้วัดต่อไปนี้ - แบบประเมิน                       = ทาได้ถูกต้องทุกตัวชี้วัด
   Organize)     1. การกาหนดและ       แผนผังความคิด                      ระดับ 3 ดี 3 คะแนน
                 เชื่อมโยงแนวความคิด                                     = ทาได้ถูกต้องจานวนมาก
หลัก แนวความคิดรอง                           ระดับ 2 พอใช้ 2 คะแนน
                แนวความคิดย่อย ที่                            = ทาได้ถูกต้องจานวนน้อย
                เกี่ยวกับแบบจาลอง                            ระดับ 1 ต้องปรับปรุง
                อะตอม                                        1 คะแนน
                2. การเชื่อมโยงความรู้                       = ทาได้ถูกต้องน้อยมาก
                3. การเชื่อมโยง                              หรือไม่ถูกต้องเลย
                ประเด็นต่างๆอย่าง
                สมเหตุสมผล มี
                คาเชื่อมถูกต้อง
                ชัดเจน




  ภาระงาน/
                       วิธีการวัด            เครื่องมือ           เกณฑ์ที่ใช้ประเมิน      ผู้ประเมิน
    ชิ้นงาน
ตอบคาถาม      ตรวจคาตอบของ               - Exit ticket       ระดับ 4 ดีเยี่ยม 4 คะแนน         ครู
สะท้อนความคิด คาถามสะท้อน                - แบบประเมิน        = ทาได้ถูกต้องทุกตัวชี้วัด เพื่อนนักเรียน
              ความคิด ตามตัวชี้วัด       การตอบคาถาม         ระดับ 3 ดี 3 คะแนน
              ต่อไปนี้                   สะท้อนความคิด       = ทาได้ถูกต้องจานวนมาก
              1. ความถูกต้อง                                 ระดับ 2 พอใช้ 2 คะแนน
              ครอบคลุมสิ่งที่ได้                              = ทาได้ถูกต้องจานวนน้อย
              เรียนรู้                                       ระดับ 1 ต้องปรับปรุง
              2. ความสมเหตุสมผล                              1 คะแนน
              ชัดเจน ของคาตอบ                                = ทาได้ถูกต้องน้อยมาก
              3. การตั้งคาถามที่                             หรือไม่ถูกต้องเลย
              อยากรู้

    5.2 ทักษะกระบวนการ
  ภาระงาน/
                     วิธีการวัด              เครื่องมือ           เกณฑ์ที่ใช้ประเมิน      ผู้ประเมิน
    ชิ้นงาน
ทาใบงาน เรื่อง ตรวจสอบจากการทา           - ใบงาน เรื่อง      ทาได้ถูกต้องอย่างน้อย            ครู
แบบจาลอง        ใบงาน                    แบบจาลอง            80 %
อะตอม                                    อะตอม

   5.3 คุณลักษณะอันพึงประสงค์
คุณลักษณะ      ภาระงาน/              วิธีการวัด           เครื่องมือ      เกณฑ์ที่ใช้     ผู้ประเมิน
อันพึง            ชิ้นงาน/                                             ประเมิน
    ประสงค์           พฤติกรรม
   ตรงต่อเวลา     เข้าเรียน           - สังเกตพฤติกรรม แบบประเมิน       ต้องได้ไม่ต่ากว่า      ครู
                  ปฏิบัติกิจกรรม      การเข้าเรียน การ คุณลักษณะ        ระดับคุณภาพ
                  ส่งงานตรงเวลา       ปฏิบัติกิจกรรม   อันพึงประสงค์    3 คือ ดี
                                      และการส่งงานของ                   จากระดับ
                                      นักเรียน                          คุณภาพ 4 คือ
                                                                        ดีมาก


   คุณลักษณะ         ภาระงาน/
                                                                          เกณฑ์ที่ใช้
      อันพึง          ชิ้นงาน/           วิธีการวัด        เครื่องมือ                       ผู้ประเมิน
                                                                           ประเมิน
     ประสงค์         พฤติกรรม
     ใฝ่เรียนรู้ ร่วมมือในการ       - สังเกตพฤติกรรม     แบบประเมิน ต้องได้ไม่ต่ากว่า          ครู
                 เรียน แสวงหา       ความร่วมมือใน        คุณลักษณะ ระดับคุณภาพ
                 ความรู้ ตอบ        การเรียน การ         อันพึงประสงค์ 3 คือ ดี
                 คาถาม ยอมรับ       แสวงหาความรู้                      จากระดับ
                 ความคิดเห็นผู้อื่น การตอบคาถาม                        คุณภาพ 4
                 และแสดงความ        การยอมรับความ                      คือ ดีมาก
                 คิดเห็นอย่างมี     คิดเห็นผู้อื่น และ
                 เหตุผล             การแสดงความ
                                    คิดเห็นอย่างมี
                                    เหตุผล
     ซื่อสัตย์    บันทึกข้อมูลจาก - สังเกตพฤติกรรม       แบบประเมิน ต้องได้ไม่ต่ากว่า          ครู
                  การปฏิบัติ        การบันทึกข้อมูล      คุณลักษณะ ระดับคุณภาพ
                  กิจกรรม ทา        จากการปฏิบัติ        อันพึงประสงค์ 3 คือ ดี
                  แบบฝึกหัด ทา กิจกรรม การทา                           จากระดับ
                  แบบทดสอบ          แบบฝึกหัดและการ                    คุณภาพ 4 คือ
                  ด้วยความซื่อสัตย์ ทาแบบทดสอบ                         ดีมาก
    รักสะอาด      รักษาความ         - สังเกตพฤติกรรม     แบบประเมิน ต้องได้ไม่ต่ากว่า          ครู
                  สะอาดผลงาน        การรักษาความ         คุณลักษณะ ระดับคุณภาพ              นักเรียน
                  ห้องเรียนและ      สะอาดผลงาน การ       อันพึงประสงค์ 3 คือ ดี
                  สถานที่ปฏิบัติ    ทาความสะอาด                        จากระดับ
                  กิจกรรม           ห้องเรียน และ                      คุณภาพ 4 คือ
                                    สถานที่ปฏิบัติ                     ดีมาก
                                    กิจกรรม

