SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
Download to read offline
งานวิจัยในชั้นเรียน

ชื่อเรื่อง      สูตรคูณนั้นสําคัญฉะไน
ผูวิจัย        นางสาวปยะมาศ แกวเกษการณ

จุดมุงหมาย
          1. ใหนักเรียนตระหนักถึงความสําคัญ และประโยชนของการทองสูตรคูณ
          2. นักเรียนสามารถทองสูตรคูณไดอยางถูกตอง และรวดเร็ว
          3. นักเรียนสามารถนําไปใชในการเรียน และชีวิตประจําวันได
วิธีดําเนินการ
          1 .วางแผนการทําวิจัย และการสรางเกมการศึกษา
          2. ทําการวิจัย
          3. รวบรวมขอมูล วิเคราะหและสรุปผลการวิจัย
ขอบเขตของการวิจัย
          1. กลุมตัวอยาง
                   นักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปที่ 1- 3 จํานวน 39 คน
          ประชากร
                   ประถมศึกษาปที่ 1-มัธยมศึกษาปที่ 3 จํานวน 130 คน
          2. เนื้อหาที่ใชในการทําวิจัย ไดแก บททองสูตรคูณ

เครื่องมือที่ใช
      1. บททองสูตรคูณ
      2. ตารางบันทึกการทองสูตรคูณ
      3. เกมการศึกษาเกี่ยวกับสูตรคูณที่สรางขึ้น

ผลการประเมิน
        หลังจากทําการวิจัยนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1-3 ผานการประเมิน 28 คน คิดเปนรอยละ
71.03 มีผูไมผานการประเมิน 11 คน คิดเปนรอยละ 28.97 ผูวิจัยสามารถใหเหตุผลที่ทําใหนักเรียนสอบ
ไมผานมีดังนี้ นักเรียนไมคอยทองแมสูตรคูณ ,นักเรียนทองไดแตชาไมทันเวลาที่กําหนด,นักเรียน
บางสวนเปนเด็กพิเศษ




                                                                                                 1
บทที่ 1
                                           บทนํา


ความเปนมาและความสําคัญของงานวิจัย

         ในวิชาคณิตศาสตรพื้นฐานที่สําคัญอยางหนึ่งก็คือ การคิดคํานวณ ไดแก การบวก การลบ
การคูณ และการหาร ถานักเรียนมีทักษะการคิดคํานวณที่ไมดี การเรียนคณิตศาสตรใหดีไดนั้นก็จะทํา
ไดยาก จากการไดทดสอบนักเรียนรุนที่ผานๆ มา ไดพบปญหา คือ นักเรียนมีทักษะการคูณเลข และ
หารเลขที่ไมดี โดยสวนมากจะคูณผิดและหารผิด หรือบางคนทําไดแตทําไดชามาก จึงทําการสอบถาม
นักเรียนเกี่ยวกับปญหานี้ ปรากฏวา นัก เรียนสวนนอยไมเขาใจในวิธีการคิด แตสวนมากทําไมได
เพราะ ทองสูตรคูณไมได หรือทองไดแตทองไดชามาก จึงทําใหเกิดความคิดที่จะแกปญหาในเรื่อง
การทองสูตรคูณนี้ นอกจากนักเรียนจะตองใชการทองสูตรคูณในการคิดคํานวณแลว นักเรียนยัง
สามารถนําไปใชในชีวิตประจําวันไดอีกดวย แตในงานวิจัยชิ้นนี้จะศึกษาวิจัยเฉพาะนักเรียนชั้น
มัธยมศึกษาปที่ 1 – มัธยมศึกษาปที่ 3 ปการศึกษา 2554 จํานวน 39 คน เทานั้น
         ดังนั้นผูวิจัยจึงไดพยายามหาแนวทางที่จะชวยใหนักเรียนสามารถทองสูตรคูณได และสามารถ
นําไปใชในการเรียน และชีวิตประจําวันได

