SlideShare a Scribd company logo
1 of 16
บทที่ 5    ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอที   และผลกระทบต่อองค์กร ,[object Object],[object Object],[object Object]
ระบบข้อมูลข่าวสารขององค์กร   ในระบบโลกาภิวัฒน์     เทคโนโลยีสารสนเทศมีบทบาทในทุกสาขาอาชีพการติดต่อสื่อสาร   ในทุก ๆ    ด้านสามารถติดต่อกันได้ตลอดเวลาไม่จำกัดด้วยระยะทางทำให้เกิดการแข่งขันกันอย่างปราศจากขอบเขต    ดังนั้น    ข้อมูลข่าวสาร จึงเป็นสิ่งที่จำเป็น    ข้อมูลที่ดีต้องมีการจัดการข้อมูลได้รวดเร็ว ง่าย สะดวก   โดยใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย           ระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพ ก็เช่นเดียวกัน    ได้พัฒนาในด้านของความครอบคลุม ในการรวบรวมข้อมูลข่าวสารที่สำคัญ    มาเป็นระยะเวลายาวนาน โดยปรับระบบให้ทันกับยุคโลกาภิวัฒน์   โดยเริ่มต้นจัดระบบงานข้อมูลข่าวสารสุขภาพตามข้อตกลงร่วมกันระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้องภายในกระทรวงสาธารณสุข     ตั้งแต่แผนพัฒนาการสาธารณสุข    ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่  4  ( พ . ศ .  2520-2524)  จัดตั้งศูนย์ข้อมูลข่าวสารสาธารณสุขกลาง    องค์ประกอบของระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพในขณะนั้นมี  3  เรื่อง ได้แก่ ข้อมูลข่าวสารที่ต้องการ    การไหลเวียนของข้อมูลข่าวสาร และระเบียนและรายงาน    จนถึงปัจจุบันในช่วงแผนพัฒนาการสาธารณสุข ฉบับที่    9  ( พ . ศ . 2545-2549)  ได้พัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพ     โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่ทันสมัยเพื่อเป็นการประหยัดเวลาในการจัดทำรายงาน     ได้พัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารสาธารณสุขจากระบบการส่งรายงานเป็นระบบฐานข้อมูลจากสถานบริการ  เป็นรายบุคคล
ความสำคัญของข้อมูลข่าวสาร ระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพ     ในปัจจุบันมีจุดแข็งคือมีความชัดเจน    ลดความซ้ำซ้อน  ประหยังบประมาณในการจัดพิมพ์ ระเบียนและรายงาน     มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลได้กว้างขวางยิ่งขึ้น     ระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพ จึงมีความจำเป็นต่อการระบุปัญหา    ตัดสินใจโดยใช้ข้อมูลสนับสนุน ควบคุมกำกับและประเมินประสิทธิผล ประสิทธิภาพของงานสาธารณสุขในทุกระดับ    ลักษณะที่ดีของข้อมูลสารสนเทศ   1.     ต้องมีความเที่ยงตรง   2.     ทันเวลาการใช้งาน 3.     ตรงตามความต้องการ ทุกระดับมีความต้องการข้อมูลเพื่อใช้ในการตัดสินใจ ที่แตกต่างกันไป    จึงมีการจัดระบบ ข้อมูลข่าวสาร    กำหนดตัวชี้วัดสำหรับการประเมินผลที่แตกต่างกันไปในแต่ละระดับ    ได้แก่ ระดับนโยบาย ระดับบริหารและระดับปฏิบัติการ
กระทรวงสาธารณสุข    หน่วยงานหลักที่รับผิดชอบเกี่ยวกับระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพ    และ เป็นศูนย์กลางการจัดเก็บรวบรวมข้อมูลและสารสนเทศด้านสุขภาพ    เพื่อการบริหารงานสาธารณสุข    กำกับ ติดตามและประเมินผล ตลอดจนการสนับสนุนข้อมูลเพื่อการกำหนดนโยบายและวางแผนด้าสุขภาพ      ได้แก่ กลุ่มข้อมูลข่าวสารสุขภาพ    สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์    หน่วยงานเป้าหมายที่จัดเก็บข้อมูลข่าวสุขภาพ ได้แก่ สถานบริการทางการแพทย์ ทั้งภาครัฐและเอกชน    ตั้งแต่ระดับจังหวัด    รพศ / รพท . รพช .  จนถึงสถานีอนามัย              การตัดสินใจว่า    จะจัดเก็บข้อมูลข่าวสารสุขภาพใดหรือไม่    จะต้องมีกระบวนการพิจารณา อย่างรอบคอบระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง   ข้อมูลที่จะจัดเก็บนั้นต้องมีคุณค่าเพียงพอแก่การจัดเก็บ    วิธีการจัดเก็บ การรายงาน การวิเคราะห์ได้พัฒนาโดยใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมช่วยในการบริหาจัดการ      และใช้ประโยชน์เมื่อได้รับข้อมูลนั้นมา ข้อมูลข่าวสารสุขภาพที่มีอยู่ในระบบจึงเป็นข้อมูลข่าวสารที่ต้องการเท่านั้น  
ระบบข้อมูลข่าวสารขององค์กร โครงสร้างกำลังเปลี่ยนแปลง   ในยุคสมัยเมื่อยี่สิบปีที่แล้ว การประมวลผลข้อมูลข่าวสารในองค์กรส่วนใหญ่ใช้ระบบรวมศูนย์   (centralize)  กล่าวคือ มีศูนย์คอมพิวเตอร์ขององค์กรเป็นสถานที่จัดการข้อมูลข่าวสาร ประมวลผลกับที่ศูนย์คอมพิวเตอร์ การใช้คอมพิวเตอร์ส่วนใหญ่เป็นระบบมินิคอมพิวเตอร์หรือ เมนเฟรม ดังนั้นจึงมีใช้กันเฉพาะในองค์กรขนาดใหญ่เท่านั้น   ต่อมาเมื่อมีการพัฒนาพีซี ขีดความสามารถของพีซีสูงขึ้น การใช้งานในระดับส่วนตัวทำได้ดี เกิดการประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคล โดยเฉพาะงานที่ผู้ใช้เป็นผู้ดำเนินการเอง มีโปรแกรมสำเร็จรูปให้ใช้มากมาย   หลังจากปี ค . ศ .  1990  เครือข่ายคอมพิวเตอร์เริ่มแพร่หลาย มีการนำคอมพิวเตอร์ระดับพีซีมาสร้างเป็นเครือข่าย ก่อให้เกิดการทำงานแบบรวมกลุ่ม หรือที่เรียกว่า เวอร์กกรุฟ และรวมหลายเวอร์กรุฟเรียกว่า  Enterprise  แนวคิดจึงมีลักษณะการกระจายฟังก์ชันการทำงานออกไป เริ่มมีการกระจายระบบเซิร์ฟเวอร์ไปยังหน่วยงานย่อยต่าง ๆ ให้แต่ละหน่วยงานย่อยมีระบบเครือข่ายแลนของตนเอง และเชื่อมโยงเครือข่ายแลนย่อยเข้าด้วยกันด้วยอุปกรณ์สื่อสารจำพวกสวิตชิ่งหรือเราเตอร์ เครือข่ายขององค์กรจึงเกิดขึ้น
