SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
Download to read offline
แถลงการณ์

                         เรื่อง “EM กับความเหมาะสมในการบําบัดนําเน่ าเสี ยในสภาวะนําท่ วมขัง”
                                                               ้                   ้

                                                 (เอกสารเชิงวิชาการ)

                                                         โดย

                              กลุ่มนักวิชาการวิศวกรรมศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ สิ่งแวดล้อม

                                                 9 พฤศจิกายน 2554

ข้ อสรุ ปพร้ อมคําอธิบายเพิมเติมในเชิงวิชาการ
                           ่

1. คํานิยามของนําเสี ยจากการท่ วมขังและขอบเขตของการสรุ ป
                ้

                                                                              ่
     นํ้าเสี ยจากการท่วมขัง คือ นํ้าเสี ยที่เกิดขึ้นจากการท่วมขังของนํ้าที่อยูในบริ เวณที่ปิดหรื อมีการไหลของ
นํ้าน้อยมาก จนมีความสกปรกเน่าเสี ยเพิ่มมากขึ้น นํ้าเสี ยท่วมขังเป็ นนํ้าเสี ยที่มีการปนเปื้ อนของสารอินทรี ย ์
และมีค่าออกซิเจนละลายนํ้าตํ่าหรื อไม่มี และมีความผิดปกติของสี ตะกอน และกลิ่น
       ในการสรุ ปผลการเสวนาครั้งนี้ ที่ประชุมได้พิจารณาเฉพาะประเด็นการใช้ E.M. ในการบําบัดนํ้าเสี ยจาก
การท่วมขังของสถานการณ์วิกฤตนํ้าท่วมของประเทศไทยในขณะนี้ เท่านั้น ไม่รวมถึงนํ้าเสี ยชนิ ดและใน
สภาวะอื่นๆ

2. การบําบัดนําเน่ าเสี ยในสภาวะนําท่ วมขังในปั จจุบัน E.M. สามารถใช้ งานได้ หรื อไม่
              ้                   ้

          2.1. ความหมายของ EM และ E.M.
          จากการสื บค้นจากสื่ อต่างๆ พบว่า EM เป็ นเครื่ องหมายทางการค้าโดย Professor Teruo Higa ได้จด
ลิขสิ ทธิ์ ไว้ ซึ่ งประกอบด้วยจุลินทรี ยหลัก 3 กลุ่ม คือ Lactic acid bacteria, Yeast, และ Photosynthetic
                                        ์
bacteria กลุ่ม Purple bacteria ปั จจุบนมีผลผลิตลักษณะเดียวกันแต่ไม่ได้อางถึงลิขสิ ทธิ์ เดียวกันปรากฎอยู่
                                      ั                                ้
ด้วย
          ส่ วน E.M. ที่มีการอ้างถึงในปั จจุบนนั้น เป็ นคําย่อของ Effective Microorganisms ซึ่งจัดว่าเป็ นคํา
                                             ั
เรี ยกทัวไปของกลุ่มจุลินทรี ยที่มีความสามารถในการทํางานสู งกว่าจุลินทรี ยปกติ จึงทําให้ชื่อ E.M. เป็ นคําที่
        ่                    ์                                           ์
ใช้เรี ยกกันทัวไปในทางวิชาการ
              ่
                                        ่
          2.2. รู ปแบบของ E.M. ที่ใช้อยูในการบําบัดนํ้าเสี ยจากการท่วมขัง
1) ผลิตภัณฑ์ E.M. ชนิดนํ้า คือผลผลิตจากกระบวนการหมักที่ใช้หัวเชื้อจุลินทรี ยตาม
                                                                                              ์
         ธรรมชาติ โดยมีส่วนประกอบหลักคือกรดอินทรี ย ์ (Organic acids) ที่ได้จากการย่อยสลายแบบไร้
         ออกซิเจน แอลกอฮอล์ สารเมแทบอไลต์ต่างๆ ที่เกิดจากจุลินทรี ย ์ และเซลล์ของจุลินทรี ย ์
                   2) ผลิตภัณฑ์ E.M. ชนิดปั้ นเป็ นก้อน หรื ออีเอ็มบอล (E.M. Ball) จะประกอบด้วยจุลินทรี ย ์
         E.M. ชนิดนํ้า สารอินทรี ย ์ เช่น รําข้าว ผสมด้วยแกลบและดิน เพื่อทําให้สามารถปั้ นเป็ นก้อนได้
         ทั้งนี้ อีเอ็มบอลจะมีการหมักที่ไม่สมบูรณ์ต่างจากอีเอ็มชนิดนํ้า โดยอีเอ็มบอลจะยังคงมีสารอินทรี ย ์
         ที่ยงไม่ถกย่อยสลายแบบไร้ออกซิ เจนในปริ มาณมาก
             ั ู
                                          ่
         2.3. องค์ประกอบของ E.M. ที่ใช้อยูในการบําบัดนํ้าเสี ยจากการท่วมขัง
         องค์ประกอบของ E.M. ในแง่ของกายภาพและเคมี มักประกอบด้วยสารอินทรี ย ์ เช่น กากนํ้าตาล
(โมลาส) และรําข้าว ซึ่ งสารอินทรี ยดงกล่าว เมื่อเติมลงไปในนํ้า สามารถส่ งผลให้ค่าความสกปรกของนํ้าที่
                                   ์ั
วัดในรู ปของค่าบีโอดี (BOD - Biochemical Oxygen Demand) ของนํ้าเสี ยท่วมขังเพิมขึ้นได้ โดยเฉพาะอย่าง
                                                                              ่
ยิงเมื่อใช้ในปริ มาณมาก
  ่
         องค์ประกอบของ E.M. ในด้านจุลินทรี ย ์ ส่ วนใหญ่ประกอบด้วยจุลินทรี ย ์ 3 กลุ่มใหญ่ๆ คือ Lactic
acid bacteria, Yeast, และ Photosynthetic bacteria รวมถึงอาจมีจุลินทรี ยกลุ่มอื่นๆ รวมอยูดวย ทั้งนี้ เมื่อ
                                                                       ์                ่ ้
พิจารณาการวิเคราะห์ในเชิงปริ มาณพบว่า มิได้มีการระบุปริ มาณและสัดส่ วนของจุลินทรี ยชนิดต่างๆ ที่ได้
                                                                                   ์
กล่าวมาแล้วอย่างชัดเจน
         นอกจากนี้ ในด้า นกระบวนการผลิ ต E.M. ที่ ใ ช้กันอยู่ใ นการบํา บัดนํ้า เสี ย ท่ ว มขัง ก็มิ ได้มี ก าร
ควบคุ มคุ ณภาพการผลิ ตที่ ชัดเจน ทํา ให้อาจไม่สามารถควบคุ มปริ มาณ สัดส่ ว น หรื อบ่ งชี้ ประเภทของ
                  ่
จุลินทรี ยท่ีมีอยูได้อย่างชัดเจน
          ์
         2.4. E.M. สามารถบําบัดนํ้าเสี ยจากการท่วมขังได้หรื อไม่?
         ที่ประชุมมีความเห็นตรงกันว่า E.M. ไม่ สามารถบําบัดนํ้าเสียจากการท่ วมขังได้ ด้วยเหตุผลต่างๆ
ดังนี้
         องค์ประกอบของจุลินทรี ยใน E.M. บางกลุ่มอาจจัดได้ว่าเป็ นจุลินทรี ยประเภท Facultative ซึ่ ง
                                ์                                          ์
สามารถใช้ออกซิเจนและไม่ใช้ออกซิเจนในการย่อยสารอินทรี ยเ์ พื่อใช้ในการเจริ ญเติบโตได้ ดังนั้น หากใน
นํ้าเสี ยท่วมขังมีค่าออกซิ เจนละลาย (Dissolved Oxygen, DO) อยู่ จุลินทรี ยกลุ่มนี้กมกจะเลือกใช้ออกซิ เจน
                                                                          ์        ็ ั
ในการย่อยสารอินทรี ยเ์ พื่อเจริ ญเติบโต (Aerobic Respiration) ก่อน จนกระทังค่าออกซิเจนละลายในนํ้าหมด
                                                                            ่
ไป จุลินทรี ยก็จะปรับตัวมาใช้การย่อยสารอินทรี ยแบบไม่ใช้ออกซิ เจนในขั้นตอนการหมัก (Fermentation)
             ์                                 ์
เพื่อการเจริ ญเติบโตแทน
ดังนั้น หากนํ้าเสี ยท่วมขังยังมีปริ มาณออกซิ เจนละลายอยู่ ก็จะถูกจุลินทรี ยใน E.M. ที่เติมลงไปใช้
                                                                                   ์
ในการย่อยสารอินทรี ยจนหมด ซึ่ งการขาดออกซิ เจนละลายดังกล่าวเป็ นสาเหตุให้น้ าเสี ยท่วมขังเน่าเสี ยเพิ่ม
                    ์                                                       ํ
มากยิงขึ้น
     ่
        สําหรับกลไกการทํางานของจุลินทรี ยใน E.M. ในสภาวะการย่อยสารอินทรี ยแบบไม่ใช้ออกซิ เจน
                                         ์                                ์
นั้น ไม่สามารถลดความสกปรกโดยเฉพาะสารอินทรี ยในนํ้าเสี ยจากการท่วมขังได้มากนัก กระบวนการซึ่ ง
                                            ์
คาดว่าน่าจะเกิดขึ้นจากการหมักของจุลินทรี ยใน E.M. ภายใต้สภาวะไร้ออกซิเจน ดังสรุ ปในแผนภาพ
                                          ์




