SlideShare a Scribd company logo
1 of 23
บทที่ 1
เทคโนโลยีสารสนเทศ
(Information Technology)

วัตถุประสงค์
  1. เพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจถึงความหมายและองค์ประกอบของ
     เทคโนโลยีสารสนเทศ
  2. เพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจถึงความสำาคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
  3. เพื่อให้ผู้เรียนทราบถึงวิวฒนาการของเทคโนโลยีสารสนเทศ
                               ั
  4. เพื่อให้ผู้เรียนทราบถึงการนำาเทคโนโลยีสารสนเทศไปประยุกต์ใช้
     งานด้านต่าง ๆ
  5. เพื่อให้ผู้เรียนทราบถึงผลกระทบของการใช้เทคโนโลยี
     สารสนเทศทางด้านบวก และ ด้านลบ
  6. เพื่อให้ผู้เรียนทราบถึงแนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศด้าน
     ต่าง ๆ ในอนาคต

1.1ความหมายและองค์ประกอบของเทคโนโลยี
  สารสนเทศ
     สารสนเทศ (Information) หมายถึง การรวบรวมข้อมูลดิบ
(Raw Data) จากที่ต่างๆมาผ่านกระบวนการเรียงลำาดับ การคำานวณ
การจัดกลุ่ม หรือสรุปผล เพื่อสร้างเป็นรายงานหรือจัดให้อยู่ในรูปแบบที่
เหมาะสมต่อการนำาเสนอขององค์กรซึ่งจะเรียกข้อมูลดิบหลังจากผ่าน
กระบวนการข้างต้น นีว่าเป็น สารสนเทศ
                    ้
     เทคโนโลยี (Technology) หมายถึง ทุกสิ่งทุกอย่างที่เกี่ยวกับ
การผลิต การสร้าง การใช้สิ่งของกระบวนการหรือวิธีการดำาเนินงาน รวม
ไปถึงอุปกรณ์ทไม่ได้มีในธรรมชาติ
             ี่
     เทคโนโลยีสารสนเทศ หรือ Information Technology (IT)
จึงหมายถึง การนำาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ และ เทคโนโลยีอื่น ๆ มา
ใช้ในการจัดการกระบวนการดำาเนินงานสารสนเทศ หรือ สารนิเทศใน
วิชา เทคโนโลยีเพื่อชีวิต                                      2
ขั้นตอนต่าง ๆ ตั้งแต่การเสาะแสวงหา การวิเคราะห์ การจัดเก็บ การ
จัดการ และ การเผยแพร่ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ความถูกต้อง ความ
แม่นยำา และ ความรวดเร็วทันต่อการนำามาใช้ประโยชน์
      ดังนั้นเทคโนโลยีสารสนเทศ จึงเกิดจากการบูรณาการระหว่าง
คอมพิวเตอร์กับเทคโนโลยีโทรคมนาคม ซึ่งเทคโนโลยีทั้งสองมีการ
ทำางานที่สัมพันธ์กัน ดังนี้
      1. เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์         ใช้สำาหรับการจัดการระบบ
         สารสนเทศ เพื่อให้ได้สารสนเทตามที่ต้องการอย่างถูกต้อง
         รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ ไม่วาจะเป็นการคัดเลือก จัดหา
                                        ่
         การวิเคราะห์ การสืบค้น ที่สามารถผลิตสารสนเทศให้สนอง
         ต่อความต้องการของผู้ใช้ได้ ซึ่งกระบวนการจัดทำาสารสนเทศ
         จะประกอบด้วยกรรมวิธี ٣ ประการ คือ
         1.1การนำาข้อมูลเข้า (Input Data)
         1.2การประมวลผลข้อมูล (Process)
         1.3การแสดงผลข้อมูล (Output Information)


             Input                  Process                 Informa
             Data                                             tion
      2. เทคโนโลยีโทรคมนาคม                  จะช่วยให้การสื่อสาร
         หรือ การเผยแพร่สารสนเทศไปยังผูใช้ในแหล่งต่างๆ เป็นไป
                                           ้
         อย่างรวดเร็ว ถูกต้อง ครบถ้วน ทันต่อเหตุการณ์ ในลักษณะรูป
         แบบต่างๆ เช่น ข้อมูล ซึ่งอาจเป็นตัวเลข ตัวอักษร ภาพ เสียง
         ซึ่งเทคโนโลยีที่ใช้ในระบบคมนาคม เช่น ระบบโทรศัพท์
         โทรเลข วิทยุกระจายเสียง โทรทัศน์ และรวมถึงระบบเครือข่าย
         คอมพิวเตอร์ด้วย

                ผู้ส่ง                          ผู้รับ
                สารสนเท                         สารสนเท
1.2ความสำาคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
       ปั จ จุ บั น ด้ า นเทคโนโลยี ส ารสนเทศได้ มี ก ารพั ฒ นาการได้ อ ย่ า ง
รวดเร็ว มี การปรับ ปรุ ง เครื่ อ งมื อที่ เ ป็ น ประโยชน์ กับ งานอยู่ ตลอดเวลา
ทำาให้ทุกวงการวิชาชีพ ต้องหันมาปรับปรุงกลไกลในวิชาชีพของตนให้
ทัน ต่ อสั ง คมสารสนเทศเพื่ อ ให้ ทั น ต่ อ กระแสโลก เช่ น การใช้ ร ะบบ
สารสนเทศทางภูมิศาสตร์             การถอนเงินอัตโนมัติ การเคลื่อนย้ายเงิน
อิเล็กทรอนิก การศึกษาทางไกล การแพทย์ทางไกลหรือโทรเวช
การประชุมทางไกล และระบบห้องสมุดอัตโนมัติ เป็นต้น
part1-110215073327-phpapp01.doc                                                          3

       อง ค์ ก รทั้ ง ภา ครั ฐ และ เอกชน ปั จ จุ บั น ต่ า ง ก็ หั น ม า สน ใ จ กั บ
เทคโนโลยี สารสนเทศมากขึ้ น โดยใช้เ ป็น เครื่อ งมื อช่ วยในการสร้า ง
ระบบสารสนเทศในสำา นักงาน จึงได้มีการจัดตั้งองค์การต่างๆขึ้น เช่น
หน่วยงานสำาหรับรวบรวม วิเคราะห์และจัดทำางานสารสนเทศ หน่วยงาน
บริ ก ารด้ า นการสื่ อ สารสนเทศสำา หรั บ ผุ้ ใ ช้ ค ณะกรรมการนโยบาย
สารสนเทศแห่งชาติเป็นต้น
       สำา หรั บ วงการธุ ร กิ จ ไม่ ว่ า จะเป็ น ธุ ร กิ จ ขาดใหญ่ หรื อ ขนาดเล็ ก
                                           สารสนเทศเป็นสิ่งสำาคัญ โดยเฉพาะ
                                           ด้านการแข่งขันเจ้าของธุรกิจจำา เป็น
                                           ต้ อ ง รู้ ข้ อ มู ล ภ า ว ะ ข อ ง ต ล า ด แ ล ะ
                                           สินค้าเพื่ออยู่รอดในการดำา เนินธุรกิจ
                                           ดั ง นั้ น เพื่ อ เป็ น เครื่ อ งมื อ ช่ ว ยการ
                                           ปฏิบัติงานให้เกิดความถูกต้อง และมี
                                           ประสิ ท ธิ ภ าพยิ่ ง ขึ้ น สามารถใช้ เ ป็ น
                                           กลยุ ท ธ์ เ พื่ อ ความได้ เ ปรี ย บในการ
                                           แข่ ง ขั น ช่ ว ยเพิ่ ม ผลผลิ ต ช่ ว ยสร้ า ง
                                           ภาพลักษณ์ให้เกิดความประทับใจแก่
ลูกค้าและอื่นๆ



1.3วิวัฒนาการของเทคโนโลยีสารสนเทศ
       เทคโนโลยีที่ใช้ในการจัดการสารสนเทศมากที่สุด คือ
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์การใช้ระบบคอมพิวเตอร์ในยุคแรก เรียกว่ายุค
ประมวลผลข้อมูล(Data processing era) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อการ
คำานวณและการประมวลผลข้อมูลของงานประจำา เพื่อลดค่าใช้จ่ายด้าน
บุคลากร ต่อมา
       ในยุคที่ 2 มีการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการตัดสินใจ ดำาเนินการ
ควบคุม ติดตามผล และวิเคราะห์ผลงานของผู้บริหารระดับต่างๆที่เรียก
ว่า ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (Management Information
System :MIS)
       ในยุคที3 การใช้คอมพิวเตอร์ส่วนใหญ่จะเน้นถึงการจัดการ
               ่
ทรัพยากรสารสนเทศ(Infromation Resource Management) เพื่อ
เรียกใช้สารสนเทศที่จะช่วยในการตัดสินใจนำาหน่วยงานไปสู่ความ
สำาเร็จและในยุคปัจจุบันนี้ ความเจริญของเทคโนโลยีสูงมาก มีการ
วิชา เทคโนโลยีเพื่อชีวิต                                                        4
ขยายขอบเขตการประมวลผลข้อมูล ไปสู่การสร้างและการผลิต
สารสนเทศ ทำาให้สามารถสร้างทางเลือกและรูปแบบใหม่ใหม่ของ
สินค้าและบริการ ซึ่งเรียกว่า ยุคเทคโนโลยีสารสนเทศ
(Information Technology : IT) หรือ ยุคไอที โดยการใช้ระบบ
คอมพิวเตอร์และระบบการสื่อสารโทรคมนาคม เป็นเครื่องมือช่วยใน
การจัดทำาระบบสารสนเทศ และเน้นความคิดของการให้บริการ
สารสนเทศแก่ผู้ใช้อย่างมีประสิทธิภาพ เป็นวัตถุประสงค์สำาคัญ
         การนำาเทคโนโลยีสารสนเทศใช้ในการจัดการกับระบบสารสนเทศ
นี้จะเห็นว่ามีการเปลี่ยนขั้นตอนของการทำางานในระบบสารสนเทศ นับ
ตั้งแต่การผลิต การรวบรวม การบันทึก การจัดเก็บ การวิเคราะห์ การ
ค้ น คื น และการเผยแพร่ ส ารสนเทศ โดยที่ พั ฒ นาการทางเทคโลยี
คอมพิวเตอร์ ไม่ว่าจะเป็นด้านฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ก้าวหน้าไปมาก
จึ ง ช่ ว ยให้ ก ารจั ด การกั บ กระแสสารสนเทศที่ มี อ ยู่ อ ย่ า งท่ ว มท้ น มี
ประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ความสามารถและสมรรถนะของสื่อที่ใช้ในการจัด
เก็บสารสนเทศ เช่น สื่อแม่เหล็ก สื่อแสง สื่ออิเล็กทรอนิกส์ต่าง ๆ
สามารถบันทึกและเก็บสารสนเทศได้เป็นจำานวนมหาศาลการเข้าถึงเข้า
มูลในสื่อทำา ได้เร็วขึ้น ไมโครโพรเซสเซอร์ หรือแผงวงจรรวมมีความ
สามารถในการทำางานและยืดหยุ่นได้มากขึ้น จึงได้มีการนำาไปประกอบ
กั บ เครื่ อ งมื อ เครื่ อ งใช้ ไ ด้ ห ลายประเภท เช่ น ใช้ ใ นเครื่ อ งคิ ด เลข
นาฬิ ก า ตู้ เ ย็ น เครื่ อ งซั ก ผ้ า อั ต โนมั ติ วิ ท ยุ ก ระจายเสี ย ง วิ ท ยุ
โทรทั ศ น์ ฯลฯ และเนื่ อ งจากซอฟต์ แ วร์ คำา สั่ ง งานของคอมพิ ว เตอร์
ทำา งานได้ ป ระสิ ท ธิ ภาพมากขึ้ น วิ ท ยาการเทคโนโลยี ปั ญ ญาประดิ ษ ฐ์
(artificial intelligence) ช่ ว ยให้ ร ะบบการทำา งานของคอมพิ ว เตอร์ มี
ความ “ฉลาด” และความรู้ สึ ก เป็ น “มนุ ษ ย์ ” มากจึ ง มี ก ารนำา ไปใช้
สร้ า งระบบผู้ เ ชี่ ย วชาญ (expert systems) เพื่ อ การทำา งานเฉพาะ
อย่างกันอย่างกว้างขวาง การประมวลผลข้อมูลมีการขยายให้เป็นระบบ
ใหญ่ขึ้น โดยรวมระบบเล็ กเข้า ด้ว ยกั น เพื่อ ให้ สามารถใช้ข้ อมู ลและ
วั ส ดุ อุ ป กรณ์ ร่ ว มกั น รวมทั้ ง สามารถใช้ เ ทคโนโลยี ใ ห้ ไ ด้ คุ ณ
ประโยชน์อย่างเต็มที่ แทนที่จะทำาในลักษณะงานย่อย ดังนั้น จะเห็น
ได้ ว่ า เทคโนโลยี ค อมพิ ว เตอร์ มี บ ทบาทสำา คั ญ ในการจั ด การระบบ
สารสนเทศ ไม่ว่าจะเป็นด้านการนำา ข้อมูลเข้า การประมวลผลข้อมูล
หรือการแสดงผลข้อมูล
         เทคโนโลยีโทรคมนาคม คือ เทคโนโลยีที่ใช้ในการสื่อสารทาง
ไกล หรือโทรคมนาคม เช่น โทรศัพท์ โทรเลข โทรสาร เทเล็กซ์
วิทยุโทรทัศน์ วิทยุกระจากเสียง การสื่อสารดาวเทียม เทคโนโลยีใย
แสง และระบบเครื อข่ า ยคอมพิ ว เตอร์ ทั้ ง ระยะใกล้ แ ละระยะไกล จะ
ช่วยในการถ่ายทอดและการสื่อสารข้อมูลหรือสารสนเทศไปยังผูใช้ในที่            ้
part1-110215073327-phpapp01.doc                                                         5

ต่าง ๆ โดยที่ผู้รับสารสนเทศ หรือผู้ใช้ไม่จำาเป็นต้องเสียเวลาและค่า
ใช้จ่ายในการเดินทางด้วยตนเอง เช่น ระบบโทรสาร กรประชุมทาง
ไกล ฯลฯ ทั้ ง นี้ เทคโนโลยี เ หล่ า นี้ จะช่ ว ยย่ อ มิ ติใ นด้ า นระยะทาง
และเวลาในการจัดส่ง เข้าถึง และเปลี่ยนสารสนเทศซึ่งกัน และกันได้
ระหว่างเครือข่ายในรูปแบบต่าง ๆ ไม่ว่าเป็นข้อความ ภาพหรือเสียง
ซึ่งเทคโนโลยีที่กล่าวมาทั้งหมดนี้ มีการพัฒนาและปรับปรุงให้ดีขึ้นอยู่
ตลอดเวลา
1.4 การประยุกต์ใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศ
         ในสภาพสังคมปัจจุบัน มนุษย์สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ช่ ว ยปฏิ บั ติ ง านในด้ า นต่ า ง ๆ ได้ อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ผ ล ตั ว อย่ า งการ
ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ได้แก่
         1. การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในงานสำา นักงาน
ปั จ จุ บั น สำา นั ก งานจำา นวนมากได้ นำา เทคโนโลยี ส ารสนเทศเข้ า มา
ประยุ ก ต์ ใ ช้ อ ย่ า งแพร่ ห ลายทั้ ง นี้ เพื่ อ ให้ ง านบั ง เกิ ด ผลในด้ า นบวก
อาทิ ความสะดวกรวดเร็ว ความถูกต้องและสามารถทำาฉบับซำ้าได้เป็น
จำา นวนมาก เป็ น ต้ น ผลิ ต ภั ณ ฑ์ เ ทคโนโลยี ส ารสนเทศที่ นำา มาใช้
ได้แก่ เครื่องพิมพ์ดีดอิเล็กทรอนิกส์ โทรศัพท์ เทเล็กซ์ เครื่องเขียน
ตามคำา บอกอั ตโนมั ติ (Dictating Machines) เครื่องอ่านและบันทึ ก
วั ส ดุ ย่ อ ส่ ว น เครื่ อ งถ่ า ยเอกสารแบบหน่ ว ยความจำา เครื่ อ งโทรสาร
เป็ น ต้ น ผลิ ต ภั ณ ฑ์ เ หล่ า นี้ นำา ไปประยุ ก ต์ ใ ช้ กับ งานสำา นั ก งานได้ ใ น
หลายลักษณะ เช่น
                  1.1 งานจัดเตรียมเอกสาร ได้แก่ การใช้เครื่องประมวลผล
         คำา หรือเครื่องประมวลผลเนื้อ หา เป็ นเครื่ องมือ ในการจัดเตรีย ม
         อุปกรณ์ ประกอบการใช้เทคโนโลยี ได้แก่ เครื่องคอมพิวเตอร์
         โมเด็ม และช่องทาง การสื่อสาร ทั้งนี้เพื่อให้สามารถเชื่อมโยง
         สารสนเทศ ระหว่ า งแผนก หรื อ ระหว่ า งแผนก หรื อ ระหว่ า ง
         หน่ว ยงานทั้ ง หน่ว ยงานภายในและหน่ ว ยงานภายนอกที่ อ ยู่ ห่ า ง
         ไกล ระบบประมวลผลคำานี้ จำาแนกได้ 2 ระบบคือ
                        1.1.1 ร ะ บ บ Stand-alone เ ป็ น ร ะ บ บ ที ส า ม า ร ถ
                  ประมวลผลได้ ภายใน คอมพิ ว เตอร์ ชุด เดี ย ว (Set) หรื อ
                  อาจเชื่อมโยงไปยังคอมพิวเตอร์อื่น ๆ ได้ โดยไม่ผ่านช่อง
                  ทางสื่อสาร ระบบนี้ประกอบด้วยเทอร์มินัล 1 ชุด (หน่วน
                  ประมวลผลหรือ โปรเซสเซอร์ แป้ น พิ ม พ์ หน่ ว ยแสดงผล
                  ทางหน้ า จอหรื อ มอนิ เ ตอร์ ) ซึ่ ง ต่ อ เชื่ อ มกั บ หน่ ว ยจั ด เก็ บ
                  ข้อมูลและเครื่องพิมพ์
วิชา เทคโนโลยีเพื่อชีวิต                                                       6
                 1.1.2 ระบบเชื่อมโยงกับข่ายการสื่อสาร เป็นระบบที่
          มี ก ารเชื่ อ มโยงสารสนเทศ ซึ่ ง กั น และกั น ผ่ า นเครื อ ข่ า ย
          โ ท ร ค ม น า ค ม เ ช่ น เ ค รื อ ข่ า ย โ ท ร ศั พ ท์ เ ค รื อ ข่ า ย
          คอมพิ ว เตอร์ หรื อ เครื อ ข่ า ยสารสนเทศ (Information
          Networks) เป็ นต้ น ระบบนี้ ประกอบด้ ว ยเทอร์ มิ นั ล หลาย
          ชุด มีสมรรถนะในการเข้าถึงสารสนเทศซึ่งกันและกัน โดย
          ผ่านหน่ วย Switching ซึ่งทำา หน้าที่เ ป็นทางผ่า นและเป็น
          ตัวกลางในการเชื่ อมโยงแต่ล ะเทอร์ มินัล เข้า ด้ว ยกั น ผ่า น
          ข่ายงานการสื่อสาร