เมื่อเวลาผ่านไป การปรับเปลี่ยนระบบการใช้งานคอมพิวเตอร์ก็แปรเปลี่ยนไปด้วย มีเทคโนโลยีหลายอย่างที่เข้ามาทำให้องค์กรต่าง ๆ ต้องปรับเปลี่ยน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเรื่องโครงสร้างการประมวลผลระบบสารสนเทศในองค์กร     ทั้งนี้เพราะเซิร์ฟเวอร์มีขนาดใหญ่ขึ้น มีประสิทธิภาพดี ขีดความสามารถของเซิร์ฟเวอร์จึงรองรับงานได้มากขึ้น แนวคิดในเรื่องการรวมข้อมูลไว้ในเซิร์ฟเวอร์กลางจึงเกิดขึ้น แต่ก็ยังกระจายฟังก์ชันการทำงาน โดยมีเครือข่ายคอมพิวเตอร์เป็นเสมือนตัวเชื่อมการไหลกระแสข้อมูลข่าวสารในองค์กร อินทราเน็ตจึงเป็นระบบที่องค์กรสมัยใหม่เลือกนำมาใช้     การทำงานแบบนี้พยายามตอบสนองผู้ใช้ในลักษณะกระจายหรือทำให้เกิดระบบที่เรียกว่า   Mobile/Remote Work  ก่อให้เกิดการทำงานแบบ  Virtual Workplace  ลักษระงานจึงมีลักษณะเป็นแบบลูกค้าเป็นจุดศูนย์กลาง หรือ  Customer Centricity  ลูกค้าสามารถรับบริการที่ใดก็ได้ ดังเช่นการใช้งานเอทีเอ็มของธนาคาร     เทคโนโลยีเครือข่ายยังเป็นตัวเร่งทำให้ระบบอินทราเน็ตขององค์กรแพร่กระจายได้เร็ว ปัจจุบันมีซอฟต์แวร์เข้ามาสนับสนุนผู้ใช้ในฐานะที่เป็น   End User  ได้มาก โดยเฉพาะเทคโนโลยีที่เรียกว่า  Web Technology    เทคโนโลยีเว็บ ใช้เซิร์ฟเวอร์ที่รองรับระบบข้อมูลข่าวสารเป็นจำนวนมาก และเชื่อมโยงเครือข่ายข่าวสารในองค์กรได้ดี การพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารมีมาตรฐานที่ชัดเจนขึ้น ข้อมูล ข่าวสารที่เรียกดูบนเว็บใช้มาตรฐาน   HTML  ขณะเดียวกันมีการสร้างระบบเชื่อมโยงต่อกับระบบฐานข้อมูล เพื่อให้ผู้ใช้เรียกผ่านเข้าดูในลักษณะเว็บได้ ถนนหลายสายของการพัฒนาระบบข้อมูล ข่าวสารในองค์กรจึงเดินทางมาในรูปแบบที่ใช้เทคโนโลยีเว็บ
แนวโน้มเทคโนโลยีที่สำคัญอีกประการหนึ่งคือ พีซีมีลักษณะเป็น  Client  ที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น จนมีผู้กล่าวขนานนามว่า  Fat Client  การใช้งานพีซีจึงทำงานได้มาก จุดนี้เองเป็นแรงสำคัญที่ทำให้ผู้ใช้ส่วนใหญ่พึงพอใจ และเมื่ออยู่บนเครือข่ายขององค์กร แนวโน้มการทำงานแบบเวอร์กโฟลว์ก็เด่นชัดขึ้น     ซอฟต์แวร์ของค่ายดังหลายแห่งทั้งไมโครซอฟต์ โลตัส ไอบีเอ็ม ต่างเน้นให้เกิดการทำงานแบบเวอร์กโฟล์วบนเครือข่าย ผลิตภัณฑ์ซอฟต์แวร์รุ่นใหม่ เช่น ออฟฟิส  97  โลตัสโน้ต  ( โดมิโน )  แม้แต่ในระบบการพัฒนาฐานข้อมูลของค่ายดัง ทั้งโอราเคิล อินฟอร์มิกซ์ ไซเบส ฯลฯ ล้วนแล้วแต่สนับสนุนการทำงานแบบเวอร์กโฟล์วบนเครือข่าย ผู้ใช้สามารถใช้งานผ่านทางบราวเซอร์เพื่อดำเนินกิจกรรมการทำงานต่าง ๆ ของตนได้     โมเดลขององค์กรในเรื่องการจัดการสารสนเทศจึงมีแนวโน้มที่จะเปลี่ยนไปตามกระแสเทคโนโลยีที่สำคัญคือ ระบบจะรวมศูนย์ในลักษณะการมองแบบการรวมทรัพยากรต่าง ๆ ให้เห็นเสมือนหนึ่งว่าทรัพยากรนั้นเป็นของรวมที่แบ่งกันใช้ ขณะเดียวกันก็กระจายการทำงาน กระจายการบริการ มีการทำงานเป็นกลุ่ม การทำงานระดับส่วนตัว แต่ก็ประสานรวมกับของทั้งองค์กรได้     องค์กรสมัยใหม่จึงเริ่มปรับฐานด้วยการสร้างโครงสร้างพื้นฐานทางระบบสื่อสารภายในองค์กร โดยเฉพาะเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบแลนพัฒนาระบบงานบนพื้นฐาน การเรียกเข้าหาจากเครือข่ายและที่สำคัญก็คือ ทุกองค์กรมุ่งมาตรฐานที่สามารถเชื่อมต่อกับโลกภายนอกได้ นั่นคือ  TCP/IP  หรืออินเทอร์เน็ต     จากกรณีการพัฒนาขององค์การต่าง ๆ ที่พบเห็น บริษัท  Gartner Group  ได้สรุปผลไว้ว่า   " องค์กรต่าง ๆ ได้แสวงหาวิธีการสมัยใหม่ ในอันที่จะลดต้นทุนของระบบสารสนเทศ โดยการปรับปรุงระบบภายในให้มีลักษณะเป็นแบบการรวมทรัพยากรข่าวสาร โดยมีเครือข่ายกระจายไปยังผู้ใช้เพื่อกระจายการบริการข่าวสาร ”
[object Object]
โครงสร้างองค์กรกับระบบสารสนเทศ ปัจจุบันมีการกล่าวถึงวิธีการรื้อปรับระบบองค์กรใหม่ ในรูปแบบที่เรียกว่า   business reinvention  กล่าวคือ การปรับปรุงและสร้างค์องค์กรใหม่ โดยนำเอาเทคโนโลยีสารสนเทศมาปรับใช้ในองค์กร   สารสนเทศเป็นสิ่งที่มีความสำคัญยิ่ง เราแบ่งระดับสารสนเทศออกเป็น  4  ระดับคือ ระดับส่วนบุคคล ระดับกลุ่มหรือแผนก ระดับองค์กรและระดับระหว่างองค์กร โดยทุกระดับจะเกี่ยวข้องกับทรัพยากรที่จำเป็นต้องนำมาใช้เพื่อประกอบกัน และให้ได้ประโยชน์จากสารสนเทศ ประกอบด้วยอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ ได้แก่ คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์สื่อสาร ซอฟต์แวร์ ข้อมูล ชั้นตอนการปฏิบัติงาน ได้แก่ กฏระเบียบต่าง ๆ และตัวบุคลากรเอง   ศูนย์สารสนเทศขององค์กร คือหน่วยงานที่จะบริหารและจัดการทรัพยากรสารสนเทศ ที่ต้องลงทุนทั้ง  5  องค์ประกอบนี้ เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด ศูนย์สารสนเทศขององค์กรตามแนวความคิดใหม่ จึงต้องประสานกับธรรมชาติของการทำงานขององค์กรที่มีบุคลากรเป็นแกนนำ เพราะบุคลากรทุกคนย่อมเป็นผู้ใช้สารสนเทศ และยังต้องมองเลยไปเป็นระดับกลุ่ม ระดับองค์กร และระดับระหว่างองค์กร การทำงานในทุกระดับจะต้องประสานการใช้ประโยชน์ให้เกิดกับองค์กรได้สูงสุด
ลักษณะและจุดมุ่งหมายของศูนย์สารสนเทศ คอมพิวเตอร์มีการพัฒนาการมาจากระบบคอมพิวเตอร์ที่มีราคาแพง โดยการใช้ประโยชน์จึงเริ่มจากการใช้คอมพิวเตอร์ร่วมกันในอดีต มีศูนย์คอมพิวเตอร์กลาง ต่อมาเมื่อมีการพัฒนาพีซี แนวคิดจึงเริ่มจากการพัฒฒนาให้ระบบใช้งานส่วนตัว และต่อมาพัฒนาเป็นเครือข่ายที่ทำงานร่วมกัน ดังนี้นลักษณะของการใช้ระบบคอมพิวเตอร์จึงมีลักษณะตามสภาพของการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาการของเทคโนโลยี โดยเฉพาะระบบคอมพิวเตอร์และระบบสื่อสารข้อมูล ระบบเครือข่าย รูปแบบการช้ระบบคอมพิวเตอร์จึงมีรูปแบบดังนี้   การใช้แบบเครื่องหลัก  ( Host base)  ในยุคที่เครื่องคอมพิวเตอร์มีราคาแพง เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้ส่วนใหญ่เป็นเมนเฟรม ซึ่งมีการจัดการฐานข้อมูลอยู่ส่วนกลางและแบ่งการใช้งาน เครื่องคอมพิวเตอร์หลักเป็นเครื่องที่รวมทรัพยากรทั้งหมดไว้ที่ศูนย์กลาง ผู้ใช้เพียงแต่ต่อสายออนไลน์ และใช้กำลังการคำนวณทั้งหมดจากเครื่องหลัก สถานีปลายทางจึงเป็นเพียงแค่เทอร์มินัลเท่านั้น รูปที่  1  การใช้งานแบบเครื่องหลัก  เพื่อเป็นการสนับสนุนข้อมูลข่าวสารขององค์กร
