SlideShare a Scribd company logo
1 of 49
ความหมายของบุค ลิก ภาพ
ความหมายและความสำา คัญ ของบุค ลิก ภาพ
       คำาว่า “บุคลิกภาพ” (Personality) มาจากภาษาลาติ
นว่า “Persona” ซึ่งแปลว่า หน้ากากที่ตัวละครสมัยกรีก และ
โรมันสวมใส่เพื่อแสดงบุคลิกลักษณะที่แตกต่างกัน ให้ผู้เห็นได้ใน
ระยะไกล ๆนักจิตวิทยาได้ให้ความหมายของคำาว่า “บุคลิกภาพ”
ไว้ต่าง ๆ ดังนี้
       "บุคลิกภาพ" หมายถึง สภาวะทุกอย่างที่ประกอบกันขึ้นเป็น
ตัวบุคคล โดยหมายรวมถึงคุณสมบัติ หรือคุณลักษณะทางจิตใจ
ซึ่งมีอิทธิพลต่อการกระทำาของบุคคลในสถานการณ์ต่าง ๆ
       "บุคลิกภาพ" หมายถึง คุณลักษณะทางกาย ทางจิตใจ
และความรู้สึกนึกคิดที่สะท้อนออกมาให้ผู้อื่นเห็นและเกิดความ
ประทับใจมากน้อยเพียงใด
       "บุคลิกภาพ" หมายถึง ลักษณะท่าทางซึ่งสามารถ
แสดงออกมาได้ทั้งทางร่างกาย จิตใจ และความรู้สึกนึกคิด ที่
สะท้อนออกมาให้ผู้อื่นเห็นและเกิดความประทับใจ ฉะนั้น การที่
บุคคลจะได้รับการยอมรับนับถือ การสนับสนุน ความไว้วางใจ
และความประทับใจจากผู้อื่นนั้น ก็ควรที่จะแสดงบุคลิกภาพที่ดี
และเหมาะสมให้ผู้อื่นเห็น เพราะบุคลิกภาพมีอิทธิพลต่อความรู้สึก
และอารมณ์ของผู้ที่พบเห็นเป็นอย่างยิ่ง
       บุคลิกภาพ เป็นหน่วยรวมของระบบทางกายและจิตภายใน
ตัวบุคคล ซึ่งกำาหนดลักษณะการปรับตัวเป็นแบบเฉพาะของบุคคล
นั้นต่อสิ่งแวดล้อมของเขา บุคลิกภาพของแต่ละบุคคลจะเห็นได้
ชัดเจนจากลักษณะนิสัยในการคิดและการแสดงออกรวมทั้ง
ทัศนคติและความสนใจต่าง ๆ กิริยาท่าทาง ตลอดจนปรัชญาชีวิต
ที่บุคคลนั้นยึดถือ
       องค์ประกอบของบุคลิกภาพ ประกอบด้วย 2 องค์ประกอบ
ใหญ่ๆ คือ คุณสมบัติภายนอก             และคุณสมบัติภายใน ดัง
ภาพที่ 1
มอ
               ไ ด ง เ ห ็น
             ภ า ้จ า ก         คน
            (V ย น อ                  ท ี่ท
              i si
                  bl ก                        ่า น
                   e)
                                                     เห
      ซ ่อ                                                ็น
     ภา นอย                                                    บ ุค
    (H ย ใ น ู่                                                ล ิก
      id de                                                  าพ ภ
           n)                                             ภา
                                                             ยน
                                                           ก อ

                                                                  บ ุค
                                                              ภ า ล ิก ภ า
                                                           ว ิธ ย ใ น พ
                                                                 ีค     -
                                                         - อ ิด
                                                               ุป
                                                         - แ น ิส ัย
                                                    จ ูง        ร
                                                         ใจ ง
                                                  คว
                                                       าม
                                                           ม ุ่ง -
                                              ท ัศ  -             ม ั่น
                                                   นค
                                                        ติ ฯ
                                                           ลฯ
         ภาพที่ 1 องค์ประกอบของบุคลิกภาพ

            บุคลิกภาพ ของแต่ละคนจะเป็นสิ่งประจำาตัวของคนคน
นั้น ที่ทำาให้แตกต่างจาก คนอื่น และมีหลายสิ่งหลายอย่าง ที่จะ
ประกอบกัน ทำาให้คนแต่ละคนมี บุคลิกภาพ เป็นของตัวเอง ซึ่ง
เป็นผลมาจาก การทำางานประสานกันของ สมอง ที่ขึ้นอยู่กับ
พันธุกรรม และประสบการณ์ ที่ได้รับจาก สิ่งแวดล้อม

           บุคลิกภาพ มีความสำาคัญต่อชีวิตเราอย่างยิ่ง ทำาให้เรา
รู้สึกถึงความสำาคัญของตัวเอง เราจะไม่มีทางรู้ได้เลยว่า ชีวิตของ
เราจะเป็นอย่างไร ถ้าเราไม่รู้ว่าขณะนี้ตัวเราเป็นคนอย่างไร และ
เราจะไม่มีทางเข้าใจว่าขณะนี้เราเป็นคนอย่างไร ถ้าไม่รู้ว่าเรา
ควรจะเป็นอย่างไร เพราะฉะนั้น สิ่งสำาคัญที่สุด เราจะต้องค้นพบ
ตัวเอง และเป็นตัวของตัวเอง

        คำาว่า “บุคลิกภาพ” (personality) ซึ่งเป็นลักษณะ
เฉพาะของบุคคลที่บ่งบอกความแตกต่างระหว่างบุคคล ได้มีผู้ให้
ความหมายไว้ต่างๆ กันดังต่อไปนี้




           เออร์เ นส อาร์.ฮิล การ์ด (Hilgard 1962:447)
กล่าวว่า บุคลิกภาพ เป็นลักษณะส่วนรวมของบุคคล และการ
แสดงออกของพฤติกรรม ซึ่งชี้ให้เห็นความเป็น ปัจเจกบุคคล ใน
การปรับตัวต่อสิ่งแวดล้อม รวมถึงลักษณะที่ส่งผลสู่การติดต่อ
สัมพันธ์กับผู้อื่น ได้แก่ ความรู้สึกนับถือตนเอง ความสามารถ แรง
จูงใจ ปฏิกิริยาในการเกิดอารมณ์ และลักษณะนิสัยที่สะสมจาก
ประสบการณ์ชีวิต

          ฟิล ลิป จี.ซิม บาร์โ ด และฟลอยด์ แอล .รูช
(Zimbardo and Ruch 1980:292) อธิบายว่า บุคลิกภาพ
เป็นผลรวมของลักษณะ เชิงจิตวิทยาของบุคคลแต่ละคน มีผลต่อ
การแสดงออกซึ่งพฤติกรรมหลากหลายของบุคคลนั้น ทั้งส่วนที่
เป็นลักษณะภายนอก ที่สังเกตได้ง่ายและพฤติกรรมภายในที่
สังเกตได้ยาก ลักษณะที่หลากหลายดังกล่าว ส่งผลให้บุคคล
แสดงออก ต่างกันใน แต่ละสถานการณ์และช่วงเวลา

          ริช าร์ด ซี.บุท ซิน และคณะ (Bootzin and
others 1991:502) ให้ความหมายว่า บุคลิกภาพ เป็นลักษณะ
นิสัยและรูปแบบของความคิด ความรู้สึก และการประพฤติปฏิบัติ
ของบุคคลแต่ละคน

          อัล ชลี แจ่ม เจริญ (2530:163) ให้ความหมายว่า
บุคลิกภาพ หมายถึงลักษณะส่วนรวมของบุคคลทั้งหมด ที่
แสดงออกมาปรากฎ ให้คนอื่นได้รู้ได้เห็น ซึ่งแตกต่างกันเพราะ
ภาวะสิ่งแวดล้อมที่สร้างตัวบุคคลนั้นแตกต่างกันประการหนึ่ง และ
พันธุกรรม ที่แต่ละบุคคล ได้มาก็แตกต่างกัน ไปอีกประการหนึ่ง
จากคำาจำากัดความและความหมายของ “บุคลิกภาพ” ที่
กล่าวมา สรุปได้ว่า บุคลิกภาพ คือตัวบุคคลโดยส่วนรวม ทั้ง
ลักษณะทางกาย ซึ่งสังเกตได้ง่าย อันได้แก่รูปร่างหน้าตากิริยา
ท่าทาง นำ้าเสียง คำาพูด ความสามารถทางสมอง ทักษะการทำา
กิจกรรมต่างๆ และลักษณะทางจิต ซึ่งสังเกตได้ค่อนข้างยาก
ได้แก่ ความรู้สึกนึกคิด เจตคติ ค่านิยม ความสนใจ ความมุ่งหวัง
อุดมคติ เป้าหมาย และความสามารถในการปรับตัว ให้เข้ากับสิ่ง
แวดล้อม ลักษณะดังกล่าวมีที่มาจากพันธุกรรมและสิ่งแวดล้อมของ
แต่ละคน ส่งผลสู่ความสามารถในการปรับตัว ต่อสิ่งแวดล้อม และ
ความแตกต่างระหว่างบุคคล

          จากความหมายของ บุคลิกภาพ ดังกล่าว เมื่อนำามา
วิเคราะห์ให้สัมพันธ์กับงานอุตสาหกรรม ซึ่งเป็นงานที่เกี่ยวข้องกับ
การดำาเนินงาน ทั้งด้านการบริหาร การผลิต การจำาหน่าย และ
การให้บริการ โดยพิจารณา บุคลิกภาพ ที่ส่งผลต่อการดำาเนินงาน
จะพบว่าทุกลักษณะของ บุคลิกภาพ มีอิทธิพลต่อผลการดำาเนิน
งาน โดยมีอิทธิพลมากบ้างน้อยบ้าง จึงอาจให้ความหมายของ
บุคลิกภาพ เชิงอุตสาหกรรมได้ว่า เป็นลักษณะส่วนรวมของบุคคล
ทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ ซึ่งเอื้ออำานวยให้เกิดผลดีต่อการ
ดำาเนินงานอุตสาหกรรม ทั้งในแง่ของการบริหาร การผลิต การ
จำาหน่าย และการให้บริการในงานอุตสาหกรรม