        จากแผนภาพ เห็นได้ว่า ผลผลิตของการย่อยสารอินทรี ยโดยจุลินทรี ยใน E.M. นั้น ส่ วนใหญ่คือ
                                                        ์            ์
Sulfur, Alcohol (และจะถูกเปลี่ยนเป็ น Organic acid ในที่สุด), Lactic acid และ organic acid อื่นๆ ซึ่ งสาร
ต่างๆ เหล่านี้กยงสามารถวัดเป็ นค่าความสกปรกของนํ้าในรู ป BOD ได้อยู่ เมื่อเปรี ยบเทียบกับกระบวนการ
               ็ั
บําบัดนํ้าเสี ยทางชี วภาพภายใต้สภาวะไร้ออกซิ เจน (Anaerobic wastewater treatment) การทํางานของ
จุลินทรี ยใน E.M. ยังขาดขั้นตอนหลักที่สาคัญนันคือ กระบวนการ Methanogenesis ซึ่ งเป็ นขั้นตอนหลักใน
          ์                            ํ     ่
                                                                                             ่
การกําจัดสารอินทรี ย ์ (ในรู ปของค่า BOD) ออกจากนํ้า โดยการเปลี่ยนรู ปสารอินทรี ยในนํ้าให้อยูในรู ปของ
                                                                                 ์
ก๊าซมีเธน(CH4) ก๊าซคาร์ บอนไดออกไซด์ (CO2) และก๊าซอื่นๆ อีกเล็กน้อย ซึ่ งรวมเรี ยกว่า ก๊าซชี วภาพ
(Biogas) นันเอง ดังนั้นสามารถสรุ ปได้ว่า สารอินทรี ยในนํ้าเสี ยได้ถูกเปลี่ยนรู ปไป แต่มิได้ถูกกําจัดออกจาก
           ่                                        ์
นํ้าและค่าความต้องการออกซิ เจนก็มิได้ลดลงแต่อย่างใด หรื อกล่าวได้ว่า จุลินทรี ยใน E.M. ไม่สามารถ
                                                                               ์
บําบัดนํ้าเสี ยจากการท่วมขังได้
สําหรับกลุ่มจุลินทรี ยสังเคราะห์แสงใน E.M. นั้น ประกอบด้วยจุลินทรี ยสังเคราะห์แสง 2 กลุ่ม คือ
                              ์                                             ์
1) จุลินทรี ยกลุ่ม Purple non-sulfur bacteria เช่น Rhodopseudomonas ซึ่ งมีความสามารถในการย่อยสลาย
             ์
สารอินทรี ยโดยใช้แสงได้ และ 2) จุลินทรี ยกลุ่ม Purple bacteria ที่มีความสามารถในการกําจัดกลิ่นเน่าเหม็น
           ์                             ์
ของนํ้าเสี ยที่เกิดจากก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด์ (H2S) หรื อก๊าซไข่เน่าได้ แต่กลไกทางชีวภาพในการกําจัดกลิ่น
ของ E.M. นั้นยังไม่สามารถอธิบายได้อย่างชัดเจน อย่างไรก็ตาม จากที่พบว่ากระบวนการการกําจัดกลิ่นของ
E.M. สามารถเกิดขึ้นอย่างรวดเร็ วนั้น นักวิชาการหลายท่านจึงลงความเห็นว่า ผลดังกล่าวอาจเนื่องจากกลไก
ทางเคมีหรื อองค์ประกอบบางอย่างใน E.M. ซึ่งช่วยปรับค่าพีเอชของนํ้ามากกว่าจะเป็ นกลไกทางชีวภาพจาก
การทํางานของจุลินทรี ย ์ อย่างไรก็ตาม บทบาทของจุลินทรี ยสังเคราะห์แสงเหล่านี้ ในการบําบัดนํ้าเสี ยยังมี
                                                        ์
ไม่มากนัก รวมถึงยังไม่มีใครสามารถควบคุมหรื อเลี้ยงจุลินทรี ยตวนี้ในการบําบัดนํ้าเสี ยได้
                                                            ์ั
        ทั้งนี้ จุลินทรี ยทุกกลุ่มใน E.M. มิได้เป็ นจุลินทรี ยกลุ่มพิเศษแต่อย่างใด แต่เป็ นจุลินทรี ยที่พบได้
                          ์                                   ์                                      ์
โดยทัวไปในธรรมชาติ
     ่
        2.5. การใช้ E.M. ในแง่ของปริ มาณจุลินทรี ย ์
        กระบวนการบําบัดทางชี วภาพ (Bioremediation) นั้นสามารถแบ่ งได้ออกเป็ น                2 ประเภท คือ
                                      ้             ์       ่
        1) Bio-stimulation คือการกระตุนให้จุลินทรี ยที่มีอยูแล้วในธรรมชาติให้ทางานขึ้นมา เพื่อช่วยใน
                                                                              ํ
        การบําบัดนํ้าเสี ย
        2) Bio-augmentation คือการเติมจุลินทรี ยลงไปในพื้นที่เพื่อใช้ในการบําบัด
                                                ์
        สําหรับกรณี การเติม E.M. จัดเป็ นแนวทางการบําบัดทางชีวภาพ แบบ Bio-augmentation โดยการ
                                                                 ั                   ์       ่
ทํา Bio-augmentation นั้น มีความจําเป็ นเฉพาะในกรณี ที่พ้ืนที่น้ นๆ ขาดแคลนจุลินทรี ยที่มีอยูตามธรรมชาติ
หรื อต้องการนําจุลินทรี ยที่ลกษณะพิเศษหรื อมีความเฉพาะเจาะจงมาใช้ในการบําบัดของเสี ยในพื้นที่ ดังนั้น
                         ์ ั
หากพิจารณาการเติม E.M. เพื่อใช้ในการบําบัดนํ้าเสี ยท่วมขัง พบว่านํ้าเสี ยในธรรมชาติทวไปมีจุลินทรี ย ์
                                                                                    ั่
หลากหลายชนิดในปริ มาณมากมายอยูแล้ว ดังนั้น การเติมจุลินทรี ยโดยใช้ E.M. ซึ่ งเป็ นกลุ่มจุลินทรี ยที่มีอยู่
                              ่                             ์                                    ์
ปกติในธรรมชาติน้ น จึงไม่มีความจําเป็ น เนื่องจากจุลินทรี ยใน E.M. ที่เติมลงไปนั้นจัดว่าน้อยมากเมื่อเทียบ
                 ั                                         ์
กับปริ มาณจุลินทรี ยในนํ้าเสี ยธรรมชาติ
                    ์
        อย่างไรก็ตาม หากใน E.M. มีจุลินทรี ยกลุ่มพิเศษที่ไม่มีอยูในธรรมชาติ การเติมจุลินทรี ยดงกล่าวลง
                                            ์                    ่                           ์ั
ไปด้วยปริ มาณไม่มากพอเพียง ก็อาจทําให้จุลินทรี ยกลุ่มดังกล่าวทํางานได้เพียงระยะเวลาสั้นๆ เท่านั้นก่อนที่
                                                ์
จะถูกกลื นไปกับจุลินทรี ยที่มีอยู่ในนํ้าเสี ยท่ วมขังเดิมซึ่ งมี อยู่เป็ นจํานวนมากและมีความสามารถในการ
                         ์
ดํารงค์ชีวิตในนํ้าธรรมชาติสูงกว่า จุลินทรี ยใน E.M. ดังนั้นในกรณี น้ าเสี ยท่วมขังนี้ การทํา Bio-stimulation
                                            ์                        ํ
้             ์      ่
ด้วยการเติมออกซิ เจนลงในนํ้า เพื่อกระตุนให้จุลินทรี ยที่มีอยูแล้วให้สามารถทําการบําบัดนํ้าเสี ยได้ น่าจะมี
ความเหมาะสมมากกว่าในทางวิชาการ
                                               ั
         2.6. การใช้ E.M. ในการผลิตออกซิเจนให้กบนํ้าเสี ย
         เนื่องจากในองค์ประกอบทางจุลินทรี ยของ E.M. ประกอบด้วยจุลินทรี ยที่สามารถสังเคราะห์แสงได้
                                           ์                            ์
(Photosynthetic bacteria) เช่น Purple bacteria หลายคนจึงมีแนวคิดที่ว่า จุลินทรี ยใน E.M. สามารถผลิต
                                                                                 ์
                                             ั
ออกซิเจนเพื่อเพิ่มค่าออกซิ เจนละลาย (DO) ให้กบนํ้าเสี ยท่วมขังได้ อย่างไรก็ตาม ในทางวิชาการ จุลินทรี ย ์
ใน E.M. โดยเฉพาะกลุ่มแบคทีเรี ยสังเคราะห์แสง (Photosynthetic bacteria) ไม่สามารถผลิตออกซิ เจนได้
โดยตรง เนื่ องจากกระบวนการสังเคราะห์แสงของแบคทีเรี ยกลุ่มนี้แตกต่างจากการกระบวนการสังเคราะห์
แสงของไซยาโนแบคทีเรี ยและของพืชที่คนทัวไปคุนเคยกันอยู่ ดังแสดงในสมการต่อไปนี้
                                      ่    ้