การใช้งานแบบเครื่องเดี่ยว  ( stand alone)   เมื่อมีการพัฒนาพีซีให้เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล จึงมีผู้พัฒนาซอฟต์แวร์สนับสนุนพีซีให้ช่วยงานระดับบุคคล ดังนั้นการประยุกต์ใช้งานระดับบุคคลจึงเป็นที่นิยมแพร่หลาย ปัจจุบันมีซอฟต์แวร์พื้นฐนที่เรียกว่าโปรแกรมสำเร็จรูปให้ใช้งานได้มาก เช่น ใช้ช่วยในการพิมพ์เอกสารหรือเรียกว่า  เวิร์ดโปรเซสเซอร์  ใช้คำนวณบนตารางที่เรียกว่า  สเปรตซีต  ใช้ในการเก็บข้อมูลในระบบฐานข้อมูลขนาดเล็ก ใช้เพื่อนำเสนอผลงาน รูปที่  2  เครื่องพีซีทำให้เกิดระบบการจัดการข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล
ระบบแลนและไคลแอนต์เซิร์ฟเวอร์  เมื่อพีซีมีขีดความสามารถสูงขึ้น ประกอบกับเทคโนโลยีได้พัฒนาระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ให้เชื่อมโยงเข้าถึงกัน และใช้งานร่วมกัน ระบบแลนที่ใช้จึงเริ่มจากการสนับสนุนงานระดับกลุ่ม ระดับแผนกที่มีการทำงานร่วมกัน ใช้ทรัพยากรบางอย่างร่วมกัน เช่น ใช้ไฟล์ใช้ข้อมูล ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์เซิร์ฟเวอร์ ตลอดจนเครื่องพิมพ์ร่วมกัน สภาพการทำงานบนเลนส่วนหนึ่งมีลักษณะการทำงานแบบ ไคลแอนต์เซิร์ฟเวอร์ กล่าวคือมีสถานีบริการกลางที่ให้บริการร่วมกันทั้งกลุ่ม โดยผู้ใช้จะมีเครื่องคอมพิวเตอร์พีซีของตนเองเชื่อมโยงกับเครือข่ายแลน เครื่องคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้เรียกว่า  ไคลแอนด์  ส่วนสถานีบริการกลางเรียกว่า  เซิร์ฟเวอร์  เช่น ถ้ามีระบบฐานข้อมูลกลางที่ให้บริการกลางร่วมกันก็เรียกว่า  ดาต้าเบสเซิร์ฟเวอร์  ผู้ใช้สามารถใช้เครื่องไคลแอนต์เรียกค้นข้อมูลข่าวสารจากเครื่องเซิร์ฟเวอร์ได ้รูปแบบการทำงานแบบนี้จึงเป็นการลดขนาดของเซิร์ฟเวอร์ลงจากโฮสเบส เพราะสถานีย่อยคือไคลแอนต์สามารถช่วยดำเนินการบางอย่างเองได้ และการทำงานในระดับไคลแอนต์ที่สำคัญคือ มีส่วนช่วยในการติดต่อกับผู้ใช้ที่จะแสดงผลแบบกราฟฟิก รูปที่  3  เครือข่ายแลนสนับสนุนการทำงานเป็นกลุ่ม
การเชื่อมต่อแลนเป็นอินทราเน็ต  เมื่อนำเวอร์กกรุ๊ปหรือเครือข่ายแลนย่อย ๆ หลายเครือข่ายต่อเชื่อมกันเป็นเครือข่ายขององค์กร มีเส้นทางการเชื่อมโยงข้อมูลข่าวสารหลักที่เรียกว่าแบคโบน  ( backbone)  เครือข่ายนี้จึงเป็นเครือข่ายที่สนับสนุนการทำงานขององค์กร ซึ่งอาจเรียกว่าเอ็นเตอร์ไพรสเน็ตเวอร์กหรืออินทราเน็ต ในระดับองค์กรจึงมีการบริหารจัดการเครือข่ายขององค์กร มีหน่วยงานดูแลเครือข่ายกลาง และดูแลทรัพยากรที่สนับสนุนการใช้งานในองค์กร ลักษณะการเชื่อมโยงระหว่างหน่วยงานอาจข้ามออกไปยังหน่วยงานที่อยู่ห่างไกล โดยเชื่อมต่อด้วยเครือข่ายสาธารณะแบบแวน  ( wan)  สภาพการทำงานภายในองค์กรยังมีลักษณะการใช้ทรัพยากรร่วมกันมีสถานีบริการที่เรียกว่าเซิร์ฟเวอร์ ผู้ใช้ใช้พีซีที่ต่ออยู่บนเครือข่ายเชื่อมโยงเรียกใช้บริการเครื่องเซิร์ฟเวอร์ ภายในองค์กรอาจมีฐานข้อมูลเก็บไว้ในเซิร์ฟเวอร์กลางหรืออาจจะมีหลายเซิร์ฟเวอร์กระจายกันอยู่ก็ได้ ลักษณะการใช้งานบนเครือข่ายจึงสนับสนุนการทำงานตั้งแต่งานในระดับบุคคลที่ใช้พีซีของตนเองเป็นหลัก เชื่อมต่อใช้งานร่วมกันเป็นเครือข่ายในแผนก ในกลุ่มงานของตน ใช้สถานทีบริการเซิร์ฟเวอร์ในแผนกของตน และยังเชื่อมโยงกับองค์กรใช้งานในลักษณะร่วมกับส่วนกลางขององค์กร ดังนั้นทุกคนในองค์กรที่เชื่อมต่อกับเครือข่ายจึงสามารถเลือกใช้ทรัพยากรคอมพิวเตอร์ข้อมูลข่าวสารทั้งของกลุ่มและขององค์กรได้
รูปที่  4  การใช้เครือข่ายเพื่อสนับสนุนการทำงานในองค์กร   เครือข่ายคอมพิวเตอร์ภายในองค์กรต้องเชื่อมโยงระบบคอมพิวเตอร์ของแต่ละแผนกเข้าด้วยกัน เพื่อให้เกิดการใช้ข้อมูลร่วมกัน นอกจากนี้ยังสามารถใช้ทรัพยากรฮาร์ดแวร์ร่วมกันได้อีกด้วย ในเชิงเทคนิคนั้นระบบสารสนเทศระดับองค์กรจะมีระบบคอมพิวเตอร์ที่ดูแลแฟ้มข้อมูลที่ใช้งานร่วมกันไว้ในไฟล์เซิร์ฟเวอร์ มีการใช้เครือข่ายแลนเชื่อมโยงเครื่องมือพื้นฐาน อีกประการหนึ่งของระบบข้อมูลข่าวสาร คือระบบจัดการฐานข้อมูล ซึ่งเป็นโปรแกรมที่สำคัญในการช่วยดูแลระบบข้อมูลและการประยุกต์ใช้งานด้านต่างๆ
การเชื่อมโยงระหว่างองค์กร  การบริหารและการจัดการระบบสารสนเทศสมัยใหม่ ยังเน้นให้เกิดการทำงานแบบ ธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์  ( eBusiness)   และมีการค้าขายแบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ดังนั้นจึงจำเป็นต้องเชื่อมโยงเครือข่ายระหว่าางองค์กรเพื่อให้เกิดการทำงานร่วมกัน และการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารระหว่างกัน   การเชื่อมโยงระหว่างกันในปัจจุบัน เน้นการใช้เส้นทางร่วมแบบสาธารณะ เช่น ใช้อินเทอร์เน็ต ลักษณะการเชื่อมโยงออกสู่ภายนอก จึงมีลักษณะที่ต้องการสร้างวงจรเฉพาะการเชื่อมโยงระหว่างองค์กร หรือการวิ่งผ่านเส้นทางสาธารณร่วมกัน รูปที่  5  การเชื่อมโยงระหว่างองค์กร
อินเทอร์เน็ตจึงเป็นเครือข่ายสากลที่เชื่อมโยงเครือข่ายย่อยขององค์กรจำนวนมหาศาลเข้าด้วยกัน ทำให้ทุกองค์กรที่เชื่อมโยงเข้าถึงอินเทอร์เน็ตติดต่อถึงกันได้ และหากถ้ามีองค์กรใดสร้างเครือข่ายและเชื่อมโยงต่อออกไปภายนอก โดยเน้นการทำงานในขอบเขตจำกัด เช่น ให้บริการลูกค้าติดต่อเข้ามาได้ และไม่สามารถออกไปนอกเครือข่ายอย่างอิสระเหมือนอินเทอร์เน็ต เราก็เรียกว่า เอ็กซ์ทราเน็ต