                      โปรแกรม MS-Word ทีใช้ในการจัด
                                        ่

             1.2 งานกระจายเอกสาร เป็นการกระจายสารสนเทศไปยัง
      ผู้ใช้ ณ จุดต่าง ๆ อาจกระทำาได้โดยการเชื่อมโยงผ่านเครือข่าย
      โทรคมนาคมผลิตภัณฑ์เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่สามารถปฏิบัติ
      งาน ณ จุดนี้ได้โดยอัตโนมัติได้แก่ ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
      เทเลเท็ ก ซ์ เทเล็ ก ซ์ โทรสาร ระบบการประชุ ม ทางไกล
      เป็นต้น
             1.3 งานจัดเก็บและค้นคืนเอกสาร สามารถปฏิบัติได้ทั้ง
      ระบบออนไลน์และระบบออฟไลน์ ผ่านระบบเครือข่าย
      คอมพิวเตอร์ หรือผ่านเครือข่ายโทรคมนาคมรูปแบบอื่น เช่น
      ระบบงานฐานข้อมูล เป็นต้น
            1.4 งานจัดเตรียมสารสนเทศในลักษณะภาพ เทคโนโลยี
      สารสนเทศที่สามารถดำาเนินงานดังกล่าวนี้ได้ ได้แก่ เครื่อง
      คอมพิวเตอร์ สร้างภาพ เครื่อง Scanner โทรทัศน์และวีดิทัศน์
      เป็นต้น
           1.5 งานสื่อสารสนเทศด้วยเสียง เช่น การใช้โทรศัพท์
      การประชุมทางโทรศัพท์ การบันทึกข้อมูลเสียงโดยใช้ Sound
      Blaster เป็นต้น
part1-110215073327-phpapp01.doc                                          7

          1.6 งานสื่อสารสนเทศด้วยภาพและเสียง เช่น ระบบ
    มัลติมีเดีย ระบบการประชุมทางไกลด้วยภาพและเสียง เป็นต้น
 กล่าวโดยสรุป งานสำานักงานในอนาคต จะต้องบูรณาการ
 เทคโนโลยีสารสนเทศชนิดต่าง ๆ เข้าด้วยกัน อาทิ เทคโนโลยีการ
 ประชุมทางไกลด้วยภาพและเสียง การประมวลผลคำา การประมวล
 ผลข้อมูล ฯลฯ เพื่อสนับสนุนงานด้านการบริหาร อีกทังมีการ
                                                  ้
 ประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์อย่างแพร่หลายในองค์กรธุรกิจ ทังขนาด
                                                     ้
 ใหญ่และเล็ก บุคลากรทุกระดับในองค์กรจะสามารใช้คอมพิวเตอร์
 และเทคโนโลยีสารสนเทศอื่น ๆ ได้ทุกคน
     2. ก า ร ป ร ะ ยุ ก ต์ ใ ช้ เ ท ค โ น โ ล ยี ส า ร ส น เ ท ศ ใ น ง า น
         อุตสาหกรรม โรงงานอุตสาหกรรมหลาย
 แห่งนำาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ เข้ามาช่วยจัดการงานด้าน
 การผลิต การสั่งซื้อ การพัสดุ การเงิน บุคลากร และงานด้านอื่น ๆ
 ในโรงงาน MIS จึงเป็นเครื่องมือสำาคัญสในการวางแผน การ
 ออกแบบผลิตภัณฑ์ และการวิจยเพื่อพัฒนาและมีบทบาทสำาคัญใน
                                     ั
 การควบคุมการปฏิบัติการของเครื่องจักรในโรงงาน ดังนั้น
 ผลิตภัณฑ์เทคโนโลยีสารสนเทศ อันเป็นส่วนประกอบสำาคัญ ของ
 ระบบ MIS จึงนำามาประยุกต์ใช้กับงานอุตสาหกรรมได้ทุกประเภท
 ทั้งที่เป็นอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ ขนาดย่อม หรืออุตสาหกรรในครัว
 เรือน ตัวอย่างการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในโรงงานอุตสาหกรรม
 ได้แก่
        2.1อุตสาหกรรมการผลิตรถยนต์ ได้ใช้คอมพิวเตอร์ออกแบบ
           รถยนต์ ปฏิบัติการผลิต
 (เช่นการพ่นสี การเชื่อมอุปกรณ์ต่างๆ เข้าด้วยกัน ฯลฯ) การขับ
 เคลื่อน การบริการ และการขาย รวมทั้งออกแบบระบบคอมพิวเตอร์
 ให้สามารถปฏิบัติงานในโรงงานได้ ในรูปแบบหุ่นยนต์ ทังนี้เพื่อ
                                                      ้
 เป็นการเพิ่มสมรรถนะในการผลิต และลดค่าจ่ายด้านแรงงานเพราะ
 ฉะนั้น ระบบสารสนเทศของผู้ประกอบการอุตสาหกรรมรถยนต์จัก
 ต้องเป็นระบบที่มีขีดความสามารถในการส่งทอดสารสนเทศไปยัง
 ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศได้ในระดับสูง
       2.2 อุตสาหกรรมการพิมพ์ อุตสาหกรรมประเภทนี้ ใช้ระบบ
 การพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Publishing) ในการจัดเตรียม
 ต้นฉบับบรรณาธิกรณ์ ตีพิมพ์ จัดเก็บ และจัดจำาหน่าย และสามารถ
 พิมพ์ข้อมูลจากระบบ
วิชา เทคโนโลยีเพื่อชีวิต                                        8




    การใช้โปรแกรม Auto Cad ในการ
        3. การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในงานการเงิน
และการพาณิชย์ สถาบันการเงิน เช่น ธนาคาร ได้ใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศในรูปแบบของ ATM เพื่ออำานวยความสะดวกในการฝาก
ถอน โอนเงิน ในส่วนของงานประจำาของธนาคารต่างนำาคอมพิวเตอร์
ระบบออนไลน์และออฟไลน์เข้ามาช่วยปฏิบัติงาน ทำาให้การเชื่อมโยง
ข้อมูลธนาคารเป็นไปอย่างสะดวก รวดเร็ว ทุกสาขาสามารถเชื่อมโยง
กับสาขาอื่นหรือสำานักงานใหญ่ และสามารถเชื่อมโยงกับธนาคารอื่น
ได้
          ในส่วนการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศกับงานพาณิชย์
  นั้นเป็นที่ประจักษ์กันแพร่หลายว่า ได้นำาระบบรหัสแห่ง (Bar-codes)
  มาใช้ในการคำานวณราคาสินค้า รวมทั้งใช้ระบบมัลติมีเดียในการนำา
  เสนอสินค้าหรือนิทรรศการสินค้าสู่สาธารณชน
         4. การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในงานการ
  บริการการสื่อสาร ได้แก่ การบริการโทรศัพท์ โทรศัทพ์เคลื่อนที่
  วิทยุ โทรทัศน์ เคเบิลทีวีการค้นคืนสารสนเทศระบบออนไลน์
  ดาวเทียม และโครงข่ายบริการสื่อสารร่วมระบบดิจิตอล (ISDN)
  เป็นต้น
part1-110215073327-phpapp01.doc                                  9




                อุปกรณ์ทใช้ในงานบริการการ
                        ี่

 5. การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีในงานด้านการสาธารณสุข
 สามารถนำามาประยุกต์ได้หลายด้าน ดังนี้ (สมเด็จพระเทพรัตนราช
 สุดาสยามบรม ราชกุมารี.3 2538 : 22-23)
       5.1ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล เป็ น ระบบที่ ช่ ว ยด้ า น
          Patient record หรือเวช
 ระเบียนระบบข้อมูลยา การรักษาพยาบาล การคิดเงิน มีลักษณะ
 แบบจุลภาค แต่สามารถขยายเป็นระดับมหภาคได้ เมื่อโรงพยาบาล
 ทัวประเทศแลกเปลียน และส่งเวชระเบียนผ่านระบบโทรคมนาคมเป็น
   ่               ่
 โทรเวชกลาย ๆ ได้
        5.2ระบบสาธารณสุข ใช้ในการดูแลป้องกันโรคระบาดในท้อง
             ถิน เช่น เมื่อมีผู้ปวย
               ่                 ่
 อหิวาตกโรคในหมู่บาน แพทย์และสาธารณสุขอำาเภออาจตรวจค้น
                      ้
 ได้ว่าผู้ปวยมาจากตำาบลอะไร มีประชากี่คน เป็นชาย หญิงเด็ก
           ่
 เท่าไรเพื่อจะได้จัดหาวัคซีนไปฉีดป้องกันได้ทันที ระบบทำานองนี้
 อาจขยายไปสู่ระดับอำาเภอและจังหวัด
        5.3 ระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert System) เป็นระบบที่ใช้
 คอมพิวเตอร์วินิจฉัยโรค ระบบที่มีชื่อเสียงเมื่อสิบปีเศษมานี้คือระบบ
 Mycin ของมหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด และเริ่มมีผนำามาประยุกต์ใช้
                                                   ู้
 ในด้านอื่น ๆ มากขึ้น เลยไปถึงเรื่องโรคพืชและสัตว์ หลักการที่ใช้
 คือ เก็บข้อมูลต่าง ๆ ไว้ให้ละเอียด แล้วใช้หลักปัญญาประดิษฐ์
 หรือ Artificial Intelligence Al มาช่วยวิเคราะห์ เป็นแนวคิดใน
 การทำาให้คอมพิวเตอร์ทำางานได้เหมือนคน ระบบนี้นาจะช่วยอนามัย
                                                        ่
 ตำาบลในการวินิจฉัยโรคยาก ๆ ได้ ให้คนที่มีความรู้ปานกลางพอ
 สมควรสามารถที่จะวินิจฉัยโรคได้ เป็นอีกหนทางหนึงที่เพิ่มจาก
                                                          ่
 Tele-medicine ทีผู้เชี่ยวชาญตัวจริง ต้องมาให้ปรึกษาแนะนำาด้าน
                   ่
 การตรวจอวัยวะภายในของมนุษย์ ได้ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่
 เรียกว่า Computer Tomography เป็นเครื่องมือสำาคัญ ในการ
 ตรวจและอ่านผลการตรวจ นอกจากนี้ ระบบผู้เชี่ยวชาญเป็นระบบที่
 ช่วยให้นักเรียนแพทย์และแพทย์ได้ใช้สารสนเทศทีทันสมัย ตรงตาม
                                                      ่
 ความต้องการซึงเป็นประโยชน์อย่งมากต่อการเรียนและการวินิจฉัย
                ่
 โรค
วิชา เทคโนโลยีเพื่อชีวิต                                       10
         6. การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศกับงานด้านการ
   ฝึกอบรมและการศึกษา การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศใน
   การศึกษานั้น มีแนวทางในการใช้มากแต่ที่ใช้กัน โดยทัวไปมีอยู่ 6
                                                     ่
   ประเภท ดังนี้
        6.1 การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (Computer Assisted
  Instruction : CAI) เป็นการนำาเอาคำาอธิบายบทเรียนมาบรรจุไว้ใน
  คอมพิวเตอร์ แล้วนำาบทเรียนนั้นมาแสดงแก่ผู้เรียน เมื่อผู้เรียนอ่าน
  คำาอธิบายนั้นแล้ว คอมพิวเตอร์ก็จะทดสอบความเข้าใจว่าถูกต้อง
  หรือไม่ แล้วถามซำ้าอีก ซึ่งปัจจุบันมีพัฒนาการถึงระดับใช้สื่อประสม
  และใช้เทคนิคต่าง ๆ เพื่อให้การเรียนการสอนบรรลุผลสัมฤทธิ์มาก
  ขึ้น
         6.2 การศึกษาทางไกล เทคโนโลยีที่ใช้ในการจัดการศึกษา
  ทางไกลมีหลายแบบ ตั้งแต่แบบง่าย ๆ เช่น การใช้วทยุ โทรทัศน์
                                                       ิ
  ออกอากาศให้ผู้เรียนศึกษาเอง ตามเวลาที่ออกอากาศ ไปจนถึงการ
  ใช้ระบบแพร่ภาพผ่านดาวเทียม (Direct To Home : DTH) หรือ
  การประยุกต์ใช้ระบบประชุมทางไกล (Video Telecoference) โดย
  ให้ผู้สอน และผู้เรียนสามารถสื่อสารถึงกันได้ทันที่เพื่อสอบถามข้อ
  สงสัยหรืออธิบายคำาสอนเพิ่มเติม
         6.3เครือข่ายการศึกษา เป็นการจัดทำาเครือข่ายการศึกษา
            เพื่อให้ครู อาจารย์
  และนักเรียนนักศึกษามีโอกาสใช้เครือข่ายเพื่อเสาะแสวงหาความรูที่  ้
  มีอยู่อย่างมากมายใน
  โลก และใช้บริการต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์ทางการศึกษา เช่น
  บริการส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (Electronics Mail : E-mail)
  การเผยแพร่ และค้นหาข้อมูลในระบบเวิลด์ไวด์เว็บ (World Wide
  Web) ซึ่งปัจจุบันมีเครือข่ายสคูลเน็ต ที่เนคเทคได้ส่งเสริมให้เกิด
  ขึ้นและมีโรงเรียนเข้าร่วมโครงการนีประมาณ 60 โรงเรียน (พ.ศ.
                                    ้
  2540) และยังมีเครือข่ายกาญจนภิเษกที่จัดทำาขึ้น เพื่อเป็นการ
  กระจายความรู้ทให้กับประชาชนโดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการเข้า
                    ี่
  ใช้สารสนเทศแต่อย่างใด
        6.4 การใช้งานในห้องสมุด ในปัจจุบันห้องสมุดมหาวิทยาลัย
  ของรัฐ และเอกชนเกือบทุกแห่ง ได้นำาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้
  ในการดำาเนินงานนอกจากนี้ ยังส่งเสริมให้มีความร่วมมือในการให้
  บริการในลักษณะเครือข่าย เช่นโครงการ PULINET (Provincial
  University Library Network)
part1-110215073327-phpapp01.doc                            11

       โครงการ THAILNET ( Thai Library Network) การนำาเอา
 เทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในห้องสมุด ทำาให้ผู้ใช้ได้รับความ
 สะดวกมากขึ้น เช่น บริการยืมคืน การค้นหาหนังสือ วารสาร สิ่ง
 พิมพ์ต่าง ๆ ที่ต้องการได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว
      6.5 การใช้งานในห้องปฏิบัติการ มีการนำาเทคโนโลยี
 สารสนเทศมาใช้ในการทำางานในห้องปฏิบัติการร่วมกับอุปกรณ์อื่น ๆ
 เช่น การจำาลองแบบ การออกแบบวงจรไฟฟ้าการควบคุมการ
 ทดลอง ซึ่งอุปกรณ์ททันสมัยในปัจจุบัน ต่างผนวกความสามารถ
                   ี่
 ของเทคโนโลยีสารสนเทศเข้าไปด้วยแทบทั้งสิน
        6.6 การใช้ในงานประจำาและงานบริหาร เช่น การจัดทำา
 ทะเบียนประวัติของนักเรียนนักศึกษา การเลือกเรียน การลง
 ทะเบียนเรียน การแสดงผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน การแนะแนวอาชีพ
 และศึกษาต่อ ข้อมูลผู้ปกครอง หรือข้อมูลครู ซึ่งการมีข้อมูลดัง
 กล่าว ทำาให้ครูอาจารย์สามารถติดตาม และดูแลนักเรียนได้อย่างดี
 รวมทั้ง ครูอาจารย์สามารถพัฒนาตนเองได้สูงขึ้น
วิชา เทคโนโลยีเพื่อชีวิต                                                        12
1.4ผลกระทบของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
   ผลกระทบของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศทางบวก
   1. ช่วยส่งเสริมความสะดวกสบายของมนุษย์
            เทคโนโลยีสารสนเทศช่วยให้ความเป็นอยู่ของมนุษย์ดีขึ้น
      ช่วยส่งเสริมให้มีประสิทธิภาพในการทำางานทำาให้มนุษย์มีเวลา
      ว่างเพื่อใช้ในทางที่เกิดประโยชน์มากขึ้นมีเครื่องมือสื่อสาร
      โทรคมนาคมสมัยใหม่ให้ติดต่อกันได้สะดวก มีระบบคมนาคม
      ขนส่งที่ รวดเร็วสามารถใช้โทรศัพท์ในขณะเดินทางไปมายังที่
      ต่าง ๆ มีอุปกรณ์ช่วยอำานวยความ สะดวกที่ควบคุมด้วย
      คอมพิวเตอร์ เช่น ลิฟต์ เครื่องซักผ้า เครื่องปรับอากาศ เครื่อง
      ช่วย ให้เกิดการพักผ่อนหย่อนใจ เช่นวิทยุ โทรทัศน์มรายการให้   ี
      เลือกชมได้มากมาย มีการ แพร่กระจายสัญญาณโทรทัศน์ผ่าน
      ดาวเทียม ทำาให้ผู้ชมสามารถรับรู้ข่าวสารต่าง ๆ จากทั่วทุกมุม
      โลกได้อย่างรวดเร็วเหมือนอยู่ในเหตุการณ์
   2. ช่วยทำาให้การผลิตในอุตสาหกรรมดีขึ้น
            การผลิตสินค้าในปัจจุบันต้องการผลิตสินค้าจำานวนมาก มี
      คุณภาพมีมาตรฐานซึ่ง ในปัจจุบันใช้เครื่องจักรทำางานอย่าง
      อัตโนมัติ สามารถทำางานได้ตลอด 24 ชั่วโมง สินค้าที่ได้มี
      คุณภาพและปริมาณพอเพียงกับความต้องการของผู้บริโภค
      ปัจจุบันมีความพยายามที่จะสร้างหุ่นยนต์ให้เข้ามาช่วยใน
      อุตสาหกรรมการผลิต เช่น การผลิตรถยนต์
   3. ทำาให้เกิดการค้นคว้าวิจัยสิ่งใหม่
            เทคโนโลยี ค อมพิ ว เตอร์ แ ละระบบสื่ อ สาร เช่ น เครื อ ข่ า ย
      คอมพิ วเตอร์ช่ ว ยให้ ง านค้ น คว้ าวิ จั ย ในห้ อ งปวิ จั ยในห้ อ งปฏิ บั ติ
      การวิ จั ย ต่ า งๆ มี ค วามก้ า วหน้ า ยิ่ ง ขึ้ น คอมพิ ว เตอร์ ช่ ว ยงาน
      คำานวณ ทีซับซ้อน ซึ่งแต่ก่อนยากที่จะทำาได้
                 ่
            งานสำารวจทางด้านอวกาศงานพัฒนาคิดค้น ผลิตภัณฑ์และ
      สารเคมี ต่ า งๆ ทำา ให้ ไ ด้ สู ต รยา รั ก ษาโรคใหม่ ๆ             เกิ ด ขึ้ น
      มากมายปั จ จุ บั น งานค้ น คว้ าวิ จั ย ทุ ก แขนงจำา เป็ น ต้ อง ใช้
      คอมพิวเตอร์ ช่วยในการคำานวณต่างๆ
   4. ช่วยส่งเสริมสุขภาพและความเป็นอยูให้ดีขึ้น   ่
            คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
      ทำาให้กิจการด้านการ แพทย์เจริญก้าวหน้าขึ้นมาก                  เครื่องมือ
      ทางการแพทย์ล้วนแล้ว แต่ใช้คอมพิวเตอร์ ช่วยในการดำาเนินการ
      ช่วยในการแปลผล มีเครื่อง             ตรวจหัวใจที่ทันสมัย เครื่อง
      เอกซเรย์สามารถตรวจดูอวัยวะต่าง ๆ มีเครื่องมือตรวจค้นหาโรค
part1-110215073327-phpapp01.doc                                                           13