         กระบวนการสังเคราะห์แสงของ Purple bacteria (Bacterial photosynthesis)
               CO2 + H2S (CH2O) + H2O + 2S

         การสังเคราะห์แสงของไซยาโนแบคทีเรี ยและของพืช (Plant photosynthesis)
                 CO2 + 4 H2O (CH2O) + 3H2O + O2

         เห็นได้ชดเจนว่า ผลผลิตของกระบวนการสังเคราะห์แสงของจุลินทรี ยชนิ ด Purple bacteria ใน
                 ั                                                   ์
E.M. คือ ซัลเฟอร์ (Sulfur, S) มิใช่ออกซิ เจน (Oxygen, O2) เหมือนกรณี การสังเคราะห์แสงของไซยาโน
แบคทีเรี ยและพืช ดังนั้น จุลินทรี ยใน E.M. จึงไม่สามารถเพิ่มค่าออกซิเจนละลายนํ้า (Dissolved Oxygen,
                                   ์
        ั
DO) ให้กบนํ้าเสี ยท่วมขังได้โดยตรง
         อย่างไรก็ตาม มีความเป็ นไปได้ว่าธาตุอาหารบางอย่างของพืชที่มีอยู่ใน E.M. เช่ น ไนโตรเจน
ฟอสฟอรัส หรื ออื่นๆ อาจสามารถช่วยในการเพิมปริ มาณของแพลงก์ตอนพืชในนํ้าได้และอาจส่ งผลต่อการ
                                         ่
สร้างออกซิเจนในนํ้าโดยทางอ้อมผ่านการสังเคราะห์แสงของแพลงก์ตอนพืชในนํ้าได้ อย่างไรก็ตามประเด็น
ดังกล่าวนี้ยงไม่มีการพิสูจน์เป็ นที่แน่ชด นอกจากนี้ การเพิ่มจํานวนของแพลงก์ตอนพืชในนํ้ามากจนเกินไป
            ั                           ั
หรื อที่เรี ยกว่าปรากฎการณ์ Eutrofication นั้น ก็ส่งผลเสี ยต่อปริ มาณออกซิ เจนละลายนํ้าได้เช่นกัน กล่าวคือ
การสังเคราะห์แสงของพืชที่ให้ผลผลิตออกมาเป็ นออกซิ เจนนั้น เกิดขึ้นเฉพาะในเวลากลางวันที่มีแสงแดด
เท่ า นั้น ในช่ ว งเวลากลางคื นที่ ไม่ มีแ สงแดด แพลงก์ต อนพื ช จะใช้ออกซิ เ จนละลายในนํ้า และคายก๊ า ซ
คาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) ออกมา ส่ งผลให้ค่าออกซิเจนละลายในนํ้าในช่วงกลางคืนตํ่าลงหรื ออาจหมดไป
ได้ และส่ งผลให้น้ าเน่าเสี ยเพิมขึ้นได้อีกด้วย
                   ํ            ่
แม้ว่าในปั จจุบนยังไม่ปรากฏว่ามีวิธีบาบัดนํ้าเสี ยจากการท่วมขังในพื้นที่ขนาดใหญ่ท่ีได้ผลเป็ นที่
                        ั                     ํ
ยอมรับในระดับนานาชาติ แต่ถึงอย่างไร แนวทางการใช้ จลินทรี ย์ E.M. นั้นยังไม่ ใช่ เทคโนโลยีท่ได้ รับการ
                                                  ุ                                        ี
พิสูจน์ ตามหลักวิทยาศาสตร์ ว่าสามารถนําไปใช้ ได้ จริ งในการบําบัดนํ้าเสี ยจากการท่ วมขัง และความไม่ ร้ ู
แน่ นอนในด้ านต่ าง ๆ เกี่ยวกับ E.M. ยังมีอยู่อีกมาก ที่ประชุ มจึงมีความเห็นตรงกันว่ า ไม่ แนะนําให้ ใช้
จุลนทรี ย์ E.M. ในการบําบัดนํ้าเสียจากการท่ วมขัง เนื่องจากเห็นว่ าน่ าจะส่ งผลเสียมากกว่ าผลดี
   ิ


    แนวทางการแก้ ปัญหานําเสี ยท่ วมขัง
                        ้


         การแก้ไขปั ญหานํ้าเสี ยท่วมขังในสถานการณ์ปัจจุบน ที่ประชุมมีความเห็นร่ วมกันว่าสามารถ
                                                        ั
ดําเนินการได้ตามลําดับ ดังนี้