           ทฤษฎีหนึ่งที่เกี่ยวกับ บุคลิกภาพ อาศัย ความสัมพันธ์
ระหว่างอารมณ์และ ความสามารถในการรู้ตัวเอง (Self
Awareness) ถือเป็น ความฉลาด อย่างหนึ่ง เพราะการที่เราจะ
รู้ตัวเอง หรือ รู้พฤติกรรมของเราเอง ได้นั้น ขึ้นอยู่กับว่า เรามอง
ตัวเราอย่างไร เมื่อเทียบกับ สิ่งแวดล้อมในโลกนี้ และเราจะ
ควบคุมพฤติกรรม ของเราได้อย่างไร ซึ่งความสามารถ ที่จะ
จัดการและ ควบคุมชีวิต เรานี้ เป็นความสามารถที่เรียกว่า
ประสิทธิภาพส่วนบุคคล (Self Efficacy)

           คนที่มีประสิทธิภาพ ส่วนบุคคลสูง จะมีความมั่นใจใน
การมีพฤติกรรมโต้ตอบที่ถูกต้อง แต่คนที่มีประสิทธิภาพในตัวเอง
ตำ่า จะมีความกระวนกระวาย มีความกังวลเมื่อจะต้องมีการโต้ตอบ
ต่อ สิ่งแวดล้อม ซึ่งอาจจะอยู่นอกเหนือการควบคุมของคนคนนั้น
ความรู้ตัวและประสิทธิภาพส่วนตัวน ีีี้เองจะรวมกันเป็น
บุคลิกภาพ ขึ้น
ซิก มัน ด์ ฟรอยด์ (Sigmund Freud) นักจิตวิทยาที่
มีชื่อเสียงมาก ได้อธิบายถึงความหมายของคำาว่า "อีโก้ (Ego)"
ซึ่งเป็นส่วนสำาคัญของ บุคลิกภาพ ที่ทำาหน้าที่ตัดสินใจ แต่การ
ตัดสินใจขึ้นอยู่กับอำานาจภายในร่างกาย หรือความต้องการ ความ
ปรารถนาของคนคนนั้น ซึ่งอาจจะเป็นความเห็นแก่ตัว (id) กับ
ความรู้สึกผิดชอบชั่วดี ความจริงจากสิ่งแวดล้อมภายนอก
จริยธรรม ความเป็นเหตุเป็นผล (superego) และเมื่อมีการชั่งนำ้า
หนักระหว่างปัจจัย 2 ปัจจัยนี้แล้วก็จะเกิดการตัดสินใจขึ้น

           คำาถามคือ บุคลิกภาพ เกิดจากอะไร มาจากไหน นัก
ทำานาย บุคลิกภาพ ฟรานซ์ โจเซฟ กอลล์ (Franze Joseph
Gall) ได้ให้ทฤษฎีว่า รอยหยักบนพื้นผิวสมองนั่นเองเป็นตัว
กำาหนด บุคลิกภาพ เพราะส่วนนี้ทำาให้เราตอบสนองต่อสิ่งแวดล้อม
มีผลต่อวิธีคิด ความรู้สึกและการกระทำาของเรา




        ความสำา คัญ ของการมีบ ุค ลิก ภาพทีด ี
                                          ่
           ผู้ที่มีบุคลิกภาพที่ดีนั้นเริ่มมาจากผู้ที่มีสุขภาพจิตที่ดี
โดยจะเป็นผู้ที่สามารถมองเห็นสิ่งต่างๆตามที่เป็นจริงอย่างถูกต้อง
ไม่ต่อต้านหรือยอมรับทุกสิ่งทุกอย่างโดยไร้หลักการ และไม่ว่าจะ
อยู่ในสภาวการณ์ใดๆก็ตาม ก็ยังสามารถปฏิบัติได้คงเส้นคงวา
นั้นก็คือการเป็นบุคคลที่สามารถปรับตัวได้ดี
          การเป็นผู้ที่มีบุคลิกภาพที่ดีนั้นมีลักษณะสำาคัญที่เป็น
ประโยชน์ต่อการดำาเนินชีวิตในแง่มุมต่างๆ ดังนี้
         1. มีความสามารถในการรับรู้และเข้าใจในสภาพความ
เป็นจริงได้อย่างถูกต้อง
         2. การแสดงอารมณ์จะอยู่ในลักษณะและขอบเขตที่
เหมาะสม
3. มีความสามารถในการสร้างความสัมพันธ์กับบุคคล
อื่นและสังคมได้ดี
          4. มีความสามารถในการทำางานที่อำานวยประโยชน์ต่อผู้
อื่นและสังคมได้
          5. มีความรักและความผูกพันต่อผู้อื่น
          6. มีความสามารถในการพัฒนาตนเอง และการพัฒนา
ทางการแสดงออกของตนต่อผูอื่นได้ดีขึ้น
                           ้

              การที่คนเรามีบ ุค ลิก ภาพที่ด ี ย่อมหมายถึง บุคลิกภาพ
ที่น่าประทับใจเริ่มตั้งแต่ยังไม่เห็นตัวกัน เมื่อเจอหน้ากัน ภายใน
5 วินาทีแรกเราก็จะถูกประเมินแล้วว่าเป็นคนเช่นไรจาก
บุคลิกภาพภายนอก ซึ่งจะเป็นสิ่งที่สร้างความประทับใจตั้งแต่แรก
เห็น ไม่ว่าจะสุขภาพร่างกาย หน้าตา ทรงผม เสื้อผ้า แต่งตัว
เหมาะสมกับกาลเทศะ แลดูสะอาดเรียบร้อย เครื่องประดับ ลีลา
ท่าทางต่าง ๆ เช่น การยืน เดิน นั่ง การพูดจา นำ้าเสียงนุ่มนวล
ชวนฟัง ไม่พูดกระโชก หรือขวานผ่าซาก รู้จักพูด รู้จักเลือกใช้
ถ้อยคำาให้เหมาะสมกับคนฟังและกาลเทศะ กิริยาท่าทาง
คล่องแคล่วมีความมั่นใจ สรุป คือภาพรวมภายนอกทั้งหมดของคน
เราที่ดูดี ดังคำาที่ว่า “กาย-ดูด ี วาจา-น่า ฟัง และใจ-เป็น บวก”

            สำา หรับ บุค ลิก ภาพที่ไ ม่ด ี หมายถึง ลักษณะ
ภายนอกที่ดูไม่ดี ได้แก่ การแสดงพฤติกรรมที่ไม่สุภาพไม่เหมาะ
สมแก่กาลเทศะและสถานที่ไม่เป็นที่พึงปรารถนาของสังคม การ
แต่งกายที่ไม่สุภาพเรียบร้อย ปล่อยชายเสื้อลอยอยู่นอกกางเกง
แต่งกายไม่เหมาะสมกับกาลเทศะ การยืน เดิน นั่ง ไม่สุภาพ การ
พูดจา พูดกระโชก หรือขวานผ่าซาก ไม่รู้จักพูด รู้จักเลือกใช้
ถ้อยคำาให้เหมาะสมกับคนฟังและกาลเทศะ



กระบวนการพัฒ นาบุค ลิก ภาพ (The Process
     of Personality Development)
      การพัฒนาบุคลิกภาพในทัศนะของ Maslow คือการได้รับ
ความพึงพอใจจากความต้องการขั้นตำ่าไปสู่ความต้องการขั้นตำ่าไป
สู่ความต้องการขั้นที่สูงขึ้นตามลำาดับ การผ่านพ้นความต้องการ
แต่ละขั้นนี้ขึ้นอยู่กับสิ่งแวดล้อมของบุคคลนั้น สิ่งแวดล้อมที่ทำาให้
เกิดความหวาดหวั่นและไม่สนองความต้องการต่างๆ ย่อมจะส่ง
เสริมความเจริญเติบโตของบุคลิกภาพและนำาไปสู่การเข้าใจ
ตนเองอย่างแท้จริง ในทัศนะของ Maslow สิ่งแวดล้อมสำาคัญมาก
ในความต้องการเบื้องต้น ตัวอย่างที่แสดงความสำาคัญของสิ่ง
แวดล้อม เช่น เป็นที่เข้าใจชัดเจนว่าความต้องการต่างๆ ต่อไปนี้
ความปลอดภัย ความรักและความเป็นเจ้าของ เป็นความต้องการที่
ขึ้นอยู่กับความร่วมมือจากบุคคลอื่นที่จะทำาให้เกิดความพึงพอใจ
ต่อมาในความต้องการระดับสูงขึ้นบุคคลจะอาศัยสิ่งแวดล้อมน้อย
ลงแต่จะใช้ประสบการณ์ภายในตนเพื่อชี้นำาพฤติกรรม ดังนั้นใน
ความต้องการระดับสูง พฤติกรรมจึงถูกกำาหนดโดยธรรมชาติ
ภายในของบุคคล เช่น ความสามารถ ศักยภาพ ความสามารถ
พิเศษ และแรงกระตุ้นทางการสร้างสรรค์ เมื่อถึงระยะนี้ก็เป็นที่
ประจักษ์ชัดแจ้งว่าบุคคลต้องการรางวัลหรือความเห็นชอบจากผู้
อื่นลดน้อยลงเป็นการเปลี่ยนการเรียนรู้จากการเชื่อมโยงความ
สัมพันธ์ไปสู่การเรียนรู้โดยวิธีรับรู้ด้วยตนเอง (associative
learning to perceptual learning) การเรียนรู้โดยวิธีรับรู้ด้วย
ตนเองจะเป็นการเรียนรู้โดยความสมัครใจ มีความสามารถในการ
หยั่งเห็น (insight) มีความสามารถเข้าใจตนเอง และไปสู่
พัฒนาการของบุคลิกภาพขั้นสุดท้าย คือมีความเข้าใจตนเอง และ
โลกอย่างแท้จริงซึ่งจะช่วยให้การดำาเนินชีวิต เป็นไปอย่างราบรื่น
และประสบความสำาเร็จ