     ทีทันสมัย
        ่                  หรือแม้แต่การผ่าตัดก็มีเครื่องมือช่วย ในการผ่าตัด
     ทีทำาให้คนไข้ปลอดภัยยิ่งขึ้น
          ่                                          มีเครื่องคอยวัดและตรวจสอบ
     สภาพการเปลียน แปลงของร่างกายอย่างละเอียด
                         ่                                                        ระบบการ
     รักษาพยาบาลจากที่หางไกล และมีเครื่องมือช่วยคนพิการต่าง ๆ
                                     ่
     เช่น การสร้างแขนเทียม ขาเทียม                        การสร้างเครื่องกระตุ้น
     หัวใจ สร้างเครื่องช่วยฟังเสียง หรือมีการพัฒนาเทคโนโลยีการ
     ปลูกถ่ายอวัยวะสำาคัญต่าง ๆ                     รวมทั้งการผลิตยา และวัคซีน
     สมัยใหม่ด้วย
  5. ช่วยส่งเสริมสติปัญญาของมนุษย์
              คอมพิ ว เตอร์ มี จุ ด เด่ น ที่ ส ามารถทำา งานได้ ร วดเร็ ว มี ค วาม
     แม่นยำา สามารถเก็บข้อมูล ต่าง ๆ ได้มาก และรวดเร็ว                                 ดังนั้น
     จึงมีการนำา คอมพิวเตอร์มาจำาลองเหตุการณ์ต่าง ๆ เพื่อให้มนุษย์
     หาทางศึกษาหรือแก้ไขปัญหาเช่น การจำา ลอง                                 สภาวะของสิ่ง
     แวดล้อม การจำาลองระบบมลภาวะ จำาลองการไหลของของเหลว
     การควบ คุมระบบการจราจร                       หรือแม้แต่การนำาเอาคอมพิวเตอร์
     มาจำาลองในสภาพที่เหมือนจริงเช่นจำาลองการเดินเรือ จำาลองการ
     ขับเครื่องบิน การขับรถยนต์ สิ่งต่าง ๆ เหล่านี้ทำาให้ เหมือนจริง
     ได้ หากมีการผิดพลาดก็ไม่ทำาให้เกิดอันตราย                            ปัจจุบันมีการนำา
     บทเรี ย นมาไว้ ใ นคอมพิ ว เตอร์ เ รี ย กว่ า คอมพิ ว เตอร์ ช่ ว ยสอน
     (Computer Assisted Instruction : CAI)                             และคอมพิ ว เตอร์
     ยั ง เป็ น เครื่ อ งมื อให้ นั ก เรี ย น นิ สิ ต นั ก ศึ ก ษา สมั ย ใหม่ เ ชื่ อ มโยง
     ติ ดต่ อทางอิ น เทอร์ เ น็ ต สามารถเรี ย ก                 ค้ น ข้ อ มู ล ข่ า วสารผ่ า น
     ทางเครือข่าย สามารถเรียนรู้การใช้ คอมพิวเตอร์หรือเรียนจากที่
     ห่างไกลได้ ถือเป็นหนทางที่ทำาให้เกิดสติปัญญาอย่างแท้จริง
  6. เทคโนโลยีสารสนเทศช่วยให้เศรษฐกิจเจริญรุ่งเรือง
              เทคโนโลยีจำาเป็นต่ออุตสาหกรรม กิจการค้า ธุรกิจต่าง ๆ
     กิจการทางด้าน ธนาคาร ช่วยส่งเสริมงานทางด้านเศรษฐกิจ
     ทำาให้กระแส เงินหมุนเวียนได้อย่างกว้างขวาง ผู้ผลิตในสาย
     อุตสาหกรรม จะผลิตสินค้าได้มาก ลดต้นทุน ผูบริโภคก็มีกำาลังใน     ้
     การจับ จ่ายใช้สอยมาก ธุรกิจโดยรวมจำาเป็นต้องอาศัยการแลก
     เปลี่ยนข้อมูลระหว่างกัน มีการสื่อสารเกี่ยวข้องกัน เกิด ระบบการ
     แลกเปลียนข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์
                 ่

  7. ช่วยให้เกิดความเข้าใจอันดีระหว่างกัน
          การสื่อสารโทรคมนาคมสมัยใหม่ช่วยย่อโลกให้เล็กลง โลก
     มีสภาพไร้ พรมแดน มีการเรียนรูวัฒนธรรมซึ่งกันและกันมากขึ้น
                                  ้
วิชา เทคโนโลยีเพื่อชีวิต                                        14
      เกิดความเข้าใจอันดีระหว่างกัน ทำาให้ลดปัญหาใน เรื่องความขัด
      แย้ง สังคมไร้พรมแดนทำาให้มี ความเป็นอยู่แบบรวมกลุ่มประเทศ
      มากขึ้น
   8. ช่วยส่งเสริมประชาธิปไตย
             ในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร มีการใช้
      เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อกระจาย ข่าวสาร เพื่อให้ประชาชนได้
      เห็นความสำาคัญของกระจายระบบ ประชาธิปไตย แม้แต่การเลือก
      ตั้งก็มีการใช้คอมพิวเตอร์รวมผล คะแนน ใช้สื่อโทรทัศน์วิทยุแจ้ง
      ผลการนับคะแนนที่ทำาให้ทราบ ผลได้รวดเร็ว
part1-110215073327-phpapp01.doc                                   15

  ผลกระทบของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศทางลบ
  1. ทำาให้เกิดอาชญากรรม
           เทคโนโลยีสารสนเทศสามารถนำามาใช้ในการก่อให้เกิด
     อาชญากรรมได้ โจรผู้ร้ายใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการ
     วางแผนการปล้น วางแผนการ โจรกรรม มีการลักลอบใช้ข้อมูล
     ข่าวสาร มีการโจรกรรมหรือแก้ไขตัวเลข บัญชีด้วยคอมพิวเตอร์
     การลอบเข้าไปแก้ไขข้อมูลอาจทำาให้เกิดปัญหาหลาย อย่าง เช่น
     การแก้ไขระดับคะแนนของนักเรียน การแก้ไขข้อมูลในโรง
     พยาบาล เพื่อให้การรักษาพยาบาลคนไข้ผิด
  2. ทำาให้ความสัมพันธ์ของมนุษย์เสื่อมถอย
           การใช้คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์สื่อสารทำาให้สามารถติดต่อ
     สื่อสารกันได้ โดยไม่ต้องเห็นตัว การใช้งานคอมพิวเตอร์หรือ
     แม้แต่การเล่นเกมที่มี ลักษณะการใช้งานเพียงคนเดียว ทำาให้
     ความสัมพันธ์กับผู้อื่นลดน้อยลง ผลกระทบนีทำาให้มีความเชื่อว่า
                                                  ้
     มนุษยสัมพันธ์ของบุคคลจะน้อยลง สังคมใหม่จะเป็นสังคมที่ไม่
     ต้องพึ่งพาอาศัยกันมาก
  3. ทำาให้เกิดความวิตกกัง
           เป็นผลกระทบทางด้านจิตใจของกลุ่มบุคคลบางกลุ่มที่มี
     ความวิตกกังวล ว่าคอมพิวเตอร์อาจทำาให้คนตกงานมากขึ้น มีการ
     ใช้งานหุ่นยนต์ มาใช้งานมากขึ้น ทำาให้ผู้ใช้ แรงงานอาจว่างงาน
     มากขึ้น ซึ่งความคิดเหล่านี้จะเกิดกับบุคคล บางกลุมเท่านั้น แต่
                                                        ่
     ถ้าบุคคลเหล่านันสามารถปรับตัวเข้ากับเทคโนโลยี หรือมีการ
                     ้
     พัฒนา ให้มีความรู้ความสามารถสูงขึ้นแล้วปัญหานี้จะไม่เกิดขึ้น
  4. ทำาให้เกิดความเสี่ยงภัยทางด้านธุรกิจ
           ธุรกิจในปัจจุบันจำาเป็นต้องพึ่งพาอาศัย เทคโนโลยี
     สารสนเทศมากขึ้น ข้อมูลข่าวสาร ทังหมดของธุรกิจฝากไว้ใน
                                          ้
     ศูนย์ข้อมูล เช่น ข้อมูลลูกหนี้การค้า ข้อมูลสินค้า และบริการ ต่าง
     ๆ หากเกิดการสูญหายของข้อมูล อันเนื่อง มาจากเหตุอุบัติภัย
     เช่น ไฟไหม้ นำ้าท่วม
  5. ทำาให้การพัฒนาอาวุธมีอำานาจทำาลายล้างสูงขึ้น
           ประเทศที่เป็นต้นตำารับของเทคโนโลยี สามารถนำาเอา
     เทคโนโลยีไปใช้ ในการสร้างอาวุธที่มีอานุภาพการทำาลายสูง
     ทำาให้หมิ่นเหม่ต่อสงครามที่มี การทำาลายสูงเกิดขึ้น
  6. ทำาให้เกิดการแพร่วฒนธรรมและกระจายข่าวสารที่ไม่เหมาะสมอ
                          ั
     ย่างรวดเร็ว
วิชา เทคโนโลยีเพื่อชีวิต                                           16
             คอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์ททำางานตามคำาสั่งอย่างเคร่งครัด
                                      ี่
      การนำามาใช้จริยธรรมการใช้คอมพิวเตอร์ซึ่งเป็นเรื่องสำาคัญ ดัง
      เช่น การใช้งานอินเทอร์เน็ตมีผู้สร้างโฮมเพจหรือสร้างข้อมูลข่าว
      สารในเรื่องภาพที่ไม่เหมาะสม เช่น ภาพอนาจาร หรือภาพที่
      ทำาให้ ผู้อื่นเสียหาย นอกจากนี้ยังมีการปลอมแปลงระบบจดหมาย
      เพื่อส่ง จดหมายถึงผู้อื่นโดยมีเจตนากระจายข่าวที่เป็นเท็จ
part1-110215073327-phpapp01.doc                               17

1.5แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศ
   ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันจะเห็นว่าเทคโนโลยีสารสนเทศ มีการ
พัฒนาขีดความสามารถเพิ่มขึ้นในด้านต่าง ๆ ได้แก่
   1. คอมพิวเตอร์
              พัฒนาการทางคอมพิวเตอร์ได้ก้าวหน้าไปอย่างรวดเร็วและ
       ต่อเนื่อง จากอดีตเป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้หลอด
       สุญญากาศขนาดใหญ่ ใช้พลังงานไฟฟ้ามาก และอายุการใช้งาน
       ตำ่า เปลี่ยนมาใช้ทรานซิสเตอร์ททำาจากชินซิลิกอนเล็ก ๆ ใช้
                                      ี่
       พลังงานไฟฟ้าตำ่า และผลิตได้จำานวนมาก ราคาถูก ต่อมาสามารถ
       สร้างทรานซิสเตอร์จำานวนหลายแสนตัวบรรจุบนชิ้นซิลิกอนเล็ก ๆ
       เป็นวงจรรวมที่เรียกว่า ไมโครชิป (microchip) และใช้ไมโครชิป
       เป็นชิ้นส่วนหลักที่ประกอบอยู่ในคอมพิวเตอร์ ทำาให้ขนาดของ
       คอมพิวเตอร์เล็กลง




  2. เทคโนโลยีแบบสื่อประสม
           เทคโนโลยีแบบสื่อประสม (multimedia) หมายถึง การใช้
     สื่อหลายแบบผสมกัน ซึ่งมีทั้งที่เป็นข้อความ ตัวหนังสือ
     รูปภาพ ภาพเคลื่อนไหว เสียงพูด เสียงดนตรี และ วีดิทัศน์
     ซึ่งการใช้งานสื่อประสมกำาลังได้รับความนิยมและใช้งานกันอย่าง
     กว้างขวาง เช่น ใช้ทำาเป็นหนังสือบนแผ่นซีดี ใช้สร้างเกมที่มี
     ลักษณะเหมือนจริงมากขึ้น ใช้ในการสื่อสารทีนำาสื่อทุกชนิดไป
                                                ่
     ด้วยกัน เกิดระบบการประชุมที่เรียกว่า การประชุมทางวีดิทัศน์
     โดยได้มีการพัฒนาและประยุกต์อย่างกว้างขวางโดยเฉพาะเมื่อมี
     เครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมโยงกันได้ทวโลก
                                            ั่

  3. การเปลี่ยนแปลงระบบอุปกรณ์
           ความก้าวหน้าทางด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์ทำาให้เกิดการ
     แข่งขันกันทางธุรกิจสูงมาก มีการแข่งขันกันคิดประดิษฐ์อุปกรณ์
     ใหม่ ๆ อยู่ตลอดเวลา แนวทางการเปลียแปลงในเรื่องอุปกรณ์
                                          ่
     ต่าง ๆ ที่คอมพิวเตอร์เข้าไปมีบทบท
วิชา เทคโนโลยีเพื่อชีวิต                                             18
            3.1 ระบบควบคุมอัตโนมัติ มีการนำาไมโครโพเซสเซอร์ไป
                 ใช้ในการควบคุมให้ทำางานอัตโนมัติ
            3.2 ระบบบัตรอิเล็กทรอนิกส์         ระบบที่ใช้บัตรอิเล็คทรอ
                 นิกส์ คือ ระบบการฝากหรือถอนเงินอัติโนมัติ
                 อัตโนมัติที่เรียกบัตรเอทีเอ็ม นอกจากนียังมีบัตร
                                                         ้
                 เครดิต บัตร Smart card บัตรอิเล็คทรอนิกส์แทนบัตร
                 ประจำาตัวประชาชน และ บัตรประจำาตัวนักเรียน
                 นักศึกษา
            3.3 อุปกรณ์บอกชี้ตำาแหน่งบนพื้นโลก พัฒนาการทางด้าน
                 อวกาศทำาให้สามารถส่งดาวเทียมขึ้นไปบนท้องฟ้า
                 เพื่อส่งและรับสัญญาณกับดาวเทียม เพื่อบอก
                 ตำาแหน่งพิกัดรุ้ง เส้นแวงบนพื้นโลกได้อย่างละเอียด
                 ตามตำาแหน่งที่อยู่
            3.4 อุปกรณ์พิเศษสำาหรับรับข้อมูลและแสดงผล เพื่อ
                 ให้การทำางานของระบบคอมพิวเตอร์ดียิ่งขึ้น จึงมีผู้
                 พัฒนาระบบรับข้อมูลและระบบแสดงผลข้อมูลสมัยใหม่
                 และใช้ประโยชน์ได้กว้างขวาง เช่น อุปกรณ์อ่าน
                 ข้อมูลจากรหัสแท่ง อุปกรณ์อ่านข้อมูลด้วยแสง
                 อุปกรณ์บันทึกข้อมูลระยะไกล และ อุปกรณ์แสดงผล
                 ข้อมูลด้วยเสียง
   4. ปัญญาประดิษฐ์
      วิทยการด้านปัญญาประดิษฐ์ จะเป็นส่วนที่จะช่วยให้มนุษญ์ใช้
      คอมพิวเตอร์แก้ปัญหาต่าง ๆ ทีสำาคัญ เช่นการให้คอมพิวเตอร์
                                      ่
      เข้าใจภาษามนุษย์ รู้จักการใช้เหตุผล การเรียนรู้ ตลอดจน
      การสร้างหุ่นยนต์ปัญญาประดิษฐ์ ทีสามารถทำางานได้เหมือนคน
                                           ่
      ทีใช้ปัญญา โดยเน้นแนวคิดตามแบบสมองมนุษย์ที่มีการ
          ่
      วางแผนการเรียนรู้ การให้เหตุผล การตัดสินใจ การแก้ปัญหา
      ตลอดจนการเลือกแนวทางดำาเนินการลักษณะคล้ายมนุษย์
            ปัญญาประดิษฐ์จึงเป็นเรื่องที่นักวิจยได้พยายามดำาเนินการ
                                               ั
      และสร้างรากฐานไว้สำาหรับอนาคตมีการคิดค้นหลักการ ทฤษฎี
      และ วิธีการต่าง ๆ เพื่อทำาให้คอมพิวเตอร์สามารถทำางาน อย่างมี
      เหตุผล มีการพัฒนาโครงสร้างฐานความรอบรู้
   5. ทางด่วนข้อมูลสารสนเทศ
            ทางด่วนข้อมูลสารสนเทศ คือ เส้นทางที่ให้ข้อมูลข่าวสาร
      วิงไปได้มากและรวดเร็ว สามารถรองรับการส่งสัญญาณข้อมูล
        ่
      ข่าวสารทั้งสัญญาณโทรทัศน์ วิทยุ คอมพิวเตอร์ โทรศัพท์
part1-110215073327-phpapp01.doc                                  19