         3.1. ควรหาวิธีระบายนํ้าที่ท่วมขังอยู่ออกไปโดยเร็ วที่สุด วิธีดงกล่าวเป็ นวิธีที่ได้รับการยอมรับ และ
                                                                       ั
ใช้ทวไปในนานาประเทศ และควรเข้าใจและยอมรับความจริ งว่ายังไม่เคยมีวิธีการใดที่จะบําบัดนํ้าเสี ยจาก
    ั่
                                                                         ั ่
กรณี น้ าท่วมขังได้อย่างมีประสิ ทธิภาพ ส่ วนวิธีที่ได้รับการยอมรับและใช้กนทัวไปในบางประเทศมีเพียงการ
        ํ
อพยพคนออกและระบายนํ้าท่วมขังออกโดยเร็ วที่สุดเท่านั้น อย่างไรก็ตาม หากการระบายนํ้าออกยังทําไม่ได้
ในระยะเวลาสั้นๆ ควรดําเนินการดังข้อแนะนําต่อๆไป
         3.2. ควรจัดการเก็บขนขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกลที่เกิดขึ้นในพืนที่ ทั้งที่เกิดจากการใช้ชีวิตประจําวัน
                                                 ู               ้
และจากการนําสิ่ งของช่วยเหลือ (ถุงยังชี พ) เข้าไปในพื้นที่น้ าท่วมขัง เพื่อนําออกมากําจัดอย่างถูกต้องตาม
                                                             ํ
หลักวิชาการ เช่ น การฝั งกลบ เป็ นต้น ทั้งนี้ การนําขยะมูลฝอยและสิ่ งปฏิกูลออกจากพื้นที่ นับเป็ นปั จจัย
สําคัญที่ช่วยลดความสกปรกของนํ้าท่วมขังได้เป็ นอย่างดี
         3.3. ควรหาวิธีการเพื่อเพิ่มปริ มาณออกซิเจนละลายในนํ้า เช่น การทําให้เกิดการหมุนเวียนของนํ้า
ท่ วมขังเข้า และออกจากพื้นที่ น้ ําท่ ว มขัง ปิ ด การใช้เครื่ อ งเติ มอากาศ เป็ นต้น สํา หรั บการจัดให้เกิ ดการ
หมุ นเวี ย นของนํ้า ท่ ว มขัง นั้น อาจทํา ได้โ ดยการรื้ อสิ่ ง กี ด ขวางทางไหลของนํ้า ในบริ เ วณดัง กล่ า ว เช่ น
กระสอบทราย ออก เป็ นต้น เพื่อให้น้ าสามารถไหลหรื อหมุนเวียนเพื่อให้เกิดการถ่ายเทของออกซิ เจนลงสู่
                                   ํ
นํ้าได้เพิ่มมากขึ้น
           สําหรับการใช้เครื่ องเติมอากาศในการบําบัดนํ้าท่วมขัง เนื่องจากนํ้าท่วมขังมีปริ มาตรสู งมาก ดังนั้น
อาจต้องมีการคํานวณและออกแบบการติดตั้งใช้เครื่ องเติมอากาศทั้งในแง่ขนาดและจํานวนเป็ นปริ มาณมาก
เพื่อให้สามารถถ่ายเทออกซิเจนลงไปในนํ้าได้อย่างพอเพียง โดยที่หากใช้การเติมอากาศในพื้นที่น้ าท่วมขังที่
                                                                                          ํ
ปิ ดและบริ เวณที่ไม่ใหญ่เกินไปนัก เช่น ภายในบ้านเรื อน จะเห็นผลได้เร็ วกว่าพื้นที่น้ าท่วมขังขนาดใหญ่
                                                                                     ํ
        การใช้เครื่ องเติมอากาศ สามารถเลือกใช้ได้หลากหลายชนิด ตั้งแต่ขนาดเล็กๆ เช่น การใช้เครื่ องสู บ
นํ้าพ่นนํ้าให้เป็ นฝอยขึ้ นไปในอากาศ เพื่อให้เกิ ดการถ่ายเทออกซิ เจนจากอากาศลงสู่ น้ า จนกระทังถึงใช้
                                                                                     ํ        ่
                                                                             ่ ้
เครื่ องกลเติมอากาศขนาดใหญ่ นอกจากนี้ การใช้เครื่ องเติมอากาศ มีขอควรระวังอยูบาง เช่น สําหรับเครื่ อง
                                                                   ้
เติมอากาศที่ใช้ไฟฟ้ า หากผูใช้ไม่ชานาญการในการติดตั้งใช้งาน อาจก่อให้เกิดอันตรายจากไฟฟ้ าลัดวงจรได้
                           ้      ํ
ในขณะที่การพ่นนํ้าให้เป็ นฝอยขึ้นไปในอากาศ อาจส่ ง ผลให้เกิ ดละอองนํ้าขนาดเล็กที่ ปนเปื้ อนไปด้วย
จุลินทรี ยในนํ้า และอาจถูกสู ดดมเข้าสู่ ร่างกายคนผ่านระบบทางเดินหายใจได้
          ์
        3.4. อาจใช้สารเคมีบางชนิดที่มีคุณสมบัติในการฆ่าเชื้อโรค และกําจัดกลิ่นในนํ้าเสี ยท่วมขัง เช่น
ปูนขาว คลอรี น หรื ออื่นๆ ควรมีการจํากัดบริ เวณการใช้หรื อใช้ระบบปิ ด เช่น กรณี พ้ืนที่น้ าท่วมขังปิ ดขนาด
                                                                                          ํ
                                   ั
เล็ก เป็ นต้น รวมถึงไม่ควรนํามาใช้กบบริ เวณพื้นนํ้าท่วมขังที่มีปริ มาตรสู งหรื อบริ เวณนํ้าท่วมขังที่เป็ นระบบ
เปิ ดที่สามารถเชื่อมต่อกับสิ่ งแวดล้อมภายนอก ทั้งนี้ ความจําเป็ นต้องใช้สารเคมีเป็ นปริ มาณสู งมากที่เป็ น
การสิ้ นเปลืองแล้ว หากนํ้าเสี ยที่ผานการเติมสารเคมีเหล่านี้ปนเปื้ อนสู่ สิ่งแวดล้อมภายนอกจะส่ งผลกระทบ
                                   ่
ต่อสิ่ งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ในนํ้าได้เช่นเดียวกัน นอกจากนี้ การใช้สารเคมีดงกล่าวอาจก่อให้เกิดอันตรายต่อผู ้
                                                                         ั
ใช้ได้หากมี การสัมผัสกับสารเคมี โดยตรง ดังนั้น หากมี ความจําเป็ นต้องใช้ ควรมี การสวมใส่ ถุงมือและ
อุปกรณ์ป้องกัน รวมถึงควรศึกษาถึงปริ มาณที่เหมาะสมต่อการใช้งาน ดังนั้นที่ประชุมจึงไม่แนะนําให้ใช้
สารเคมีในการแก้ไขปัญหานํ้าเสี ยท่วมขัง


        ข้อสรุ ปทั้งหมดนี้ทางกลุ่มนักวิชาการวิศวกรรมศาสตร์และวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อมเข้าใจดีถึงความ
ปรารถนาดีของทุกฝ่ ายในการช่วยกันร่ วมแก้ไขปั ญหาสิ่ งแวดล้อมที่จะเกิดขึ้น หากแต่จาเป็ นต้องนําเสนออีก
                                                                                 ํ
แง่มุมหนึ่งของนักวิชาการวิศวกรรมศาสตร์และวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อมต่อการใช้ E.M.ในการบําบัดนํ้าเน่า
เสี ยในสภาวะนํ้าท่วมขังตามหลักวิชาการ เพื่อประกอบการตัดสิ นใจสําหรับการเลือกวิธีการแก้ไขปั ญหาที่
เหมาะสมที่สุดในการฟื้ นฟูปัญหาสิ่ งแวดล้อมอันเนื่องมาจากภาวะนํ้าท่วมในปัจจุบน
                                                                            ั

More Related Content

What's hot (15)

Carbohydrate
CarbohydrateCarbohydrate
Carbohydrate
 
Lipid
LipidLipid
Lipid
 
Protein
Protein Protein
Protein
 
คลอโรฟิลล์กับการสังเคราะห์ด้วยแสง
คลอโรฟิลล์กับการสังเคราะห์ด้วยแสงคลอโรฟิลล์กับการสังเคราะห์ด้วยแสง
คลอโรฟิลล์กับการสังเคราะห์ด้วยแสง
 
พอลิเมอร์
พอลิเมอร์พอลิเมอร์
พอลิเมอร์
 
Response to stimuli in plants
Response to stimuli in plantsResponse to stimuli in plants
Response to stimuli in plants
 
6
66
6
 
6
66
6
 
1
11
1
 
Photosynthetic reaction
Photosynthetic reactionPhotosynthetic reaction
Photosynthetic reaction
 
การสังเคราะห์ด้วยแสง
การสังเคราะห์ด้วยแสงการสังเคราะห์ด้วยแสง
การสังเคราะห์ด้วยแสง
 
3
33
3
 
light reaction
light reactionlight reaction
light reaction
 
Kru.nok2 [compatibility mode]
Kru.nok2 [compatibility mode]Kru.nok2 [compatibility mode]
Kru.nok2 [compatibility mode]
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12  การสังเคราะห์แสงบทที่ 12  การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
 

Viewers also liked

Viewers also liked (19)

Microsoft PowerPoint
Microsoft PowerPointMicrosoft PowerPoint
Microsoft PowerPoint
 
Digital Standard and Thai MOST Web site
Digital Standard and Thai MOST Web siteDigital Standard and Thai MOST Web site
Digital Standard and Thai MOST Web site
 
animation-gif-by-firework
animation-gif-by-fireworkanimation-gif-by-firework
animation-gif-by-firework
 
Open Source Software สำหรับห้องงสมุด
Open Source Software สำหรับห้องงสมุดOpen Source Software สำหรับห้องงสมุด
Open Source Software สำหรับห้องงสมุด
 
Web 2.0 & OSS for Library
Web 2.0 & OSS for LibraryWeb 2.0 & OSS for Library
Web 2.0 & OSS for Library
 
20080522 OSS4libs
20080522 OSS4libs20080522 OSS4libs
20080522 OSS4libs
 
EM Ball 01
EM Ball 01EM Ball 01
EM Ball 01
 
Semantic web and library
Semantic web and librarySemantic web and library
Semantic web and library
 
PKP Open Harvester Software
PKP Open Harvester SoftwarePKP Open Harvester Software
PKP Open Harvester Software
 
XnView Resize
XnView ResizeXnView Resize
XnView Resize
 
NSTDA Knowledge Sharing - User Manual
NSTDA Knowledge Sharing - User ManualNSTDA Knowledge Sharing - User Manual
NSTDA Knowledge Sharing - User Manual
 
Myanmar Rarebooks Seminar
Myanmar Rarebooks SeminarMyanmar Rarebooks Seminar
Myanmar Rarebooks Seminar
 
STKS Open Source & Freeware
STKS Open Source & FreewareSTKS Open Source & Freeware
STKS Open Source & Freeware
 