More Related Content

What's hot

ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูลลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล
ปิยะดนัย วิเคียน
 
ตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อ
sukanya5729
 
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานโครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
Nuchy Geez
 
IS1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
IS1  การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1IS1  การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
IS1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
พัน พัน
 
ใบงานที่ 7 การคำนวณในตารางทำงาน
ใบงานที่ 7  การคำนวณในตารางทำงานใบงานที่ 7  การคำนวณในตารางทำงาน
ใบงานที่ 7 การคำนวณในตารางทำงาน
Meaw Sukee
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
Kittichai Pinlert
 

What's hot (20)

ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูลลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล
 
การเขียนผังงาน (Flow Chart)
การเขียนผังงาน (Flow Chart)การเขียนผังงาน (Flow Chart)
การเขียนผังงาน (Flow Chart)
 
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียน
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียนโครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียน
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียน
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงาน
 
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจจัดจำหน่ายสินค้า (Mobile Marketing for Produc...
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจจัดจำหน่ายสินค้า (Mobile Marketing for Produc...การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจจัดจำหน่ายสินค้า (Mobile Marketing for Produc...
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจจัดจำหน่ายสินค้า (Mobile Marketing for Produc...
 
การเขียนบทที่ 1 บทนำของปริญญานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และงานวิจัย (Introduction)
การเขียนบทที่ 1 บทนำของปริญญานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และงานวิจัย (Introduction)การเขียนบทที่ 1 บทนำของปริญญานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และงานวิจัย (Introduction)
การเขียนบทที่ 1 บทนำของปริญญานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และงานวิจัย (Introduction)
 
ตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อ
 
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานโครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
 
IS1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
IS1  การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1IS1  การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
IS1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
 
คู่มือ Thunkable
คู่มือ Thunkableคู่มือ Thunkable
คู่มือ Thunkable
 
ใบงานที่ 7 การคำนวณในตารางทำงาน
ใบงานที่ 7  การคำนวณในตารางทำงานใบงานที่ 7  การคำนวณในตารางทำงาน
ใบงานที่ 7 การคำนวณในตารางทำงาน
 
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
 
แผนการเรียนรู้ฮาร์ดแวร์ (Hardware)
แผนการเรียนรู้ฮาร์ดแวร์ (Hardware)แผนการเรียนรู้ฮาร์ดแวร์ (Hardware)
แผนการเรียนรู้ฮาร์ดแวร์ (Hardware)
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
การบริหารจัดการข้อมูลข่าวสารเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน
การบริหารจัดการข้อมูลข่าวสารเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานการบริหารจัดการข้อมูลข่าวสารเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน
การบริหารจัดการข้อมูลข่าวสารเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
บทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำบทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำ
 
Keydesign
KeydesignKeydesign
Keydesign
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
บทที่ 5 พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
บทที่ 5 พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์บทที่ 5 พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
บทที่ 5 พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
 

Viewers also liked

บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูลบทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
niwat50
 
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรบทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
Sanyawadee
 
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูลการจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
chanoot29
 
บทที่5
บทที่5 บทที่5
บทที่5
airly2011
 
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรบทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
Sanyawadee
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)
Nattakorn Sunkdon
 
ความหมายของบุคลิกภาพ
ความหมายของบุคลิกภาพความหมายของบุคลิกภาพ
ความหมายของบุคลิกภาพ
MringMring She Zaa
 
Organization environment
Organization environmentOrganization environment
Organization environment
Kan Yuenyong
 
บทที่ 2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
บทที่ 2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการบทที่ 2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
บทที่ 2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
Prakaywan Tumsangwan
 
การเขียนแผนภาพ DFD
การเขียนแผนภาพ DFDการเขียนแผนภาพ DFD
การเขียนแผนภาพ DFD
skiats
 
การสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูล
การสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูลการสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูล
การสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูล
Ultraman Taro
 