    หรือ งานประยุกต์อื่น ๆ ได้มาก โดยมีความต้องการให้สถานี
    โทรทัศน์มากกว่า ٥٠٠ แห่ง
              ลักษณะของทางด่วนสารสนเทศเหมือนกับระบบถนน ที่มี
    ถนนสายหลัก สายรอง ซอยเชื่อมเข้าสู่บ้านเรือน โดยใช้เส้นใย
    นำาแสงเป็นสายหลัก และใช้สื่ออื่นประกอบ เช่น คลื่น
    ไมโครเวฟ ช่องสัญญาณสื่อสารผ่านดาวเทียม เส้นลวดทองแดง
     สายสัญญาณที่ต่อเชื่อมเข้าบ้านเรือน ร้านค้า หรือสำานักงานจะ
    เป็นสายสัญญาณที่รองรับข้อมูลจำานวนมากได้ หากทางด่วน
    สารสนเทศเป็นไปอย่างสมบูรณ์ จะมีการประยุกต์ใช้งานบนเส้น
    ทางด่วนต่าง ๆ มากมาย การพัฒนางานประยุกต์เป็นไปได้มาก
    และมีรูปธรรมที่เด่นชัด ดังนี้
    5.1ระบบโทรทัศน์
       มีการส่งกระจายสัญญาณโทรทัศน์ไปในเครือข่ายเพื่อให้บริการ
       แก่ผู้ชมที่บ้าน ระบบทีวีสามารถเพิ่มขีดความสามารถให้ผู้ชม
       เลือกชมรายการตามต้องการได้ทุกขณะเวลา บางรายการ
       เป็นการให้ผู้ชมทางบ้านโต้ตอบหรือส่วนร่วมด้วย เช่น
       รายการเกมโชว์
    5.2ระบบวิทยุ
       มีการส่งกระจายข่าวสารทางเสียง ไปยังทางด่วนสารสนเทศที่
       ผู้ฟงทางบ้านเลือกฟังได้ สัญญาณที่ส่งเป็นสัญญาณดิจิทัลจึง
              ั
       มีคุณภาพดี และยังเสริมบริการต่าง ๆ เข้าไปได้มาก เช่น ให้
       ผู้ฟงฝึกร้องเพลง หรือที่เรียกว่า คาราโอเกะ ให้ผู้ฟังโต้ตอบ
                ั
       ในรายการตอบปัญหา ตลอดจนมีรายการสดทีรับการปรึกษา
                                                  ่
       ปัญหาต่าง ๆ
    5.3การประชุมทางวีดิทัศน์
       เป็นพัฒนาการจากระบบโทรทัศน์ที่มีแต่เสียง แต่เมื่อช่อง
       สัญญาณขยายใหญ่ขึ้นมาก ก็มีระบบพูดคุยผ่านทางด่วน
       สารสนเทศที่เห็นภาพ และมองเห็นสิ่งแวดล้อมต่าง ๆ รอบตัว
       คู่ สนทนาทำาให้เสมือนอยู่ใกล้กัน สามารถนำามาประยุกต์ใน
       เรื่องการประชุมจากที่ห่างไกล
    5.4โทรศักษาและโทรเวช
       เมื่อทางด่วนข้อมูลข่าวสารดีขึ้น ระบบการทำางานระยะไกลก็
       ทำาได้ดี ในสถาบันการศึกษาอาจใช้บริการการเรียนการสอนใน
       ทีห่างไกลที่เรียกว่า โทรศึกษา (tele-education ) ผู้เรียน อยู่
          ่
       ทีใดก็สามารถเลือกเรียนวิชาได้ตามต้องการ นอกจากนั้นใน
            ่
       ทางการแพทย์ ผู้ป่วยที่ห่างไกลก็สามารถปรึกษานายแพทย์ผู้
วิชา เทคโนโลยีเพื่อชีวิต                                           20
        เชี่ยวชาญ หรือส่งข้อมูลเพื่อให้การรักษาพยาบาลเป็นไป
        อย่างมีประสิทธิภาพที่ เรียกว่าโทรเวช (telemedicine)
     5.5การเลือกซื้อทางไกล
        การเลือกซื้อทางไกลเป็นหนทางหนึ่งที่ร้านค้าสามารถให้
        บริการโดยนำารายการสินค้า รูปภาพ หรือถ่ายทำาเป็น
        ภาพยนตร์ เพื่อให้ผู้ที่อยู่ห่างไกลได้เห็นสินค้า ทีเรียกว่า
                                                          ่
        การเลือกซื้อ ทางไกล (teteshopping ) เลือกชมสินค้าที่
        พอใจ สามารถเปรียบเทียบคุณภาพและราคาจากหลายร้านจน
        พอใจจึงซื้อสินค้า

     5.6การค้นหาข้อมูลหรือหนังสือ
        รูปแบบนี้เรียกว่าห้องสมุดเสมือน (virtual library) ผู้ใช้บริการ
        ห้องสมุดสามารถค้นหาเอกสารสิ่งพิมพ์ที่ตนต้องการ โดย
        เรียกค้นผ่านเครือข่ายที่มทางด่วนสารสนเทศเป็นตัวเชื่อมระบบ
                                 ี
        การเรียกค้นหาข้อมูลนีทำาให้เกิดความสะดวก ไม่ต้องเสียเวลา
                              ้
        เดินทาง และได้รับข้อมูลข่าวสารที่ตรงกับความต้องการใน
        เวลาอันรวดเร็ว
part1-110215073327-phpapp01.doc                                        21

      5.7ระบบการพิมพ์หรือบริการหนังสือพิมพ์บนเครือข่าย
           สำานักพิมพ์หรือสำานักข่าวต่าง ๆ เป็นผู้รวบรวมข่าว มีนักข่าวอยู่
           ทัวทุกมุมโลก เมื่อได้ข่าวสารก็ส่งข่าวสารมาที่สำานักพิมพ์
              ่
           สำานักพิมพ์จัดการข่าวสารโดยพิมพ์ไว้ในรูปข้อมูลทีให้ผู้เป็น
                                                                 ่
           สมาชิกเรียกดูได้ เสมือนการบอกรับหนังสือพิมพ์ ขณะ
           เดียวกันเทคโนโลยีการพิมพ์ดีขึ้นมากจนเครื่องถ่ายเอกสาร
           สมัยใหม่สามารถรับข้อมูลมาพิมพ์ได้โดยตรง ดังนั้น สำานัก
           พิมพ์อาจมีจุดขายหนังสือพิมพ์ที่เชื่อมต่อกับสำานักพิมพ์ เมื่อผู้
           ซื้อต้องการหนังสือพิมพ์ก็เพียงแต่หยอดเหรียญตามต้องการ
           เครื่องจะดึงข้อมูลจากสำานักพิมพ์มาพิมพ์ให้โดยทันที ข้อมูล
           ข่าวสารที่ได้จะใหม่เสมอ
    6. เทคโนโลยีโทรคมนาคมสมัยใหม่
                พัฒนาการทางเทคโนโลยีสื่อสารโทรคมนาคมก็ได้ก้าวหน้า
       ขึ้นไปอีกมาก มีการให้บริการระบบสื่อสารสมัยใหม่อยู่มากมาย
       เทคโนโลยีเหล่านี้จึงได้รบความสนใจและ คนไทยควรได้รบ
                                  ั                                   ั
                6.1การสื่อสารผ่านดาวเทียม
                                เนื่องจากท้องที่ทางภูมิศาสตร์เต็มไปด้วย
                                ภูเขา หุบเขาหรือเป็นเกาะอยู่ในทะเล
                                การสื่อสารที่ดีวิธีหนึ่งคือการใช้ดาวเทียม
                                 ดาวเทียมได้รับการส่งให้โคจรรอบโลก
                                โดยมีการเคลื่อนที่ ไปพร้อมกับการหมุน
                                ของโลก ทำาให้ดาวเทียมอยู่ในตำาแหน่ง
                                คงที่เมื่อมองจากพื้นโลก บนดาวเทียมจะ
มีการนำาเอาเครื่องถ่ายทอดสัญญาณติดไปด้วย การสื่อสารโดยผ่าน
ดาวเทียมจะทำาโดยการส่ง            สัญญาณสื่อสารจากสถานีภาคพื้นดิน
แห่งหนึ่งขึ้นไปยังดาวเทียม เมื่อดาวเทียมรับก็และส่งกลับมายังสถานี
ภาคพื้นดินอีกแห่งหนึ่งหรือหลายแห่ง เราจึงใช้ดาวเทียมเพื่อแพร่ภาพ
สัญญาณโทรทัศน์ ได้ การรับจะครอบคลุมพื้นที่ที่ดาวเทียมลอยอยู่
ซึ่งจะมีบริเวณกว้างมากและทำาได้โดยไม่มีอุปสรรคจากภูเขาบัง
ดาวเทียมจึงเป็นสถานีกลางที่ถายทอดสัญญาณจากที่หนึ่งไปยังอีกที่
                                    ่
หนึ่งได้ ปัจจุบันประเทศไทยมีดาวเทียมไทยคมลอยอยู่เหนือเทศ
ดาวเทียมไทยคมนีใช้ประโยชน์ทางด้านการสื่อสารของประเทศไทยได้
                      ้
มาก เพราะเป็นการใช้บริการสื่อสารของประเทศในรูปแบบต่าง ๆตั้งแต่
                                การรับส่งสัญญาณโทรทัศน์ สัญญาณ
                                จากวิทยุ สัญญาณข้อมูลข่างสารต่าง ๆ
วิชา เทคโนโลยีเพื่อชีวิต                                        22
          6.2การสื่อสารด้วยเส้นใยนำาแสง
          เส้นใยนำาแสงมีลักษณะเป็นท่อแก้วที่อ่อนตัวในสายที่หุ้ม
          ด้วยพลาสติก ลักษณะของท่อแก้วหุ้มด้วยสารพิเศษที่
          ทำาให้เกิดการหักเหของแสงกลับเข้าไปในท่อแก้ว ดังนั้น
          เราสามารถส่ง แสงจากปลายด้านหนึ่งให้ไปรากฏที่ปลาย
          อีกข้างหนึ่งได้ แม้วาเส้นใยนำาแสงนั้นจะคดงอไปอย่างไร
                              ่
          ก็ตามก็จะส่งแสงเขาไปใน
          ท่อแก้วได้ เมื่อมีการนำาเอาข้อมูลเข้าไปผสมกับแสง เพื่อ
          ให้แสงกระพริบตามการเปลี่ยนแปลงของข้อมูล ทำาให้เรา
          รับส่งสัญญาณข้อมูลไปกับแสงได้ การรับส่งข้อมูลเข้าไป
          ในแสงทำาได้มากและรวดเร็ว
          6.3โครงข่ายบริการสื่อสารร่วมระบบดิจิตอล




 (Integrated Service Digital Network : ISDN) ลักษณะเครือข่ายนี้
เป็นการขยายการบริการจากระบบโทรทัศน์เดิมให้เป็นระบบดิจัทัลคือส่ง
สัญญาณที่เป็นข้อมูลตัวเลขแทนเสียง แทนภาพ แทนข้อมูล การ
สื่อสารโครงข่ายบริการสื่อสารร่วมระบบดิจิทลจึงเน้นการประยุกต์ใช้งาน
                                         ั
หลายอย่างบนเครือข่ายเดียวกัน โดยวางฐานขยายจากโทรศัพท์ เช่น
ในสายโทรศัพท์เส้นเดียวที่เชื่อมต่อไป ยังบ้านเรือนผู้ใช้ สามารถ
ประยุกต์ให้เป็นระบบโทรศัพท์ที่เห็นภาพ ใช้ส่งโทรสาร ใช้เป็นระบบ
การประชุมทางวีดิทัศน์ใช้ในการส่งข้อมูลทางคอมพิวเตอร์ เพื่อเชื่อม
โยงกับระบบคอมพิวเตอร์อื่น ๆ การดำาเนินการเหล่านี้สามารถทำาได้
พร้อมกันบนสายสื่อสารเดียวกัน โครงข่ายบริการสื่อสารร่วมระบบ
ดิจิทลควรได้รับการพัฒนา โดยวางโครงสร้างพื้นฐานการเชื่อมโยงต่าง
     ั
ๆ ไว้ให้พร้อม เพื่อรองรับความเร็วของการรับส่งข้อมูลได้สูงขึ้น
            6.4ระบบเครือข่ายสวิตชิง
part1-110215073327-phpapp01.doc                                     23




ด้วยเทคโนโลยีเอทีเอ็มสวิตชิงที่มีความเร็วสูงทำาให้การสื่อสารผ่าน
เส้นใยนำาแสงส่งผ่านข้อมูลจากต้นทางไปยังปลายทางได้ด้วยความเร็ว
หลายร้อย เมกะบิตต่อวินาที เอทีเอ็มสวิตชิงจึง เป็นเทคโนโลยีของ
การสร้างเครือข่ายข้อมูลข่าวสารที่จะรองรับการใช้งานแบบสื่อสาร
ประสมได้ดี ปัจจุบันหลายหน่วยงานได้เริ่มใช้เครือข่ายด้วยเทคโนโลยี
เอทีเอ็มสวิตชิงภายในองค์การของตนเอง และแนวโน้มการขยายตัว
รองรับระบบนี้สำาหรับหน่วยงานไปอยู่เครือข่ายระยะไกลในอนาคตต่อไป
             6.5ระบบสื่อสารเคลื่อนที่
หรือที่เรียกว่าระบบเซลลูลาร์โฟน ( cellula phone system ) ทีใช้กับ่
โทรศัพท์ ทำาให้มโทรศัพท์ติดรถยนต์ โทรศัพท์มือถือ ปัจจุบันการ
                     ี
สื่อสารระบบนี้เป็นที่แพร่หลายและนิยมใช้กันมาก ลักษณะการทำางาน
ของระบบสื่อสารแบบนี้คือ มีการกำาหนดพื้นที่เป็นเซลเหมือนรวงผึ้ง
แต่ละเซลจะครอบคลุมพื้นที่จำานวนหนึ่ง มีระบบสื่อสารเชื่อมโยง
ระหว่างเซลเข้าด้วยกัน ครอบคลุมพื้นที่         บริการไว้ทั้งหมด ดังนั้น
เมื่อเราอยู่ที่บริเวณพื้นที่บริการใด และมีการใช้โทรศัพท์มือถือ
สัญญาณจากโทรศัพท์มือถือจะเชื่อมโยงกับสถานีรับส่งประจำาเซลขึ้น
 ทำาให้ติดต่อไปยังข่ายสื่อสารที่ใดก็ได้ ครั้นเมื่อเราเคลื่อนที่ออกนอก
พื้นที่ก็จะโอนการรับส่งไปยังเซลที่อยู่ขางเคียง โดยที่สัญญาณการ
                                        ้
สื่อสารไม่ขาดหาย         ในอนาคตมีโครงการที่จะใช้ดาวเทียมเป็นตัว
ควบคุมการสื่อสารประจำาเซล โดย พื้นที่ทวโลกจะสื่อสารถึงกันได้หมด
                                           ั่
 โครงการสื่อสารแบบนี้จะใช้ดาวเทียมที่โคจรในวิถวงโคจรที่อยู่ห่าง
                                                    ี
จากพื้นโลก ไม่เกิน 10,000 กิโลเมตร และใช้ดาวเทียมประมาณ
 66 ดวง ทีลอยอยู่บนท้องฟ้าตลอดเวลา ดาวเทียมเหล่านี้จะไม่อยูใน
             ่                                                        ่
ตำาแหน่งคงที่ แต่โคจรไปรอบโลกตลอดเวลา ทุกขณะบนพื้นโลกจะ
มองเห็นดาวเทียมหลาย ๆ ดวง ดาวเทียมเหล่านี้จะเป็นตัวเชื่อมโยง
สัญญาณสื่อสารบนพื้น โลกที่มีการแบ่งเป็นเซลไว้ให้ติดต่อสื่อสาร
ถึงกันได้หมด

More Related Content

What's hot

งานคอมเกด
งานคอมเกดงานคอมเกด
งานคอมเกดG'ad Smile
 
8.บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อการศึกษาและการประกอบอาชีพ
8.บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อการศึกษาและการประกอบอาชีพ8.บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อการศึกษาและการประกอบอาชีพ
8.บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อการศึกษาและการประกอบอาชีพSujit Chuajine
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารบทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารmay18323
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันChaiwit Khempanya
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศnatdanai phetdeethon
 
บทที่ 4 หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2
บทที่ 4 หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2บทที่ 4 หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2
บทที่ 4 หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2Por Oraya
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารPim
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารPimเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารPim
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารPimproncharita
 
งานคอมเกด
งานคอมเกดงานคอมเกด
งานคอมเกดG'ad Smile
 
1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศKrooIndy Csaru
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารiamopg
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารjongkoi
 
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง ความหมายของสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1  เรื่อง ความหมายของสารสนเทศใบความรู้ที่ 1  เรื่อง ความหมายของสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง ความหมายของสารสนเทศTay Chaloeykrai
 