จุดมุงหมาย
       1. ใหนักเรียนตระหนักถึงความสําคัญ และประโยชนของการทองสูตรคูณ
       2. นักเรียนสามารถทองสูตรคูณไดอยางถูกตอง และรวดเร็ว
       3. นักเรียนสามารถนําไปใชในการเรียน และชีวิตประจําวันได

ตัวแปรที่ศึกษา

       ตัวแปรตน
       นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 – มัธยมศึกษาปที่ 3 ปการศึกษา 2554 จํานวน 39 คน
       ตัวแปรตาม
       1. การทองสูตรคูณ
       2. ผลการทดสอบทองสูตรคูณปากเปลา และคะแนนจากเกมการศึกษาที่สรางขึ้น




                                                                                            2
กรอบแนวคิดในการวิจัย

                                      ฝกทองสูตรคูณ



       การทดสอบทองสูตร                                          คะแนนจากการทดสอบ
          คูณปากเปลา                                              กับเกมการศึกษา

                           รูปแสดงกรอบแนวคิดในการวิจัย



ประโยชนที่คาดวาจะได
      1. นักเรียนสามารถทองสูตรคูณไดอยางถูกตอง และรวดเร็ว
      2. นักเรียนสามารถนําไปใชในการเรียน และชีวิตประจําวันได




                                                                                    3
บทที่ 2
                               เอกสารและงานวิจัยอางอิง

ผูคนพบแมสูตรคูณ
        ปทาโกรัส เปนที่รูจักกันดีในฐานะของนักคณิตศาสตรผูคิดคนสูตรคูณ หรือตารางปทาโกเรียน

สูตรคูณ

        (ซึ่งมีไวสําหรับสอนการคูณกับเด็กนักเรียน) เปนตารางกริดที่แถวและคอลัมนมีหัวเปนตัว
เลขที่จะนํามาคูณ และตัวเลขในแตละชองคือผลคูณของหัวแถวและคอลัมน




                                                                                               4
บทที่ 3
                                     วิธีดําเนินการวิจัย

ขอบเขตของการวิจัย
       1. กลุมตัวอยาง นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1-มัธยมศึกษาปที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 ป
การศึกษา 2554 โรงเรียนบานหนองกระทุม จํานวน 39 คน
       2. เนื้อหาที่ใชในการทําวิจัย ไดแก บททองสูตรคูณ

วิธีดําเนินการวิจัย
ระยะเวลาในการดําเนินงาน
       15 พฤศจิกายน 2554 – 1 มีนาคม 2555

                                     ตารางดําเนินการวิจัย
     วัน/เดือน/ป                   กิจกรรม/ขั้นตอนการดําเนินงาน                          หมายเหตุ
15 พ.ย. 54              วางแผนการทําวิจัย และการสรางเกมการศึกษา
21-23 พ.ย. 54           ทดสอบการทองสูตรคูณของนักเรียนโดยวิธีทองปากเปลา             บันทึกผลการทอง
                                                                                           สูตรคูณ
28 พ.ย.54–17 ก.พ.55     นักเรียนทุกคนทองสูตรคูณตอนเขาแถวกอนกลับบาน                 ทําเชนนี้ทุกวัน
20 - 24 ก.พ. 55         ใหนักเรียนทดสอบกับเกมการศึกษาที่สรางขึ้น                      บันทึกคะแนน
27-29 ก.พ. 55           รวบรวมและวิเคราะหขอมูล
1 มี.ค. 55              สรุปผลการวิจัย


เครื่องมือที่ใชในการวิจัย
    4. บททองสูตรคูณ
    5. ตารางบันทึกการทองสูตรคูณ
    6. เกมการศึกษาเกี่ยวกับสูตรคูณที่สรางขึ้น




                                                                                                 5

More Related Content

What's hot

6.โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับดอกเบี้ย
6.โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับดอกเบี้ย6.โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับดอกเบี้ย
6.โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับดอกเบี้ยApirak Potpipit
 