6. คาถามสาคัญ
1.โครงสร้างอะตอมในแต่ละแบบมีลักษณะใด และค้นพบด้วยวิธีใด
         2. การศึกษาโครงสร้างอะตอมทาให้ค้นพบอนุภาคใดภายในอะตอม
         3. แบบจาลองอะตอมที่อธิบายโครงสร้างอะตอมในปัจจุบันคือแบบจาลองใด และในอนาคตสามารถ
เปลี่ยนแปลงได้อีกหรือไม่ เพราะอะไร
7. การจัดกระบวนการเรียนรู้
         ขั้นสร้างความสนใจ (Engagement)
              1. ครูนาอภิปรายและให้ความรู้เกี่ยวกับความเชื่อของนักปราชญ์ชาวกรีก ซึ่งดิโมคริตุส เชื่ อว่าสิ่งของ
ต่างๆ ประกอบด้วยอนุภาคที่มีขนาดเล็กมาก และถ้าแบ่งอนุภาคให้มีขนาดเล็กลงเรื่อยๆ จนไม่สามารถแบ่งต่อไปได้
อีกก็จ ะได้ อนุ ภ าคที่มี ขนาดเล็ กที่สุ ด เรี ย กว่า อะตอม ซึ่ง ไม่ส ามารถมองเห็ นด้ว ยตาเปล่ าได้ (ทบทวน เชื่อมโยง
ตรวจสอบความรู้เดิม และเปิดโอกาสให้ซักถามเพิ่มเติมเพื่อกระตุ้นความสนใจ) หลังจากนั้นให้นักเรียนเขียนในสิ่งที่รู้
และสิ่งที่อยากรู้เกี่ยวกับ อะตอม ลงในกระดาษที่แจกให้ เพื่อตรวจสอบความเข้าใจเพื่อใช้เป็นแนวทางในการจัดการ
เรียนการสอน (KWL)
               2. ครูนาภาพแบบจาลองอะตอมของดอลตัน ทอมสัน รัทเทอร์ฟอร์ด โบร์ และแบบจาลองอะตอมแบบ
กลุ่มหมอก มาให้นักเรียนดู และร่วมกันอภิปรายถึงลักษณะของอะตอม โดยครูใช้คาถามกระตุ้นดังนี้
                   - นักเรียนเรียงลาดับของแบบจาลองอะตอมจากเริ่มแรกไปสู่แบบจาลองปัจจุบัน
                   - แบบจาลองแต่ละแบบมีความแตกต่างกันหรือไม่ ลักษณะใด
              3. ครูให้นักเรียนคิดเดี่ยว คิดคู่ หรือคิดกลุ่ม (Think Pair Share) ร่วมกันอภิปรายหาคาตอบเกี่ยวกับ
คาถามนี้

         ขั้นสารวจและค้นหา (Exploration)
         1. จัดกลุ่มนักเรียน 3 คน ที่ประกอบด้วยนักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน สูง ปานกลาง และอ่อน
         2. ครูแจกใบความรู้ เรื่อง แบบจาลองอะตอม
         3. ครูให้นักเรียนศึกษาใบความรู้ เรื่องแบบจาลองอะตอมด้วยตนเอง (Active Reading) โดยชี้แจงนักเรียน
ว่า ในขณะที่นักเรียนอ่านให้ใช้ปากกาเน้นข้อความ ขีดเส้นใต้ วงกลมใจความสาคัญ หรือจดสรุปความเข้าใจ ลงใน
กระดาษที่ครูแจกให้ โดยให้นักเรียนพับกระดาษ (foldable) ในรูปแบบใดก็ได้โดยครูแจกแบบการพับกระดาษให้
นักเรียนเพื่อเป็นตัวอย่างในการพับกระดาษ
         4. ครูสอนโดยใช้สื่อ Power Point (PPT) เรื่องแบบจาลองอะตอม เพื่ออภิปรายในรายข้อที่เป็นประเด็น
สงสัย (โดยเว้นให้นักเรียนซักถามและเขียนตอบลงในใบความรู้เป็นระยะ)

        ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป (Explanation)
        1. ครูแจกใบงานเรื่อง แบบจาลองอะตอม ให้นักเรียนช่วยกันอภิปรายและทาแบบฝึกหัดในใบงาน เพื่อ
   เตรียมตัวทดสอบย่อยเป็นรายบุคคล
        2. ครูแจ้งเกณฑ์การผ่านกิจกรรมว่านักเรียนจะได้คะแนนเท่ากับคะแนนเฉลี่ยของสมาชิกในกลุ่ม ดังนั้นทุก
   คนต้องช่วยเหลือกัน เพื่อให้ได้ความรู้เท่าเทียมกัน และสามารถตอบคาถามได้ด้วยตนเอง



        ขั้นขยายความรู้ (Elaboration)
1. ครูนาอภิปรายและเฉลยคาตอบลงในแบบฝึกหัดในใบงาน
    2. ครูให้นักเรียนแต่ละคนสรุปองค์ความรู้เกี่ยวกับแบบจาลองอะตอม เป็นแผนผังความคิด (Concept map)

     ขั้นประเมิน (Evaluation)
     1. ครูทดสอบนักเรียนเป็นรายบุคคลด้วยแบบทดสอบ
     2. ครูแจ้งผลการทากิจกรรมให้นักเรียนทราบ และให้รางวัลสาหรับกลุ่มที่ทาคะแนนได้สูงสุด และคะแนน
เกินความคาดหมาย
     3. ครูและนักเรียนร่วมกับอภิปรายคาตอบและคาถามที่สงสัยจากการทดสอบ
     4. นักเรียนเขียนสรุปความรู้ที่ได้รับจากการเรียนรู้ลงในสมุด บันทึกการเรียนรู้ (Learning logs) และ
  ประเมินผลสะท้อนการเรียนรู้ลงใน 3-2-1 Ticket (Exit Ticket)

8. สื่อ วัสดุ อุปกรณ์/ แหล่งเรียนรู้
         1. ใบความรู้ เรื่อง แบบจาลองอะตอม
         2. Power Point (PPT) เรื่อง แบบจาลองอะตอม
         3. ตัวอย่างวิธีการพับกระดาษ (foldable)
         4. ใบงาน เรื่อง แบบจาลองอะตอม
         5. แบบทดสอบ
         6. แบบประเมินแผนผังความคิด
         7. แบบประเมินการตอบคาถามสะท้อนความคิด
        8. แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
บันทึกหลังสอน
รหัส-ชื่อรายวิชา ว30131 เคมีพื้นฐาน                       ชั้น ม.4                        กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โครงสร้างอะตอม                                               โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย

           ประเด็นการบันทึก                                                   ผลการใช้แผนการสอน
1. เนื้อหาที่สอน                       ....................................................................................................................
(สอนได้สมบูรณ์ครบถ้วนหรือไม่)          ....................................................................................................................
2. เวลา                                ....................................................................................................................
(เหมาะสมหรือไม่)                       ....................................................................................................................
3. กิจกรรมที่ใช้สอน                    ....................................................................................................................
(ตามแผนหรือไม่)                        ....................................................................................................................
4. ปัญหาและอุปสรรค                     ....................................................................................................................
                                       ....................................................................................................................
ผลการเรียนของนักเรียน
             ชั้น                                  เข้าเรียน (คน)                                                     ขาด (คน)
            ม.4/1
            ม.4/2
            ม.4/3
            ม.4/4
            ม.4/5
            ม.4/6
    ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน         ผ่านเกณฑ์…………………………………….                                      ไม่ผ่านเกณฑ์…………………………………..
การมอบหมายหน้าที่และความรับผิดชอบ ………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………
บรรยากาศในการเรียน………………………………………………………….………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………
ปัญหาและอุปสรรค……………………………………………………….………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………


                                                                                 ลงชื่อ
                                                                                                    (นางธิดารัตน์ แสงฮวด)

More Related Content

What's hot

บทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารบทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารPinutchaya Nakchumroon
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนkrupornpana55
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสAomiko Wipaporn
 
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรมแผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรมWichai Likitponrak
 
ใบงาน 8.1 8.2
ใบงาน 8.1 8.2ใบงาน 8.1 8.2
ใบงาน 8.1 8.2oraneehussem
 
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPower point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรมThanyamon Chat.
 