Ch11 slide
Ch11 slideCh11 slide
Ch11 slidejune006
 
บทบาทความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทบาทความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศบทบาทความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทบาทความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศsongpop
 
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2amphaiboon
 
Ch08 slide
Ch08 slideCh08 slide
Ch08 slidejune006
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันเกวลิน แก้ววิจิตร
 

What's hot (20)

งานคอมเกด
งานคอมเกดงานคอมเกด
งานคอมเกด
 
8.บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อการศึกษาและการประกอบอาชีพ
8.บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อการศึกษาและการประกอบอาชีพ8.บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อการศึกษาและการประกอบอาชีพ
8.บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อการศึกษาและการประกอบอาชีพ
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารบทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
Test1
Test1Test1
Test1
 
Amonrat
AmonratAmonrat
Amonrat
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
บทที่ 4 หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2
บทที่ 4 หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2บทที่ 4 หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2
บทที่ 4 หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารPim
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารPimเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารPim
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารPim
 
งานคอมเกด
งานคอมเกดงานคอมเกด
งานคอมเกด
 
1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง ความหมายของสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1  เรื่อง ความหมายของสารสนเทศใบความรู้ที่ 1  เรื่อง ความหมายของสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง ความหมายของสารสนเทศ
 
Resource2
Resource2Resource2
Resource2
 
Ch11 slide
Ch11 slideCh11 slide
Ch11 slide
 
บทบาทความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทบาทความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศบทบาทความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทบาทความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2งานPowerpoint ลูกศร2
งานPowerpoint ลูกศร2
 
Ch08 slide
Ch08 slideCh08 slide
Ch08 slide
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
 

Similar to Part1

บทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศPokypoky Leonardo
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ Day1 บ่าย
เทคโนโลยีสารสนเทศ  Day1 บ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ  Day1 บ่าย
เทคโนโลยีสารสนเทศ Day1 บ่ายJenchoke Tachagomain
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศnut jpt
 
ความหมาย ความเป็นมา วิวัฒนาการ บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร
ความหมาย ความเป็นมา วิวัฒนาการ บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารความหมาย ความเป็นมา วิวัฒนาการ บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร
ความหมาย ความเป็นมา วิวัฒนาการ บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารสราวุฒิ จบศรี
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศKrunee Thitthamon
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศKriangx Ch
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1airly2011
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องChalita Vitamilkz
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารkanokwan8941
 
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศTimmy Printhong
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้ว
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้วเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้ว
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้วfrankenjay
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารSirithorn609
 
บทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศเเละการสื่อสาร
บทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศเเละการสื่อสารบทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศเเละการสื่อสาร
บทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศเเละการสื่อสารnamnpunch
 
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้น ม.6
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้น ม.6วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้น ม.6
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้น ม.6ครู อินดี้
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารwchai1334
 
ใบความรู้แผนที่ 2
ใบความรู้แผนที่  2ใบความรู้แผนที่  2
ใบความรู้แผนที่ 2Warakon Phommanee
 
บทที่ 12.แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 12.แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 12.แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 12.แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศPokypoky Leonardo
 

Similar to Part1 (20)

บทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ Day1 บ่าย
เทคโนโลยีสารสนเทศ  Day1 บ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ  Day1 บ่าย
เทคโนโลยีสารสนเทศ Day1 บ่าย
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ฟิต
ฟิตฟิต
ฟิต
 
ความหมาย ความเป็นมา วิวัฒนาการ บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร
ความหมาย ความเป็นมา วิวัฒนาการ บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารความหมาย ความเป็นมา วิวัฒนาการ บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร
ความหมาย ความเป็นมา วิวัฒนาการ บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
A0141 20
A0141 20A0141 20
A0141 20
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้ว
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้วเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้ว
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้ว
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
บทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศเเละการสื่อสาร
บทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศเเละการสื่อสารบทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศเเละการสื่อสาร
บทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศเเละการสื่อสาร
 
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้น ม.6
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้น ม.6วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้น ม.6
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้น ม.6
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
ใบความรู้แผนที่ 2
ใบความรู้แผนที่  2ใบความรู้แผนที่  2
ใบความรู้แผนที่ 2
 
1
11
1
 
บทที่ 12.แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 12.แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 12.แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 12.แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 