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1คุณครูพี่อั๋น
 
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันแบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันphaephae
 
แบบสอบถาม
แบบสอบถามแบบสอบถาม
แบบสอบถามnichalee
 
4สารบัญตารางวิจัย
4สารบัญตารางวิจัย4สารบัญตารางวิจัย
4สารบัญตารางวิจัยkrupornpana55
 
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงานใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงานMypoom Poom
 
โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3Mam Chongruk
 
การสร้างเครื่องมือและเกณฑ์ประเมิน แบบ Scoring Rubrics
การสร้างเครื่องมือและเกณฑ์ประเมิน แบบ Scoring Rubricsการสร้างเครื่องมือและเกณฑ์ประเมิน แบบ Scoring Rubrics
การสร้างเครื่องมือและเกณฑ์ประเมิน แบบ Scoring RubricsTeaching & Learning Support and Development Center
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจDuangnapa Inyayot
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 3
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 3เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 3
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 3Thanawut Rattanadon
 
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2557
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3  ปีการศึกษา 2557เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3  ปีการศึกษา 2557
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2557ครู กรุณา
 
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘Duangnapa Inyayot
 
ปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกในปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกในamixdouble
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5Meaw Sukee
 
แฟ้มสะสมผลงาน กศน.
แฟ้มสะสมผลงาน  กศน.แฟ้มสะสมผลงาน  กศน.
แฟ้มสะสมผลงาน กศน.pongtum
 
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือSomporn Amornwech
 

What's hot (20)

6.โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับดอกเบี้ย
6.โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับดอกเบี้ย6.โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับดอกเบี้ย
6.โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับดอกเบี้ย
 
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
 
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันแบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
 
แบบสอบถาม
แบบสอบถามแบบสอบถาม
แบบสอบถาม
 
รากที่สอง..
รากที่สอง..รากที่สอง..
รากที่สอง..
 
4สารบัญตารางวิจัย
4สารบัญตารางวิจัย4สารบัญตารางวิจัย
4สารบัญตารางวิจัย
 
เพลงนันทนาการ
เพลงนันทนาการเพลงนันทนาการ
เพลงนันทนาการ
 
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงานใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
 
โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
 
ใบงาน2
ใบงาน2ใบงาน2
ใบงาน2
 
การสร้างเครื่องมือและเกณฑ์ประเมิน แบบ Scoring Rubrics
การสร้างเครื่องมือและเกณฑ์ประเมิน แบบ Scoring Rubricsการสร้างเครื่องมือและเกณฑ์ประเมิน แบบ Scoring Rubrics
การสร้างเครื่องมือและเกณฑ์ประเมิน แบบ Scoring Rubrics
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจ
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 3
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 3เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 3
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 3
 
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2557
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3  ปีการศึกษา 2557เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3  ปีการศึกษา 2557
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2557
 
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
 
ปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกในปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกใน
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
 
แฟ้มสะสมผลงาน กศน.
แฟ้มสะสมผลงาน  กศน.แฟ้มสะสมผลงาน  กศน.
แฟ้มสะสมผลงาน กศน.
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
2.2 การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็มโดยใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือ
 

Similar to ท่องสูตรคูณ

เด็กไม่ส่งการบ้าน
เด็กไม่ส่งการบ้านเด็กไม่ส่งการบ้าน
เด็กไม่ส่งการบ้านaapiaa
 
Logarithm2555
Logarithm2555Logarithm2555
Logarithm2555wongsrida
 
แผน 4 ชีวิต
แผน 4 ชีวิตแผน 4 ชีวิต
แผน 4 ชีวิตkrupornpana55
 

Similar to ท่องสูตรคูณ (20)

แผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้แผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้
 