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศkrupornpana55
 
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอนใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอนSukanya Nak-on
 
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdnaเฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdnaWan Ngamwongwan
 
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีบทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีJariya Jaiyot
 
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมกระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมJariya Jaiyot
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศdnavaroj
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12  การสังเคราะห์แสงบทที่ 12  การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสงPinutchaya Nakchumroon
 
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์Aomiko Wipaporn
 
ใบกิจกรรมที่ 11 ระบบภูมิคุ้มกันและความผิดปกติ
ใบกิจกรรมที่ 11 ระบบภูมิคุ้มกันและความผิดปกติใบกิจกรรมที่ 11 ระบบภูมิคุ้มกันและความผิดปกติ
ใบกิจกรรมที่ 11 ระบบภูมิคุ้มกันและความผิดปกติAomiko Wipaporn
 
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdfแบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdfssuser2feafc1
 
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออนมวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออนพัน พัน
 

What's hot (20)

บทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารบทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสาร
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
 
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรมแผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
 
ใบงาน 8.1 8.2
ใบงาน 8.1 8.2ใบงาน 8.1 8.2
ใบงาน 8.1 8.2
 
สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)
 
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPower point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
 
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
 
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอนใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
 
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdnaเฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
 
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีบทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
 
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมกระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
 
Lesson4cellres bio3 2562
Lesson4cellres bio3 2562Lesson4cellres bio3 2562
Lesson4cellres bio3 2562
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12  การสังเคราะห์แสงบทที่ 12  การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
 
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
 
ใบกิจกรรมที่ 11 ระบบภูมิคุ้มกันและความผิดปกติ
ใบกิจกรรมที่ 11 ระบบภูมิคุ้มกันและความผิดปกติใบกิจกรรมที่ 11 ระบบภูมิคุ้มกันและความผิดปกติ
ใบกิจกรรมที่ 11 ระบบภูมิคุ้มกันและความผิดปกติ
 
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
 
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdfแบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
 
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออนมวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
 

Viewers also liked

ใบงานโครงสร้างอะตอม1
ใบงานโครงสร้างอะตอม1ใบงานโครงสร้างอะตอม1
ใบงานโครงสร้างอะตอม1Coverslide Bio
 
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอกkruannchem
 
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุ
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุใบงานที่ 4 ตารางธาตุ
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุCoverslide Bio
 
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1Wijitta DevilTeacher
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชนเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชนWijitta DevilTeacher
 
ใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลก
ใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลกใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลก
ใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลกwebsite22556
 
การจำแนกสารเนื้อผสม
การจำแนกสารเนื้อผสมการจำแนกสารเนื้อผสม
การจำแนกสารเนื้อผสมwebsite22556
 
02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ
02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ
02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุkruannchem
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงานเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงานWijitta DevilTeacher
 
หินอัคนี หินแปร หินตะกอน
หินอัคนี หินแปร หินตะกอนหินอัคนี หินแปร หินตะกอน
หินอัคนี หินแปร หินตะกอนwebsite22556
 
Ch 01 โครงสร้างอะตอม
Ch 01 โครงสร้างอะตอมCh 01 โครงสร้างอะตอม
Ch 01 โครงสร้างอะตอมkruannchem
 
บทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบ
บทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบบทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบ
บทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบoraneehussem
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชาเคมี (พื้นฐาน)
เอกสารประกอบการเรียน วิชาเคมี (พื้นฐาน)เอกสารประกอบการเรียน วิชาเคมี (พื้นฐาน)
เอกสารประกอบการเรียน วิชาเคมี (พื้นฐาน)Coco Tan
 
03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ
03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ
03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุkruannchem
 
ใบงานที่ 3 ผลของปฏิกิริยาเคมีต่อสิ่งมีชิวิตและสิ่งแวดล้อม
ใบงานที่ 3 ผลของปฏิกิริยาเคมีต่อสิ่งมีชิวิตและสิ่งแวดล้อมใบงานที่ 3 ผลของปฏิกิริยาเคมีต่อสิ่งมีชิวิตและสิ่งแวดล้อม
ใบงานที่ 3 ผลของปฏิกิริยาเคมีต่อสิ่งมีชิวิตและสิ่งแวดล้อมwebsite22556
 
บทที่ 2 พันธะเคมี
บทที่ 2 พันธะเคมีบทที่ 2 พันธะเคมี
บทที่ 2 พันธะเคมีoraneehussem
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 

Viewers also liked (20)

ใบงานโครงสร้างอะตอม1
ใบงานโครงสร้างอะตอม1ใบงานโครงสร้างอะตอม1
ใบงานโครงสร้างอะตอม1
 
Physics atom part 2
Physics atom part 2Physics atom part 2
Physics atom part 2
 
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก
 
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุ
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุใบงานที่ 4 ตารางธาตุ
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุ
 
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
 
น้ำ
น้ำน้ำ
น้ำ
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชนเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
 
ใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลก
ใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลกใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลก
ใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลก
 
การจำแนกสารเนื้อผสม
การจำแนกสารเนื้อผสมการจำแนกสารเนื้อผสม
การจำแนกสารเนื้อผสม
 
02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ
02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ
02 สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงานเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
 
หินอัคนี หินแปร หินตะกอน
หินอัคนี หินแปร หินตะกอนหินอัคนี หินแปร หินตะกอน
หินอัคนี หินแปร หินตะกอน
 
Ch 01 โครงสร้างอะตอม
Ch 01 โครงสร้างอะตอมCh 01 โครงสร้างอะตอม
Ch 01 โครงสร้างอะตอม
 
ดิน
ดินดิน
ดิน
 
บทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบ
บทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบบทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบ
บทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบ
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชาเคมี (พื้นฐาน)
เอกสารประกอบการเรียน วิชาเคมี (พื้นฐาน)เอกสารประกอบการเรียน วิชาเคมี (พื้นฐาน)
เอกสารประกอบการเรียน วิชาเคมี (พื้นฐาน)
 
03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ
03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ
03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ
 
ใบงานที่ 3 ผลของปฏิกิริยาเคมีต่อสิ่งมีชิวิตและสิ่งแวดล้อม
ใบงานที่ 3 ผลของปฏิกิริยาเคมีต่อสิ่งมีชิวิตและสิ่งแวดล้อมใบงานที่ 3 ผลของปฏิกิริยาเคมีต่อสิ่งมีชิวิตและสิ่งแวดล้อม
ใบงานที่ 3 ผลของปฏิกิริยาเคมีต่อสิ่งมีชิวิตและสิ่งแวดล้อม
 
บทที่ 2 พันธะเคมี
บทที่ 2 พันธะเคมีบทที่ 2 พันธะเคมี
บทที่ 2 พันธะเคมี
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบ
 

Similar to 01 โครงสร้างอะตอม

TSMT Journal15 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 15)
TSMT Journal15 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 15)TSMT Journal15 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 15)
TSMT Journal15 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 15)SAKANAN ANANTASOOK
 