Part1

  • 1. บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology) วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจถึงความหมายและองค์ประกอบของ เทคโนโลยีสารสนเทศ 2. เพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจถึงความสำาคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ 3. เพื่อให้ผู้เรียนทราบถึงวิวฒนาการของเทคโนโลยีสารสนเทศ ั 4. เพื่อให้ผู้เรียนทราบถึงการนำาเทคโนโลยีสารสนเทศไปประยุกต์ใช้ งานด้านต่าง ๆ 5. เพื่อให้ผู้เรียนทราบถึงผลกระทบของการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศทางด้านบวก และ ด้านลบ 6. เพื่อให้ผู้เรียนทราบถึงแนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศด้าน ต่าง ๆ ในอนาคต 1.1ความหมายและองค์ประกอบของเทคโนโลยี สารสนเทศ สารสนเทศ (Information) หมายถึง การรวบรวมข้อมูลดิบ (Raw Data) จากที่ต่างๆมาผ่านกระบวนการเรียงลำาดับ การคำานวณ การจัดกลุ่ม หรือสรุปผล เพื่อสร้างเป็นรายงานหรือจัดให้อยู่ในรูปแบบที่ เหมาะสมต่อการนำาเสนอขององค์กรซึ่งจะเรียกข้อมูลดิบหลังจากผ่าน กระบวนการข้างต้น นีว่าเป็น สารสนเทศ ้ เทคโนโลยี (Technology) หมายถึง ทุกสิ่งทุกอย่างที่เกี่ยวกับ การผลิต การสร้าง การใช้สิ่งของกระบวนการหรือวิธีการดำาเนินงาน รวม ไปถึงอุปกรณ์ทไม่ได้มีในธรรมชาติ ี่ เทคโนโลยีสารสนเทศ หรือ Information Technology (IT) จึงหมายถึง การนำาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ และ เทคโนโลยีอื่น ๆ มา ใช้ในการจัดการกระบวนการดำาเนินงานสารสนเทศ หรือ สารนิเทศใน
  • 2. วิชา เทคโนโลยีเพื่อชีวิต 2 ขั้นตอนต่าง ๆ ตั้งแต่การเสาะแสวงหา การวิเคราะห์ การจัดเก็บ การ จัดการ และ การเผยแพร่ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ความถูกต้อง ความ แม่นยำา และ ความรวดเร็วทันต่อการนำามาใช้ประโยชน์ ดังนั้นเทคโนโลยีสารสนเทศ จึงเกิดจากการบูรณาการระหว่าง คอมพิวเตอร์กับเทคโนโลยีโทรคมนาคม ซึ่งเทคโนโลยีทั้งสองมีการ ทำางานที่สัมพันธ์กัน ดังนี้ 1. เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ ใช้สำาหรับการจัดการระบบ สารสนเทศ เพื่อให้ได้สารสนเทตามที่ต้องการอย่างถูกต้อง รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ ไม่วาจะเป็นการคัดเลือก จัดหา ่ การวิเคราะห์ การสืบค้น ที่สามารถผลิตสารสนเทศให้สนอง ต่อความต้องการของผู้ใช้ได้ ซึ่งกระบวนการจัดทำาสารสนเทศ จะประกอบด้วยกรรมวิธี ٣ ประการ คือ 1.1การนำาข้อมูลเข้า (Input Data) 1.2การประมวลผลข้อมูล (Process) 1.3การแสดงผลข้อมูล (Output Information) Input Process Informa Data tion 2. เทคโนโลยีโทรคมนาคม จะช่วยให้การสื่อสาร หรือ การเผยแพร่สารสนเทศไปยังผูใช้ในแหล่งต่างๆ เป็นไป ้ อย่างรวดเร็ว ถูกต้อง ครบถ้วน ทันต่อเหตุการณ์ ในลักษณะรูป แบบต่างๆ เช่น ข้อมูล ซึ่งอาจเป็นตัวเลข ตัวอักษร ภาพ เสียง ซึ่งเทคโนโลยีที่ใช้ในระบบคมนาคม เช่น ระบบโทรศัพท์ โทรเลข วิทยุกระจายเสียง โทรทัศน์ และรวมถึงระบบเครือข่าย คอมพิวเตอร์ด้วย ผู้ส่ง ผู้รับ สารสนเท สารสนเท 1.2ความสำาคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ ปั จ จุ บั น ด้ า นเทคโนโลยี ส ารสนเทศได้ มี ก ารพั ฒ นาการได้ อ ย่ า ง รวดเร็ว มี การปรับ ปรุ ง เครื่ อ งมื อที่ เ ป็ น ประโยชน์ กับ งานอยู่ ตลอดเวลา ทำาให้ทุกวงการวิชาชีพ ต้องหันมาปรับปรุงกลไกลในวิชาชีพของตนให้ ทัน ต่ อสั ง คมสารสนเทศเพื่ อ ให้ ทั น ต่ อ กระแสโลก เช่ น การใช้ ร ะบบ สารสนเทศทางภูมิศาสตร์ การถอนเงินอัตโนมัติ การเคลื่อนย้ายเงิน อิเล็กทรอนิก การศึกษาทางไกล การแพทย์ทางไกลหรือโทรเวช การประชุมทางไกล และระบบห้องสมุดอัตโนมัติ เป็นต้น
  • 3. part1-110215073327-phpapp01.doc 3 อง ค์ ก รทั้ ง ภา ครั ฐ และ เอกชน ปั จ จุ บั น ต่ า ง ก็ หั น ม า สน ใ จ กั บ เทคโนโลยี สารสนเทศมากขึ้ น โดยใช้เ ป็น เครื่อ งมื อช่ วยในการสร้า ง ระบบสารสนเทศในสำา นักงาน จึงได้มีการจัดตั้งองค์การต่างๆขึ้น เช่น หน่วยงานสำาหรับรวบรวม วิเคราะห์และจัดทำางานสารสนเทศ หน่วยงาน บริ ก ารด้ า นการสื่ อ สารสนเทศสำา หรั บ ผุ้ ใ ช้ ค ณะกรรมการนโยบาย สารสนเทศแห่งชาติเป็นต้น สำา หรั บ วงการธุ ร กิ จ ไม่ ว่ า จะเป็ น ธุ ร กิ จ ขาดใหญ่ หรื อ ขนาดเล็ ก สารสนเทศเป็นสิ่งสำาคัญ โดยเฉพาะ ด้านการแข่งขันเจ้าของธุรกิจจำา เป็น ต้ อ ง รู้ ข้ อ มู ล ภ า ว ะ ข อ ง ต ล า ด แ ล ะ สินค้าเพื่ออยู่รอดในการดำา เนินธุรกิจ ดั ง นั้ น เพื่ อ เป็ น เครื่ อ งมื อ ช่ ว ยการ ปฏิบัติงานให้เกิดความถูกต้อง และมี ประสิ ท ธิ ภ าพยิ่ ง ขึ้ น สามารถใช้ เ ป็ น กลยุ ท ธ์ เ พื่ อ ความได้ เ ปรี ย บในการ แข่ ง ขั น ช่ ว ยเพิ่ ม ผลผลิ ต ช่ ว ยสร้ า ง ภาพลักษณ์ให้เกิดความประทับใจแก่ ลูกค้าและอื่นๆ 1.3วิวัฒนาการของเทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยีที่ใช้ในการจัดการสารสนเทศมากที่สุด คือ เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์การใช้ระบบคอมพิวเตอร์ในยุคแรก เรียกว่ายุค ประมวลผลข้อมูล(Data processing era) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อการ คำานวณและการประมวลผลข้อมูลของงานประจำา เพื่อลดค่าใช้จ่ายด้าน บุคลากร ต่อมา ในยุคที่ 2 มีการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการตัดสินใจ ดำาเนินการ ควบคุม ติดตามผล และวิเคราะห์ผลงานของผู้บริหารระดับต่างๆที่เรียก ว่า ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (Management Information System :MIS) ในยุคที3 การใช้คอมพิวเตอร์ส่วนใหญ่จะเน้นถึงการจัดการ ่ ทรัพยากรสารสนเทศ(Infromation Resource Management) เพื่อ เรียกใช้สารสนเทศที่จะช่วยในการตัดสินใจนำาหน่วยงานไปสู่ความ สำาเร็จและในยุคปัจจุบันนี้ ความเจริญของเทคโนโลยีสูงมาก มีการ
  • 4. วิชา เทคโนโลยีเพื่อชีวิต 4 ขยายขอบเขตการประมวลผลข้อมูล ไปสู่การสร้างและการผลิต สารสนเทศ ทำาให้สามารถสร้างทางเลือกและรูปแบบใหม่ใหม่ของ สินค้าและบริการ ซึ่งเรียกว่า ยุคเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology : IT) หรือ ยุคไอที โดยการใช้ระบบ คอมพิวเตอร์และระบบการสื่อสารโทรคมนาคม เป็นเครื่องมือช่วยใน การจัดทำาระบบสารสนเทศ และเน้นความคิดของการให้บริการ สารสนเทศแก่ผู้ใช้อย่างมีประสิทธิภาพ เป็นวัตถุประสงค์สำาคัญ การนำาเทคโนโลยีสารสนเทศใช้ในการจัดการกับระบบสารสนเทศ นี้จะเห็นว่ามีการเปลี่ยนขั้นตอนของการทำางานในระบบสารสนเทศ นับ ตั้งแต่การผลิต การรวบรวม การบันทึก การจัดเก็บ การวิเคราะห์ การ ค้ น คื น และการเผยแพร่ ส ารสนเทศ โดยที่ พั ฒ นาการทางเทคโลยี คอมพิวเตอร์ ไม่ว่าจะเป็นด้านฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ก้าวหน้าไปมาก จึ ง ช่ ว ยให้ ก ารจั ด การกั บ กระแสสารสนเทศที่ มี อ ยู่ อ ย่ า งท่ ว มท้ น มี ประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ความสามารถและสมรรถนะของสื่อที่ใช้ในการจัด เก็บสารสนเทศ เช่น สื่อแม่เหล็ก สื่อแสง สื่ออิเล็กทรอนิกส์ต่าง ๆ สามารถบันทึกและเก็บสารสนเทศได้เป็นจำานวนมหาศาลการเข้าถึงเข้า มูลในสื่อทำา ได้เร็วขึ้น ไมโครโพรเซสเซอร์ หรือแผงวงจรรวมมีความ สามารถในการทำางานและยืดหยุ่นได้มากขึ้น จึงได้มีการนำาไปประกอบ กั บ เครื่ อ งมื อ เครื่ อ งใช้ ไ ด้ ห ลายประเภท เช่ น ใช้ ใ นเครื่ อ งคิ ด เลข นาฬิ ก า ตู้ เ ย็ น เครื่ อ งซั ก ผ้ า อั ต โนมั ติ วิ ท ยุ ก ระจายเสี ย ง วิ ท ยุ โทรทั ศ น์ ฯลฯ และเนื่ อ งจากซอฟต์ แ วร์ คำา สั่ ง งานของคอมพิ ว เตอร์ ทำา งานได้ ป ระสิ ท ธิ ภาพมากขึ้ น วิ ท ยาการเทคโนโลยี ปั ญ ญาประดิ ษ ฐ์ (artificial intelligence) ช่ ว ยให้ ร ะบบการทำา งานของคอมพิ ว เตอร์ มี ความ “ฉลาด” และความรู้ สึ ก เป็ น “มนุ ษ ย์ ” มากจึ ง มี ก ารนำา ไปใช้ สร้ า งระบบผู้ เ ชี่ ย วชาญ (expert systems) เพื่ อ การทำา งานเฉพาะ อย่างกันอย่างกว้างขวาง การประมวลผลข้อมูลมีการขยายให้เป็นระบบ ใหญ่ขึ้น โดยรวมระบบเล็ กเข้า ด้ว ยกั น เพื่อ ให้ สามารถใช้ข้ อมู ลและ วั ส ดุ อุ ป กรณ์ ร่ ว มกั น รวมทั้ ง สามารถใช้ เ ทคโนโลยี ใ ห้ ไ ด้ คุ ณ ประโยชน์อย่างเต็มที่ แทนที่จะทำาในลักษณะงานย่อย ดังนั้น จะเห็น ได้ ว่ า เทคโนโลยี ค อมพิ ว เตอร์ มี บ ทบาทสำา คั ญ ในการจั ด การระบบ สารสนเทศ ไม่ว่าจะเป็นด้านการนำา ข้อมูลเข้า การประมวลผลข้อมูล หรือการแสดงผลข้อมูล เทคโนโลยีโทรคมนาคม คือ เทคโนโลยีที่ใช้ในการสื่อสารทาง ไกล หรือโทรคมนาคม เช่น โทรศัพท์ โทรเลข โทรสาร เทเล็กซ์ วิทยุโทรทัศน์ วิทยุกระจากเสียง การสื่อสารดาวเทียม เทคโนโลยีใย แสง และระบบเครื อข่ า ยคอมพิ ว เตอร์ ทั้ ง ระยะใกล้ แ ละระยะไกล จะ ช่วยในการถ่ายทอดและการสื่อสารข้อมูลหรือสารสนเทศไปยังผูใช้ในที่ ้
  • 5. part1-110215073327-phpapp01.doc 5 ต่าง ๆ โดยที่ผู้รับสารสนเทศ หรือผู้ใช้ไม่จำาเป็นต้องเสียเวลาและค่า ใช้จ่ายในการเดินทางด้วยตนเอง เช่น ระบบโทรสาร กรประชุมทาง ไกล ฯลฯ ทั้ ง นี้ เทคโนโลยี เ หล่ า นี้ จะช่ ว ยย่ อ มิ ติใ นด้ า นระยะทาง และเวลาในการจัดส่ง เข้าถึง และเปลี่ยนสารสนเทศซึ่งกัน และกันได้ ระหว่างเครือข่ายในรูปแบบต่าง ๆ ไม่ว่าเป็นข้อความ ภาพหรือเสียง ซึ่งเทคโนโลยีที่กล่าวมาทั้งหมดนี้ มีการพัฒนาและปรับปรุงให้ดีขึ้นอยู่ ตลอดเวลา 1.4 การประยุกต์ใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศ ในสภาพสังคมปัจจุบัน มนุษย์สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ช่ ว ยปฏิ บั ติ ง านในด้ า นต่ า ง ๆ ได้ อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ผ ล ตั ว อย่ า งการ ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ได้แก่ 1. การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในงานสำา นักงาน ปั จ จุ บั น สำา นั ก งานจำา นวนมากได้ นำา เทคโนโลยี ส ารสนเทศเข้ า มา ประยุ ก ต์ ใ ช้ อ ย่ า งแพร่ ห ลายทั้ ง นี้ เพื่ อ ให้ ง านบั ง เกิ ด ผลในด้ า นบวก อาทิ ความสะดวกรวดเร็ว ความถูกต้องและสามารถทำาฉบับซำ้าได้เป็น จำา นวนมาก เป็ น ต้ น ผลิ ต ภั ณ ฑ์ เ ทคโนโลยี ส ารสนเทศที่ นำา มาใช้ ได้แก่ เครื่องพิมพ์ดีดอิเล็กทรอนิกส์ โทรศัพท์ เทเล็กซ์ เครื่องเขียน ตามคำา บอกอั ตโนมั ติ (Dictating Machines) เครื่องอ่านและบันทึ ก วั ส ดุ ย่ อ ส่ ว น เครื่ อ งถ่ า ยเอกสารแบบหน่ ว ยความจำา เครื่ อ งโทรสาร เป็ น ต้ น ผลิ ต ภั ณ ฑ์ เ หล่ า นี้ นำา ไปประยุ ก ต์ ใ ช้ กับ งานสำา นั ก งานได้ ใ น หลายลักษณะ เช่น 1.1 งานจัดเตรียมเอกสาร ได้แก่ การใช้เครื่องประมวลผล คำา หรือเครื่องประมวลผลเนื้อ หา เป็ นเครื่ องมือ ในการจัดเตรีย ม อุปกรณ์ ประกอบการใช้เทคโนโลยี ได้แก่ เครื่องคอมพิวเตอร์ โมเด็ม และช่องทาง การสื่อสาร ทั้งนี้เพื่อให้สามารถเชื่อมโยง สารสนเทศ ระหว่ า งแผนก หรื อ ระหว่ า งแผนก หรื อ ระหว่ า ง หน่ว ยงานทั้ ง หน่ว ยงานภายในและหน่ ว ยงานภายนอกที่ อ ยู่ ห่ า ง ไกล ระบบประมวลผลคำานี้ จำาแนกได้ 2 ระบบคือ 1.1.1 ร ะ บ บ Stand-alone เ ป็ น ร ะ บ บ ที ส า ม า ร ถ ประมวลผลได้ ภายใน คอมพิ ว เตอร์ ชุด เดี ย ว (Set) หรื อ อาจเชื่อมโยงไปยังคอมพิวเตอร์อื่น ๆ ได้ โดยไม่ผ่านช่อง ทางสื่อสาร ระบบนี้ประกอบด้วยเทอร์มินัล 1 ชุด (หน่วน ประมวลผลหรือ โปรเซสเซอร์ แป้ น พิ ม พ์ หน่ ว ยแสดงผล ทางหน้ า จอหรื อ มอนิ เ ตอร์ ) ซึ่ ง ต่ อ เชื่ อ มกั บ หน่ ว ยจั ด เก็ บ ข้อมูลและเครื่องพิมพ์
  • 6. วิชา เทคโนโลยีเพื่อชีวิต 6 1.1.2 ระบบเชื่อมโยงกับข่ายการสื่อสาร เป็นระบบที่ มี ก ารเชื่ อ มโยงสารสนเทศ ซึ่ ง กั น และกั น ผ่ า นเครื อ ข่ า ย โ ท ร ค ม น า ค ม เ ช่ น เ ค รื อ ข่ า ย โ ท ร ศั พ ท์ เ ค รื อ ข่ า ย คอมพิ ว เตอร์ หรื อ เครื อ ข่ า ยสารสนเทศ (Information Networks) เป็ นต้ น ระบบนี้ ประกอบด้ ว ยเทอร์ มิ นั ล หลาย ชุด มีสมรรถนะในการเข้าถึงสารสนเทศซึ่งกันและกัน โดย ผ่านหน่ วย Switching ซึ่งทำา หน้าที่เ ป็นทางผ่า นและเป็น ตัวกลางในการเชื่ อมโยงแต่ล ะเทอร์ มินัล เข้า ด้ว ยกั น ผ่า น ข่ายงานการสื่อสาร โปรแกรม MS-Word ทีใช้ในการจัด ่ 1.2 งานกระจายเอกสาร เป็นการกระจายสารสนเทศไปยัง ผู้ใช้ ณ จุดต่าง ๆ อาจกระทำาได้โดยการเชื่อมโยงผ่านเครือข่าย โทรคมนาคมผลิตภัณฑ์เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่สามารถปฏิบัติ งาน ณ จุดนี้ได้โดยอัตโนมัติได้แก่ ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เทเลเท็ ก ซ์ เทเล็ ก ซ์ โทรสาร ระบบการประชุ ม ทางไกล เป็นต้น 1.3 งานจัดเก็บและค้นคืนเอกสาร สามารถปฏิบัติได้ทั้ง ระบบออนไลน์และระบบออฟไลน์ ผ่านระบบเครือข่าย คอมพิวเตอร์ หรือผ่านเครือข่ายโทรคมนาคมรูปแบบอื่น เช่น ระบบงานฐานข้อมูล เป็นต้น 1.4 งานจัดเตรียมสารสนเทศในลักษณะภาพ เทคโนโลยี สารสนเทศที่สามารถดำาเนินงานดังกล่าวนี้ได้ ได้แก่ เครื่อง คอมพิวเตอร์ สร้างภาพ เครื่อง Scanner โทรทัศน์และวีดิทัศน์ เป็นต้น 1.5 งานสื่อสารสนเทศด้วยเสียง เช่น การใช้โทรศัพท์ การประชุมทางโทรศัพท์ การบันทึกข้อมูลเสียงโดยใช้ Sound Blaster เป็นต้น
  • 7. part1-110215073327-phpapp01.doc 7 1.6 งานสื่อสารสนเทศด้วยภาพและเสียง เช่น ระบบ มัลติมีเดีย ระบบการประชุมทางไกลด้วยภาพและเสียง เป็นต้น กล่าวโดยสรุป งานสำานักงานในอนาคต จะต้องบูรณาการ เทคโนโลยีสารสนเทศชนิดต่าง ๆ เข้าด้วยกัน อาทิ เทคโนโลยีการ ประชุมทางไกลด้วยภาพและเสียง การประมวลผลคำา การประมวล ผลข้อมูล ฯลฯ เพื่อสนับสนุนงานด้านการบริหาร อีกทังมีการ ้ ประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์อย่างแพร่หลายในองค์กรธุรกิจ ทังขนาด ้ ใหญ่และเล็ก บุคลากรทุกระดับในองค์กรจะสามารใช้คอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศอื่น ๆ ได้ทุกคน 2. ก า ร ป ร ะ ยุ ก ต์ ใ ช้ เ ท ค โ น โ ล ยี ส า ร ส น เ ท ศ ใ น ง า น อุตสาหกรรม โรงงานอุตสาหกรรมหลาย แห่งนำาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ เข้ามาช่วยจัดการงานด้าน การผลิต การสั่งซื้อ การพัสดุ การเงิน บุคลากร และงานด้านอื่น ๆ ในโรงงาน MIS จึงเป็นเครื่องมือสำาคัญสในการวางแผน การ ออกแบบผลิตภัณฑ์ และการวิจยเพื่อพัฒนาและมีบทบาทสำาคัญใน ั การควบคุมการปฏิบัติการของเครื่องจักรในโรงงาน ดังนั้น ผลิตภัณฑ์เทคโนโลยีสารสนเทศ อันเป็นส่วนประกอบสำาคัญ ของ ระบบ MIS จึงนำามาประยุกต์ใช้กับงานอุตสาหกรรมได้ทุกประเภท ทั้งที่เป็นอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ ขนาดย่อม หรืออุตสาหกรรในครัว เรือน ตัวอย่างการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในโรงงานอุตสาหกรรม ได้แก่ 2.1อุตสาหกรรมการผลิตรถยนต์ ได้ใช้คอมพิวเตอร์ออกแบบ รถยนต์ ปฏิบัติการผลิต (เช่นการพ่นสี การเชื่อมอุปกรณ์ต่างๆ เข้าด้วยกัน ฯลฯ) การขับ เคลื่อน การบริการ และการขาย รวมทั้งออกแบบระบบคอมพิวเตอร์ ให้สามารถปฏิบัติงานในโรงงานได้ ในรูปแบบหุ่นยนต์ ทังนี้เพื่อ ้ เป็นการเพิ่มสมรรถนะในการผลิต และลดค่าจ่ายด้านแรงงานเพราะ ฉะนั้น ระบบสารสนเทศของผู้ประกอบการอุตสาหกรรมรถยนต์จัก ต้องเป็นระบบที่มีขีดความสามารถในการส่งทอดสารสนเทศไปยัง ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศได้ในระดับสูง 2.2 อุตสาหกรรมการพิมพ์ อุตสาหกรรมประเภทนี้ ใช้ระบบ การพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Publishing) ในการจัดเตรียม ต้นฉบับบรรณาธิกรณ์ ตีพิมพ์ จัดเก็บ และจัดจำาหน่าย และสามารถ พิมพ์ข้อมูลจากระบบ