Viewers also liked (20)

บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูลบทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
 
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรบทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
 
ข้อมูลข่าวสาร
ข้อมูลข่าวสารข้อมูลข่าวสาร
ข้อมูลข่าวสาร
 
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูลการจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
 
บทที่5
บทที่5 บทที่5
บทที่5
 
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรบทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
 
บทที่ 4 ความได้เปรียบในการแข่งขันคืออะไร/ Chapter 4 What is competitive advan...
บทที่ 4 ความได้เปรียบในการแข่งขันคืออะไร/ Chapter 4 What is competitive advan...บทที่ 4 ความได้เปรียบในการแข่งขันคืออะไร/ Chapter 4 What is competitive advan...
บทที่ 4 ความได้เปรียบในการแข่งขันคืออะไร/ Chapter 4 What is competitive advan...
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)
 
สิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อม
 
การใช้ ICT ในการเรียนการสอน
การใช้ ICT ในการเรียนการสอนการใช้ ICT ในการเรียนการสอน
การใช้ ICT ในการเรียนการสอน
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Dreamweaver CS6
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Dreamweaver CS6ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Dreamweaver CS6
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Dreamweaver CS6
 
ความหมายของบุคลิกภาพ
ความหมายของบุคลิกภาพความหมายของบุคลิกภาพ
ความหมายของบุคลิกภาพ
 
โครงงานเทคโนโลยีการศึกษา
โครงงานเทคโนโลยีการศึกษาโครงงานเทคโนโลยีการศึกษา
โครงงานเทคโนโลยีการศึกษา
 
Organization environment
Organization environmentOrganization environment
Organization environment
 
บทที่ 2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
บทที่ 2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการบทที่ 2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
บทที่ 2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
 
แนวคิดแผนภาพกระแสข้อมูล
แนวคิดแผนภาพกระแสข้อมูลแนวคิดแผนภาพกระแสข้อมูล
แนวคิดแผนภาพกระแสข้อมูล
 
การเขียนแผนภาพ DFD
การเขียนแผนภาพ DFDการเขียนแผนภาพ DFD
การเขียนแผนภาพ DFD
 
การสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูล
การสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูลการสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูล
การสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูล
 
Wal mart
Wal martWal mart
Wal mart
 
ทฤษฎีระบบ
ทฤษฎีระบบทฤษฎีระบบ
ทฤษฎีระบบ
 

Similar to บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร

บทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศ
บทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศบทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศ
บทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศ
Prakaywan Tumsangwan
 
ใบความรู้ที่ 2 ระบบสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 2 ระบบสารสนเทศใบความรู้ที่ 2 ระบบสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 2 ระบบสารสนเทศ
Ko Kung
 
38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ
Tippathai Infinity
 
38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ
Tippathai Infinity
 
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
Timmy Printhong
 
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ปิยะดนัย วิเคียน
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
Chalita Vitamilkz
 
บทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
Pokypoky Leonardo
 
จรรยพร
จรรยพรจรรยพร
จรรยพร
junyapron
 

Similar to บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร (20)

บทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศ
บทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศบทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศ
บทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศ
 
ใบความรู้ที่ 2 ระบบสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 2 ระบบสารสนเทศใบความรู้ที่ 2 ระบบสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 2 ระบบสารสนเทศ
 
1
11
1
 
38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ
 
38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ
 
1
11
1
 
1
11
1
 
1
11
1
 
Part1
Part1Part1
Part1
 
งานบทท 2
งานบทท  2งานบทท  2
งานบทท 2
 
เรื่อง ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
เรื่อง ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจเรื่อง ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
เรื่อง ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
 
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Work3 23
Work3 23Work3 23
Work3 23
 
Work3 23
Work3 23Work3 23
Work3 23
 
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
บทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
จรรยพร
จรรยพรจรรยพร
จรรยพร
 
บทที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ใบงานคอม
ใบงานคอมใบงานคอม
ใบงานคอม
 

บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร

  • 1.
  • 2. ระบบข้อมูลข่าวสารขององค์กร ในระบบโลกาภิวัฒน์    เทคโนโลยีสารสนเทศมีบทบาทในทุกสาขาอาชีพการติดต่อสื่อสาร ในทุก ๆ   ด้านสามารถติดต่อกันได้ตลอดเวลาไม่จำกัดด้วยระยะทางทำให้เกิดการแข่งขันกันอย่างปราศจากขอบเขต   ดังนั้น   ข้อมูลข่าวสาร จึงเป็นสิ่งที่จำเป็น   ข้อมูลที่ดีต้องมีการจัดการข้อมูลได้รวดเร็ว ง่าย สะดวก   โดยใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย        ระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพ ก็เช่นเดียวกัน   ได้พัฒนาในด้านของความครอบคลุม ในการรวบรวมข้อมูลข่าวสารที่สำคัญ   มาเป็นระยะเวลายาวนาน โดยปรับระบบให้ทันกับยุคโลกาภิวัฒน์ โดยเริ่มต้นจัดระบบงานข้อมูลข่าวสารสุขภาพตามข้อตกลงร่วมกันระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้องภายในกระทรวงสาธารณสุข    ตั้งแต่แผนพัฒนาการสาธารณสุข   ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 4  ( พ . ศ . 2520-2524) จัดตั้งศูนย์ข้อมูลข่าวสารสาธารณสุขกลาง   องค์ประกอบของระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพในขณะนั้นมี 3 เรื่อง ได้แก่ ข้อมูลข่าวสารที่ต้องการ   การไหลเวียนของข้อมูลข่าวสาร และระเบียนและรายงาน   จนถึงปัจจุบันในช่วงแผนพัฒนาการสาธารณสุข ฉบับที่   9  ( พ . ศ . 2545-2549) ได้พัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพ    โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่ทันสมัยเพื่อเป็นการประหยัดเวลาในการจัดทำรายงาน    ได้พัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารสาธารณสุขจากระบบการส่งรายงานเป็นระบบฐานข้อมูลจากสถานบริการ เป็นรายบุคคล
  • 3. ความสำคัญของข้อมูลข่าวสาร ระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพ    ในปัจจุบันมีจุดแข็งคือมีความชัดเจน   ลดความซ้ำซ้อน ประหยังบประมาณในการจัดพิมพ์ ระเบียนและรายงาน    มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลได้กว้างขวางยิ่งขึ้น    ระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพ จึงมีความจำเป็นต่อการระบุปัญหา   ตัดสินใจโดยใช้ข้อมูลสนับสนุน ควบคุมกำกับและประเมินประสิทธิผล ประสิทธิภาพของงานสาธารณสุขในทุกระดับ   ลักษณะที่ดีของข้อมูลสารสนเทศ 1.     ต้องมีความเที่ยงตรง   2.     ทันเวลาการใช้งาน 3.     ตรงตามความต้องการ ทุกระดับมีความต้องการข้อมูลเพื่อใช้ในการตัดสินใจ ที่แตกต่างกันไป   จึงมีการจัดระบบ ข้อมูลข่าวสาร   กำหนดตัวชี้วัดสำหรับการประเมินผลที่แตกต่างกันไปในแต่ละระดับ   ได้แก่ ระดับนโยบาย ระดับบริหารและระดับปฏิบัติการ
  • 4. กระทรวงสาธารณสุข   หน่วยงานหลักที่รับผิดชอบเกี่ยวกับระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพ   และ เป็นศูนย์กลางการจัดเก็บรวบรวมข้อมูลและสารสนเทศด้านสุขภาพ   เพื่อการบริหารงานสาธารณสุข   กำกับ ติดตามและประเมินผล ตลอดจนการสนับสนุนข้อมูลเพื่อการกำหนดนโยบายและวางแผนด้าสุขภาพ     ได้แก่ กลุ่มข้อมูลข่าวสารสุขภาพ   สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์   หน่วยงานเป้าหมายที่จัดเก็บข้อมูลข่าวสุขภาพ ได้แก่ สถานบริการทางการแพทย์ ทั้งภาครัฐและเอกชน   ตั้งแต่ระดับจังหวัด   รพศ / รพท . รพช . จนถึงสถานีอนามัย            การตัดสินใจว่า   จะจัดเก็บข้อมูลข่าวสารสุขภาพใดหรือไม่   จะต้องมีกระบวนการพิจารณา อย่างรอบคอบระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง   ข้อมูลที่จะจัดเก็บนั้นต้องมีคุณค่าเพียงพอแก่การจัดเก็บ   วิธีการจัดเก็บ การรายงาน การวิเคราะห์ได้พัฒนาโดยใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมช่วยในการบริหาจัดการ     และใช้ประโยชน์เมื่อได้รับข้อมูลนั้นมา ข้อมูลข่าวสารสุขภาพที่มีอยู่ในระบบจึงเป็นข้อมูลข่าวสารที่ต้องการเท่านั้น  
  • 5. ระบบข้อมูลข่าวสารขององค์กร โครงสร้างกำลังเปลี่ยนแปลง ในยุคสมัยเมื่อยี่สิบปีที่แล้ว การประมวลผลข้อมูลข่าวสารในองค์กรส่วนใหญ่ใช้ระบบรวมศูนย์ (centralize) กล่าวคือ มีศูนย์คอมพิวเตอร์ขององค์กรเป็นสถานที่จัดการข้อมูลข่าวสาร ประมวลผลกับที่ศูนย์คอมพิวเตอร์ การใช้คอมพิวเตอร์ส่วนใหญ่เป็นระบบมินิคอมพิวเตอร์หรือ เมนเฟรม ดังนั้นจึงมีใช้กันเฉพาะในองค์กรขนาดใหญ่เท่านั้น ต่อมาเมื่อมีการพัฒนาพีซี ขีดความสามารถของพีซีสูงขึ้น การใช้งานในระดับส่วนตัวทำได้ดี เกิดการประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคล โดยเฉพาะงานที่ผู้ใช้เป็นผู้ดำเนินการเอง มีโปรแกรมสำเร็จรูปให้ใช้มากมาย หลังจากปี ค . ศ . 1990 เครือข่ายคอมพิวเตอร์เริ่มแพร่หลาย มีการนำคอมพิวเตอร์ระดับพีซีมาสร้างเป็นเครือข่าย ก่อให้เกิดการทำงานแบบรวมกลุ่ม หรือที่เรียกว่า เวอร์กกรุฟ และรวมหลายเวอร์กรุฟเรียกว่า Enterprise แนวคิดจึงมีลักษณะการกระจายฟังก์ชันการทำงานออกไป เริ่มมีการกระจายระบบเซิร์ฟเวอร์ไปยังหน่วยงานย่อยต่าง ๆ ให้แต่ละหน่วยงานย่อยมีระบบเครือข่ายแลนของตนเอง และเชื่อมโยงเครือข่ายแลนย่อยเข้าด้วยกันด้วยอุปกรณ์สื่อสารจำพวกสวิตชิ่งหรือเราเตอร์ เครือข่ายขององค์กรจึงเกิดขึ้น