Open Source Software เพื่อการศึกษา
Open Source Software เพื่อการศึกษาOpen Source Software เพื่อการศึกษา
Open Source Software เพื่อการศึกษา
 
Automated Library with OpenBiblio - myLib
Automated Library with OpenBiblio - myLibAutomated Library with OpenBiblio - myLib
Automated Library with OpenBiblio - myLib
 
Digitization KU Library
Digitization KU LibraryDigitization KU Library
Digitization KU Library
 
Desktop Author 5
Desktop Author 5Desktop Author 5
Desktop Author 5
 
Scratch Learning Tools for Kids
Scratch Learning Tools for KidsScratch Learning Tools for Kids
Scratch Learning Tools for Kids
 
NSTDA KM
NSTDA KMNSTDA KM
NSTDA KM
 

Similar to EM academic summary final

ความสัมพันธ์ในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ในระบบนิเวศความสัมพันธ์ในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ในระบบนิเวศgasine092
 
บทที่ 3 ตอนที่ 3
บทที่ 3  ตอนที่ 3บทที่ 3  ตอนที่ 3
บทที่ 3 ตอนที่ 3gasine092
 
สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมสมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมthunchanok
 
ระบบนิเวศในประเทศไทย
ระบบนิเวศในประเทศไทยระบบนิเวศในประเทศไทย
ระบบนิเวศในประเทศไทยninjynoppy39
 
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)Thitaree Samphao
 
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุลบทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุลJariya Jaiyot
 
Fermented foods 2 2562
Fermented foods 2 2562Fermented foods 2 2562
Fermented foods 2 2562prasongsom
 

Similar to EM academic summary final (7)

ความสัมพันธ์ในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ในระบบนิเวศความสัมพันธ์ในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ในระบบนิเวศ
 
บทที่ 3 ตอนที่ 3
บทที่ 3  ตอนที่ 3บทที่ 3  ตอนที่ 3
บทที่ 3 ตอนที่ 3
 
สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมสมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
 
ระบบนิเวศในประเทศไทย
ระบบนิเวศในประเทศไทยระบบนิเวศในประเทศไทย
ระบบนิเวศในประเทศไทย
 
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)
 
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุลบทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
 
Fermented foods 2 2562
Fermented foods 2 2562Fermented foods 2 2562
Fermented foods 2 2562
 

More from Boonlert Aroonpiboon (20)

Excel quiz
Excel quizExcel quiz
Excel quiz
 
Scival for Research Performance
Scival for Research PerformanceScival for Research Performance
Scival for Research Performance
 
20190726 icde-session-chularat-nstda-4
20190726 icde-session-chularat-nstda-420190726 icde-session-chularat-nstda-4
20190726 icde-session-chularat-nstda-4
 
20190409 social-media-backup
20190409 social-media-backup20190409 social-media-backup
20190409 social-media-backup
 
20190220 open-library
20190220 open-library20190220 open-library
20190220 open-library
 
20190220 digital-archives
20190220 digital-archives20190220 digital-archives
20190220 digital-archives
 
OER KKU Library
OER KKU LibraryOER KKU Library
OER KKU Library
 
Museum digital-code
Museum digital-codeMuseum digital-code
Museum digital-code
 
OER MOOC - Success Story
OER MOOC - Success StoryOER MOOC - Success Story
OER MOOC - Success Story
 
LAM Code of conduct
LAM Code of conductLAM Code of conduct
LAM Code of conduct
 
RLPD - OER MOOC
RLPD - OER MOOCRLPD - OER MOOC
RLPD - OER MOOC
 
New Technology for Information Services
New Technology for Information ServicesNew Technology for Information Services
New Technology for Information Services
 
New Technology for Information Services
New Technology for Information ServicesNew Technology for Information Services
New Technology for Information Services
 
digital law for GLAM
digital law for GLAMdigital law for GLAM
digital law for GLAM
 
20180919 digital-collections
20180919 digital-collections20180919 digital-collections
20180919 digital-collections
 
Field-Weighted Citation Impact (FWCI)
Field-Weighted Citation Impact (FWCI)Field-Weighted Citation Impact (FWCI)
Field-Weighted Citation Impact (FWCI)
 
20180828 digital-archives
20180828 digital-archives20180828 digital-archives
20180828 digital-archives
 
Local Wisdom Information : How to
Local Wisdom Information : How toLocal Wisdom Information : How to
Local Wisdom Information : How to
 
201403 etda-library-settup
201403 etda-library-settup201403 etda-library-settup
201403 etda-library-settup
 