05 พันธะไอออนิก
05 พันธะไอออนิก05 พันธะไอออนิก
05 พันธะไอออนิกkruannchem
 
สาระที่ ๔ แรงและการเคลื่อนที่
สาระที่ ๔   แรงและการเคลื่อนที่สาระที่ ๔   แรงและการเคลื่อนที่
สาระที่ ๔ แรงและการเคลื่อนที่วิสิทธิ์ โทแก้ว
 
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4supphawan
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมPrangwadee Sriket
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมPrangwadee Sriket
 
สรุุปเคมี
สรุุปเคมีสรุุปเคมี
สรุุปเคมีScan Do Dee
 
06 สมบัติของสารประกอบไอออนิก
06 สมบัติของสารประกอบไอออนิก 06 สมบัติของสารประกอบไอออนิก
06 สมบัติของสารประกอบไอออนิก kruannchem
 
09แผน เรื่อง ทอร์กกับการเคลื่อนที่แบบหมุน
09แผน เรื่อง ทอร์กกับการเคลื่อนที่แบบหมุน09แผน เรื่อง ทอร์กกับการเคลื่อนที่แบบหมุน
09แผน เรื่อง ทอร์กกับการเคลื่อนที่แบบหมุนWijitta DevilTeacher
 
ใบงานที่ 6 เรื่อง โครงงานประเภท
ใบงานที่ 6 เรื่อง โครงงานประเภทใบงานที่ 6 เรื่อง โครงงานประเภท
ใบงานที่ 6 เรื่อง โครงงานประเภทไทด์ ป่วง แพ่ง
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสัน
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสันแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสัน
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสันKatewaree Yosyingyong
 
ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8Narut Keatnima
 

Similar to 01 โครงสร้างอะตอม (20)

TSMT Journal15 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 15)
TSMT Journal15 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 15)TSMT Journal15 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 15)
TSMT Journal15 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 15)
 
1ธรรมชาติของฟิสิกส์
1ธรรมชาติของฟิสิกส์1ธรรมชาติของฟิสิกส์
1ธรรมชาติของฟิสิกส์
 
05 พันธะไอออนิก
05 พันธะไอออนิก05 พันธะไอออนิก
05 พันธะไอออนิก
 
สาระที่ ๔ แรงและการเคลื่อนที่
สาระที่ ๔   แรงและการเคลื่อนที่สาระที่ ๔   แรงและการเคลื่อนที่
สาระที่ ๔ แรงและการเคลื่อนที่
 
Intro sciproject
Intro sciprojectIntro sciproject
Intro sciproject
 
หน่วยที่ 1 ไฟฟ้าฟ้าสถิต
หน่วยที่ 1 ไฟฟ้าฟ้าสถิตหน่วยที่ 1 ไฟฟ้าฟ้าสถิต
หน่วยที่ 1 ไฟฟ้าฟ้าสถิต
 
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
 
Punmanee study 8
Punmanee study 8Punmanee study 8
Punmanee study 8
 
ฟิสิกส์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ฟิสิกส์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีฟิสิกส์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ฟิสิกส์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
สรุุปเคมี
สรุุปเคมีสรุุปเคมี
สรุุปเคมี
 
06 สมบัติของสารประกอบไอออนิก
06 สมบัติของสารประกอบไอออนิก 06 สมบัติของสารประกอบไอออนิก
06 สมบัติของสารประกอบไอออนิก
 
09แผน เรื่อง ทอร์กกับการเคลื่อนที่แบบหมุน
09แผน เรื่อง ทอร์กกับการเคลื่อนที่แบบหมุน09แผน เรื่อง ทอร์กกับการเคลื่อนที่แบบหมุน
09แผน เรื่อง ทอร์กกับการเคลื่อนที่แบบหมุน
 
ใบงานที่ 6 เรื่อง โครงงานประเภท
ใบงานที่ 6 เรื่อง โครงงานประเภทใบงานที่ 6 เรื่อง โครงงานประเภท
ใบงานที่ 6 เรื่อง โครงงานประเภท
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสัน
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสันแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสัน
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสัน
 
ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8
 
Book Exhibition NAC 2009 Full
Book Exhibition NAC 2009 FullBook Exhibition NAC 2009 Full
Book Exhibition NAC 2009 Full
 