  • 6. เมื่อเวลาผ่านไป การปรับเปลี่ยนระบบการใช้งานคอมพิวเตอร์ก็แปรเปลี่ยนไปด้วย มีเทคโนโลยีหลายอย่างที่เข้ามาทำให้องค์กรต่าง ๆ ต้องปรับเปลี่ยน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเรื่องโครงสร้างการประมวลผลระบบสารสนเทศในองค์กร ทั้งนี้เพราะเซิร์ฟเวอร์มีขนาดใหญ่ขึ้น มีประสิทธิภาพดี ขีดความสามารถของเซิร์ฟเวอร์จึงรองรับงานได้มากขึ้น แนวคิดในเรื่องการรวมข้อมูลไว้ในเซิร์ฟเวอร์กลางจึงเกิดขึ้น แต่ก็ยังกระจายฟังก์ชันการทำงาน โดยมีเครือข่ายคอมพิวเตอร์เป็นเสมือนตัวเชื่อมการไหลกระแสข้อมูลข่าวสารในองค์กร อินทราเน็ตจึงเป็นระบบที่องค์กรสมัยใหม่เลือกนำมาใช้ การทำงานแบบนี้พยายามตอบสนองผู้ใช้ในลักษณะกระจายหรือทำให้เกิดระบบที่เรียกว่า Mobile/Remote Work ก่อให้เกิดการทำงานแบบ Virtual Workplace ลักษระงานจึงมีลักษณะเป็นแบบลูกค้าเป็นจุดศูนย์กลาง หรือ Customer Centricity ลูกค้าสามารถรับบริการที่ใดก็ได้ ดังเช่นการใช้งานเอทีเอ็มของธนาคาร เทคโนโลยีเครือข่ายยังเป็นตัวเร่งทำให้ระบบอินทราเน็ตขององค์กรแพร่กระจายได้เร็ว ปัจจุบันมีซอฟต์แวร์เข้ามาสนับสนุนผู้ใช้ในฐานะที่เป็น End User ได้มาก โดยเฉพาะเทคโนโลยีที่เรียกว่า Web Technology เทคโนโลยีเว็บ ใช้เซิร์ฟเวอร์ที่รองรับระบบข้อมูลข่าวสารเป็นจำนวนมาก และเชื่อมโยงเครือข่ายข่าวสารในองค์กรได้ดี การพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารมีมาตรฐานที่ชัดเจนขึ้น ข้อมูล ข่าวสารที่เรียกดูบนเว็บใช้มาตรฐาน HTML ขณะเดียวกันมีการสร้างระบบเชื่อมโยงต่อกับระบบฐานข้อมูล เพื่อให้ผู้ใช้เรียกผ่านเข้าดูในลักษณะเว็บได้ ถนนหลายสายของการพัฒนาระบบข้อมูล ข่าวสารในองค์กรจึงเดินทางมาในรูปแบบที่ใช้เทคโนโลยีเว็บ
  • 7. แนวโน้มเทคโนโลยีที่สำคัญอีกประการหนึ่งคือ พีซีมีลักษณะเป็น Client ที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น จนมีผู้กล่าวขนานนามว่า Fat Client การใช้งานพีซีจึงทำงานได้มาก จุดนี้เองเป็นแรงสำคัญที่ทำให้ผู้ใช้ส่วนใหญ่พึงพอใจ และเมื่ออยู่บนเครือข่ายขององค์กร แนวโน้มการทำงานแบบเวอร์กโฟลว์ก็เด่นชัดขึ้น ซอฟต์แวร์ของค่ายดังหลายแห่งทั้งไมโครซอฟต์ โลตัส ไอบีเอ็ม ต่างเน้นให้เกิดการทำงานแบบเวอร์กโฟล์วบนเครือข่าย ผลิตภัณฑ์ซอฟต์แวร์รุ่นใหม่ เช่น ออฟฟิส 97 โลตัสโน้ต ( โดมิโน ) แม้แต่ในระบบการพัฒนาฐานข้อมูลของค่ายดัง ทั้งโอราเคิล อินฟอร์มิกซ์ ไซเบส ฯลฯ ล้วนแล้วแต่สนับสนุนการทำงานแบบเวอร์กโฟล์วบนเครือข่าย ผู้ใช้สามารถใช้งานผ่านทางบราวเซอร์เพื่อดำเนินกิจกรรมการทำงานต่าง ๆ ของตนได้ โมเดลขององค์กรในเรื่องการจัดการสารสนเทศจึงมีแนวโน้มที่จะเปลี่ยนไปตามกระแสเทคโนโลยีที่สำคัญคือ ระบบจะรวมศูนย์ในลักษณะการมองแบบการรวมทรัพยากรต่าง ๆ ให้เห็นเสมือนหนึ่งว่าทรัพยากรนั้นเป็นของรวมที่แบ่งกันใช้ ขณะเดียวกันก็กระจายการทำงาน กระจายการบริการ มีการทำงานเป็นกลุ่ม การทำงานระดับส่วนตัว แต่ก็ประสานรวมกับของทั้งองค์กรได้ องค์กรสมัยใหม่จึงเริ่มปรับฐานด้วยการสร้างโครงสร้างพื้นฐานทางระบบสื่อสารภายในองค์กร โดยเฉพาะเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบแลนพัฒนาระบบงานบนพื้นฐาน การเรียกเข้าหาจากเครือข่ายและที่สำคัญก็คือ ทุกองค์กรมุ่งมาตรฐานที่สามารถเชื่อมต่อกับโลกภายนอกได้ นั่นคือ TCP/IP หรืออินเทอร์เน็ต จากกรณีการพัฒนาขององค์การต่าง ๆ ที่พบเห็น บริษัท Gartner Group ได้สรุปผลไว้ว่า " องค์กรต่าง ๆ ได้แสวงหาวิธีการสมัยใหม่ ในอันที่จะลดต้นทุนของระบบสารสนเทศ โดยการปรับปรุงระบบภายในให้มีลักษณะเป็นแบบการรวมทรัพยากรข่าวสาร โดยมีเครือข่ายกระจายไปยังผู้ใช้เพื่อกระจายการบริการข่าวสาร ”
  • 8.
  • 9. โครงสร้างองค์กรกับระบบสารสนเทศ ปัจจุบันมีการกล่าวถึงวิธีการรื้อปรับระบบองค์กรใหม่ ในรูปแบบที่เรียกว่า business reinvention กล่าวคือ การปรับปรุงและสร้างค์องค์กรใหม่ โดยนำเอาเทคโนโลยีสารสนเทศมาปรับใช้ในองค์กร สารสนเทศเป็นสิ่งที่มีความสำคัญยิ่ง เราแบ่งระดับสารสนเทศออกเป็น 4 ระดับคือ ระดับส่วนบุคคล ระดับกลุ่มหรือแผนก ระดับองค์กรและระดับระหว่างองค์กร โดยทุกระดับจะเกี่ยวข้องกับทรัพยากรที่จำเป็นต้องนำมาใช้เพื่อประกอบกัน และให้ได้ประโยชน์จากสารสนเทศ ประกอบด้วยอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ ได้แก่ คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์สื่อสาร ซอฟต์แวร์ ข้อมูล ชั้นตอนการปฏิบัติงาน ได้แก่ กฏระเบียบต่าง ๆ และตัวบุคลากรเอง ศูนย์สารสนเทศขององค์กร คือหน่วยงานที่จะบริหารและจัดการทรัพยากรสารสนเทศ ที่ต้องลงทุนทั้ง 5 องค์ประกอบนี้ เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด ศูนย์สารสนเทศขององค์กรตามแนวความคิดใหม่ จึงต้องประสานกับธรรมชาติของการทำงานขององค์กรที่มีบุคลากรเป็นแกนนำ เพราะบุคลากรทุกคนย่อมเป็นผู้ใช้สารสนเทศ และยังต้องมองเลยไปเป็นระดับกลุ่ม ระดับองค์กร และระดับระหว่างองค์กร การทำงานในทุกระดับจะต้องประสานการใช้ประโยชน์ให้เกิดกับองค์กรได้สูงสุด
  • 10. ลักษณะและจุดมุ่งหมายของศูนย์สารสนเทศ คอมพิวเตอร์มีการพัฒนาการมาจากระบบคอมพิวเตอร์ที่มีราคาแพง โดยการใช้ประโยชน์จึงเริ่มจากการใช้คอมพิวเตอร์ร่วมกันในอดีต มีศูนย์คอมพิวเตอร์กลาง ต่อมาเมื่อมีการพัฒนาพีซี แนวคิดจึงเริ่มจากการพัฒฒนาให้ระบบใช้งานส่วนตัว และต่อมาพัฒนาเป็นเครือข่ายที่ทำงานร่วมกัน ดังนี้นลักษณะของการใช้ระบบคอมพิวเตอร์จึงมีลักษณะตามสภาพของการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาการของเทคโนโลยี โดยเฉพาะระบบคอมพิวเตอร์และระบบสื่อสารข้อมูล ระบบเครือข่าย รูปแบบการช้ระบบคอมพิวเตอร์จึงมีรูปแบบดังนี้ การใช้แบบเครื่องหลัก ( Host base) ในยุคที่เครื่องคอมพิวเตอร์มีราคาแพง เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้ส่วนใหญ่เป็นเมนเฟรม ซึ่งมีการจัดการฐานข้อมูลอยู่ส่วนกลางและแบ่งการใช้งาน เครื่องคอมพิวเตอร์หลักเป็นเครื่องที่รวมทรัพยากรทั้งหมดไว้ที่ศูนย์กลาง ผู้ใช้เพียงแต่ต่อสายออนไลน์ และใช้กำลังการคำนวณทั้งหมดจากเครื่องหลัก สถานีปลายทางจึงเป็นเพียงแค่เทอร์มินัลเท่านั้น รูปที่ 1 การใช้งานแบบเครื่องหลัก เพื่อเป็นการสนับสนุนข้อมูลข่าวสารขององค์กร