          ทฤษฎีบ ุค ลิก ภาพของ Maslow
เป็นทฤษฎีที่ให้ความรู้และข้อคิดเห็นเกี่ยวกับมนุษย์แตกต่าง
ไปจากทฤษฎีที่ตั้งขึ้นในระยะแรกๆ ของการศึกษาในเรื่องนี้ เป็น
ทฤษฎีที่มองมนุษย์ในมิติใหม่ว่ามนุษย์นั้นมีความดี มีความงาม มี
คุณค่า และมีความปรารถนาที่จะพัฒนาตนเองซึ่งนับว่าเป็นความ
คิดเห็นที่มีประโยชน์ในการศึกษาจิตวิทยาบุคลิกภาพทำาให้เข้าใจ
พฤติกรรมได้ชัดเจนยิ่งขึ้นซึ่งจะเป็นข้อมูลสำาหรับการพัฒนา
บุคลิกภาพให้ไปสู่จุดมุ่งหมายสุดท้ายคือบุคลิกภาพที่สมบูรณ์แบบ
หรือในทัศนะของ Maslow คือการพัฒนาบุคคลไปสู่การเข้าใจ
ตนเองอย่างแท้จริงนั่นเอง

ประวัต ิโ ดยย่อ ของ Maslow

       Abraham Maslow เกิดเมื่อวันที่ 1 เมษายน ค.ศ. 1908
ที่เมือง Brooklyn ในประเทศสหรัฐอเมริการัฐ New York บิดา
มารดาเป็นชาวยิว (Jews) ซึ่งอพยพมาจากรัสเซีย Maslow เป็น
พี่ชายคนโตมีพี่น้อง 7 คน พ่อแม่ของเขามีความปรารถนาที่จะให้
เขาได้รับการศึกษาอย่างดีที่สุดซึ่ง Maslow ก็ยอมรับในความ
ปรารถนานี้ อย่างไรก็ตามการศึกษาเพื่อไปสู่เป้าหมายที่พ่อแม่ตั้ง
ไว้ในระยะวัยเด็กและวัยรุ่นตอนต้นก็สร้างความขมขื่นให้แก่เขา
มากเหมือนกัน ดังที่เขาได้เขียนเกี่ยวกับตัวเองได้ว่า“ ด้วยความ
เป็นเด็กจึงไม่เป็นที่น่าสงสัยว่าทำาไมฉันจึงไม่ป่วยเป็นโรคจิตฉัน
เป็นเด็กชายยิวตัวเล็กๆอยู่ในกลุ่มเพื่อนที่ไม่ใช่ชาวยิว ซึ่งมัน
เหมือนกับสภาพของเด็กนิโกรคนแรกที่เข้าไปอยู่โรงเรียนที่มีแต่
เด็กผิวขาว ฉันรู้สึกโดดเดี่ยวและไม่มีความสุข ฉันใช้เวลาอยู่แต่
ในห้องสมุดและห้อมล้อมด้วยหนังสือต่างๆ โดยปราศจากเพื่อน”
จากประสบการณ์ดังกล่าวทำาให้บางคนอาจคิดว่าความปรารถนา
ของ Maslow ที่จะช่วยเหลือเพื่อนมนุษย์ให้มีชีวิตความเป็นอยู่ดี
ขึ้นนั้นเริ่มต้นมาจากความปรารถนาที่จะให้ชีวิตความเป็นอยู่ของ
เขาดีขึ้นนั่นเอง Maslow ได้ทุ่มเทเวลาอย่างมากให้กับการศึกษา
จิตวิทยาเกี่ยวกับมนุษย์ แต่เขาก็ยังมีประสบการณ์งานด้านอื่นๆ
เช่น ใช้เวลาในช่วงฤดูร้อนช่วยเหลือครอบครัวในการประกอบ
ธุรกิจสร้างถังไม้ ซึ่งน้องชายของเขาก็ยังทำากิจการนี้อยู่ทุกวันนี้
Maslow เริ่มต้นการศึกษาในระดับปริญญาในวิชากฎหมายตาม
คำาเสนอแนะของพ่อที่ City College of New York แต่เมื่อเรียน
ไปเพียง 2 สัปดาห์เขาก็ตัดสินใจว่าเขาไม่สามารถเป็นนัก
กฎหมายได้ เขาจึงเปลี่ยนมาศึกษาที่มหาวิทยาลัย Cornell และ
ต่อมาก็มาเรียนที่มหาวิทยาลัย Wisconsin ในสาขาจิตวิทยา เขา
ได้รับปริญญาตรีเมื่อค.ศ. 1930 ปริญญาโท ในปีค.ศ. 1931
และปริญญาเอกในปีค.ศ. 1934 ทางด้านชีวิตครอบครัว เขาได้
แต่งงานกับ Bertha Goodman ซึ่ง Maslow ยกย่องภรรยาว่ามี
ความสำาคัญต่อชีวิตของเขามาก ดังที่เขากล่าวว่า“ ชีวิตยังไม่ได้
เริ่มต้นสำาหรับฉันจนกระทั่งเมื่อฉันแต่งงานและได้ย้ายเข้ามาอยู่ใน
Wisconsin”



 บุค ลิก ภาพทีด ี...เป็น ใบเบิก ทางสูค วามสำา เร็จ
              ่                      ่
         “บุคลิกภาพเป็นสิ่งที่สามารถสร้างสรรค์และเปลี่ยนแปลง
ไปในทางที่ดีได้” เป็นคำายืนยันจาก นายแพทย์บุตร ประดิษฐวณิช
จากเมื่อครั้งแรกที่หนังสือ ‘ขุมทองในบุคลิกภาพ’ ถูกตีพิมพ์เมื่อปี
พ.ศ.2511 จนถึ ง การพิ ม พ์ ใ นครั้ ง ที่ ส าม พ.ศ.2533 โดยสำา นั ก
พิมพ์ข้าวฟ่าง หรือแม้กระทั่งในปัจจุบันคำากล่าวนี้ยังคงใช้ได้ดีแม้
กาลเวลาจะเปลี่ ย นแปลงสั ง คมก็ เ ปลี่ ย นไป ทั้ ง นี้ ห ลั ก คิ ด ในการ
สร้างเสริมบุคลิกภาพนั้นนายแพทย์บุตร ประดิษฐวณิช ประมวลไว้
เป็น 3 หัวข้อใหญ่ คือ

         1. ต้องทราบว่าบุคลิกภาพคืออะไร มีลักษณะอย่างไรใน
การทำางานร่วมกับผู้อื่น รวมทั้งการจูงใจผู้อื่นตลอดจนการปลุกใจ
ต น เ อ ง นั้ น จ ะ ต้ อ ง ส ร้ า ง บุ ค ลิ ก ภ า พ อ ะ ไ ร บ้ า ง
            2. ต้ อ งทร าบ วิ ธี ส ะ ส ม บุ ค ลิ กภ า พที่ พึ ง ปร า ร ถ นา
         3. ต้องทราบวิธีฝึกฝนให้เกิดบุคลิกภาพที่ยังขาดไป หรือ
มี กำา ลั ง อ่ อ น จ น ก ล า ย เ ป็ น นิ สั ย ที่ เ ค ย ชิ น
          ตัวอย่างบุคคลที่ผ่านการฝึกตนตนเองให้กลายเป็ นผู้ มี
บุคลิกภาพดีอาทิเช่น




ธีโ อดอร์ รูส เวลท์ อเมริกาไม่ได้สร้างเขาขึ้นมา แต่เขาสร้างตัว
ของเขาเอง จากเด็กหนุ่มขี้อายขี้ตื่นมาเป็นประธานาธิบดีของ
สหรัฐอเมริกา เดิมทีเขาเป็นเด็กหนุ่มรูปร่างอ่อนแอ้นคล้ายผู้หญิง
แถมสายตาสั้นและเป็นหืด มีกำาเนิดรกรากอยู่ที่ลองไอส์แสนด์ใน
สหรัฐ เป็นคนที่ถูกครูออกปากว่าไม่มีแววเอาถ่านอะไรเลย สติ
ปัญญาก็โง่ทึบผิดวัยเด็กหนุ่มขนาดนั้น อย่างไรก็ดีเขาตระหนัก
ตนเองได้ว่าเป็นคนมีบุคลิกลักษณะที่ด้อยกว่าคนอื่นหลายประการ
ซึ่งทำาให้เขารู้สึกไม่พอใจตัวเองอยู่แล้วทุกครั้งที่มีผู้กระตุ้นปมด้อย
ของเขา ยิ่งถูกนำาไปเปรียบเทียบกับคนอื่นยิ่งประทับความทรงจำา
อับปวดร้าวให้รุนแรงมากยิ่งขึ้น

            รูสเวลท์ พลิกวิกฤตเป็นโอกาส กลับสร้างทิฐิมานะใน
ทางสร้างสรรค์ให้เกิดขึ้น ด้วยการแก้ไขลักษณะที่บกพร่องของตน
ตั้งหน้าตั้งตาเสริมบุคลิกลักษณะที่เห็นว่าด้อยให้ดูเข้มแข็งขึ้น ทั้ง
จากากรรค้นคว้าอ่านตำารับตำารา สังเกตบุคลิกจากผู้ใหญ่ซึ่งได้รับ
การเคารพยอมรับจากคนทั้งหลาย หลายปีผ่านไปเด็กหนุ่มขี้ตื่น
กลัว อ้อนแอ้น เบาปัญญา ผลักดันตนเองขึ้นมาเป็นผู้นำาที่ยิ่งใหญ่
ของอเมริกันชนและเป็นผู้นำาอเมริกันคนเดียวที่ประชาชนของเขา
ยอมยกนิ้วว่าเป็นผู้นำาที่แข็งแกร่งและมีความเชื่อมั่นในตัวเองมาก
ที่สุดเท่าที่อเมริกาเคยมีมา