Exhibition NAC 2009
Exhibition NAC 2009Exhibition NAC 2009
Exhibition NAC 2009
 

01 โครงสร้างอะตอม

  • 1. แผนการจัดการเรียนรู้ รหัส-ชื่อรายวิชา ว30131 เคมีพื้นฐาน ชั้น ม.4 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 แผนการเรียน เรื่อง โครงสร้างอะตอม เวลา 3 คาบ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ 1.มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด (หลักสูตรโรงเรียนวิทยาศาสตร์และหลักสูตรแกนกลาง 2551) มาตรฐานที่ 1 เข้าใจสมบัติของสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสารกับโครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยว ระหว่างอนุภาค มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ นาความรู้ไปใช้ประโยชน์ ตัวชี้วัด 1.1 สืบค้นข้อมูลและอธิบายโครงสร้างอะตอม และสัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ มาตรฐาน ว 8.1 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การ แก้ปัญหา รู้ว่าปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ ภายใต้ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้นๆ เข้าใจว่า วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อมมีความ เกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน ตัวชี้วัด ว 8.1 ม.4-6/1 ตั้งคาถามที่อยู่บนพื้นฐานของความรู้และความเข้าใจทางวิทยาศาสตร์ หรือความสนใจ หรือ จากประเด็นที่เกิดขึ้นในขณะนั้น ที่สามารถ ทาการสารวจตรวจสอบหรือศึกษาค้นคว้าได้อย่างครอบคลุมและเชื่อถือได้ ว 8.1 ม.4-6/2 สร้างสมมติฐานที่มีทฤษฎีรองรับ หรือคาดการณ์สิ่งที่จะพบ หรือสร้างแบบจาลองหรือสร้าง รูปแบบ เพื่อนาไปสู่การสารวจตรวจสอบ ว 8.1 ม.4-6/3 ค้นคว้ารวบรวมข้อมูลที่ต้องพิจารณาปัจจัยหรือ ตัวแปรสาคัญ ปัจจัยที่มีผลต่อปัจจัยอื่น ปัจจัยที่ ควบคุมไม่ได้ และจานวนครั้งของการสารวจ ตรวจสอบเพื่อให้ได้ผลที่มีความเชื่อมั่นอย่างเพียงพอ ว 8.1 ม.4-6/4 เลือกวัสดุ เทคนิควิธี อุปกรณ์ที่ใช้ในการสังเกต การวัด การสารวจตรวจสอบอย่างถูกต้องทั้ง ทางกว้างและลึก ในเชิงปริมาณและคุณภาพ ว 8.1 ม.4-6/5 รวบรวมข้อมูลและบันทึกผลการสารวจตรวจสอบอย่างเป็นระบบถูกต้อง ครอบคลุมทั้งใน เชิงปริมาณและคุณภาพ โดยตรวจสอบความเป็นไปได้ ความเหมาะสมหรือความผิดพลาดของข้อมูล ว 8.1 ม.4-6/6 จัดกระทาข้อมูล โดยคานึงถึงการรายงานผลเชิงตัวเลขที่มีระดับความถูกต้องและนาเสนอ ข้อมูลด้วยเทคนิควิธีที่เหมาะสม ว 8.1 ม.4-6/7 วิเคราะห์ข้อมูล แปลความหมายข้อมูลและประเมินความสอดคล้องของข้อสรุปหรือ สาระสาคัญ เพื่อตรวจสอบกับสมมติฐานที่ตั้งไว้ ว 8.1 ม.4-6/8 พิจารณาความน่าเชื่อถือของวิธีการ และผลการสารวจตรวจสอบ โดยใช้หลักความ คลาดเคลื่อนของการวัดและการสังเกต เสนอแนะการปรับปรุงวิธีการสารวจตรวจสอบ ว 8.1 ม.4-6/9 นาผลของการสารวจตรวจสอบที่ได้ ทั้งวิธีการและองค์ความรู้ที่ได้ไปสร้างคาถามใหม่ นาไปใช้แก้ปัญหาในสถานการณ์ใหม่และในชีวิตจริง ว 8.1 ม.4-6/10 ตระหนักถึงความสาคัญในการที่จะต้องมี ส่วนร่วมรับผิดชอบการอธิบาย การลงความเห็น และการสรุปผลการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ที่นาเสนอต่อสาธารณชนด้วยความถูกต้อง ว 8.1 ม.4-6/11 บันทึกและอธิบายผลการสารวจตรวจสอบอย่างมีเหตุผล ใช้พยานหลักฐานอ้างอิงหรือ ค้นคว้าเพื่อเติม เพื่อหาหลักฐานอ้างอิงที่เชื่อถือได้ และยอมรับว่าความรู้เดิมอาจมีการเปลี่ยนแปลงได้ เมื่อมีข้อมูลและ ประจักษ์พยานใหม่เพิ่มเติมหรือโต้แย้งจากเดิม ซึ่งท้าทายให้มีการตรวจสอบ อย่างระมัดระวัง อันจะนามาสู่ การ ยอมรับเป็นความรู้ใหม่
  • 2. ว 8.1 ม.4-6/12 จัดแสดงผลงาน เขียนรายงาน และ/หรืออธิบายเกี่ยวกับแนวคิด กระบวนการ และผลของ โครงงานหรือชิ้นงานให้ผู้อื่นเข้าใจ 2. สาระสาคัญ นักวิทยาศาสตร์ได้สร้างแบบจาลองอะตอมเพื่ออธิบายลักษณะและสมบัติของอะตอม ซึ่งอะตอมประกอบด้วย อนุภาคมูลฐาน 3 ชนิด คือ โปรตอน นิวตรอน และอิเล็กตรอน ธาตุที่เป็นกลางทางไฟฟ้าจะมีจานวนโปรตอนและ อิเล็กตรอนเท่ากัน โดยธาตุชนิดเดียวกันจะมีจานวนโปรตอนเท่ากัน และจานวนอนุภาคมูลฐานในอะตอมของธาตุนั้น แสดงได้ด้วยสัญลักษณ์นิวเคลียร์ โดยเลขมวลคือจานวนรวมของโปรตอนกับนิวตรอน และเลขอะตอมคือจานวนของ โปรตอน 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 3.1 ความรู้ 1. อธิบายโครงสร้างพื้นฐานของอะตอม 2. อธิบายความหมายของสัญลักษณ์นิวเคลียร์ และคานวณหาอนุภาคมูลฐานจากสัญลักษณ์นิวเคลียร์ 3. อธิบายความหมายของแบบจาลองอะตอมและบอกสาเหตุที่ทาให้แบบจาลองอะตอมเปลี่ยนแปลงไปได้ 4. บอกความแตกต่างของแบบจาลองอะตอมของดอลตัน ทอมสัน รัทเทอร์ฟอร์ด โบร์และแบบจาลองอะตอม แบบกลุ่มหมอกได้ 3.2 ทักษะกระบวนการ นั ก เรี ย นสามารถเขี ย นและอธิ บ ายแบบจ าลองอะตอมของดอลตั น ทอมสั น รั ท เทอร์ ฟ อร์ ด โบร์ แ ละ แบบจาลองอะตอมแบบกลุ่มหมอกได้ 3.3 คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. เข้าเรียน ปฏิบัติกิจกรรม และส่งงานตรงเวลา 2. ร่วมมือในการเรียน แสวงหาความรู้ ตอบคาถาม ยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น และแสดงความคิดเห็น