Research 2005 29
Research 2005 29Research 2005 29
Research 2005 29
 
เด็กไม่ส่งการบ้าน
เด็กไม่ส่งการบ้านเด็กไม่ส่งการบ้าน
เด็กไม่ส่งการบ้าน
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
962
962962
962
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Logarithm2555
Logarithm2555Logarithm2555
Logarithm2555
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Logarithm
LogarithmLogarithm
Logarithm
 
Add m1-1-chapter1
Add m1-1-chapter1Add m1-1-chapter1
Add m1-1-chapter1
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
แผน 4 ชีวิต
แผน 4 ชีวิตแผน 4 ชีวิต
แผน 4 ชีวิต
 

ท่องสูตรคูณ

  • 1. งานวิจัยในชั้นเรียน ชื่อเรื่อง สูตรคูณนั้นสําคัญฉะไน ผูวิจัย นางสาวปยะมาศ แกวเกษการณ จุดมุงหมาย 1. ใหนักเรียนตระหนักถึงความสําคัญ และประโยชนของการทองสูตรคูณ 2. นักเรียนสามารถทองสูตรคูณไดอยางถูกตอง และรวดเร็ว 3. นักเรียนสามารถนําไปใชในการเรียน และชีวิตประจําวันได วิธีดําเนินการ 1 .วางแผนการทําวิจัย และการสรางเกมการศึกษา 2. ทําการวิจัย 3. รวบรวมขอมูล วิเคราะหและสรุปผลการวิจัย ขอบเขตของการวิจัย 1. กลุมตัวอยาง นักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปที่ 1- 3 จํานวน 39 คน ประชากร ประถมศึกษาปที่ 1-มัธยมศึกษาปที่ 3 จํานวน 130 คน 2. เนื้อหาที่ใชในการทําวิจัย ไดแก บททองสูตรคูณ เครื่องมือที่ใช 1. บททองสูตรคูณ 2. ตารางบันทึกการทองสูตรคูณ 3. เกมการศึกษาเกี่ยวกับสูตรคูณที่สรางขึ้น ผลการประเมิน หลังจากทําการวิจัยนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1-3 ผานการประเมิน 28 คน คิดเปนรอยละ 71.03 มีผูไมผานการประเมิน 11 คน คิดเปนรอยละ 28.97 ผูวิจัยสามารถใหเหตุผลที่ทําใหนักเรียนสอบ ไมผานมีดังนี้ นักเรียนไมคอยทองแมสูตรคูณ ,นักเรียนทองไดแตชาไมทันเวลาที่กําหนด,นักเรียน บางสวนเปนเด็กพิเศษ 1
  • 2. บทที่ 1 บทนํา ความเปนมาและความสําคัญของงานวิจัย ในวิชาคณิตศาสตรพื้นฐานที่สําคัญอยางหนึ่งก็คือ การคิดคํานวณ ไดแก การบวก การลบ การคูณ และการหาร ถานักเรียนมีทักษะการคิดคํานวณที่ไมดี การเรียนคณิตศาสตรใหดีไดนั้นก็จะทํา ไดยาก จากการไดทดสอบนักเรียนรุนที่ผานๆ มา ไดพบปญหา คือ นักเรียนมีทักษะการคูณเลข และ หารเลขที่ไมดี โดยสวนมากจะคูณผิดและหารผิด หรือบางคนทําไดแตทําไดชามาก จึงทําการสอบถาม นักเรียนเกี่ยวกับปญหานี้ ปรากฏวา นัก เรียนสวนนอยไมเขาใจในวิธีการคิด แตสวนมากทําไมได เพราะ ทองสูตรคูณไมได หรือทองไดแตทองไดชามาก จึงทําใหเกิดความคิดที่จะแกปญหาในเรื่อง การทองสูตรคูณนี้ นอกจากนักเรียนจะตองใชการทองสูตรคูณในการคิดคํานวณแลว นักเรียนยัง สามารถนําไปใชในชีวิตประจําวันไดอีกดวย แตในงานวิจัยชิ้นนี้จะศึกษาวิจัยเฉพาะนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปที่ 1 – มัธยมศึกษาปที่ 3 ปการศึกษา 2554 จํานวน 39 คน เทานั้น ดังนั้นผูวิจัยจึงไดพยายามหาแนวทางที่จะชวยใหนักเรียนสามารถทองสูตรคูณได และสามารถ นําไปใชในการเรียน และชีวิตประจําวันได จุดมุงหมาย 1. ใหนักเรียนตระหนักถึงความสําคัญ และประโยชนของการทองสูตรคูณ 2. นักเรียนสามารถทองสูตรคูณไดอยางถูกตอง และรวดเร็ว 3. นักเรียนสามารถนําไปใชในการเรียน และชีวิตประจําวันได ตัวแปรที่ศึกษา ตัวแปรตน นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 – มัธยมศึกษาปที่ 3 ปการศึกษา 2554 จํานวน 39 คน ตัวแปรตาม 1. การทองสูตรคูณ 2. ผลการทดสอบทองสูตรคูณปากเปลา และคะแนนจากเกมการศึกษาที่สรางขึ้น 2
  • 3. กรอบแนวคิดในการวิจัย ฝกทองสูตรคูณ การทดสอบทองสูตร คะแนนจากการทดสอบ คูณปากเปลา กับเกมการศึกษา รูปแสดงกรอบแนวคิดในการวิจัย ประโยชนที่คาดวาจะได 1. นักเรียนสามารถทองสูตรคูณไดอยางถูกตอง และรวดเร็ว 2. นักเรียนสามารถนําไปใชในการเรียน และชีวิตประจําวันได 3
  • 4. บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยอางอิง ผูคนพบแมสูตรคูณ ปทาโกรัส เปนที่รูจักกันดีในฐานะของนักคณิตศาสตรผูคิดคนสูตรคูณ หรือตารางปทาโกเรียน สูตรคูณ (ซึ่งมีไวสําหรับสอนการคูณกับเด็กนักเรียน) เปนตารางกริดที่แถวและคอลัมนมีหัวเปนตัว เลขที่จะนํามาคูณ และตัวเลขในแตละชองคือผลคูณของหัวแถวและคอลัมน 4
  • 5. บทที่ 3 วิธีดําเนินการวิจัย ขอบเขตของการวิจัย 1. กลุมตัวอยาง นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1-มัธยมศึกษาปที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 ป การศึกษา 2554 โรงเรียนบานหนองกระทุม จํานวน 39 คน 2. เนื้อหาที่ใชในการทําวิจัย ไดแก บททองสูตรคูณ วิธีดําเนินการวิจัย ระยะเวลาในการดําเนินงาน 15 พฤศจิกายน 2554 – 1 มีนาคม 2555 ตารางดําเนินการวิจัย วัน/เดือน/ป กิจกรรม/ขั้นตอนการดําเนินงาน หมายเหตุ 15 พ.ย. 54 วางแผนการทําวิจัย และการสรางเกมการศึกษา 21-23 พ.ย. 54 ทดสอบการทองสูตรคูณของนักเรียนโดยวิธีทองปากเปลา บันทึกผลการทอง สูตรคูณ 28 พ.ย.54–17 ก.พ.55 นักเรียนทุกคนทองสูตรคูณตอนเขาแถวกอนกลับบาน ทําเชนนี้ทุกวัน 20 - 24 ก.พ. 55 ใหนักเรียนทดสอบกับเกมการศึกษาที่สรางขึ้น บันทึกคะแนน 27-29 ก.พ. 55 รวบรวมและวิเคราะหขอมูล 1 มี.ค. 55 สรุปผลการวิจัย เครื่องมือที่ใชในการวิจัย 4. บททองสูตรคูณ 5. ตารางบันทึกการทองสูตรคูณ 6. เกมการศึกษาเกี่ยวกับสูตรคูณที่สรางขึ้น 5