ยอร์ช วอชิง ตัน จากเด็กหนุ่มกำาพร้าวัย 15 ปีชาวเมือง
เวอร์จิเนีย ถูกทอดทิ้งให้อยูตามลำาพังในชนบท นอกจากเขาจะมี
                             ่
จมูกใหญ่ผิดปกติแล้ว (แต่เขาเป็นชายจมูกใหญ่ซึ่งไม่มีพฤติกรรม
ลำาพองตน) เขายังมีนิสัยเป็นคนขี้ขลาดขี้อาย ยิ่งเป็นซำ้าเติม
ทำาลายบุคลิกภาพให้แย่ลงไปอีก คนรอบข้างจึงไม่คิดว่าเขาจะ
เติบโตเป็นผู้นำาที่ยิ่งใหญ่ของชาติได้ แต่เขาตระหนักดีว่าเขาจะ
ต้องเป็นผู้สร้างอนาคตด้วยตนเอง โชคชะตานั้นอยู่ในกำามือของ
เขาเอง จุดเริ่มต้นของการเปลี่ยนแปลงคือพิจารณาลักษณะนิสัย
ของตน จดบันทึกไว้ในสมุดพกเล่มหนึ่ง แบ่งเป็นส่วนดีและส่วน
บกพร่องหรืออ่อนแอ ใช้การสังเกตทุกวัน หาวิธีการปรับปรุงแก้ไข
ให้ดีขึ้น ในที่สุดก็สามารถวางกฎเกณฑ์สอนตัวเองจนบุคลิกภาพ
เปลี่ยนไปชนิดพลิกจากหน้ามือเป็นหลังมือ เป็นกฎที่มีอยู่ 57 ข้อ
ด้วยกัน การปฏิบัติอย่างเคร่งครัดไม่ว่าเขาจะเคลื่อนไป ณ จุดใด
กฎเหล่านี้ก็ติดตามเขาไปเช่นกัน ขณะที่อเมริกาประกาศอิสรภาพ
จากอังกฤษกฎเหล่านี้ก็ติดตามเขาไปเช่นกัน ต่อมาเมื่อเขาได้เป็น
สมาชิกของเวอร์จิเนียเฮาส์ออฟเบอร์เกสส์ กฎทั้ง 57 ได้เข้าไปนั่ง
อยู่ในสภาพร้อมกัน และเมื่อครั้งเข้าประชุมสภาคองเกรสและ
กระทำาสัตย์สาบานตนเป็นประธานาธิบดีคนแรกของสหรัฐ กฎ
เหล่านี้ก็ยังนอนยิ้มกริ่มในกระเป๋าของเขาอีกเช่นกัน




 คัท ริน มหาราชิน ี จากหญิงสาวเยอรมันที่ถูกจัดว่าหน้าตาน่า
เกลียดคนหนึ่ง ในครอบครัวที่พ่อเป็นข้าราชการระดับล่าง ฝ่า
วงล้อมแห่งอุปสรรคอาจหาญก้าวขึ้นเป็นจักพรรดินีผู้มีสร้อย
พระนามมหาราชินีแห่งจักรวรรดิรัสเซียมหาอำานาจของยุโรปได้
คนแวดล้อมมองว่าเด็กสาวคนนี้อย่างดีคงเป็นได้แค่เพียงแม่บ้าน
ของนายทหารเยอรมันคนใดคนหนึ่งเท่านั้น ขณะที่ทุกคนมองข้าม
เธอไปเธอกลับวิเคราะห์ตนเองและโลกภายนอก ภายหลังจากเธอ
ประสบความสำาเร็จเกินกว่าคนทั่วไปจะทำาได้เธอได้เขียนบันทึกไว้
ตอนหนึ่งซึ่งทำาให้โลกได้รับรู้ว่าเธอสร้างความรุ่งโรจน์ด้วยอำานาจ
แรงส่งของบุคลิกภาพว่า “เมื่อข้าพเจ้าอายุได้สิบสี่หรือสิบห้าปี
ข้าพเจ้าก็แน่ใจว่า ข้าพเจ้ามีรูปร่างขี้เหร่ ฉะนั้นข้าพเจ้าจึงจำาเป็น
ต้องปรับปรุงคุณสมบัติภายในของข้าพเจ้าให้สูงส่งยิ่งขึ้น เพื่อ
ชดเชยความน่าเกลียดในรูปร่างของข้าพเจ้าเอง”




ลีโ อ ตอลสตอย นักประพันธ์ผู้ยิ่งใหญ่ชาวรัสเซีย คนไทยไม่
น้อยรู้จักผลงานซึ่งถูกแปลเป็นภาษาไทยเล่มหนาอย่าง สงคราม
และสันติภาพ ในวัยเด็กเป็นชายที่เติบโตบนกองเงินกองทองตาม
ประสาของคนในชนชั้นดังกล่าวเขาใช้ชีวิตรื่นเริงตามฐานันดร
ของตนเอง พ่อของเขาเป็นขุนนางมีบรรดาศักดิ์ มีไร่นาจำานวน
มากพร้อมด้วยทาสรับใช้อีกนับร้อย แต่เขาไม่ใคร่พอใจในสิ่ง
เหล่านี้นักเมื่อได้เห็นการกดขี่ผู้คนจากอิทธิพลของครอบครัวตน
ส่งผลให้เขาไม่ได้รับความชื่นชมจากพ่อแม่และญาติพี่น้อง อีกทั้ง
รูปลักษณ์เป็นคนจมูกใหญ่ ปากหนา (เน้นว่าปากหนานะครับ
ไม่ใช่จมูกใหญ่ และปาก...อย่างอื่น) เขารู้ตัวเองดีว่าไม่มีใครชอบ
ในวัย 14 ปีเขาจึงเริ่มวิเคราะห์ตนเองอย่างเงียบๆ สำารวจนิสัย
ต่างๆ ที่คิดว่าเป็นเครื่องบั่นทอนบุคลิกภาพของตน แล้วบันทึกนิสัย
เสียทั้งหมดเอาไว้ 4 ปีผ่านไปได้จัดกลุ่มนิสัยดีของตนเพื่อเปรียบ
เทียบกับนิสัยเสียซึ่งค้นพบ แต่ในวัยเพียง 18 ปีชีวิตได้เข้าไปพัว
พนกับความบันเทิงสนุกนานตามประสาคนหนุ่มและความมั่งมีของ
ครอบครัว การดื่มสุรา การพนัน จนเมื่อแต่งงานในวัย 34 ปี หลัง
จากฮันนีมูนผ่านพ้นไป ภรรยาได้ค้นพบบัญชีนิสัยในอดีต นำาพาสู่
การชักจูงให้ละทิ้งนิสัยเลวร้ายหันมามีความประพฤติที่ถูกที่ควร
เพราะรู้ว่าสามีไม่ชอบการบังคับ ผลจากการดำาเนินกลยุทธ์ของศรี
ภรรยาส่งผลให้เกิดนักคิดนักปฏิรูปที่ผลงานได้รับความนิยม
กึกก้องในยุคพระเจ้าซาร์ เป็นโชคดีที่ผู้อยู่เบื้องหลังนั้นตระหนัก
ถึงคุณค่าในสิ่งดีซึ่งสามีได้ค้นพบแตะละเลยไปเพราะสิ่งแวดล้อม
ชักนำา จึงไม่แปลกที่เขามักจะกล่าวยกย่องภรรยาผู้เปลี่ยนชีวิตเขา
ไปในทางที่ดีอยู่เสมอ


              การสร้า งตนเองให้เ ป็น ที่ย อมรับ นั้น ไม่ใ ช่เ รื่อ ง
ยากเกิน ความสามารถ หากแต่การเปลี่ยนแปลงตนเองไปสู้สิ่งที่
ดีกว่านั้นเป็นสิ่งที่จะเป็นจะต้องตระหนักรู้ พร้อมกับการเปลี่ยนไปสู่
สิ่งที่ดีกว่าในชีวิต บางทีการค้นพบแล้วปล่อยให้ผ่านเลยไปตาม
กาลเวลาอย่างน่าเสียดาย แต่ไม่สายเกินไปที่จะสร้างคุณค่าให้
ตนเองจากบุคลิกภาพทีดี           ตัวอย่างของผู้นำาโลกที่นำามาบอก
กล่าว ก็หวังว่านักศึกษาคงจะนำาไปเป็นแนวทางในการปรับปรุง
พัฒนาตนเองต่อไป



         องค์ป ระกอบต่า งๆของบุค ลิก ภาพ
บุคลิกภาพของบุคคลประกอบขึ้นด้วยองค์ประกอบต่าง ๆ ดังนี้

              1.ด้า นกายภาพ หมายถึง รูปร่างหน้าตา ทรวดทรง
ท่าทาง การแต่งกาย การเดิน เป็นต้น บุคลิกภาพด้านกายภาพ นี้
เป็นสิ่งที่ผู้อื่นมองเห็นได้
2.ด้า นวาจา หมายถึง การใช้ถ้อยคำา นำ้าเสียง ซึ่งผู้อื่น
จะรับรู้ได้โดยการฟัง ลักษณะต่าง ๆ สะท้อน บุคลิกภาพด้านนี้เช่น
การพูดไม่เข้าหูคน การพูดจากระโชกโฮกฮาก การพูดจาน่าฟัง
เป็นต้น บุคลิกภาพทางวาจาที่ดีย่อมหมายถึงการพูดจาด้วยนำ้า
เสียงนุ่มนวล น่าฟังเป็นมิตร และได้สาระ

         3.ด้า นสติป ัญ ญา หมายถึง ความสามารถทางการคิด
แก้ปัญหา ไหวพริบ ความสามารถที่จะมี ปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น ได้
อย่างเหมาะสม คิดเป็น รู้จักคิด คิดแก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้ดี
แสดงออกหรือสนองตอบผู้อื่นได้อย่าง “ทันกัน” และ “ทันกาล”