201403 etda-library
201403 etda-library201403 etda-library
201403 etda-library
 

EM academic summary final

  • 1. แถลงการณ์ เรื่อง “EM กับความเหมาะสมในการบําบัดนําเน่ าเสี ยในสภาวะนําท่ วมขัง” ้ ้ (เอกสารเชิงวิชาการ) โดย กลุ่มนักวิชาการวิศวกรรมศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ สิ่งแวดล้อม 9 พฤศจิกายน 2554 ข้ อสรุ ปพร้ อมคําอธิบายเพิมเติมในเชิงวิชาการ ่ 1. คํานิยามของนําเสี ยจากการท่ วมขังและขอบเขตของการสรุ ป ้ ่ นํ้าเสี ยจากการท่วมขัง คือ นํ้าเสี ยที่เกิดขึ้นจากการท่วมขังของนํ้าที่อยูในบริ เวณที่ปิดหรื อมีการไหลของ นํ้าน้อยมาก จนมีความสกปรกเน่าเสี ยเพิ่มมากขึ้น นํ้าเสี ยท่วมขังเป็ นนํ้าเสี ยที่มีการปนเปื้ อนของสารอินทรี ย ์ และมีค่าออกซิเจนละลายนํ้าตํ่าหรื อไม่มี และมีความผิดปกติของสี ตะกอน และกลิ่น ในการสรุ ปผลการเสวนาครั้งนี้ ที่ประชุมได้พิจารณาเฉพาะประเด็นการใช้ E.M. ในการบําบัดนํ้าเสี ยจาก การท่วมขังของสถานการณ์วิกฤตนํ้าท่วมของประเทศไทยในขณะนี้ เท่านั้น ไม่รวมถึงนํ้าเสี ยชนิ ดและใน สภาวะอื่นๆ 2. การบําบัดนําเน่ าเสี ยในสภาวะนําท่ วมขังในปั จจุบัน E.M. สามารถใช้ งานได้ หรื อไม่ ้ ้ 2.1. ความหมายของ EM และ E.M. จากการสื บค้นจากสื่ อต่างๆ พบว่า EM เป็ นเครื่ องหมายทางการค้าโดย Professor Teruo Higa ได้จด ลิขสิ ทธิ์ ไว้ ซึ่ งประกอบด้วยจุลินทรี ยหลัก 3 กลุ่ม คือ Lactic acid bacteria, Yeast, และ Photosynthetic ์ bacteria กลุ่ม Purple bacteria ปั จจุบนมีผลผลิตลักษณะเดียวกันแต่ไม่ได้อางถึงลิขสิ ทธิ์ เดียวกันปรากฎอยู่ ั ้ ด้วย ส่ วน E.M. ที่มีการอ้างถึงในปั จจุบนนั้น เป็ นคําย่อของ Effective Microorganisms ซึ่งจัดว่าเป็ นคํา ั เรี ยกทัวไปของกลุ่มจุลินทรี ยที่มีความสามารถในการทํางานสู งกว่าจุลินทรี ยปกติ จึงทําให้ชื่อ E.M. เป็ นคําที่ ่ ์ ์ ใช้เรี ยกกันทัวไปในทางวิชาการ ่ ่ 2.2. รู ปแบบของ E.M. ที่ใช้อยูในการบําบัดนํ้าเสี ยจากการท่วมขัง
  • 2. 1) ผลิตภัณฑ์ E.M. ชนิดนํ้า คือผลผลิตจากกระบวนการหมักที่ใช้หัวเชื้อจุลินทรี ยตาม ์ ธรรมชาติ โดยมีส่วนประกอบหลักคือกรดอินทรี ย ์ (Organic acids) ที่ได้จากการย่อยสลายแบบไร้ ออกซิเจน แอลกอฮอล์ สารเมแทบอไลต์ต่างๆ ที่เกิดจากจุลินทรี ย ์ และเซลล์ของจุลินทรี ย ์ 2) ผลิตภัณฑ์ E.M. ชนิดปั้ นเป็ นก้อน หรื ออีเอ็มบอล (E.M. Ball) จะประกอบด้วยจุลินทรี ย ์ E.M. ชนิดนํ้า สารอินทรี ย ์ เช่น รําข้าว ผสมด้วยแกลบและดิน เพื่อทําให้สามารถปั้ นเป็ นก้อนได้ ทั้งนี้ อีเอ็มบอลจะมีการหมักที่ไม่สมบูรณ์ต่างจากอีเอ็มชนิดนํ้า โดยอีเอ็มบอลจะยังคงมีสารอินทรี ย ์ ที่ยงไม่ถกย่อยสลายแบบไร้ออกซิ เจนในปริ มาณมาก ั ู ่ 2.3. องค์ประกอบของ E.M. ที่ใช้อยูในการบําบัดนํ้าเสี ยจากการท่วมขัง องค์ประกอบของ E.M. ในแง่ของกายภาพและเคมี มักประกอบด้วยสารอินทรี ย ์ เช่น กากนํ้าตาล (โมลาส) และรําข้าว ซึ่ งสารอินทรี ยดงกล่าว เมื่อเติมลงไปในนํ้า สามารถส่ งผลให้ค่าความสกปรกของนํ้าที่ ์ั วัดในรู ปของค่าบีโอดี (BOD - Biochemical Oxygen Demand) ของนํ้าเสี ยท่วมขังเพิมขึ้นได้ โดยเฉพาะอย่าง ่ ยิงเมื่อใช้ในปริ มาณมาก ่ องค์ประกอบของ E.M. ในด้านจุลินทรี ย ์ ส่ วนใหญ่ประกอบด้วยจุลินทรี ย ์ 3 กลุ่มใหญ่ๆ คือ Lactic acid bacteria, Yeast, และ Photosynthetic bacteria รวมถึงอาจมีจุลินทรี ยกลุ่มอื่นๆ รวมอยูดวย ทั้งนี้ เมื่อ ์ ่ ้ พิจารณาการวิเคราะห์ในเชิงปริ มาณพบว่า มิได้มีการระบุปริ มาณและสัดส่ วนของจุลินทรี ยชนิดต่างๆ ที่ได้ ์ กล่าวมาแล้วอย่างชัดเจน นอกจากนี้ ในด้า นกระบวนการผลิ ต E.M. ที่ ใ ช้กันอยู่ใ นการบํา บัดนํ้า เสี ย ท่ ว มขัง ก็มิ ได้มี ก าร ควบคุ มคุ ณภาพการผลิ ตที่ ชัดเจน ทํา ให้อาจไม่สามารถควบคุ มปริ มาณ สัดส่ ว น หรื อบ่ งชี้ ประเภทของ ่ จุลินทรี ยท่ีมีอยูได้อย่างชัดเจน ์ 2.4. E.M. สามารถบําบัดนํ้าเสี ยจากการท่วมขังได้หรื อไม่? ที่ประชุมมีความเห็นตรงกันว่า E.M. ไม่ สามารถบําบัดนํ้าเสียจากการท่ วมขังได้ ด้วยเหตุผลต่างๆ ดังนี้ องค์ประกอบของจุลินทรี ยใน E.M. บางกลุ่มอาจจัดได้ว่าเป็ นจุลินทรี ยประเภท Facultative ซึ่ ง ์ ์ สามารถใช้ออกซิเจนและไม่ใช้ออกซิเจนในการย่อยสารอินทรี ยเ์ พื่อใช้ในการเจริ ญเติบโตได้ ดังนั้น หากใน นํ้าเสี ยท่วมขังมีค่าออกซิ เจนละลาย (Dissolved Oxygen, DO) อยู่ จุลินทรี ยกลุ่มนี้กมกจะเลือกใช้ออกซิ เจน ์ ็ ั ในการย่อยสารอินทรี ยเ์ พื่อเจริ ญเติบโต (Aerobic Respiration) ก่อน จนกระทังค่าออกซิเจนละลายในนํ้าหมด ่ ไป จุลินทรี ยก็จะปรับตัวมาใช้การย่อยสารอินทรี ยแบบไม่ใช้ออกซิ เจนในขั้นตอนการหมัก (Fermentation) ์ ์ เพื่อการเจริ ญเติบโตแทน
  • 3. ดังนั้น หากนํ้าเสี ยท่วมขังยังมีปริ มาณออกซิ เจนละลายอยู่ ก็จะถูกจุลินทรี ยใน E.M. ที่เติมลงไปใช้ ์ ในการย่อยสารอินทรี ยจนหมด ซึ่ งการขาดออกซิ เจนละลายดังกล่าวเป็ นสาเหตุให้น้ าเสี ยท่วมขังเน่าเสี ยเพิ่ม ์ ํ มากยิงขึ้น ่ สําหรับกลไกการทํางานของจุลินทรี ยใน E.M. ในสภาวะการย่อยสารอินทรี ยแบบไม่ใช้ออกซิ เจน ์ ์ นั้น ไม่สามารถลดความสกปรกโดยเฉพาะสารอินทรี ยในนํ้าเสี ยจากการท่วมขังได้มากนัก กระบวนการซึ่ ง ์ คาดว่าน่าจะเกิดขึ้นจากการหมักของจุลินทรี ยใน E.M. ภายใต้สภาวะไร้ออกซิเจน ดังสรุ ปในแผนภาพ ์ จากแผนภาพ เห็นได้ว่า ผลผลิตของการย่อยสารอินทรี ยโดยจุลินทรี ยใน E.M. นั้น ส่ วนใหญ่คือ ์ ์ Sulfur, Alcohol (และจะถูกเปลี่ยนเป็ น Organic acid ในที่สุด), Lactic acid และ organic acid อื่นๆ ซึ่ งสาร ต่างๆ เหล่านี้กยงสามารถวัดเป็ นค่าความสกปรกของนํ้าในรู ป BOD ได้อยู่ เมื่อเปรี ยบเทียบกับกระบวนการ ็ั บําบัดนํ้าเสี ยทางชี วภาพภายใต้สภาวะไร้ออกซิ เจน (Anaerobic wastewater treatment) การทํางานของ จุลินทรี ยใน E.M. ยังขาดขั้นตอนหลักที่สาคัญนันคือ กระบวนการ Methanogenesis ซึ่ งเป็ นขั้นตอนหลักใน ์ ํ ่ ่ การกําจัดสารอินทรี ย ์ (ในรู ปของค่า BOD) ออกจากนํ้า โดยการเปลี่ยนรู ปสารอินทรี ยในนํ้าให้อยูในรู ปของ ์ ก๊าซมีเธน(CH4) ก๊าซคาร์ บอนไดออกไซด์ (CO2) และก๊าซอื่นๆ อีกเล็กน้อย ซึ่ งรวมเรี ยกว่า ก๊าซชี วภาพ (Biogas) นันเอง ดังนั้นสามารถสรุ ปได้ว่า สารอินทรี ยในนํ้าเสี ยได้ถูกเปลี่ยนรู ปไป แต่มิได้ถูกกําจัดออกจาก ่ ์ นํ้าและค่าความต้องการออกซิ เจนก็มิได้ลดลงแต่อย่างใด หรื อกล่าวได้ว่า จุลินทรี ยใน E.M. ไม่สามารถ ์ บําบัดนํ้าเสี ยจากการท่วมขังได้