  • 8. วิชา เทคโนโลยีเพื่อชีวิต 8 การใช้โปรแกรม Auto Cad ในการ 3. การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในงานการเงิน และการพาณิชย์ สถาบันการเงิน เช่น ธนาคาร ได้ใช้เทคโนโลยี สารสนเทศในรูปแบบของ ATM เพื่ออำานวยความสะดวกในการฝาก ถอน โอนเงิน ในส่วนของงานประจำาของธนาคารต่างนำาคอมพิวเตอร์ ระบบออนไลน์และออฟไลน์เข้ามาช่วยปฏิบัติงาน ทำาให้การเชื่อมโยง ข้อมูลธนาคารเป็นไปอย่างสะดวก รวดเร็ว ทุกสาขาสามารถเชื่อมโยง กับสาขาอื่นหรือสำานักงานใหญ่ และสามารถเชื่อมโยงกับธนาคารอื่น ได้ ในส่วนการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศกับงานพาณิชย์ นั้นเป็นที่ประจักษ์กันแพร่หลายว่า ได้นำาระบบรหัสแห่ง (Bar-codes) มาใช้ในการคำานวณราคาสินค้า รวมทั้งใช้ระบบมัลติมีเดียในการนำา เสนอสินค้าหรือนิทรรศการสินค้าสู่สาธารณชน 4. การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในงานการ บริการการสื่อสาร ได้แก่ การบริการโทรศัพท์ โทรศัทพ์เคลื่อนที่ วิทยุ โทรทัศน์ เคเบิลทีวีการค้นคืนสารสนเทศระบบออนไลน์ ดาวเทียม และโครงข่ายบริการสื่อสารร่วมระบบดิจิตอล (ISDN) เป็นต้น
  • 9. part1-110215073327-phpapp01.doc 9 อุปกรณ์ทใช้ในงานบริการการ ี่ 5. การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีในงานด้านการสาธารณสุข สามารถนำามาประยุกต์ได้หลายด้าน ดังนี้ (สมเด็จพระเทพรัตนราช สุดาสยามบรม ราชกุมารี.3 2538 : 22-23) 5.1ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล เป็ น ระบบที่ ช่ ว ยด้ า น Patient record หรือเวช ระเบียนระบบข้อมูลยา การรักษาพยาบาล การคิดเงิน มีลักษณะ แบบจุลภาค แต่สามารถขยายเป็นระดับมหภาคได้ เมื่อโรงพยาบาล ทัวประเทศแลกเปลียน และส่งเวชระเบียนผ่านระบบโทรคมนาคมเป็น ่ ่ โทรเวชกลาย ๆ ได้ 5.2ระบบสาธารณสุข ใช้ในการดูแลป้องกันโรคระบาดในท้อง ถิน เช่น เมื่อมีผู้ปวย ่ ่ อหิวาตกโรคในหมู่บาน แพทย์และสาธารณสุขอำาเภออาจตรวจค้น ้ ได้ว่าผู้ปวยมาจากตำาบลอะไร มีประชากี่คน เป็นชาย หญิงเด็ก ่ เท่าไรเพื่อจะได้จัดหาวัคซีนไปฉีดป้องกันได้ทันที ระบบทำานองนี้ อาจขยายไปสู่ระดับอำาเภอและจังหวัด 5.3 ระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert System) เป็นระบบที่ใช้ คอมพิวเตอร์วินิจฉัยโรค ระบบที่มีชื่อเสียงเมื่อสิบปีเศษมานี้คือระบบ Mycin ของมหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด และเริ่มมีผนำามาประยุกต์ใช้ ู้ ในด้านอื่น ๆ มากขึ้น เลยไปถึงเรื่องโรคพืชและสัตว์ หลักการที่ใช้ คือ เก็บข้อมูลต่าง ๆ ไว้ให้ละเอียด แล้วใช้หลักปัญญาประดิษฐ์ หรือ Artificial Intelligence Al มาช่วยวิเคราะห์ เป็นแนวคิดใน การทำาให้คอมพิวเตอร์ทำางานได้เหมือนคน ระบบนี้นาจะช่วยอนามัย ่ ตำาบลในการวินิจฉัยโรคยาก ๆ ได้ ให้คนที่มีความรู้ปานกลางพอ สมควรสามารถที่จะวินิจฉัยโรคได้ เป็นอีกหนทางหนึงที่เพิ่มจาก ่ Tele-medicine ทีผู้เชี่ยวชาญตัวจริง ต้องมาให้ปรึกษาแนะนำาด้าน ่ การตรวจอวัยวะภายในของมนุษย์ ได้ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่ เรียกว่า Computer Tomography เป็นเครื่องมือสำาคัญ ในการ ตรวจและอ่านผลการตรวจ นอกจากนี้ ระบบผู้เชี่ยวชาญเป็นระบบที่ ช่วยให้นักเรียนแพทย์และแพทย์ได้ใช้สารสนเทศทีทันสมัย ตรงตาม ่ ความต้องการซึงเป็นประโยชน์อย่งมากต่อการเรียนและการวินิจฉัย ่ โรค
  • 10. วิชา เทคโนโลยีเพื่อชีวิต 10 6. การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศกับงานด้านการ ฝึกอบรมและการศึกษา การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศใน การศึกษานั้น มีแนวทางในการใช้มากแต่ที่ใช้กัน โดยทัวไปมีอยู่ 6 ่ ประเภท ดังนี้ 6.1 การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (Computer Assisted Instruction : CAI) เป็นการนำาเอาคำาอธิบายบทเรียนมาบรรจุไว้ใน คอมพิวเตอร์ แล้วนำาบทเรียนนั้นมาแสดงแก่ผู้เรียน เมื่อผู้เรียนอ่าน คำาอธิบายนั้นแล้ว คอมพิวเตอร์ก็จะทดสอบความเข้าใจว่าถูกต้อง หรือไม่ แล้วถามซำ้าอีก ซึ่งปัจจุบันมีพัฒนาการถึงระดับใช้สื่อประสม และใช้เทคนิคต่าง ๆ เพื่อให้การเรียนการสอนบรรลุผลสัมฤทธิ์มาก ขึ้น 6.2 การศึกษาทางไกล เทคโนโลยีที่ใช้ในการจัดการศึกษา ทางไกลมีหลายแบบ ตั้งแต่แบบง่าย ๆ เช่น การใช้วทยุ โทรทัศน์ ิ ออกอากาศให้ผู้เรียนศึกษาเอง ตามเวลาที่ออกอากาศ ไปจนถึงการ ใช้ระบบแพร่ภาพผ่านดาวเทียม (Direct To Home : DTH) หรือ การประยุกต์ใช้ระบบประชุมทางไกล (Video Telecoference) โดย ให้ผู้สอน และผู้เรียนสามารถสื่อสารถึงกันได้ทันที่เพื่อสอบถามข้อ สงสัยหรืออธิบายคำาสอนเพิ่มเติม 6.3เครือข่ายการศึกษา เป็นการจัดทำาเครือข่ายการศึกษา เพื่อให้ครู อาจารย์ และนักเรียนนักศึกษามีโอกาสใช้เครือข่ายเพื่อเสาะแสวงหาความรูที่ ้ มีอยู่อย่างมากมายใน โลก และใช้บริการต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์ทางการศึกษา เช่น บริการส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (Electronics Mail : E-mail) การเผยแพร่ และค้นหาข้อมูลในระบบเวิลด์ไวด์เว็บ (World Wide Web) ซึ่งปัจจุบันมีเครือข่ายสคูลเน็ต ที่เนคเทคได้ส่งเสริมให้เกิด ขึ้นและมีโรงเรียนเข้าร่วมโครงการนีประมาณ 60 โรงเรียน (พ.ศ. ้ 2540) และยังมีเครือข่ายกาญจนภิเษกที่จัดทำาขึ้น เพื่อเป็นการ กระจายความรู้ทให้กับประชาชนโดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการเข้า ี่ ใช้สารสนเทศแต่อย่างใด 6.4 การใช้งานในห้องสมุด ในปัจจุบันห้องสมุดมหาวิทยาลัย ของรัฐ และเอกชนเกือบทุกแห่ง ได้นำาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ ในการดำาเนินงานนอกจากนี้ ยังส่งเสริมให้มีความร่วมมือในการให้ บริการในลักษณะเครือข่าย เช่นโครงการ PULINET (Provincial University Library Network)
  • 11. part1-110215073327-phpapp01.doc 11 โครงการ THAILNET ( Thai Library Network) การนำาเอา เทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในห้องสมุด ทำาให้ผู้ใช้ได้รับความ สะดวกมากขึ้น เช่น บริการยืมคืน การค้นหาหนังสือ วารสาร สิ่ง พิมพ์ต่าง ๆ ที่ต้องการได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว 6.5 การใช้งานในห้องปฏิบัติการ มีการนำาเทคโนโลยี สารสนเทศมาใช้ในการทำางานในห้องปฏิบัติการร่วมกับอุปกรณ์อื่น ๆ เช่น การจำาลองแบบ การออกแบบวงจรไฟฟ้าการควบคุมการ ทดลอง ซึ่งอุปกรณ์ททันสมัยในปัจจุบัน ต่างผนวกความสามารถ ี่ ของเทคโนโลยีสารสนเทศเข้าไปด้วยแทบทั้งสิน 6.6 การใช้ในงานประจำาและงานบริหาร เช่น การจัดทำา ทะเบียนประวัติของนักเรียนนักศึกษา การเลือกเรียน การลง ทะเบียนเรียน การแสดงผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน การแนะแนวอาชีพ และศึกษาต่อ ข้อมูลผู้ปกครอง หรือข้อมูลครู ซึ่งการมีข้อมูลดัง กล่าว ทำาให้ครูอาจารย์สามารถติดตาม และดูแลนักเรียนได้อย่างดี รวมทั้ง ครูอาจารย์สามารถพัฒนาตนเองได้สูงขึ้น
  • 12. วิชา เทคโนโลยีเพื่อชีวิต 12 1.4ผลกระทบของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ผลกระทบของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศทางบวก 1. ช่วยส่งเสริมความสะดวกสบายของมนุษย์ เทคโนโลยีสารสนเทศช่วยให้ความเป็นอยู่ของมนุษย์ดีขึ้น ช่วยส่งเสริมให้มีประสิทธิภาพในการทำางานทำาให้มนุษย์มีเวลา ว่างเพื่อใช้ในทางที่เกิดประโยชน์มากขึ้นมีเครื่องมือสื่อสาร โทรคมนาคมสมัยใหม่ให้ติดต่อกันได้สะดวก มีระบบคมนาคม ขนส่งที่ รวดเร็วสามารถใช้โทรศัพท์ในขณะเดินทางไปมายังที่ ต่าง ๆ มีอุปกรณ์ช่วยอำานวยความ สะดวกที่ควบคุมด้วย คอมพิวเตอร์ เช่น ลิฟต์ เครื่องซักผ้า เครื่องปรับอากาศ เครื่อง ช่วย ให้เกิดการพักผ่อนหย่อนใจ เช่นวิทยุ โทรทัศน์มรายการให้ ี เลือกชมได้มากมาย มีการ แพร่กระจายสัญญาณโทรทัศน์ผ่าน ดาวเทียม ทำาให้ผู้ชมสามารถรับรู้ข่าวสารต่าง ๆ จากทั่วทุกมุม โลกได้อย่างรวดเร็วเหมือนอยู่ในเหตุการณ์ 2. ช่วยทำาให้การผลิตในอุตสาหกรรมดีขึ้น การผลิตสินค้าในปัจจุบันต้องการผลิตสินค้าจำานวนมาก มี คุณภาพมีมาตรฐานซึ่ง ในปัจจุบันใช้เครื่องจักรทำางานอย่าง อัตโนมัติ สามารถทำางานได้ตลอด 24 ชั่วโมง สินค้าที่ได้มี คุณภาพและปริมาณพอเพียงกับความต้องการของผู้บริโภค ปัจจุบันมีความพยายามที่จะสร้างหุ่นยนต์ให้เข้ามาช่วยใน อุตสาหกรรมการผลิต เช่น การผลิตรถยนต์ 3. ทำาให้เกิดการค้นคว้าวิจัยสิ่งใหม่ เทคโนโลยี ค อมพิ ว เตอร์ แ ละระบบสื่ อ สาร เช่ น เครื อ ข่ า ย คอมพิ วเตอร์ช่ ว ยให้ ง านค้ น คว้ าวิ จั ย ในห้ อ งปวิ จั ยในห้ อ งปฏิ บั ติ การวิ จั ย ต่ า งๆ มี ค วามก้ า วหน้ า ยิ่ ง ขึ้ น คอมพิ ว เตอร์ ช่ ว ยงาน คำานวณ ทีซับซ้อน ซึ่งแต่ก่อนยากที่จะทำาได้ ่ งานสำารวจทางด้านอวกาศงานพัฒนาคิดค้น ผลิตภัณฑ์และ สารเคมี ต่ า งๆ ทำา ให้ ไ ด้ สู ต รยา รั ก ษาโรคใหม่ ๆ เกิ ด ขึ้ น มากมายปั จ จุ บั น งานค้ น คว้ าวิ จั ย ทุ ก แขนงจำา เป็ น ต้ อง ใช้ คอมพิวเตอร์ ช่วยในการคำานวณต่างๆ 4. ช่วยส่งเสริมสุขภาพและความเป็นอยูให้ดีขึ้น ่ คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ ทำาให้กิจการด้านการ แพทย์เจริญก้าวหน้าขึ้นมาก เครื่องมือ ทางการแพทย์ล้วนแล้ว แต่ใช้คอมพิวเตอร์ ช่วยในการดำาเนินการ ช่วยในการแปลผล มีเครื่อง ตรวจหัวใจที่ทันสมัย เครื่อง เอกซเรย์สามารถตรวจดูอวัยวะต่าง ๆ มีเครื่องมือตรวจค้นหาโรค
  • 13. part1-110215073327-phpapp01.doc 13 ทีทันสมัย ่ หรือแม้แต่การผ่าตัดก็มีเครื่องมือช่วย ในการผ่าตัด ทีทำาให้คนไข้ปลอดภัยยิ่งขึ้น ่ มีเครื่องคอยวัดและตรวจสอบ สภาพการเปลียน แปลงของร่างกายอย่างละเอียด ่ ระบบการ รักษาพยาบาลจากที่หางไกล และมีเครื่องมือช่วยคนพิการต่าง ๆ ่ เช่น การสร้างแขนเทียม ขาเทียม การสร้างเครื่องกระตุ้น หัวใจ สร้างเครื่องช่วยฟังเสียง หรือมีการพัฒนาเทคโนโลยีการ ปลูกถ่ายอวัยวะสำาคัญต่าง ๆ รวมทั้งการผลิตยา และวัคซีน สมัยใหม่ด้วย 5. ช่วยส่งเสริมสติปัญญาของมนุษย์ คอมพิ ว เตอร์ มี จุ ด เด่ น ที่ ส ามารถทำา งานได้ ร วดเร็ ว มี ค วาม แม่นยำา สามารถเก็บข้อมูล ต่าง ๆ ได้มาก และรวดเร็ว ดังนั้น จึงมีการนำา คอมพิวเตอร์มาจำาลองเหตุการณ์ต่าง ๆ เพื่อให้มนุษย์ หาทางศึกษาหรือแก้ไขปัญหาเช่น การจำา ลอง สภาวะของสิ่ง แวดล้อม การจำาลองระบบมลภาวะ จำาลองการไหลของของเหลว การควบ คุมระบบการจราจร หรือแม้แต่การนำาเอาคอมพิวเตอร์ มาจำาลองในสภาพที่เหมือนจริงเช่นจำาลองการเดินเรือ จำาลองการ ขับเครื่องบิน การขับรถยนต์ สิ่งต่าง ๆ เหล่านี้ทำาให้ เหมือนจริง ได้ หากมีการผิดพลาดก็ไม่ทำาให้เกิดอันตราย ปัจจุบันมีการนำา บทเรี ย นมาไว้ ใ นคอมพิ ว เตอร์ เ รี ย กว่ า คอมพิ ว เตอร์ ช่ ว ยสอน (Computer Assisted Instruction : CAI) และคอมพิ ว เตอร์ ยั ง เป็ น เครื่ อ งมื อให้ นั ก เรี ย น นิ สิ ต นั ก ศึ ก ษา สมั ย ใหม่ เ ชื่ อ มโยง ติ ดต่ อทางอิ น เทอร์ เ น็ ต สามารถเรี ย ก ค้ น ข้ อ มู ล ข่ า วสารผ่ า น ทางเครือข่าย สามารถเรียนรู้การใช้ คอมพิวเตอร์หรือเรียนจากที่ ห่างไกลได้ ถือเป็นหนทางที่ทำาให้เกิดสติปัญญาอย่างแท้จริง 6. เทคโนโลยีสารสนเทศช่วยให้เศรษฐกิจเจริญรุ่งเรือง เทคโนโลยีจำาเป็นต่ออุตสาหกรรม กิจการค้า ธุรกิจต่าง ๆ กิจการทางด้าน ธนาคาร ช่วยส่งเสริมงานทางด้านเศรษฐกิจ ทำาให้กระแส เงินหมุนเวียนได้อย่างกว้างขวาง ผู้ผลิตในสาย อุตสาหกรรม จะผลิตสินค้าได้มาก ลดต้นทุน ผูบริโภคก็มีกำาลังใน ้ การจับ จ่ายใช้สอยมาก ธุรกิจโดยรวมจำาเป็นต้องอาศัยการแลก เปลี่ยนข้อมูลระหว่างกัน มีการสื่อสารเกี่ยวข้องกัน เกิด ระบบการ แลกเปลียนข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ ่ 7. ช่วยให้เกิดความเข้าใจอันดีระหว่างกัน การสื่อสารโทรคมนาคมสมัยใหม่ช่วยย่อโลกให้เล็กลง โลก มีสภาพไร้ พรมแดน มีการเรียนรูวัฒนธรรมซึ่งกันและกันมากขึ้น ้
  • 14. วิชา เทคโนโลยีเพื่อชีวิต 14 เกิดความเข้าใจอันดีระหว่างกัน ทำาให้ลดปัญหาใน เรื่องความขัด แย้ง สังคมไร้พรมแดนทำาให้มี ความเป็นอยู่แบบรวมกลุ่มประเทศ มากขึ้น 8. ช่วยส่งเสริมประชาธิปไตย ในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร มีการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อกระจาย ข่าวสาร เพื่อให้ประชาชนได้ เห็นความสำาคัญของกระจายระบบ ประชาธิปไตย แม้แต่การเลือก ตั้งก็มีการใช้คอมพิวเตอร์รวมผล คะแนน ใช้สื่อโทรทัศน์วิทยุแจ้ง ผลการนับคะแนนที่ทำาให้ทราบ ผลได้รวดเร็ว