            4.ด้า นอารมณ์ หมายถึง การมีอารมณ์ดี คงเส้นคงวา
ไม่วู่วาม เอาแต่อารมณ์ ฉุนเฉียวโกรธง่าย หรือบางคนมีอารมณ์
ร่าเริง มากกว่าอารมณ์อื่น หรือบางคน เครียด เศร้า ขุนมัว
                                                   ่
หม่นหมองอยู่เสมอ

         5.ด้า นความสนใจและเจตคติ ของแต่ละคนย่อม
แตกต่างกันไปบางคนไม่สนใจการเมือง ซึ่งบางคนมีความสนใจ
หลากหลายไม่สนใจเพียง เรื่องใดเรื่องหนึ่งแต่เพียงอย่างเดียว

           6.ด้า นการปรับ ตัว มีผลต่อลักษณะของบุคลิกภาพ ถ้า
ใช้แบบที่ดีมีพฤติกรรมที่เหมาะสม สังคม ยอมรับ จะอยู่ในสังคม
ได้อย่างมีความสุข ตรงกันข้ามถ้าปรับตัวไม่ดีวางตัวในสังคมไม่
เหมาะสม ย่อมมี ผลเสียต่อบุคลิกภาพด้านอื่น ๆ ไปด้วย




                ประเภทของบุค ลิก ภาพ
  .1 บุค ลิก ภาพภายนอก คือ สิ่งที่เห็นได้ชัดเจนจาก
  ภายนอกของแต่ละคน สามารถที่จะปรับปรุงแก้ไขได้ง่าย ใช้
เวลาไม่นาน แบ่งได้เป็น 4 หมวด คือ
            1. รูปร่างหน้าตา
            2. การแต่งกาย
            3. กิริยาท่าทาง
            4. การพูด
  2 บุค ลิก ภาพภายใน คือ สิ่งที่อยู่ภายในจิตใจ หรือ
  อุปนิสัยใจคอที่มองไม่เห็น สัมผัสไม่ได้ แก้ไขได้ยาก เช่น
            1. ความเชื่อมั่นในตนเอง
            2. ความซื่อสัตย์สุจริต
            3. ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
            4. ความรับผิดชอบ

  3. หลัก และวิธ ีเ สริม สร้า งบุค ลิก ภาพ

      การยืน เดิน นั่ง เป็นส่วนสำาคัญที่บอกถึงบุคลิกภาพของ
แต่ละบุคคล งามอิริยาบถ คือ การเดิน ยืน นั่ง เปิด-ปิดประตู
ขึ้นลงรถ อย่างถูกต้องสวยงาม

       การรู้จักทำาตัวให้เข้ากับบุคคล สถานที่ และเวลา อย่างถูก
ต้องถือว่ามีมารยาททางสังคมที่ดี เช่น การรู้จักกราบไหว้ที่ถูก
วิธี และถูกกาลเทศะ การรู้จักธรรมเนียมของชาวต่างชาติ การ
ปฏิบัติตนในงานเลี้ยงต่าง ๆ การไปเยี่ยมคนป่วย การมอบดอกไม้
แสดงความยินดีหรือให้ผู้อาวุโส เป็นต้น

       บางครั้งเราอาจจะต้องอยู่ในสถานการณ์ที่ไม่ทันได้เตรียม
ตัวเตรียมใจ และอาจเกิดอะไรขึ้นกับเราได้ทุกวินาทีนั้น เราต้อง
พร้อมเสมอที่จะเผชิญกับเหตุการณ์ในลักษณะที่พร้อม คือ ไม่
ตกใจ ดีใจ เสียใจ กลัว เกินกว่าเหตุ สามารถควบคุมท่าทางของ
ตนเองได้เป็นอย่างดี




4. แนวทางในการพัฒ นาบุค ลิก ภาพ
   4.1 การรัก ษาสุข ภาพอนามัย
        - ออกกำาลังกายสมำ่าเสมอ
-   รับประทานอาหารที่มีประโยชน์
         -   ควบคุมนำ้าหนักไม่ให้เพิ่มหรือลดผิดปกติ
         -   ละเว้นการสูบบุหรี่หรือยาเสพติดให้โทษทุกชนิด
         -   ไม่ดื่มสิ่งของที่มีแอลกอฮอล์หรือคาเฟอีน
         -   พักผ่อนนอนหลับให้เพียงพอ วันละ 7-8 ชม.
         -   รักษาอารมณ์ให้สดชื่นแจ่มใสอยู่เสมอ

    4.2 การดูแ ลร่า งกาย
          - รักษาความสะอาดในช่องปากและฟัน
          - ดูแลรักษาเส้นผมและทรงผมให้เรียบร้อยทั้งด้านความ
สะอาดและรูปทรง
          - โกนหนวดเคราให้เกลี้ยงเกลา ตัดและขริบให้
เรียบร้อย
          - รักษาผิวพรรณให้สะอาดสดชื่นอยู่เสมอ อย่าให้ผิว
แห้งกร้าน
          - รักษากลิ่นตัว
          - รู้จักการแต่งหน้าแต่พองาม
          - ดูแลเล็บมือ เล็บเท้า ให้สะอาดอยู่เสมอ
          - ปรับเปลี่ยนเสื้อผ้าและชุดชั้นในที่สวมใส่ทุกวัน
          - ควรมีการเช็คร่างกายเป็นประจำาทุกปี
          - เมื่อร่างกายมีอาการผิดปกติรีบไปปรึกษาแพทย์

    4.3 การแต่ง กาย
          - สวมใส่เสื้อผ้าที่สะอาด ซักรีดให้เรียบ
          - สีสันไม่ฉูดฉาด ควรเลือกสีให้เหมาะสมกับรูปร่างและ
ผิวพรรณของตนเอง
          - กระเป๋าถือและรองเท้า ควรใช้หนังที่มีคุณภาพดี สี
เรียบ สำารวจส้นรองเท้าจัดการซ่อมแซมให้เรียบร้อย
          - แต่งหน้าให้แนบเนียน ไม่แต่งเข้มผิดธรรมชาติ เลือก
ใช้เครื่องสำาอางค์ที่มีคุณภาพดี
          - เล็บและการทาเล็บ ไม่ควรไว้เล็บยาวจนเกินไป ควร
เลือกสีกลาง ๆ อย่าปล่อยให้สีถลอกจะไม่น่าดู
          - ผม หมั่นสระให้สะอาด อย่างน้อยสัปดาห์ละ 1-2
ครั้ง แปรงหวีให้เรียบร้อย เลือกทรงผมที่รับกับใบหน้า
          - เครื่องประดับ ควรใช้เพื่อเสริมการแต่งกายให้ดูดีขึ้น
แต่ไม่ควรใช้เครื่องประดับมากจนเกินไปจนดูสะดุดตารกรุงรังไป
หมด
- ควรแต่งกายให้เหมาะสมกับสภาพภูมิศาสตร์และ
วัฒนธรรม
       - ควรแต่งกายให้เหมาะสมกับกาลเทศะ

    4.4 อารมณ์
        รู้จักควบคุมอารมณ์ ไม่ปล่อยอารมณ์ไปตามใจตนเอง คนที่
ควบคุมอารมณ์ตนเองได้จะได้เปรียบและจะเอาชนะเหตุการณ์ต่าง
ๆ ที่เกิดขึ้นได้ ในการปฏิบัติงานเป็นเรื่องธรรมดาที่จะต้องมี
เหตุการณ์มากระทบกระเทือนอารมณ์กันอยู่เสมอ
        ฉะนั้น บุคคลใดที่ต้องการจะพัฒนาบุคลิกภาพของตนให้ดี
ขึ้น จะต้องเป็นคนรู้จักอดทนใจเย็นเมื่อมีเหตุการณ์ที่ไม่ถูกใจเกิด
ขึ้น

   4.5 ความเชื่อ มั่น ในตนเอง
        - ยอมรับในความสามารถของตนเอง
        - อย่าเล็งผลเลิศในการทำางานจนเกินไป
        - อย่าถือคติว่าการทำางานสิ่งใดเมื่อทำาแล้วต้องดีที่สุด
        - อย่านำาความเก่งของผู้อื่นมาทับถมตนเอง
        - หมั่นฝึกจิตใจตนเองให้ชนะความกลัวให้ได้

      5. การพัฒ นาบุค ลิก ภาพด้า นความรู้ส ึก นึก คิด
   ความรู้สึกนึกคิดของแต่ละคนย่อมไม่เหมือนกัน ถ้ามีความรู้สึก
นึกคิดในด้านดี ไม่มองคนในแง่ร้าย จิตใจก็เป็นสุข ไม่มีความ
กังวล ดังนั้น เลขานุการจึงควรพัฒนาบุคลิกภาพด้านความรู้สึก
นึกคิดดังนี้
   1. มีความเชื่อมั่นในตนเองในการกระทำาในสิ่งต่าง ๆ
   2. มีความซื่อสัตย์ กระทำาตนให้ผู้อื่นเชื่อถือเรา แล้วความไว้
วางใจจะตามมา มีเรื่องสำาคัญเขาก็จะให้เราทำา
   3. มีความสามารถที่จะทำาสิ่งเหล่านั้น ให้เหมาะสมกับผู้ที่มอบ
หมายไว้วางใจให้เราทำา
   4. มีความกระตือรือร้น ที่อยากจะทำา เตรียมตัวให้พร้อมอยู่
เสมอ
   5. มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ รู้จักปรับปรุงงานอยู่เสมอ
   6. มีความรับผิดชอบ ไม่ว่าจะทำาอะไรก็ตามต้องมีความ
ห่วงใยจะต้องทำาให้เสร็จทันตามกำาหนดเวลา
   7. มีความรอบรู้
   8. ห่วงตัวเอง เติมชีวิตให้กับตัวเอง
9. มีความจำาแม่น
   10. วางตัวเหมาะสมกับกาลเทศะ