  • 4. สําหรับกลุ่มจุลินทรี ยสังเคราะห์แสงใน E.M. นั้น ประกอบด้วยจุลินทรี ยสังเคราะห์แสง 2 กลุ่ม คือ ์ ์ 1) จุลินทรี ยกลุ่ม Purple non-sulfur bacteria เช่น Rhodopseudomonas ซึ่ งมีความสามารถในการย่อยสลาย ์ สารอินทรี ยโดยใช้แสงได้ และ 2) จุลินทรี ยกลุ่ม Purple bacteria ที่มีความสามารถในการกําจัดกลิ่นเน่าเหม็น ์ ์ ของนํ้าเสี ยที่เกิดจากก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด์ (H2S) หรื อก๊าซไข่เน่าได้ แต่กลไกทางชีวภาพในการกําจัดกลิ่น ของ E.M. นั้นยังไม่สามารถอธิบายได้อย่างชัดเจน อย่างไรก็ตาม จากที่พบว่ากระบวนการการกําจัดกลิ่นของ E.M. สามารถเกิดขึ้นอย่างรวดเร็ วนั้น นักวิชาการหลายท่านจึงลงความเห็นว่า ผลดังกล่าวอาจเนื่องจากกลไก ทางเคมีหรื อองค์ประกอบบางอย่างใน E.M. ซึ่งช่วยปรับค่าพีเอชของนํ้ามากกว่าจะเป็ นกลไกทางชีวภาพจาก การทํางานของจุลินทรี ย ์ อย่างไรก็ตาม บทบาทของจุลินทรี ยสังเคราะห์แสงเหล่านี้ ในการบําบัดนํ้าเสี ยยังมี ์ ไม่มากนัก รวมถึงยังไม่มีใครสามารถควบคุมหรื อเลี้ยงจุลินทรี ยตวนี้ในการบําบัดนํ้าเสี ยได้ ์ั ทั้งนี้ จุลินทรี ยทุกกลุ่มใน E.M. มิได้เป็ นจุลินทรี ยกลุ่มพิเศษแต่อย่างใด แต่เป็ นจุลินทรี ยที่พบได้ ์ ์ ์ โดยทัวไปในธรรมชาติ ่ 2.5. การใช้ E.M. ในแง่ของปริ มาณจุลินทรี ย ์ กระบวนการบําบัดทางชี วภาพ (Bioremediation) นั้นสามารถแบ่ งได้ออกเป็ น 2 ประเภท คือ ้ ์ ่ 1) Bio-stimulation คือการกระตุนให้จุลินทรี ยที่มีอยูแล้วในธรรมชาติให้ทางานขึ้นมา เพื่อช่วยใน ํ การบําบัดนํ้าเสี ย 2) Bio-augmentation คือการเติมจุลินทรี ยลงไปในพื้นที่เพื่อใช้ในการบําบัด ์ สําหรับกรณี การเติม E.M. จัดเป็ นแนวทางการบําบัดทางชีวภาพ แบบ Bio-augmentation โดยการ ั ์ ่ ทํา Bio-augmentation นั้น มีความจําเป็ นเฉพาะในกรณี ที่พ้ืนที่น้ นๆ ขาดแคลนจุลินทรี ยที่มีอยูตามธรรมชาติ หรื อต้องการนําจุลินทรี ยที่ลกษณะพิเศษหรื อมีความเฉพาะเจาะจงมาใช้ในการบําบัดของเสี ยในพื้นที่ ดังนั้น ์ ั หากพิจารณาการเติม E.M. เพื่อใช้ในการบําบัดนํ้าเสี ยท่วมขัง พบว่านํ้าเสี ยในธรรมชาติทวไปมีจุลินทรี ย ์ ั่ หลากหลายชนิดในปริ มาณมากมายอยูแล้ว ดังนั้น การเติมจุลินทรี ยโดยใช้ E.M. ซึ่ งเป็ นกลุ่มจุลินทรี ยที่มีอยู่ ่ ์ ์ ปกติในธรรมชาติน้ น จึงไม่มีความจําเป็ น เนื่องจากจุลินทรี ยใน E.M. ที่เติมลงไปนั้นจัดว่าน้อยมากเมื่อเทียบ ั ์ กับปริ มาณจุลินทรี ยในนํ้าเสี ยธรรมชาติ ์ อย่างไรก็ตาม หากใน E.M. มีจุลินทรี ยกลุ่มพิเศษที่ไม่มีอยูในธรรมชาติ การเติมจุลินทรี ยดงกล่าวลง ์ ่ ์ั ไปด้วยปริ มาณไม่มากพอเพียง ก็อาจทําให้จุลินทรี ยกลุ่มดังกล่าวทํางานได้เพียงระยะเวลาสั้นๆ เท่านั้นก่อนที่ ์ จะถูกกลื นไปกับจุลินทรี ยที่มีอยู่ในนํ้าเสี ยท่ วมขังเดิมซึ่ งมี อยู่เป็ นจํานวนมากและมีความสามารถในการ ์ ดํารงค์ชีวิตในนํ้าธรรมชาติสูงกว่า จุลินทรี ยใน E.M. ดังนั้นในกรณี น้ าเสี ยท่วมขังนี้ การทํา Bio-stimulation ์ ํ
  • 5. ์ ่ ด้วยการเติมออกซิ เจนลงในนํ้า เพื่อกระตุนให้จุลินทรี ยที่มีอยูแล้วให้สามารถทําการบําบัดนํ้าเสี ยได้ น่าจะมี ความเหมาะสมมากกว่าในทางวิชาการ ั 2.6. การใช้ E.M. ในการผลิตออกซิเจนให้กบนํ้าเสี ย เนื่องจากในองค์ประกอบทางจุลินทรี ยของ E.M. ประกอบด้วยจุลินทรี ยที่สามารถสังเคราะห์แสงได้ ์ ์ (Photosynthetic bacteria) เช่น Purple bacteria หลายคนจึงมีแนวคิดที่ว่า จุลินทรี ยใน E.M. สามารถผลิต ์ ั ออกซิเจนเพื่อเพิ่มค่าออกซิ เจนละลาย (DO) ให้กบนํ้าเสี ยท่วมขังได้ อย่างไรก็ตาม ในทางวิชาการ จุลินทรี ย ์ ใน E.M. โดยเฉพาะกลุ่มแบคทีเรี ยสังเคราะห์แสง (Photosynthetic bacteria) ไม่สามารถผลิตออกซิ เจนได้ โดยตรง เนื่ องจากกระบวนการสังเคราะห์แสงของแบคทีเรี ยกลุ่มนี้แตกต่างจากการกระบวนการสังเคราะห์ แสงของไซยาโนแบคทีเรี ยและของพืชที่คนทัวไปคุนเคยกันอยู่ ดังแสดงในสมการต่อไปนี้ ่ ้ กระบวนการสังเคราะห์แสงของ Purple bacteria (Bacterial photosynthesis) CO2 + H2S (CH2O) + H2O + 2S การสังเคราะห์แสงของไซยาโนแบคทีเรี ยและของพืช (Plant photosynthesis) CO2 + 4 H2O (CH2O) + 3H2O + O2 เห็นได้ชดเจนว่า ผลผลิตของกระบวนการสังเคราะห์แสงของจุลินทรี ยชนิ ด Purple bacteria ใน ั ์ E.M. คือ ซัลเฟอร์ (Sulfur, S) มิใช่ออกซิ เจน (Oxygen, O2) เหมือนกรณี การสังเคราะห์แสงของไซยาโน แบคทีเรี ยและพืช ดังนั้น จุลินทรี ยใน E.M. จึงไม่สามารถเพิ่มค่าออกซิเจนละลายนํ้า (Dissolved Oxygen, ์ ั DO) ให้กบนํ้าเสี ยท่วมขังได้โดยตรง อย่างไรก็ตาม มีความเป็ นไปได้ว่าธาตุอาหารบางอย่างของพืชที่มีอยู่ใน E.M. เช่ น ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส หรื ออื่นๆ อาจสามารถช่วยในการเพิมปริ มาณของแพลงก์ตอนพืชในนํ้าได้และอาจส่ งผลต่อการ ่ สร้างออกซิเจนในนํ้าโดยทางอ้อมผ่านการสังเคราะห์แสงของแพลงก์ตอนพืชในนํ้าได้ อย่างไรก็ตามประเด็น ดังกล่าวนี้ยงไม่มีการพิสูจน์เป็ นที่แน่ชด นอกจากนี้ การเพิ่มจํานวนของแพลงก์ตอนพืชในนํ้ามากจนเกินไป ั ั หรื อที่เรี ยกว่าปรากฎการณ์ Eutrofication นั้น ก็ส่งผลเสี ยต่อปริ มาณออกซิ เจนละลายนํ้าได้เช่นกัน กล่าวคือ การสังเคราะห์แสงของพืชที่ให้ผลผลิตออกมาเป็ นออกซิ เจนนั้น เกิดขึ้นเฉพาะในเวลากลางวันที่มีแสงแดด เท่ า นั้น ในช่ ว งเวลากลางคื นที่ ไม่ มีแ สงแดด แพลงก์ต อนพื ช จะใช้ออกซิ เ จนละลายในนํ้า และคายก๊ า ซ คาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) ออกมา ส่ งผลให้ค่าออกซิเจนละลายในนํ้าในช่วงกลางคืนตํ่าลงหรื ออาจหมดไป ได้ และส่ งผลให้น้ าเน่าเสี ยเพิมขึ้นได้อีกด้วย ํ ่