อย่างมีเหตุผล 3. บันทึกข้อมูลจากการปฏิบัติกิจกรรม 4. รักษาความสะอาดผลงาน ห้องเรียนและสถานที่ปฏิบัติกิจกรรม 4. สาระการเรียนรู้ อะตอม คือ หน่วยย่อยที่เล็กที่สุดซึ่งไม่สามารถแบ่งให้เล็กลงไปได้อีก แนวความคิดดังกล่าวนี้ได้จาก นักปราชญ์ชาวกรีก ชื่อ ดิโมคริตุส (Demokritos) แบบจาลอง คือ มโนภาพที่สร้างขึ้นโดยอาศัยข้อมูลที่ได้จากการทดลอง แบบจาลองทางวิทยาศาสตร์ เป็น มโนภาพที่นักวิทยาศาสตร์สร้างขึ้น เพื่อบอกลักษณะของสิ่งที่มองไม่เห็น เช่น อะตอม นอกจากนี้แบบจาลองยังใช้ เป็นคาอธิบายสิ่งหนึ่งสิ่งใดก็ได้ แบบจาลองสามารถเปลี่ยนแปลงได้เมื่อข้อมูลจากการทดลองเปลี่ยนแปลงไป แบบจาลองอะตอมของดอลตัน นักวิทยาศาสตร์ที่เสนอแบบจาลองเป็นคนแรก คือ จอห์น ดอลตัน (Jhon Dalton) โดยเสนอความคิดเห็น เกี่ยวกับอะตอมไว้ในปี พ.ศ. 2346 ซึ่งมีข้อความที่สาคัญสรุปได้ดังนี้ 1. สารแต่ละชนิดประกอบด้วยอนุภาคเล็ก ๆ เรียกว่าอะตอม ซึ่งแบ่งแยกไม่ได้ 2. อะตอมจะทาให้เกิดใหม่หรือสูญหายไปไม่ได้
  • 3. 3. อะตอมของธาตุชนิดเดียวกันมีสมบัติเหมือนกันและแตกต่างจากอะตอมของธาตุอื่น 4.สารประกอบเกิ ด จากการรวมตั ว กั น ของ อะตอมของธาตุต่างชนิดกันด้วยอัตราส่วนของจานวน อะตอมคงที่เป็นเลขลงตัวน้อย ๆ 5.โมเลกุลของสารประกอบชนิดเดียวกันย่อมมี สมบั ติ เ หมื อ นกั น และแตกต่ า งจาก โมเลกุลของสารประกอบอื่น แบบจาลองอะตอมของทอมสัน อะตอมมีลักษณะเป็นทรงกลม มีอนุภาคที่มีประจุบวก เรียกว่า โปรตอน อนุภาคที่มีประจุล บ เรียกว่า อิเล็กตรอน และจานวนโปรตอนเท่ากับจานวนอิเล็กตรอนกระจายอยู่ทั่วไปในทรง กลม สโตนีย์ ได้ศึกษาผลงานของฟาราเดย์ และเป็นผู้สรุปว่า ไฟฟ้าประกอบด้วยอนุภาคทางไฟฟ้า และตั้งชื่ออนุภาคนี้ว่า อิเล็กตรอน ซึ่งเป็นอนุภาคขนาดเล็กในอะตอมของธาตุ ออยแกน โกลด์สไตน์ นักวิทยาศาสตร์ชาวเยอรมัน ได้ทาการทดลองโดยใช้หลอด รังสีแคโทด พบว่า อนุภาคบวก มีค่าอัตราส่วนประจุต่อมวลไม่คงที่ ขึ้นอยู่กับชนิดของก๊าซ และอนุภาคบวกที่เกิดจาก ไฮโดรเจน เรียกว่า โปรตอน แบบจาลองอะตอมของรัทเทอร์ฟอร์ด อะตอม ประกอบด้วย นิวเคลียสที่มีโปรตอนรวมอยู่ตรงกลาง มีขนาดเล็ก และมีมวลมาก และมีอิเล็กตรอนซึ่งมีมวล น้อยวิ่งอยู่รอบ ๆ นิวเคลียส ลอร์อเออร์เนสต์ รัทเทอร์ฟอร์ด นักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษ และฮันส์ ไกเกอร์ นักวิทยาศาสตร์ชาวเยอรมัน ได้ทาการ ทดลองยิงอนุภาคแอลฟา ไปยังแผ่นทองคาบาง ๆ เรียกการทดลองนี้ว่าการทดลองการกระเจิงรังสีแอลฟาของ รัทเทอร์ฟอร์ด จากการทดลองพบว่า  อนุภาคแอลฟาส่วนใหญ่วิ่งเป็นแนวเส้นตรงทะลุแผ่นทองคาบาง ๆ  อนุภาคแอลฟาบางส่วนวิ่งเบี่ยงเบนไปจากแนวเส้นตรง  อนุภาคแอลฟาส่วนน้อยสะท้อนกลับ ดังนั้นรัทเทอร์ฟอร์ด เชื่อว่า น่าจะมีอนุภาคอีกชนิดหนึ่งอยู่ภายในนิวเคลียส ซึ่งไม่มีประจุ แต่ มีมวลใกล้เคียงกับโปรตอน เซอร์เจมส์ แชดวิก นักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษ ได้ทาการทดลองยิงอนุภาคแอลฟา ไปยัง อะตอมของธาตุต่าง ๆ และได้สรุปว่า ในนิวเคลี ยสของอะตอมมีอนุภาคที่เป็นกลางทางไฟฟ้า เรียกว่า นิวตรอน ดังนั้นแบบจาลองอะตอม จึงมีลักษณะดังรูป แบบจาลองอะตอมของนีลส์ โบร์ จากผลการศึกษาเกี่ยวกับการเกิดสเปกตรัมของธาตุ ทาให้นักวิทยาศาสตร์พบว่าอิเล็กตรอนที่อยู่รอบ ๆ นิวเคลียสนั้นไม่ได้อยู่รวมกันที่เดียวทั้งหมด แต่แบ่งออกเป็นกลุ่ม ๆ ตามระดับพลังงานต่าง ๆ รอบ ๆ นิวเคลียส ใน ปี พ.ศ. 2428 - 2505 นีลส์ โบร์ (Neils Bohr) นักวิทยาศาสตร์ชาวเดนมาร์ก ได้นามาสร้างแบบจาลองอะตอม ขึ้นใหม่โดยขยายจากแบบจาลองรัทเทอร์ฟอร์ด ดังนี้ “อะตอมประกอบด้วยโปรตอนและนิวตรอนรวมเป็นนิวเคลียส และมีอิเล็กตรอนในอะตอมวิ่งอยู่รอบ ๆ นิวเคลียสเป็นชั้น ๆ ตามระดับพลังงาน” แบบจาลองอะตอมของนิลส์ โบร์ ทาให้เห็นมโนภาพเกี่ยวกับการจัด
  • 4. อิเล็กตรอนภายในอะตอมรอบ ๆ นิวเคลียส ซึ่งเปรียบเสมือนกับระบบสุริยะจักรวาลที่มีดวงอาทิตย์อยู่ตรงกลาง และ มีดาวเคราะห์โคจรอยู่รอบ ๆ นอกจากนี้ โบร์ยังได้กาหนดสัญลั กษณ์สาหรับพลังงานชั้นต่าง ๆ ไว้ด้วย โดยให้ระดับ พลังงานที่อยู่ใกล้นิวเคลียสที่สุดเป็นชั้น K และชั้นถัด ๆ ไปเป็นชั้น L, M, N , …… ซึ่งในปัจจุบันเรียกระดับ พลังงานที่อยู่ใกล้นิวเคลียสที่สุดว่าระดับพลังงาน n = 1 และระดับพลังงานถัดออกไปเป็น n = 2,n = 3,n = 4,…. ตามลาดับ แบบจาลองอะตอมของโบร์ใช้อธิบ ายการเกิดสเปกตรัมได้ดี โดยเฉพาะกับอะตอมที่มีขนาดเล็ ก และมี อิเล็กตรอนเดี่ยว เช่น อะตอมของไฮโดรเจน แต่สามารถใช้อธิบายอะตอมที่มีหลาย ๆ อิเล็กตรอนได้ นอกจากนี้ยัง ทราบแต่เพียงว่าอิเล็กตรอนภายในอะตอมมีการจัดเรียงตัวเป็นชั้น ๆ ตามระดับพลังงาน แต่ไม่ทราบว่าในแต่ละระดับ พลั ง งานจะมี อิเ ล็ กตรอนอยู่ กี่ ตั ว จึ ง ได้มี ก ารค้ นคว้ าเพิ่ ม เติ ม และเป็น เหตุ ใ ห้ แ บบจ าลองอะตอมเปลี่ ย นไปอี ก แบบจาลองอะตอมแบบกลุ่มหมอก เนื่องจากแบบจาลองอะตอมของโบร์ มีข้อจากัดที่ไม่สามารถใช้อธิบายสเปกตรัมของอะตอมที่มีหลายอิเล็กตรอน ได้มี การศึกษาเพิ่มเติมจนได้ข้อมูลที่เชื่อว่าอิเล็กตรอนมีสมบัติเป็นทั้งอนุภาคและคลื่น โดยเคลื่อนที่รอบนิวเคลียสใน ลักษณะของคลื่ นนิ่ง บริเวณที่พบอิเล็กตรอนได้พบได้ห