     6. การพัฒ นาบุค ลิก ภาพด้า นกายบริห ารทรวดทรง

        องค์ประกอบของทรวดทรง ขึนอยู่กับกลไกของการ
                                      ้
เคลื่อนไหวของร่างกายและโครงสร้างของร่างกายไม่ว่าหญิงหรือ
ชายก็ชอบที่จะมีรูปร่างงามทั้งนั้น ผู้ชายก็ต้องการมีรูปร่างสมา
ร์ท ผู้หญิงก็ต้องการมีเอวบาง ร่างน้อย มีสขภาพดี การมีรูปร่าง
                                          ุ
งาม สุขภาพดี เกิดจากการพัฒนาตัวเราเอง เราเป็นผู้วางแผนใน
ชีวิตของเราเอง

          ทรวดทรงอาจไม่ใช่ทุกสิ่งทุกอย่างในชีวิต แต่ส่วนสัด
และท่าทาง ทำาให้คนทุกคนดูแตกต่างกันไป บุคลิกที่ไม่ดีแสดง
ว่าเจ้าของเรือนร่างขาดความเชื่อมั่นในตัวเอง ถ้าได้เรียนรู้วิธี
เสริมสร้างเสน่ห์ให้กับบุคลิกภาพของตนเองแล้ว จะไม่เพียงทำาให้
มีรูปร่างสง่างามเท่านั้น ยังสามารถทำาให้การปฏิบัติงานเกิดความ
เชื่อมั่น งานก็มีประสิทธิภาพอีกด้วย ดังนั้นเลขานุการจึงควรใช้
เวลาในการบริหารทรวดทรงของตนเองเป็นประจำาสมำ่าเสมอ
เพราะสุขภาพที่ดี และทรวดทรงที่งดงามอีกด้วย




          แนวทางการพัฒ นาบุค ลิก ภาพ
การที่บุคคลจะมีบุคลิกภาพที่ดีต้องมีการปรับตัวและพัฒนาตน โดย
เริ่มต้นจาก
          1. สำา รวจตนเอง โดยอยูหน้ากระจกแล้วสังเกต
                                    ่
บุคลิกภาพที่ประกอบกันขึ้นมาจากหลายๆสิ่งหลายๆอย่างซึ่งรวม
เป็นหมวดหมู่แล้วก็จะมีอยู่ 5 หัวข้อต่อไปนี้

                1.1 ร่างกาย หมายถึงรูปลักษณ์ภายนอกของ
คุณที่ปรากฏต่อผู้อื่น รวมตั้งแต่รูปร่างหน้าตา การแต่งกาย ทรง
ผม กระทั่งการดูแลรักษาความสะอาด และนำ้าเสียงหรือถ้อยวาจาที่
ออกมาจากปาก

           1.2 สติปัญญา ก็คือความสามารถในการรับรู้ การ
ทำาความเข้าใจปรากฏการณ์ต่างๆด้วยเหตุและผล ตลอดจนความ
สามารถในการแยกแยะข้อเท็จจริงต่างๆ

                  1.3 อารมณ์ เป็นปฏิกิริยาของจิตใจที่ตอบสนอง
ต่อเรื่องราวที่มากระทบตามธรรมชาติมนุษย์ เช่น อารมณ์ขัน
อารมณ์เศร้าโศกเสียใจ อารมณ์หดหู่เบื่อหน่าย และอีกหลาย
อารมณ์ ซึ่งบางครั้งก็เกิดขึ้นเฉพาะในการรับรู้ของแต่ละคนเอง
หรือบางครั้งก็อาจปรากฏตัวออกมาให้เป็นที่รู้เห็นของบุคคลอื่นได้
เหมือนกัน

            1.4 นิสัย คือพื้นฐานพฤติกรรมต่างๆอันเกิดจาก
ความเชื่อ ทัศนคติ ค่านิยม ซึ่งเกิดขึ้นจากการสะสมข้อมูลรวมทั้ง
การกระทำาตามความเคยชินและข้อมูลที่ได้รับรู้มาจากแหล่งต่างๆ
ประกอบกัน

                    1.5 สังคม หมายถึง สิ่งแวดล้อมในทุกด้านของ
ชีวิต ทั้งที่เป็นบุคคลและเป็นปรากฏการณ์ต่างๆนับตั้งแต่เกิดมา
จนถึงปัจจุบัน

       2. จดลงสมุด บัน ทึก ว่ามีอะไรบ้างในตัวเองที่รู้สึกไม่
พอใจและรู้สึกชื่นชม พิจารณาดูว่าสิ่งใดที่เราไม่พอใจและอยาก
ปรับเปลี่ยน

        3. ถามคนรอบข้า ง ถามว่าพวกเขาอยากให้เราปรับปรุง
เปลี่ยนแปลงอะไรบ้าง การเปิดใจรับฟังเสียงของคนรอบข้าง
เหมือนเราได้กระจกส่องชั้นดีทีเดียวมาช่วยส่องอีกทาง เพราะถึงที่
สุดแล้วคนที่จะตัดสินว่าเราน่าคบค้าสมาคม น่าส่งเสริมสนับสนุน
หรือน่าเบื่อหน่ายก็คือคนรอบข้างของเรา

       4. ขอคำา แนะนำา จากคนที่มีความรู้ในการพัฒนา
บุคลิกภาพ หรือผู้ที่มีบุคลิกภาพที่ดีว่าควรทำาอย่างไร หรือมีเคล็ด
ลับพิเศษของแต่ละคนหรือไม่ และพึงรับฟังคำาแนะนำาด้วยท่าทีที่
แจ่มใส ฟังด้วยหัวใจมิใช่ฟังด้วยหู

      5. หาหนัง สือ มาอ่า น ซึ่งเป็นหนังสือที่แนะนำาวิธีสำารวจ
ตรวจตราตนเอง มารยาทที่พึงปฏิบัติ

       6. หาใครสัก คนช่ว ยฝึก ฝน หรือจะเป็นผู้เชี่ยวชาญ
ด้านบุคลิกภาพและมารยาทสังคม ซึ่งจะช่วยแก้ไขปัญหาได้ใน
ระยะเวลาอันสั้น

       ดังนั้น การที่บุคคลจะมีบุคลิกภาพที่ดีนั้น ไม่ใช่การ
ปรับปรุงเปลี่ยนแปลงแค่ภายนอกด้วยการแต่งกายหรือพฤติกรรม
ที่แสดงออกเท่านั้น หากจำาเป็นต้องมีการปรับปรุงหรือพัฒนา
บุคลิกภาพภายในเสียก่อน จึงจะทำาให้การพัฒนาบุคลิกภาพ
ภายนอกประสบความสำาเร็จได้

     การพัฒนาบุคลิกภาพจากภายใน
การเสริม สร้า งบุค ลิก ภาพ

         การเสริมสร้างบุคลิกภาพสามารถพัฒนาได้ ตั้งแต่การ
เคลื่อนไหว การทรงตัว การพูด ความสะอาดหมดจด ความนึกคิด
ที่ดี ซึ่งสามารถฝึกฝนได้ดังนี้
         การนั่ง ควรนั่งไหล่ตรง หลังตรง วางมือในที่อันควร
         การยืน ควรยืนตัวตรง อกผายไหล่ผึ่ง ขาตรง เท้าชิด หรือ
เบี่ยงเล็กน้อย
         การเดินและการเคลื่อนไหว ควรเดินตัวตรง ศีรษะตั้งตรง
แกว่งแขนเล็กน้อย
         การหยิบของที่พื้น ควรย่อตัวลงหยิบ ไม่ใช่ก้มตัวลงหยิบ
         การพูด ควรพูดด้วยจังหวะที่ดี ใช้นำ้าเสียงที่จริงใจ ให้ความ
รู้สึกเป็นมิตร
         การแสดงสีหน้า ควรแสดงสีหน้าปกติ ไม่แสดงความยินดี
โกรธ หรือเย็นชาจนเกินไป
         การคิด ควรคิดแต่สิ่งที่ดี ไม่หมกมุ่นอยู่กับความทุกข์
         การรักษาสุขภาพและความสะอาด ควรรักษานำ้าหนักให้
เหมาะสมกับความสูง รักษาสุขภาพกายและจิตให้ดีอยู่เสมอ
รักษาความสะอาดของร่างกาย สุขภาพที่ดีจะส่งผลให้บุคลิกภาพ
ดีด้วยเช่นกัน
ขัน ตอนสำา คัญ ในการพัฒ นาบุค ลิก ภาพ
       ้




       คือ ตั้งใจมุ่งมั่นแล้วเริ่มจากการสำารวจตัวเองอย่างตรงไป
ตรงมาว่ามีข้อดี-ข้อเสียอะไรบ้าง โดยเน้นที่ข้อบกพร่องเพราะเรา
ต้องการนำามาเป็นข้อมูลในการพัฒนาบุคลิกภาพ จากนั้นค่อยๆ
พัฒนาบุคลิกภาพภายใน (Internal Personality) เมื่อความรู้สึก
นึกคิด มีจิตใจดี มีการมองโลกในแง่ดี ก็จะส่งผลให้เกิดการกระทำา
ที่ดี ตามความคิดที่ออกมาจากจิตใจภายใน ขันต่อไปคือการ
                                                ้
พัฒนาบุคลิกภาพภายนอก(External Personality) ที่จะได้รับ
พื้นฐานที่ดีจากบุคลิกภาพภายใน ทำาให้การกระทำาและการ
แสดงออกมาแล้ว ดูดี มีเสน่ห์แล้วทำาการพัฒนาบุคลิกภาพ
ภายนอกเพิ่มเติมก็เป็นอันสมบูรณ์