  • 15. part1-110215073327-phpapp01.doc 15 ผลกระทบของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศทางลบ 1. ทำาให้เกิดอาชญากรรม เทคโนโลยีสารสนเทศสามารถนำามาใช้ในการก่อให้เกิด อาชญากรรมได้ โจรผู้ร้ายใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการ วางแผนการปล้น วางแผนการ โจรกรรม มีการลักลอบใช้ข้อมูล ข่าวสาร มีการโจรกรรมหรือแก้ไขตัวเลข บัญชีด้วยคอมพิวเตอร์ การลอบเข้าไปแก้ไขข้อมูลอาจทำาให้เกิดปัญหาหลาย อย่าง เช่น การแก้ไขระดับคะแนนของนักเรียน การแก้ไขข้อมูลในโรง พยาบาล เพื่อให้การรักษาพยาบาลคนไข้ผิด 2. ทำาให้ความสัมพันธ์ของมนุษย์เสื่อมถอย การใช้คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์สื่อสารทำาให้สามารถติดต่อ สื่อสารกันได้ โดยไม่ต้องเห็นตัว การใช้งานคอมพิวเตอร์หรือ แม้แต่การเล่นเกมที่มี ลักษณะการใช้งานเพียงคนเดียว ทำาให้ ความสัมพันธ์กับผู้อื่นลดน้อยลง ผลกระทบนีทำาให้มีความเชื่อว่า ้ มนุษยสัมพันธ์ของบุคคลจะน้อยลง สังคมใหม่จะเป็นสังคมที่ไม่ ต้องพึ่งพาอาศัยกันมาก 3. ทำาให้เกิดความวิตกกัง เป็นผลกระทบทางด้านจิตใจของกลุ่มบุคคลบางกลุ่มที่มี ความวิตกกังวล ว่าคอมพิวเตอร์อาจทำาให้คนตกงานมากขึ้น มีการ ใช้งานหุ่นยนต์ มาใช้งานมากขึ้น ทำาให้ผู้ใช้ แรงงานอาจว่างงาน มากขึ้น ซึ่งความคิดเหล่านี้จะเกิดกับบุคคล บางกลุมเท่านั้น แต่ ่ ถ้าบุคคลเหล่านันสามารถปรับตัวเข้ากับเทคโนโลยี หรือมีการ ้ พัฒนา ให้มีความรู้ความสามารถสูงขึ้นแล้วปัญหานี้จะไม่เกิดขึ้น 4. ทำาให้เกิดความเสี่ยงภัยทางด้านธุรกิจ ธุรกิจในปัจจุบันจำาเป็นต้องพึ่งพาอาศัย เทคโนโลยี สารสนเทศมากขึ้น ข้อมูลข่าวสาร ทังหมดของธุรกิจฝากไว้ใน ้ ศูนย์ข้อมูล เช่น ข้อมูลลูกหนี้การค้า ข้อมูลสินค้า และบริการ ต่าง ๆ หากเกิดการสูญหายของข้อมูล อันเนื่อง มาจากเหตุอุบัติภัย เช่น ไฟไหม้ นำ้าท่วม 5. ทำาให้การพัฒนาอาวุธมีอำานาจทำาลายล้างสูงขึ้น ประเทศที่เป็นต้นตำารับของเทคโนโลยี สามารถนำาเอา เทคโนโลยีไปใช้ ในการสร้างอาวุธที่มีอานุภาพการทำาลายสูง ทำาให้หมิ่นเหม่ต่อสงครามที่มี การทำาลายสูงเกิดขึ้น 6. ทำาให้เกิดการแพร่วฒนธรรมและกระจายข่าวสารที่ไม่เหมาะสมอ ั ย่างรวดเร็ว
  • 16. วิชา เทคโนโลยีเพื่อชีวิต 16 คอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์ททำางานตามคำาสั่งอย่างเคร่งครัด ี่ การนำามาใช้จริยธรรมการใช้คอมพิวเตอร์ซึ่งเป็นเรื่องสำาคัญ ดัง เช่น การใช้งานอินเทอร์เน็ตมีผู้สร้างโฮมเพจหรือสร้างข้อมูลข่าว สารในเรื่องภาพที่ไม่เหมาะสม เช่น ภาพอนาจาร หรือภาพที่ ทำาให้ ผู้อื่นเสียหาย นอกจากนี้ยังมีการปลอมแปลงระบบจดหมาย เพื่อส่ง จดหมายถึงผู้อื่นโดยมีเจตนากระจายข่าวที่เป็นเท็จ
  • 17. part1-110215073327-phpapp01.doc 17 1.5แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศ ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันจะเห็นว่าเทคโนโลยีสารสนเทศ มีการ พัฒนาขีดความสามารถเพิ่มขึ้นในด้านต่าง ๆ ได้แก่ 1. คอมพิวเตอร์ พัฒนาการทางคอมพิวเตอร์ได้ก้าวหน้าไปอย่างรวดเร็วและ ต่อเนื่อง จากอดีตเป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้หลอด สุญญากาศขนาดใหญ่ ใช้พลังงานไฟฟ้ามาก และอายุการใช้งาน ตำ่า เปลี่ยนมาใช้ทรานซิสเตอร์ททำาจากชินซิลิกอนเล็ก ๆ ใช้ ี่ พลังงานไฟฟ้าตำ่า และผลิตได้จำานวนมาก ราคาถูก ต่อมาสามารถ สร้างทรานซิสเตอร์จำานวนหลายแสนตัวบรรจุบนชิ้นซิลิกอนเล็ก ๆ เป็นวงจรรวมที่เรียกว่า ไมโครชิป (microchip) และใช้ไมโครชิป เป็นชิ้นส่วนหลักที่ประกอบอยู่ในคอมพิวเตอร์ ทำาให้ขนาดของ คอมพิวเตอร์เล็กลง 2. เทคโนโลยีแบบสื่อประสม เทคโนโลยีแบบสื่อประสม (multimedia) หมายถึง การใช้ สื่อหลายแบบผสมกัน ซึ่งมีทั้งที่เป็นข้อความ ตัวหนังสือ รูปภาพ ภาพเคลื่อนไหว เสียงพูด เสียงดนตรี และ วีดิทัศน์ ซึ่งการใช้งานสื่อประสมกำาลังได้รับความนิยมและใช้งานกันอย่าง กว้างขวาง เช่น ใช้ทำาเป็นหนังสือบนแผ่นซีดี ใช้สร้างเกมที่มี ลักษณะเหมือนจริงมากขึ้น ใช้ในการสื่อสารทีนำาสื่อทุกชนิดไป ่ ด้วยกัน เกิดระบบการประชุมที่เรียกว่า การประชุมทางวีดิทัศน์ โดยได้มีการพัฒนาและประยุกต์อย่างกว้างขวางโดยเฉพาะเมื่อมี เครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมโยงกันได้ทวโลก ั่ 3. การเปลี่ยนแปลงระบบอุปกรณ์ ความก้าวหน้าทางด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์ทำาให้เกิดการ แข่งขันกันทางธุรกิจสูงมาก มีการแข่งขันกันคิดประดิษฐ์อุปกรณ์ ใหม่ ๆ อยู่ตลอดเวลา แนวทางการเปลียแปลงในเรื่องอุปกรณ์ ่ ต่าง ๆ ที่คอมพิวเตอร์เข้าไปมีบทบท
  • 18. วิชา เทคโนโลยีเพื่อชีวิต 18 3.1 ระบบควบคุมอัตโนมัติ มีการนำาไมโครโพเซสเซอร์ไป ใช้ในการควบคุมให้ทำางานอัตโนมัติ 3.2 ระบบบัตรอิเล็กทรอนิกส์ ระบบที่ใช้บัตรอิเล็คทรอ นิกส์ คือ ระบบการฝากหรือถอนเงินอัติโนมัติ อัตโนมัติที่เรียกบัตรเอทีเอ็ม นอกจากนียังมีบัตร ้ เครดิต บัตร Smart card บัตรอิเล็คทรอนิกส์แทนบัตร ประจำาตัวประชาชน และ บัตรประจำาตัวนักเรียน นักศึกษา 3.3 อุปกรณ์บอกชี้ตำาแหน่งบนพื้นโลก พัฒนาการทางด้าน อวกาศทำาให้สามารถส่งดาวเทียมขึ้นไปบนท้องฟ้า เพื่อส่งและรับสัญญาณกับดาวเทียม เพื่อบอก ตำาแหน่งพิกัดรุ้ง เส้นแวงบนพื้นโลกได้อย่างละเอียด ตามตำาแหน่งที่อยู่ 3.4 อุปกรณ์พิเศษสำาหรับรับข้อมูลและแสดงผล เพื่อ ให้การทำางานของระบบคอมพิวเตอร์ดียิ่งขึ้น จึงมีผู้ พัฒนาระบบรับข้อมูลและระบบแสดงผลข้อมูลสมัยใหม่ และใช้ประโยชน์ได้กว้างขวาง เช่น อุปกรณ์อ่าน ข้อมูลจากรหัสแท่ง อุปกรณ์อ่านข้อมูลด้วยแสง อุปกรณ์บันทึกข้อมูลระยะไกล และ อุปกรณ์แสดงผล ข้อมูลด้วยเสียง 4. ปัญญาประดิษฐ์ วิทยการด้านปัญญาประดิษฐ์ จะเป็นส่วนที่จะช่วยให้มนุษญ์ใช้ คอมพิวเตอร์แก้ปัญหาต่าง ๆ ทีสำาคัญ เช่นการให้คอมพิวเตอร์ ่ เข้าใจภาษามนุษย์ รู้จักการใช้เหตุผล การเรียนรู้ ตลอดจน การสร้างหุ่นยนต์ปัญญาประดิษฐ์ ทีสามารถทำางานได้เหมือนคน ่ ทีใช้ปัญญา โดยเน้นแนวคิดตามแบบสมองมนุษย์ที่มีการ ่ วางแผนการเรียนรู้ การให้เหตุผล การตัดสินใจ การแก้ปัญหา ตลอดจนการเลือกแนวทางดำาเนินการลักษณะคล้ายมนุษย์ ปัญญาประดิษฐ์จึงเป็นเรื่องที่นักวิจยได้พยายามดำาเนินการ ั และสร้างรากฐานไว้สำาหรับอนาคตมีการคิดค้นหลักการ ทฤษฎี และ วิธีการต่าง ๆ เพื่อทำาให้คอมพิวเตอร์สามารถทำางาน อย่างมี เหตุผล มีการพัฒนาโครงสร้างฐานความรอบรู้ 5. ทางด่วนข้อมูลสารสนเทศ ทางด่วนข้อมูลสารสนเทศ คือ เส้นทางที่ให้ข้อมูลข่าวสาร วิงไปได้มากและรวดเร็ว สามารถรองรับการส่งสัญญาณข้อมูล ่ ข่าวสารทั้งสัญญาณโทรทัศน์ วิทยุ คอมพิวเตอร์ โทรศัพท์
  • 19. part1-110215073327-phpapp01.doc 19 หรือ งานประยุกต์อื่น ๆ ได้มาก โดยมีความต้องการให้สถานี โทรทัศน์มากกว่า ٥٠٠ แห่ง ลักษณะของทางด่วนสารสนเทศเหมือนกับระบบถนน ที่มี ถนนสายหลัก สายรอง ซอยเชื่อมเข้าสู่บ้านเรือน โดยใช้เส้นใย นำาแสงเป็นสายหลัก และใช้สื่ออื่นประกอบ เช่น คลื่น ไมโครเวฟ ช่องสัญญาณสื่อสารผ่านดาวเทียม เส้นลวดทองแดง สายสัญญาณที่ต่อเชื่อมเข้าบ้านเรือน ร้านค้า หรือสำานักงานจะ เป็นสายสัญญาณที่รองรับข้อมูลจำานวนมากได้ หากทางด่วน สารสนเทศเป็นไปอย่างสมบูรณ์ จะมีการประยุกต์ใช้งานบนเส้น ทางด่วนต่าง ๆ มากมาย การพัฒนางานประยุกต์เป็นไปได้มาก และมีรูปธรรมที่เด่นชัด ดังนี้ 5.1ระบบโทรทัศน์ มีการส่งกระจายสัญญาณโทรทัศน์ไปในเครือข่ายเพื่อให้บริการ แก่ผู้ชมที่บ้าน ระบบทีวีสามารถเพิ่มขีดความสามารถให้ผู้ชม เลือกชมรายการตามต้องการได้ทุกขณะเวลา บางรายการ เป็นการให้ผู้ชมทางบ้านโต้ตอบหรือส่วนร่วมด้วย เช่น รายการเกมโชว์ 5.2ระบบวิทยุ มีการส่งกระจายข่าวสารทางเสียง ไปยังทางด่วนสารสนเทศที่ ผู้ฟงทางบ้านเลือกฟังได้ สัญญาณที่ส่งเป็นสัญญาณดิจิทัลจึง ั มีคุณภาพดี และยังเสริมบริการต่าง ๆ เข้าไปได้มาก เช่น ให้ ผู้ฟงฝึกร้องเพลง หรือที่เรียกว่า คาราโอเกะ ให้ผู้ฟังโต้ตอบ ั ในรายการตอบปัญหา ตลอดจนมีรายการสดทีรับการปรึกษา ่ ปัญหาต่าง ๆ 5.3การประชุมทางวีดิทัศน์ เป็นพัฒนาการจากระบบโทรทัศน์ที่มีแต่เสียง แต่เมื่อช่อง สัญญาณขยายใหญ่ขึ้นมาก ก็มีระบบพูดคุยผ่านทางด่วน สารสนเทศที่เห็นภาพ และมองเห็นสิ่งแวดล้อมต่าง ๆ รอบตัว คู่ สนทนาทำาให้เสมือนอยู่ใกล้กัน สามารถนำามาประยุกต์ใน เรื่องการประชุมจากที่ห่างไกล 5.4โทรศักษาและโทรเวช เมื่อทางด่วนข้อมูลข่าวสารดีขึ้น ระบบการทำางานระยะไกลก็ ทำาได้ดี ในสถาบันการศึกษาอาจใช้บริการการเรียนการสอนใน ทีห่างไกลที่เรียกว่า โทรศึกษา (tele-education ) ผู้เรียน อยู่ ่ ทีใดก็สามารถเลือกเรียนวิชาได้ตามต้องการ นอกจากนั้นใน ่ ทางการแพทย์ ผู้ป่วยที่ห่างไกลก็สามารถปรึกษานายแพทย์ผู้
  • 20. วิชา เทคโนโลยีเพื่อชีวิต 20 เชี่ยวชาญ หรือส่งข้อมูลเพื่อให้การรักษาพยาบาลเป็นไป อย่างมีประสิทธิภาพที่ เรียกว่าโทรเวช (telemedicine) 5.5การเลือกซื้อทางไกล การเลือกซื้อทางไกลเป็นหนทางหนึ่งที่ร้านค้าสามารถให้ บริการโดยนำารายการสินค้า รูปภาพ หรือถ่ายทำาเป็น ภาพยนตร์ เพื่อให้ผู้ที่อยู่ห่างไกลได้เห็นสินค้า ทีเรียกว่า ่ การเลือกซื้อ ทางไกล (teteshopping ) เลือกชมสินค้าที่ พอใจ สามารถเปรียบเทียบคุณภาพและราคาจากหลายร้านจน พอใจจึงซื้อสินค้า 5.6การค้นหาข้อมูลหรือหนังสือ รูปแบบนี้เรียกว่าห้องสมุดเสมือน (virtual library) ผู้ใช้บริการ ห้องสมุดสามารถค้นหาเอกสารสิ่งพิมพ์ที่ตนต้องการ โดย เรียกค้นผ่านเครือข่ายที่มทางด่วนสารสนเทศเป็นตัวเชื่อมระบบ ี การเรียกค้นหาข้อมูลนีทำาให้เกิดความสะดวก ไม่ต้องเสียเวลา ้ เดินทาง และได้รับข้อมูลข่าวสารที่ตรงกับความต้องการใน เวลาอันรวดเร็ว
  • 21. part1-110215073327-phpapp01.doc 21 5.7ระบบการพิมพ์หรือบริการหนังสือพิมพ์บนเครือข่าย สำานักพิมพ์หรือสำานักข่าวต่าง ๆ เป็นผู้รวบรวมข่าว มีนักข่าวอยู่ ทัวทุกมุมโลก เมื่อได้ข่าวสารก็ส่งข่าวสารมาที่สำานักพิมพ์ ่ สำานักพิมพ์จัดการข่าวสารโดยพิมพ์ไว้ในรูปข้อมูลทีให้ผู้เป็น ่ สมาชิกเรียกดูได้ เสมือนการบอกรับหนังสือพิมพ์ ขณะ เดียวกันเทคโนโลยีการพิมพ์ดีขึ้นมากจนเครื่องถ่ายเอกสาร สมัยใหม่สามารถรับข้อมูลมาพิมพ์ได้โดยตรง ดังนั้น สำานัก พิมพ์อาจมีจุดขายหนังสือพิมพ์ที่เชื่อมต่อกับสำานักพิมพ์ เมื่อผู้ ซื้อต้องการหนังสือพิมพ์ก็เพียงแต่หยอดเหรียญตามต้องการ เครื่องจะดึงข้อมูลจากสำานักพิมพ์มาพิมพ์ให้โดยทันที ข้อมูล ข่าวสารที่ได้จะใหม่เสมอ 6. เทคโนโลยีโทรคมนาคมสมัยใหม่ พัฒนาการทางเทคโนโลยีสื่อสารโทรคมนาคมก็ได้ก้าวหน้า ขึ้นไปอีกมาก มีการให้บริการระบบสื่อสารสมัยใหม่อยู่มากมาย เทคโนโลยีเหล่านี้จึงได้รบความสนใจและ คนไทยควรได้รบ ั ั 6.1การสื่อสารผ่านดาวเทียม เนื่องจากท้องที่ทางภูมิศาสตร์เต็มไปด้วย ภูเขา หุบเขาหรือเป็นเกาะอยู่ในทะเล การสื่อสารที่ดีวิธีหนึ่งคือการใช้ดาวเทียม ดาวเทียมได้รับการส่งให้โคจรรอบโลก โดยมีการเคลื่อนที่ ไปพร้อมกับการหมุน ของโลก ทำาให้ดาวเทียมอยู่ในตำาแหน่ง คงที่เมื่อมองจากพื้นโลก บนดาวเทียมจะ มีการนำาเอาเครื่องถ่ายทอดสัญญาณติดไปด้วย การสื่อสารโดยผ่าน ดาวเทียมจะทำาโดยการส่ง สัญญาณสื่อสารจากสถานีภาคพื้นดิน แห่งหนึ่งขึ้นไปยังดาวเทียม เมื่อดาวเทียมรับก็และส่งกลับมายังสถานี ภาคพื้นดินอีกแห่งหนึ่งหรือหลายแห่ง เราจึงใช้ดาวเทียมเพื่อแพร่ภาพ สัญญาณโทรทัศน์ ได้ การรับจะครอบคลุมพื้นที่ที่ดาวเทียมลอยอยู่ ซึ่งจะมีบริเวณกว้างมากและทำาได้โดยไม่มีอุปสรรคจากภูเขาบัง ดาวเทียมจึงเป็นสถานีกลางที่ถายทอดสัญญาณจากที่หนึ่งไปยังอีกที่ ่ หนึ่งได้ ปัจจุบันประเทศไทยมีดาวเทียมไทยคมลอยอยู่เหนือเทศ ดาวเทียมไทยคมนีใช้ประโยชน์ทางด้านการสื่อสารของประเทศไทยได้ ้ มาก เพราะเป็นการใช้บริการสื่อสารของประเทศในรูปแบบต่าง ๆตั้งแต่ การรับส่งสัญญาณโทรทัศน์ สัญญาณ จากวิทยุ สัญญาณข้อมูลข่างสารต่าง ๆ
  • 22. วิชา เทคโนโลยีเพื่อชีวิต 22 6.2การสื่อสารด้วยเส้นใยนำาแสง เส้นใยนำาแสงมีลักษณะเป็นท่อแก้วที่อ่อนตัวในสายที่หุ้ม ด้วยพลาสติก ลักษณะของท่อแก้วหุ้มด้วยสารพิเศษที่ ทำาให้เกิดการหักเหของแสงกลับเข้าไปในท่อแก้ว ดังนั้น เราสามารถส่ง แสงจากปลายด้านหนึ่งให้ไปรากฏที่ปลาย อีกข้างหนึ่งได้ แม้วาเส้นใยนำาแสงนั้นจะคดงอไปอย่างไร ่ ก็ตามก็จะส่งแสงเขาไปใน ท่อแก้วได้ เมื่อมีการนำาเอาข้อมูลเข้าไปผสมกับแสง เพื่อ ให้แสงกระพริบตามการเปลี่ยนแปลงของข้อมูล ทำาให้เรา รับส่งสัญญาณข้อมูลไปกับแสงได้ การรับส่งข้อมูลเข้าไป ในแสงทำาได้มากและรวดเร็ว 6.3โครงข่ายบริการสื่อสารร่วมระบบดิจิตอล (Integrated Service Digital Network : ISDN) ลักษณะเครือข่ายนี้ เป็นการขยายการบริการจากระบบโทรทัศน์เดิมให้เป็นระบบดิจัทัลคือส่ง สัญญาณที่เป็นข้อมูลตัวเลขแทนเสียง แทนภาพ แทนข้อมูล การ สื่อสารโครงข่ายบริการสื่อสารร่วมระบบดิจิทลจึงเน้นการประยุกต์ใช้งาน ั หลายอย่างบนเครือข่ายเดียวกัน โดยวางฐานขยายจากโทรศัพท์ เช่น ในสายโทรศัพท์เส้นเดียวที่เชื่อมต่อไป ยังบ้านเรือนผู้ใช้ สามารถ ประยุกต์ให้เป็นระบบโทรศัพท์ที่เห็นภาพ ใช้ส่งโทรสาร ใช้เป็นระบบ การประชุมทางวีดิทัศน์ใช้ในการส่งข้อมูลทางคอมพิวเตอร์ เพื่อเชื่อม โยงกับระบบคอมพิวเตอร์อื่น ๆ การดำาเนินการเหล่านี้สามารถทำาได้ พร้อมกันบนสายสื่อสารเดียวกัน โครงข่ายบริการสื่อสารร่วมระบบ ดิจิทลควรได้รับการพัฒนา โดยวางโครงสร้างพื้นฐานการเชื่อมโยงต่าง ั ๆ ไว้ให้พร้อม เพื่อรองรับความเร็วของการรับส่งข้อมูลได้สูงขึ้น 6.4ระบบเครือข่ายสวิตชิง
  • 23. part1-110215073327-phpapp01.doc 23 ด้วยเทคโนโลยีเอทีเอ็มสวิตชิงที่มีความเร็วสูงทำาให้การสื่อสารผ่าน เส้นใยนำาแสงส่งผ่านข้อมูลจากต้นทางไปยังปลายทางได้ด้วยความเร็ว หลายร้อย เมกะบิตต่อวินาที เอทีเอ็มสวิตชิงจึง เป็นเทคโนโลยีของ การสร้างเครือข่ายข้อมูลข่าวสารที่จะรองรับการใช้งานแบบสื่อสาร ประสมได้ดี ปัจจุบันหลายหน่วยงานได้เริ่มใช้เครือข่ายด้วยเทคโนโลยี เอทีเอ็มสวิตชิงภายในองค์การของตนเอง และแนวโน้มการขยายตัว รองรับระบบนี้สำาหรับหน่วยงานไปอยู่เครือข่ายระยะไกลในอนาคตต่อไป 6.5ระบบสื่อสารเคลื่อนที่ หรือที่เรียกว่าระบบเซลลูลาร์โฟน ( cellula phone system ) ทีใช้กับ่ โทรศัพท์ ทำาให้มโทรศัพท์ติดรถยนต์ โทรศัพท์มือถือ ปัจจุบันการ ี สื่อสารระบบนี้เป็นที่แพร่หลายและนิยมใช้กันมาก ลักษณะการทำางาน ของระบบสื่อสารแบบนี้คือ มีการกำาหนดพื้นที่เป็นเซลเหมือนรวงผึ้ง แต่ละเซลจะครอบคลุมพื้นที่จำานวนหนึ่ง มีระบบสื่อสารเชื่อมโยง ระหว่างเซลเข้าด้วยกัน ครอบคลุมพื้นที่ บริการไว้ทั้งหมด ดังนั้น เมื่อเราอยู่ที่บริเวณพื้นที่บริการใด และมีการใช้โทรศัพท์มือถือ สัญญาณจากโทรศัพท์มือถือจะเชื่อมโยงกับสถานีรับส่งประจำาเซลขึ้น ทำาให้ติดต่อไปยังข่ายสื่อสารที่ใดก็ได้ ครั้นเมื่อเราเคลื่อนที่ออกนอก พื้นที่ก็จะโอนการรับส่งไปยังเซลที่อยู่ขางเคียง โดยที่สัญญาณการ ้ สื่อสารไม่ขาดหาย ในอนาคตมีโครงการที่จะใช้ดาวเทียมเป็นตัว ควบคุมการสื่อสารประจำาเซล โดย พื้นที่ทวโลกจะสื่อสารถึงกันได้หมด ั่ โครงการสื่อสารแบบนี้จะใช้ดาวเทียมที่โคจรในวิถวงโคจรที่อยู่ห่าง ี จากพื้นโลก ไม่เกิน 10,000 กิโลเมตร และใช้ดาวเทียมประมาณ 66 ดวง ทีลอยอยู่บนท้องฟ้าตลอดเวลา ดาวเทียมเหล่านี้จะไม่อยูใน ่ ่ ตำาแหน่งคงที่ แต่โคจรไปรอบโลกตลอดเวลา ทุกขณะบนพื้นโลกจะ มองเห็นดาวเทียมหลาย ๆ ดวง ดาวเทียมเหล่านี้จะเป็นตัวเชื่อมโยง สัญญาณสื่อสารบนพื้น โลกที่มีการแบ่งเป็นเซลไว้ให้ติดต่อสื่อสาร ถึงกันได้หมด