  • 11. การใช้งานแบบเครื่องเดี่ยว ( stand alone) เมื่อมีการพัฒนาพีซีให้เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล จึงมีผู้พัฒนาซอฟต์แวร์สนับสนุนพีซีให้ช่วยงานระดับบุคคล ดังนั้นการประยุกต์ใช้งานระดับบุคคลจึงเป็นที่นิยมแพร่หลาย ปัจจุบันมีซอฟต์แวร์พื้นฐนที่เรียกว่าโปรแกรมสำเร็จรูปให้ใช้งานได้มาก เช่น ใช้ช่วยในการพิมพ์เอกสารหรือเรียกว่า เวิร์ดโปรเซสเซอร์ ใช้คำนวณบนตารางที่เรียกว่า สเปรตซีต ใช้ในการเก็บข้อมูลในระบบฐานข้อมูลขนาดเล็ก ใช้เพื่อนำเสนอผลงาน รูปที่ 2 เครื่องพีซีทำให้เกิดระบบการจัดการข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล
  • 12. ระบบแลนและไคลแอนต์เซิร์ฟเวอร์ เมื่อพีซีมีขีดความสามารถสูงขึ้น ประกอบกับเทคโนโลยีได้พัฒนาระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ให้เชื่อมโยงเข้าถึงกัน และใช้งานร่วมกัน ระบบแลนที่ใช้จึงเริ่มจากการสนับสนุนงานระดับกลุ่ม ระดับแผนกที่มีการทำงานร่วมกัน ใช้ทรัพยากรบางอย่างร่วมกัน เช่น ใช้ไฟล์ใช้ข้อมูล ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์เซิร์ฟเวอร์ ตลอดจนเครื่องพิมพ์ร่วมกัน สภาพการทำงานบนเลนส่วนหนึ่งมีลักษณะการทำงานแบบ ไคลแอนต์เซิร์ฟเวอร์ กล่าวคือมีสถานีบริการกลางที่ให้บริการร่วมกันทั้งกลุ่ม โดยผู้ใช้จะมีเครื่องคอมพิวเตอร์พีซีของตนเองเชื่อมโยงกับเครือข่ายแลน เครื่องคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้เรียกว่า ไคลแอนด์ ส่วนสถานีบริการกลางเรียกว่า เซิร์ฟเวอร์ เช่น ถ้ามีระบบฐานข้อมูลกลางที่ให้บริการกลางร่วมกันก็เรียกว่า ดาต้าเบสเซิร์ฟเวอร์ ผู้ใช้สามารถใช้เครื่องไคลแอนต์เรียกค้นข้อมูลข่าวสารจากเครื่องเซิร์ฟเวอร์ได ้รูปแบบการทำงานแบบนี้จึงเป็นการลดขนาดของเซิร์ฟเวอร์ลงจากโฮสเบส เพราะสถานีย่อยคือไคลแอนต์สามารถช่วยดำเนินการบางอย่างเองได้ และการทำงานในระดับไคลแอนต์ที่สำคัญคือ มีส่วนช่วยในการติดต่อกับผู้ใช้ที่จะแสดงผลแบบกราฟฟิก รูปที่ 3 เครือข่ายแลนสนับสนุนการทำงานเป็นกลุ่ม
  • 13. การเชื่อมต่อแลนเป็นอินทราเน็ต เมื่อนำเวอร์กกรุ๊ปหรือเครือข่ายแลนย่อย ๆ หลายเครือข่ายต่อเชื่อมกันเป็นเครือข่ายขององค์กร มีเส้นทางการเชื่อมโยงข้อมูลข่าวสารหลักที่เรียกว่าแบคโบน ( backbone) เครือข่ายนี้จึงเป็นเครือข่ายที่สนับสนุนการทำงานขององค์กร ซึ่งอาจเรียกว่าเอ็นเตอร์ไพรสเน็ตเวอร์กหรืออินทราเน็ต ในระดับองค์กรจึงมีการบริหารจัดการเครือข่ายขององค์กร มีหน่วยงานดูแลเครือข่ายกลาง และดูแลทรัพยากรที่สนับสนุนการใช้งานในองค์กร ลักษณะการเชื่อมโยงระหว่างหน่วยงานอาจข้ามออกไปยังหน่วยงานที่อยู่ห่างไกล โดยเชื่อมต่อด้วยเครือข่ายสาธารณะแบบแวน ( wan) สภาพการทำงานภายในองค์กรยังมีลักษณะการใช้ทรัพยากรร่วมกันมีสถานีบริการที่เรียกว่าเซิร์ฟเวอร์ ผู้ใช้ใช้พีซีที่ต่ออยู่บนเครือข่ายเชื่อมโยงเรียกใช้บริการเครื่องเซิร์ฟเวอร์ ภายในองค์กรอาจมีฐานข้อมูลเก็บไว้ในเซิร์ฟเวอร์กลางหรืออาจจะมีหลายเซิร์ฟเวอร์กระจายกันอยู่ก็ได้ ลักษณะการใช้งานบนเครือข่ายจึงสนับสนุนการทำงานตั้งแต่งานในระดับบุคคลที่ใช้พีซีของตนเองเป็นหลัก เชื่อมต่อใช้งานร่วมกันเป็นเครือข่ายในแผนก ในกลุ่มงานของตน ใช้สถานทีบริการเซิร์ฟเวอร์ในแผนกของตน และยังเชื่อมโยงกับองค์กรใช้งานในลักษณะร่วมกับส่วนกลางขององค์กร ดังนั้นทุกคนในองค์กรที่เชื่อมต่อกับเครือข่ายจึงสามารถเลือกใช้ทรัพยากรคอมพิวเตอร์ข้อมูลข่าวสารทั้งของกลุ่มและขององค์กรได้
  • 14. รูปที่ 4 การใช้เครือข่ายเพื่อสนับสนุนการทำงานในองค์กร เครือข่ายคอมพิวเตอร์ภายในองค์กรต้องเชื่อมโยงระบบคอมพิวเตอร์ของแต่ละแผนกเข้าด้วยกัน เพื่อให้เกิดการใช้ข้อมูลร่วมกัน นอกจากนี้ยังสามารถใช้ทรัพยากรฮาร์ดแวร์ร่วมกันได้อีกด้วย ในเชิงเทคนิคนั้นระบบสารสนเทศระดับองค์กรจะมีระบบคอมพิวเตอร์ที่ดูแลแฟ้มข้อมูลที่ใช้งานร่วมกันไว้ในไฟล์เซิร์ฟเวอร์ มีการใช้เครือข่ายแลนเชื่อมโยงเครื่องมือพื้นฐาน อีกประการหนึ่งของระบบข้อมูลข่าวสาร คือระบบจัดการฐานข้อมูล ซึ่งเป็นโปรแกรมที่สำคัญในการช่วยดูแลระบบข้อมูลและการประยุกต์ใช้งานด้านต่างๆ
  • 15. การเชื่อมโยงระหว่างองค์กร การบริหารและการจัดการระบบสารสนเทศสมัยใหม่ ยังเน้นให้เกิดการทำงานแบบ ธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ ( eBusiness) และมีการค้าขายแบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ดังนั้นจึงจำเป็นต้องเชื่อมโยงเครือข่ายระหว่าางองค์กรเพื่อให้เกิดการทำงานร่วมกัน และการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารระหว่างกัน การเชื่อมโยงระหว่างกันในปัจจุบัน เน้นการใช้เส้นทางร่วมแบบสาธารณะ เช่น ใช้อินเทอร์เน็ต ลักษณะการเชื่อมโยงออกสู่ภายนอก จึงมีลักษณะที่ต้องการสร้างวงจรเฉพาะการเชื่อมโยงระหว่างองค์กร หรือการวิ่งผ่านเส้นทางสาธารณร่วมกัน รูปที่ 5 การเชื่อมโยงระหว่างองค์กร
  • 16. อินเทอร์เน็ตจึงเป็นเครือข่ายสากลที่เชื่อมโยงเครือข่ายย่อยขององค์กรจำนวนมหาศาลเข้าด้วยกัน ทำให้ทุกองค์กรที่เชื่อมโยงเข้าถึงอินเทอร์เน็ตติดต่อถึงกันได้ และหากถ้ามีองค์กรใดสร้างเครือข่ายและเชื่อมโยงต่อออกไปภายนอก โดยเน้นการทำงานในขอบเขตจำกัด เช่น ให้บริการลูกค้าติดต่อเข้ามาได้ และไม่สามารถออกไปนอกเครือข่ายอย่างอิสระเหมือนอินเทอร์เน็ต เราก็เรียกว่า เอ็กซ์ทราเน็ต