แนวทางที่ค นส่ว นใหญ่ย ึด ถือ ในการพิจ ารณาบุค ลิก ภาพ
ของคน มีด ัง นี้
          1. ลัก ษณะทางกาย ได้แก่ รูปร่าง ทรวดทรง ความสูง
นำ้าหนัก ความปกติของอวัยวะ สีผม ผิวพรรณ หน้าตา ท่วงที
ท่าทาง การแต่งกาย (ตามกาลเทศะ) ฯลฯ สิ่งเหล่านี้ย่อมเป็น
เครื่องแสดงให้ทราบถึงประสิทธิภาพของบุคคลทางกายซึ่งผู้
พบเห็นจะประเมินเราเมื่อเจอกันในเวลา 1-5 วินาทีแรก
          2. คุณ ลัก ษณะทางจิต ใจ เช่น สติปัญญา ความจำา
จินตนาการ ความถนัด เจตคติ ความสนใจ ความตั้งใจ การตัดสิน
ใจ ความคิดด้วยเหตุผล ฯลฯ เหล่านี้เกี่ยวกับสมองทั้งสิ้น
          3. อุป นิส ัย หมายถึง ลักษณะโดยรวมของนิสัยหลายๆ
อย่าง ของบุคคลที่แสดงออกเป็นพฤติกรรม เป็นระยะที่ยาวนานพอ
สมควร จนกลายเป็นความประพฤติหรือความมีศีลธรรม จรรยา
มารยาท และคุณธรรม
            4. อารมณ์ ได้แก่ ความรู้สึกแห่งจิตที่ก่อให้เกิดการกระ
ทำาต่างๆ เช่น ชื่นชอบ ตื่นเต้น โกรธ กล้าหาญ หวาดกลัว ตกใจ
ง่าย ร่าเริง หดหู่ หงุดหงิด กังวล ฯลฯ
            5. กำา ลัง ใจ คือ ความสามารถที่จะควบคุมหรือบังคับ
กิริยาอาการต่างๆ ที่กระทำาไปโดยเจตนา เช่น กระฉับกระเฉง
ว่องไว หรือเฉื่อยชา เชื่องช้า ความอดทนหรือความเบื่อหน่าย
            6. การสมาคม คือ กิริยา ท่าที อาการที่บุคคลแสดงต่อ
ผู้อื่น เช่น ชอบคบค้าสมาคม หรือเก็บตัว เมตตาปราณี เห็นอก
เห็นใจผู้อื่น หรือไม่แยแสเอาใจใส่กับผู้ใด
            7. ความรู้ ความสามารถ อำา นาจ ฐานะ ความรู้ส ูง
ความชำา นาญ มีความสามารถเป็นพิเศษ ความมี-อำานาจ อิทธิพล
มียศถาบรรดาศักดิ์ เหล่านี้เป็นปัจจัยส่งเสริมบุคลิกภาพอย่างมาก

          การฝึก พัฒ นาบุค ลิก ภาพภายใน
การฝึกพัฒนาบุคลิกภาพภายใน เริ่มจาก
              1. ทัศ นคติ คือ จุด เริ่ม ต้น

             ทัศนคติที่ดี คือ จุดเริ่มต้นของบุคลิกง่ายๆ เพียงแต่
มองทุกสิ่งในด้านที่ดี ก็จะทำาให้มีความสุข แล้วความสุขก็จะเปล่ง
ประกายออกมาภายนอก หรือการมองทุกคนในแง่ดี พยายาม
เข้าใจว่าเขามีเหตุผลในการกระทำาของเขา ก็จะทำาให้เราไม่โกรธ
ใครง่ายๆ มองโลกสวยงาม ทำาให้เรามีจิตใจรื่นรมย์ แล้วยิ่งหมั่นมี
จิตใจเอื้ออาทรต่อผู้คนเพิ่มขึ้นไปอีก ใครๆก็จะชื่นชมได้โดยไม่
ยากสบายใจแจ่มใสเสมอ ดังนั้นจึงควรหมั่นทำาใจให้ผ่องแผ้ว
แจ่มใส และสบายใจอยู่เสมอในทุกสถานการณ์ ภาพสะท้อนที่
ปรากฏออกมา ทำาให้เราเป็นคนร่าเริง กุ๊กกิ๊กน่ารัก สนุกสนานและ
มีอารมณ์ขันอยู่เสมอ น่ารักอย่างนี้แล้วใครที่ไหนจะไม่ชื่นชม


       2. สร้า งความเชื่อ มั่น ในตนเอง คือ มั่น ใจในตนเอง

            ควรหมายถึงการมีศรัทธาในตนเอง เชื่อมั่น เชื่อถือใน
คุณค่า ความสามารถ รูปลักษณ์ บุคลิกลักษณะ ตลอดจนความรู้
และหัวจิตหัวใจของตนเอง ทำาให้ไม่มีความประหม่า มีความกล้า
วินิจฉัยปัญหาได้ด้วยตนเอง ตัดสินใจได้ด้วยตนเอง สามารถคาด
การณ์ล่วงหน้าได้พอประมาณว่า ถ้าลงมือกระทำาไปแล้วจะได้รับ
ผลอย่างไรความแน่ใจในอันที่จะเดิน จะลุกจะนั่ง จะทำา จะพูด จะ
คิด หรือแสดงออกต่อหน้าสาธารณชนอย่างสร้างสรรค์ และมี
ความสุขสิ่งที่จะช่วยให้แต่ละคนมีความมั่นใจในตนเองมีความรู้สึก
มั่นคง

         3. พยายามวิเ คราะห์ป ระเมิน ตนเองอย่า งแท้จ ริง

          คือ พิจารณาว่าตนมีความสามารถใด และขาดความ
สามารถทางใด แล้วใช้ความสามารถที่มีอยู่ให้ได้ประโยชน์มาก
ที่สุด พยายามเปลี่ยนสิ่งที่พอจะเปลี่ยนได้ สิ่งที่เปลี่ยนไม่ได้ก็อย่า
นำามาคำานึงถึงจนกลายเป็นความวิตกกังวล




         4. ทำา ใจให้พ ร้อ มในการเผชิญ ความจริง

            โดยคิดว่าในโลกนี้มีขึ้นมีลง มีทั้งสิ่งดีและไม่ดี มีทั้งคนดี
มากและคนดีน้อย เราก็เหมือนคนอื่นๆ คือ ประสบทั้งสิ่งดีและไม่ดี
ในชีวิต เราอาจพบหัวหน้าห้อง เพื่อนร่วมห้อง รุ่นพี่ และลูกน้อง
บางคนที่ดีมาก แต่บางคนก็ทำาให้เรายุ่งยากใจในการทำางานร่วม
ด้วย คนบางคนเป็นคนดีตามที่เราต้องการ แต่บางคนถึงกับทำาให้
เราล้มหมอนนอนเสื่อ ส่วนชีวิตของเรานั้น บางตอนก็ดูราบรื่น
มั่นคง บางตอนก็ทำาท่าจะไปไม่ไหว คนที่มีความเป็นผู้ใหญ่คือ คน
ซึ่งไม่ว่าจะอยู่ในสถานการณ์ใดก็ยังพร้อมอยู่เสมอที่จะปรับปรุง
ชีวิตของตนเองให้ดีขึ้น ไม่หวั่นไหวไปกับการเปลี่ยนแปลงที่เป็น
ไปตามกฎธรรมชาติจนเกินกว่าเหตุ

     5. ฝึก ตนให้ม ีค วามสามารถในการควบคุม อารมณ์
ของตนเองไม่ว ่า จะอยู่ใ นสถานการณ์ใ ด

           คือ มีอารมณ์มั่นคง ไม่ปล่อยตนเป็นทาสของอารมณ์
ตามธรรมชาติไปเสียหมด โดยธรรมชาติของชีวิตนั้น บางคนก็
ร่าเริงมีความสุข บางครั้งก็เศร้าหมองหดหู่ บางครั้งก็โกรธเกลียด
ไม่ชอบใจ แต่ก็ต้องทำาใจว่าชีวิตใครๆ ก็เป็นอย่างนี้ “ชั่วเจ็ดที ดี
เจ็ดหน” การมีดีบ้างชั่วบ้างก็ทำาให้ชีวิตมีรสชาติ ดังนั้นเมื่อมีความ
สุขก็ อย่าปล่อยให้ความปิติยินดีมากจนทำาให้เราร่าเริง จนผิด
กาลเทศะ หรือเมื่อเศร้าหมองหดหู่ใจ ก็อย่าปล่อยตนจมอยู่กับ
ความเศร้าโศกจนทำาอะไรไม่ได้หรือขาดสมาธิในการทำางาน การ
ยิ้มสู้เข้าไว้ก็น่าจะเป็นทางออกที่ดีและอย่าคิดสั้น ควรให้โอกาสแก่
ตนเองในการเผชิญกับปัญหา ไม่ควรคิดสั้นฆ่าตัวตายเพื่อหนี
ความล้มเหลว

        6. ฝึก ตนให้ท ำา งานโดยมีก ารวางแผนและเป้า
หมาย

            คือ ไม่ปล่อยชีวิตให้เป็นไปตามลมเพลมพัด เมื่อจะ
ทำางานก็ควรจะถามตัวเองว่า ทำาเพื่อใคร ทำาอะไร ทำาเมื่อใด และ
ทำาอย่างไร มีการเตรียมการล่วงหน้า กำาหนดกิจกรรมต่างๆ ไว้ล่วง
หน้าวิธีการดังกล่าวนี้ จะช่วยให้ก้าวหน้าอย่างมีจังหวะ และทำาให้
ชีวิตในแต่ละวันมีความหมายสำาหรับตน




         7. รู้จ ัก บัง คับ ใจตนเอง

             คือ ทำาตนให้มีความสามารถในการ “รอ” สิ่งที่ต้องการ
ได้ ผู้ใดก็ตามถ้าไม่สามารถรอสิ่งที่ต้องการได้ นับว่ายังไม่เป็น
ผู้ใหญ่ ทั้งยังมีผลทำาให้บุคลิกภาพด้านอื่นๆ พลอยเสียไปด้วย และ
แสดงว่ายังไม่พร้อมสำาหรับการมีบุคลิกภาพที่ดี ความสามารถใน
การรอคอย ยังช่วยให้มีสัมพันธภาพที่ดีกับผู้อื่น และแก้ปัญหาทาง
อารมณ์ได้มาก เช่น สามารถรอคอยผู้ที่ผิดนัดได้