ลายลักษณะเป็นรูปทรงต่าง ๆ ตามระดับพลังงานของ อิเล็กตรอน จากการใช้ความรู้ทางกลศาสตร์ควอนตัมสร้างสมการขึ้นเพื่อคานวณหาโอกาสที่จะพบอิเล็กตรอนใน ระดับพลังงานต่าง ๆ พบว่าแบบจาลองนี้อธิบายเส้นสเปกตรัมได้ดีกว่าแบบจาลองอะตอมของโบร์ โดยแบบจาลอง อะตอมแบบกลุ่มหมอกกล่าวไว้ดังนี้ 1. อิเล็กตรอนมีขนาดเล็กมากและเคลื่อนที่อย่างรวดเร็วตลอดเวลาไปทั่วทั้งอะตอม จึงไม่สามารถบอก ตาแหน่งที่แน่นอนของอะตอมได้ 2. มีโอกาสที่จะพบอิเล็กตรอนรอบนิวเคลียสบางบริเวณเท่านั้น ทาให้สร้างมโนภาพได้ว่าอะตอม ประกอบด้วยกลุ่มหมอกของอิเล็กตรอนรอบ ๆ นิวเคลียส 3. บริเวณที่กลุ่มหมอกทึบแสดงว่าโอกาสที่จะพบอิเล็กตรอนได้มากกว่าบริเวณที่มีกลุ่มหมอกจาง” 5. หลักฐาน หรือร่องรอยของการเรียนรู้ การวัดผลและประเมินผล 5.1 ความรู้ ภาระงาน/ วิธีการวัด เครื่องมือ เกณฑ์ที่ใช้ประเมิน ผู้ประเมิน ชิ้นงาน เขียนสรุปความรู้ ตรวจสอบการเขียน - แบบประเมิน เขียนสรุปความรู้ที่ได้จาก ครู จากการเรียนรู้ สรุปความรู้ที่ได้จาก ชิ้นงาน การเรียนรู้ถูกต้องอย่างน้อย (พับกระดาษ การเรียนรู้ 80 % foldable) แผนผังความคิด วัดเมื่อจบบทเรียน - Concept map ระดับ 4 ดีเยี่ยม 4 คะแนน ครู (Graphic ตามตัวชี้วัดต่อไปนี้ - แบบประเมิน = ทาได้ถูกต้องทุกตัวชี้วัด Organize) 1. การกาหนดและ แผนผังความคิด ระดับ 3 ดี 3 คะแนน เชื่อมโยงแนวความคิด = ทาได้ถูกต้องจานวนมาก
  • 5. หลัก แนวความคิดรอง ระดับ 2 พอใช้ 2 คะแนน แนวความคิดย่อย ที่ = ทาได้ถูกต้องจานวนน้อย เกี่ยวกับแบบจาลอง ระดับ 1 ต้องปรับปรุง อะตอม 1 คะแนน 2. การเชื่อมโยงความรู้ = ทาได้ถูกต้องน้อยมาก 3. การเชื่อมโยง หรือไม่ถูกต้องเลย ประเด็นต่างๆอย่าง สมเหตุสมผล มี คาเชื่อมถูกต้อง ชัดเจน ภาระงาน/ วิธีการวัด เครื่องมือ เกณฑ์ที่ใช้ประเมิน ผู้ประเมิน ชิ้นงาน ตอบคาถาม ตรวจคาตอบของ - Exit ticket ระดับ 4 ดีเยี่ยม 4 คะแนน ครู สะท้อนความคิด คาถามสะท้อน - แบบประเมิน = ทาได้ถูกต้องทุกตัวชี้วัด เพื่อนนักเรียน ความคิด ตามตัวชี้วัด การตอบคาถาม ระดับ 3 ดี 3 คะแนน ต่อไปนี้ สะท้อนความคิด = ทาได้ถูกต้องจานวนมาก 1. ความถูกต้อง ระดับ 2 พอใช้ 2 คะแนน ครอบคลุมสิ่งที่ได้ = ทาได้ถูกต้องจานวนน้อย เรียนรู้ ระดับ 1 ต้องปรับปรุง 2. ความสมเหตุสมผล 1 คะแนน ชัดเจน ของคาตอบ = ทาได้ถูกต้องน้อยมาก 3. การตั้งคาถามที่ หรือไม่ถูกต้องเลย อยากรู้ 5.2 ทักษะกระบวนการ ภาระงาน/ วิธีการวัด เครื่องมือ เกณฑ์ที่ใช้ประเมิน ผู้ประเมิน ชิ้นงาน ทาใบงาน เรื่อง ตรวจสอบจากการทา - ใบงาน เรื่อง ทาได้ถูกต้องอย่างน้อย ครู แบบจาลอง ใบงาน แบบจาลอง 80 % อะตอม อะตอม 5.3 คุณลักษณะอันพึงประสงค์ คุณลักษณะ ภาระงาน/ วิธีการวัด เครื่องมือ เกณฑ์ที่ใช้ ผู้ประเมิน
  • 6. อันพึง ชิ้นงาน/ ประเมิน ประสงค์ พฤติกรรม ตรงต่อเวลา เข้าเรียน - สังเกตพฤติกรรม แบบประเมิน ต้องได้ไม่ต่ากว่า ครู ปฏิบัติกิจกรรม การเข้าเรียน การ คุณลักษณะ ระดับคุณภาพ ส่งงานตรงเวลา ปฏิบัติกิจกรรม อันพึงประสงค์ 3 คือ ดี และการส่งงานของ จากระดับ นักเรียน คุณภาพ 4 คือ ดีมาก คุณลักษณะ ภาระงาน/ เกณฑ์ที่ใช้ อันพึง ชิ้นงาน/ วิธีการวัด เครื่องมือ ผู้ประเมิน ประเมิน ประสงค์ พฤติกรรม ใฝ่เรียนรู้ ร่วมมือในการ - สังเกตพฤติกรรม แบบประเมิน ต้องได้ไม่ต่ากว่า ครู เรียน แสวงหา ความร่วมมือใน คุณลักษณะ ระดับคุณภาพ ความรู้ ตอบ การเรียน การ อันพึงประสงค์ 3 คือ ดี คาถาม ยอมรับ แสวงหาความรู้ จากระดับ ความคิดเห็นผู้อื่น การตอบคาถาม คุณภาพ 4 และแสดงความ การยอมรับความ คือ ดีมาก คิดเห็นอย่างมี คิดเห็นผู้อื่น และ เหตุผล การแสดงความ คิดเห็นอย่างมี เหตุผล ซื่อสัตย์ บันทึกข้อมูลจาก - สังเกตพฤติกรรม แบบประเมิน ต้องได้ไม่ต่ากว่า ครู การปฏิบัติ การบันทึกข้อมูล คุณลักษณะ ระดับคุณภาพ กิจกรรม ทา จากการปฏิบัติ อันพึงประสงค์ 3 คือ ดี แบบฝึกหัด ทา กิจกรรม การทา จากระดับ แบบทดสอบ แบบฝึกหัดและการ คุณภาพ 4 คือ ด้วยความซื่อสัตย์ ทาแบบทดสอบ ดีมาก รักสะอาด รักษาความ - สังเกตพฤติกรรม แบบประเมิน ต้องได้ไม่ต่ากว่า ครู สะอาดผลงาน การรักษาความ คุณลักษณะ ระดับคุณภาพ นักเรียน ห้องเรียนและ สะอาดผลงาน การ อันพึงประสงค์ 3 คือ ดี สถานที่ปฏิบัติ ทาความสะอาด จากระดับ กิจกรรม ห้องเรียน และ คุณภาพ 4 คือ สถานที่ปฏิบัติ ดีมาก กิจกรรม 6. คาถามสาคัญ
  • 7. 1.โครงสร้างอะตอมในแต่ละแบบมีลักษณะใด และค้นพบด้วยวิธีใด 2. การศึกษาโครงสร้างอะตอมทาให้ค้นพบอนุภาคใดภายในอะตอม 3. แบบจาลองอะตอมที่อธิบายโครงสร้างอะตอมในปัจจุบันคือแบบจาลองใด และในอนาคตสามารถ เปลี่ยนแปลงได้อีกหรือไม่ เพราะอะไร 7. การจัดกระบวนการเรียนรู้ ขั้นสร้างความสนใจ (Engagement) 1. ครูนาอภิปรายและให้ความรู้เกี่ยวกับความเชื่อของนักปราชญ์ชาวกรีก ซึ่งดิโมคริตุส เชื่ อว่าสิ่งของ ต่างๆ ประกอบด้วยอนุภาคที่มีขนาดเล็กมาก และถ้าแบ่งอนุภาคให้มีขนาดเล็กลงเรื่อยๆ จนไม่สามารถแบ่งต่อไปได้ อีกก็จ ะได้ อนุ ภ าคที่มี ขนาดเล็ กที่สุ ด เรี ย กว่า อะตอม ซึ่ง ไม่ส ามารถมองเห็ นด้ว ยตาเปล่ าได้ (ทบทวน เชื่อมโยง ตรวจสอบความรู้เดิม และเปิดโอกาสให้ซักถามเพิ่มเติมเพื่อกระตุ้นความสนใจ) หลังจากนั้นให้นักเรียนเขียนในสิ่งที่รู้ และสิ่งที่อยากรู้เกี่ยวกับ อะตอม ลงในกระดาษที่แจกให้ เพื่อตรวจสอบความเข้าใจเพื่อใช้เป็นแนวทางในการจัดการ เรียนการสอน (KWL) 2. ครูนาภาพแบบจาลองอะตอมของดอลตัน ทอมสัน รัทเทอร์ฟอร์ด โบร์ และแบบจาลองอะตอมแบบ กลุ่มหมอก มาให้นักเรียนดู และร่วมกันอภิปรายถึงลักษณะของอะตอม โดยครูใช้คาถามกระตุ้นดังนี้ - นักเรียนเรียงลาดับของแบบจาลองอะตอมจากเริ่มแรกไปสู่แบบจาลองปัจจุบัน - แบบจาลองแต่ละแบบมีความแตกต่างกันหรือไม่ ลักษณะใด 3. ครูให้นักเรียนคิดเดี่ยว คิดคู่ หรือคิดกลุ่ม (Think Pair Share) ร่วมกันอภิปรายหาคาตอบเกี่ยวกับ คาถามนี้ ขั้นสารวจและค้นหา (Exploration) 1. จัดกลุ่มนักเรียน 3 คน ที่ประกอบด้วยนักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน สูง ปานกลาง และอ่อน 2. ครูแจกใบความรู้ เรื่อง แบบจาลองอะตอม 3. ครูให้นักเรียนศึกษาใบความรู้ เรื่องแบบจาลองอะตอมด้วยตนเอง (Active Reading) โดยชี้แจงนักเรียน ว่า ในขณะที่นักเรียนอ่านให้ใช้ปากกาเน้นข้อความ ขีดเส้นใต้ วงกลมใจความสาคัญ หรือจดสรุปความเข้าใจ ลงใน กระดาษที่ครูแจกให้ โดยให้นักเรียนพับกระดาษ (foldable) ในรูปแบบใดก็ได้โดยครูแจกแบบการพับกระดาษให้ นักเรียนเพื่อเป็นตัวอย่างในการพับกระดาษ 4. ครูสอนโดยใช้สื่อ Power Point (PPT) เรื่องแบบจาลองอะตอม เพื่ออภิปรายในรายข้อที่เป็นประเด็น สงสัย (โดยเว้นให้นักเรียนซักถามและเขียนตอบลงในใบความรู้เป็นระยะ) ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป (Explanation) 1. ครูแจกใบงานเรื่อง แบบจาลองอะตอม ให้นักเรียนช่วยกันอภิปรายและทาแบบฝึกหัดในใบงาน เพื่อ เตรียมตัวทดสอบย่อยเป็นรายบุคคล 2. ครูแจ้งเกณฑ์การผ่านกิจกรรมว่านักเรียนจะได้คะแนนเท่ากับคะแนนเฉลี่ยของสมาชิกในกลุ่ม ดังนั้นทุก คนต้องช่วยเหลือกัน เพื่อให้ได้ความรู้เท่าเทียมกัน และสามารถตอบคาถามได้ด้วยตนเอง ขั้นขยายความรู้ (Elaboration)
  • 8. 1. ครูนาอภิปรายและเฉลยคาตอบลงในแบบฝึกหัดในใบงาน 2. ครูให้นักเรียนแต่ละคนสรุปองค์ความรู้เกี่ยวกับแบบจาลองอะตอม เป็นแผนผังความคิด (Concept map) ขั้นประเมิน (Evaluation) 1. ครูทดสอบนักเรียนเป็นรายบุคคลด้วยแบบทดสอบ 2. ครูแจ้งผลการทากิจกรรมให้นักเรียนทราบ และให้รางวัลสาหรับกลุ่มที่ทาคะแนนได้สูงสุด และคะแนน เกินความคาดหมาย 3. ครูและนักเรียนร่วมกับอภิปรายคาตอบและคาถามที่สงสัยจากการทดสอบ 4. นักเรียนเขียนสรุปความรู้ที่ได้รับจากการเรียนรู้ลงในสมุด บันทึกการเรียนรู้ (Learning logs) และ ประเมินผลสะท้อนการเรียนรู้ลงใน 3-2-1 Ticket (Exit Ticket) 8. สื่อ วัสดุ อุปกรณ์/ แหล่งเรียนรู้ 1. ใบความรู้ เรื่อง แบบจาลองอะตอม 2. Power Point (PPT) เรื่อง แบบจาลองอะตอม 3. ตัวอย่างวิธีการพับกระดาษ (foldable) 4. ใบงาน เรื่อง แบบจาลองอะตอม 5. แบบทดสอบ 6. แบบประเมินแผนผังความคิด 7. แบบประเมินการตอบคาถามสะท้อนความคิด 8. แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
  • 9. บันทึกหลังสอน รหัส-ชื่อรายวิชา ว30131 เคมีพื้นฐาน ชั้น ม.4 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ แผนการเรียนรู้ เรื่อง โครงสร้างอะตอม โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย ประเด็นการบันทึก ผลการใช้แผนการสอน 1. เนื้อหาที่สอน .................................................................................................................... (สอนได้สมบูรณ์ครบถ้วนหรือไม่) .................................................................................................................... 2. เวลา .................................................................................................................... (เหมาะสมหรือไม่) .................................................................................................................... 3. กิจกรรมที่ใช้สอน .................................................................................................................... (ตามแผนหรือไม่) .................................................................................................................... 4. ปัญหาและอุปสรรค .................................................................................................................... .................................................................................................................... ผลการเรียนของนักเรียน ชั้น เข้าเรียน (คน) ขาด (คน) ม.4/1 ม.4/2 ม.4/3 ม.4/4 ม.4/5 ม.4/6 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ผ่านเกณฑ์……………………………………. ไม่ผ่านเกณฑ์………………………………….. การมอบหมายหน้าที่และความรับผิดชอบ ……………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………… บรรยากาศในการเรียน………………………………………………………….……………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………… ปัญหาและอุปสรรค……………………………………………………….……………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ (นางธิดารัตน์ แสงฮวด)