  • 6. แม้ว่าในปั จจุบนยังไม่ปรากฏว่ามีวิธีบาบัดนํ้าเสี ยจากการท่วมขังในพื้นที่ขนาดใหญ่ท่ีได้ผลเป็ นที่ ั ํ ยอมรับในระดับนานาชาติ แต่ถึงอย่างไร แนวทางการใช้ จลินทรี ย์ E.M. นั้นยังไม่ ใช่ เทคโนโลยีท่ได้ รับการ ุ ี พิสูจน์ ตามหลักวิทยาศาสตร์ ว่าสามารถนําไปใช้ ได้ จริ งในการบําบัดนํ้าเสี ยจากการท่ วมขัง และความไม่ ร้ ู แน่ นอนในด้ านต่ าง ๆ เกี่ยวกับ E.M. ยังมีอยู่อีกมาก ที่ประชุ มจึงมีความเห็นตรงกันว่ า ไม่ แนะนําให้ ใช้ จุลนทรี ย์ E.M. ในการบําบัดนํ้าเสียจากการท่ วมขัง เนื่องจากเห็นว่ าน่ าจะส่ งผลเสียมากกว่ าผลดี ิ แนวทางการแก้ ปัญหานําเสี ยท่ วมขัง ้ การแก้ไขปั ญหานํ้าเสี ยท่วมขังในสถานการณ์ปัจจุบน ที่ประชุมมีความเห็นร่ วมกันว่าสามารถ ั ดําเนินการได้ตามลําดับ ดังนี้ 3.1. ควรหาวิธีระบายนํ้าที่ท่วมขังอยู่ออกไปโดยเร็ วที่สุด วิธีดงกล่าวเป็ นวิธีที่ได้รับการยอมรับ และ ั ใช้ทวไปในนานาประเทศ และควรเข้าใจและยอมรับความจริ งว่ายังไม่เคยมีวิธีการใดที่จะบําบัดนํ้าเสี ยจาก ั่ ั ่ กรณี น้ าท่วมขังได้อย่างมีประสิ ทธิภาพ ส่ วนวิธีที่ได้รับการยอมรับและใช้กนทัวไปในบางประเทศมีเพียงการ ํ อพยพคนออกและระบายนํ้าท่วมขังออกโดยเร็ วที่สุดเท่านั้น อย่างไรก็ตาม หากการระบายนํ้าออกยังทําไม่ได้ ในระยะเวลาสั้นๆ ควรดําเนินการดังข้อแนะนําต่อๆไป 3.2. ควรจัดการเก็บขนขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกลที่เกิดขึ้นในพืนที่ ทั้งที่เกิดจากการใช้ชีวิตประจําวัน ู ้ และจากการนําสิ่ งของช่วยเหลือ (ถุงยังชี พ) เข้าไปในพื้นที่น้ าท่วมขัง เพื่อนําออกมากําจัดอย่างถูกต้องตาม ํ หลักวิชาการ เช่ น การฝั งกลบ เป็ นต้น ทั้งนี้ การนําขยะมูลฝอยและสิ่ งปฏิกูลออกจากพื้นที่ นับเป็ นปั จจัย สําคัญที่ช่วยลดความสกปรกของนํ้าท่วมขังได้เป็ นอย่างดี 3.3. ควรหาวิธีการเพื่อเพิ่มปริ มาณออกซิเจนละลายในนํ้า เช่น การทําให้เกิดการหมุนเวียนของนํ้า ท่ วมขังเข้า และออกจากพื้นที่ น้ ําท่ ว มขัง ปิ ด การใช้เครื่ อ งเติ มอากาศ เป็ นต้น สํา หรั บการจัดให้เกิ ดการ หมุ นเวี ย นของนํ้า ท่ ว มขัง นั้น อาจทํา ได้โ ดยการรื้ อสิ่ ง กี ด ขวางทางไหลของนํ้า ในบริ เ วณดัง กล่ า ว เช่ น กระสอบทราย ออก เป็ นต้น เพื่อให้น้ าสามารถไหลหรื อหมุนเวียนเพื่อให้เกิดการถ่ายเทของออกซิ เจนลงสู่ ํ นํ้าได้เพิ่มมากขึ้น สําหรับการใช้เครื่ องเติมอากาศในการบําบัดนํ้าท่วมขัง เนื่องจากนํ้าท่วมขังมีปริ มาตรสู งมาก ดังนั้น อาจต้องมีการคํานวณและออกแบบการติดตั้งใช้เครื่ องเติมอากาศทั้งในแง่ขนาดและจํานวนเป็ นปริ มาณมาก
  • 7. เพื่อให้สามารถถ่ายเทออกซิเจนลงไปในนํ้าได้อย่างพอเพียง โดยที่หากใช้การเติมอากาศในพื้นที่น้ าท่วมขังที่ ํ ปิ ดและบริ เวณที่ไม่ใหญ่เกินไปนัก เช่น ภายในบ้านเรื อน จะเห็นผลได้เร็ วกว่าพื้นที่น้ าท่วมขังขนาดใหญ่ ํ การใช้เครื่ องเติมอากาศ สามารถเลือกใช้ได้หลากหลายชนิด ตั้งแต่ขนาดเล็กๆ เช่น การใช้เครื่ องสู บ นํ้าพ่นนํ้าให้เป็ นฝอยขึ้ นไปในอากาศ เพื่อให้เกิ ดการถ่ายเทออกซิ เจนจากอากาศลงสู่ น้ า จนกระทังถึงใช้ ํ ่ ่ ้ เครื่ องกลเติมอากาศขนาดใหญ่ นอกจากนี้ การใช้เครื่ องเติมอากาศ มีขอควรระวังอยูบาง เช่น สําหรับเครื่ อง ้ เติมอากาศที่ใช้ไฟฟ้ า หากผูใช้ไม่ชานาญการในการติดตั้งใช้งาน อาจก่อให้เกิดอันตรายจากไฟฟ้ าลัดวงจรได้ ้ ํ ในขณะที่การพ่นนํ้าให้เป็ นฝอยขึ้นไปในอากาศ อาจส่ ง ผลให้เกิ ดละอองนํ้าขนาดเล็กที่ ปนเปื้ อนไปด้วย จุลินทรี ยในนํ้า และอาจถูกสู ดดมเข้าสู่ ร่างกายคนผ่านระบบทางเดินหายใจได้ ์ 3.4. อาจใช้สารเคมีบางชนิดที่มีคุณสมบัติในการฆ่าเชื้อโรค และกําจัดกลิ่นในนํ้าเสี ยท่วมขัง เช่น ปูนขาว คลอรี น หรื ออื่นๆ ควรมีการจํากัดบริ เวณการใช้หรื อใช้ระบบปิ ด เช่น กรณี พ้ืนที่น้ าท่วมขังปิ ดขนาด ํ ั เล็ก เป็ นต้น รวมถึงไม่ควรนํามาใช้กบบริ เวณพื้นนํ้าท่วมขังที่มีปริ มาตรสู งหรื อบริ เวณนํ้าท่วมขังที่เป็ นระบบ เปิ ดที่สามารถเชื่อมต่อกับสิ่ งแวดล้อมภายนอก ทั้งนี้ ความจําเป็ นต้องใช้สารเคมีเป็ นปริ มาณสู งมากที่เป็ น การสิ้ นเปลืองแล้ว หากนํ้าเสี ยที่ผานการเติมสารเคมีเหล่านี้ปนเปื้ อนสู่ สิ่งแวดล้อมภายนอกจะส่ งผลกระทบ ่ ต่อสิ่ งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ในนํ้าได้เช่นเดียวกัน นอกจากนี้ การใช้สารเคมีดงกล่าวอาจก่อให้เกิดอันตรายต่อผู ้ ั ใช้ได้หากมี การสัมผัสกับสารเคมี โดยตรง ดังนั้น หากมี ความจําเป็ นต้องใช้ ควรมี การสวมใส่ ถุงมือและ อุปกรณ์ป้องกัน รวมถึงควรศึกษาถึงปริ มาณที่เหมาะสมต่อการใช้งาน ดังนั้นที่ประชุมจึงไม่แนะนําให้ใช้ สารเคมีในการแก้ไขปัญหานํ้าเสี ยท่วมขัง ข้อสรุ ปทั้งหมดนี้ทางกลุ่มนักวิชาการวิศวกรรมศาสตร์และวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อมเข้าใจดีถึงความ ปรารถนาดีของทุกฝ่ ายในการช่วยกันร่ วมแก้ไขปั ญหาสิ่ งแวดล้อมที่จะเกิดขึ้น หากแต่จาเป็ นต้องนําเสนออีก ํ แง่มุมหนึ่งของนักวิชาการวิศวกรรมศาสตร์และวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อมต่อการใช้ E.M.ในการบําบัดนํ้าเน่า เสี ยในสภาวะนํ้าท่วมขังตามหลักวิชาการ เพื่อประกอบการตัดสิ นใจสําหรับการเลือกวิธีการแก้ไขปั ญหาที่ เหมาะสมที่สุดในการฟื้ นฟูปัญหาสิ่ งแวดล้อมอันเนื่องมาจากภาวะนํ้าท่วมในปัจจุบน ั