        8. พยายามปรับ ชีว ิต ให้เ ข้า กับ สัง คม

          คือ ทำาตนให้มีความสุขในทุกสภาพของสิ่งแวดล้อม
เราอาจเป็นคนชอบสันโดษ แต่ถ้าเขามีงานรื่นเริง ไม่ว่าจะใน
ระหว่างเพื่อน ระหว่างรุ่นพี่ กับรุ่นน้อง เราก็ต้องแสดงความพอใจ
ที่จะร่วมด้วยได้ เป็นต้น หรือเราอาจมีวิธีทำางานที่ต่างไปจากคน
อื่น แต่เราก็ต้องสามารถผ่อนปรนได้บ้างโดยไม่กระทบกระเทือน
ถึงอิสระในความคิดอ่านของผู้อื่น

        9. ฝึก ความอดทนและอดกลั้น ให้ก ับ ตนเอง

             คือ อดทนต่อความคิดของผู้อื่นที่ขัดแย้งกับตน อดทน
กับพฤติกรรมของคนบางคน อดทนกับการถูกมองข้ามในสิ่งที่ไม่
อยากให้เขามองข้าม ยอมรับฟังคำาวิจารณ์จากคนอื่นโดยพยายาม
คิดว่าคำาวิจารณ์ต่างๆ เหล่านั้นจะทำาให้ตนได้ปรับปรุง เรื่องที่ไม่
พอใจบางเรื่องควรพยายามลืม เมื่อไม่ชอบใจใคร ไม่ควรใช้วิธี
พรำ่าบ่น เนื่องจากอาจสร้างความรำาคาญให้ผู้อื่น และพลอยทำาให้
ผู้อื่นมีปัญหาทางอารมณ์ไปด้วย

          10. มีค วามสามารถในการรับ และแก้ไ ขสิ่ง ที่ไ ม่
ชอบ

            คือไม่ควรหัวเสียหรือพรำ่าพรรณนาในโชคชะตาของ
ตนเองให้ผู้อื่นรับฟังไม่หยุดหย่อน เพราะไม่ว่าจะทำาอะไร มีอาชีพ
อย่างไร อยู่ในตำาแหน่งใด หรือสัมพันธ์เกี่ยวข้องกับใครก็จะต้องมี
สิ่งไม่ชอบรวมอยู่ด้วยทั้งสิ้น




          11. ใช้ค วามสามารถที่ม ีอ ยู่ใ ห้เ ป็น ประโยชน์ต ่อ
ตนเอง

              ดังตัวอย่างในชีวิตประจำาวันที่มักพบว่ามีคนมากมาย
ที่มีทักษะทำางานเก่งแต่เก็บความรู้ความสามารถเหล่านั้นใส่ลิ้นชัก
ไว้ แล้วทำางานเท่าที่ได้รับคำาสั่งให้ทำา ทำางานเพียงเพื่อแลกกับผล
ตอบแทนให้พออยู่ได้ การดำาเนินงานดังกล่าวนี้ มักไม่นำาพาไปสู่
ความก้าวหน้าหรือความสำาเร็จในชีวิต
12. สร้า งความรู้ส ึก พอใจที่จ ะได้ป ฏิบ ัต ิต าม
ระเบีย บข้อ บัง คับ

              ทั้งนี้ เพราะกฎและระเบียบทำาให้อยู่ร่วมกันได้อย่าง
ปกติสุขถ้าหากทุกคนเคารพในกฎและระเบียบนั้น กฎเกณฑ์ใดใน
องค์การที่เรารู้สึกว่ามันเป็นไปได้ในแง่ของการปฏิบัติ ผู้ที่มี
ลักษณะเป็นผู้ใหญ่แล้วควรสามารถที่จะเสนอข้อปรับปรุง
เปลี่ยนแปลงได้โดยสันติวิธี โดยอ่อนน้อมถ่อมตน และโดยเลือก
จังหวะเวลาที่เหมาะสมในการนำาเสนอข้อคิดเห็นวิธีการดังกล่าวนี้
จะช่วยสร้างบรรยากาศที่ดี ส่งผลให้ทำางานร่วมกันได้โดยราบรื่น

            13. ฝึก มองทุก ปัญ หาให้เ ป็น เรื่อ งเล็ก

                ข้อนี้อาจยากสำาหรับบางคน แต่ความจริงที่จะช่วยให้
ทำาใจได้ก็คือ ไม่ว่าเรื่องเลวร้ายอะไรที่มันได้เกิดขึ้นในชีวิต มันได้
เกิดขึ้นแล้ว และถ้ายังหาทางแก้ไขไม่ได้ มันก็ยังคงอยู่ มันไม่มี
ทางไปไหนพ้นจากชีวิตได้ในเวลานี้เลย เพราะฉะนั้นทางเดียวที่
จะต้องเผชิญหน้ากับปัญหาที่ยังจัดการไม่ได้ก็คือ มองมันให้เป็น
เรื่องเล็กที่สุด ไม่ปล่อยให้มันมาทำาอะไร ให้กระทบกระเทือนชีวิต
ส่วนอื่นๆ เพราะมันเป็นเรื่องเล็กๆเท่านั้นเอง ต้องหมั่นทำาใจว่า
อะไรที่มันจะเกิด มันก็ต้องเกิด ทุกคนในโลกต่างก็มีเวลาต้องพบ
เจอกันทั้งนั้น ไม่ใช่คุณคนเดียวหรอก เพราะฉะนั้นวางมันลง
ดำาเนินชีวิตต่อไปอย่างสง่างาม บุคลิกภาพที่ดีประการหนึ่งก็คือ
การที่ไม่เป็นคนตีโพยตีพายโวยวายเวลามีปัญหา

             14. ควบคุม ตนให้ค ิด ถึง ผู้อ ื่น มากกว่า คิด ถึง
ตนเอง

               เพราะเราทำาดีคนอื่นก็ทำาดี นี่คือแนวคิดแบบ ที่เรียก
ว่า I am OK, He or she OK ..นั่นคือมองตนเองด้วยการ
ยอมรับ เข้าใจเหตุผลบนการกระทำาของตนเองอย่างถูกต้อง และก็
ต้องคิดเหมือนกันกับคนอื่นด้วย ไม่เช่นนั้นจะกลายเป็นคนประเภท
ที่คิดว่าตัวเองดีอยู่คนเดียว คนอื่นแย่หมด...อย่างนี้ใครๆก็ไม่อยาก
รัก การเข้าใจตนเองและเข้าใจผู้อื่นเหมือนกับที่เราเข้าใจตัวเอง
อาจฟังเป็นเรื่องยากสำาหรับบางคน แต่ถ้ามีโอกาสได้เห็นว่ากิริยา
อาการของเรา เวลาที่มองการกระทำาของคนอื่น ว่าไม่ดีนั้นไม่
ความหมายของบุคลิกภาพ
ความหมายของบุคลิกภาพ
ความหมายของบุคลิกภาพ
ความหมายของบุคลิกภาพ
ความหมายของบุคลิกภาพ
ความหมายของบุคลิกภาพ
ความหมายของบุคลิกภาพ
ความหมายของบุคลิกภาพ
ความหมายของบุคลิกภาพ
ความหมายของบุคลิกภาพ
ความหมายของบุคลิกภาพ
ความหมายของบุคลิกภาพ
ความหมายของบุคลิกภาพ
ความหมายของบุคลิกภาพ
ความหมายของบุคลิกภาพ
ความหมายของบุคลิกภาพ
ความหมายของบุคลิกภาพ
ความหมายของบุคลิกภาพ
ความหมายของบุคลิกภาพ
ความหมายของบุคลิกภาพ
ความหมายของบุคลิกภาพ
ความหมายของบุคลิกภาพ
ความหมายของบุคลิกภาพ

More Related Content

What's hot

ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558
ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558
ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558peter dontoom
 
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดีแบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดีmaethaya
 
ตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptx
ตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptxตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptx
ตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptxJessie SK
 
เรื่องที่ 6 การลำดับชั้นหิน
เรื่องที่ 6 การลำดับชั้นหินเรื่องที่ 6 การลำดับชั้นหิน
เรื่องที่ 6 การลำดับชั้นหินKobwit Piriyawat
 
วิธีสอนแบบอุปมาน
วิธีสอนแบบอุปมานวิธีสอนแบบอุปมาน
วิธีสอนแบบอุปมานJames12324
 
ทศนิยมไม่ใช่เรื่องยาก
ทศนิยมไม่ใช่เรื่องยากทศนิยมไม่ใช่เรื่องยาก
ทศนิยมไม่ใช่เรื่องยากDarika Roopdee
 
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนkrupornpana55
 
คำสำคัญของปริญญานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และงานวิจัย (Research Keywords)
คำสำคัญของปริญญานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และงานวิจัย (Research Keywords)คำสำคัญของปริญญานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และงานวิจัย (Research Keywords)
คำสำคัญของปริญญานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และงานวิจัย (Research Keywords)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
โครงสร้างการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
โครงสร้างการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป.3โครงสร้างการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
โครงสร้างการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป.3Mam Chongruk
 
เรื่องที่13แสง
เรื่องที่13แสงเรื่องที่13แสง
เรื่องที่13แสงApinya Phuadsing
 
41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน
41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน
41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐานPochchara Tiamwong
 
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่website22556
 
โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3Mam Chongruk
 
แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docx
แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docxแบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docx
แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docxNing Thanyaphon
 
Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้
Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้
Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้krupornpana55
 
ปกนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
ปกนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศปกนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
ปกนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศsomdetpittayakom school
 
สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...TupPee Zhouyongfang
 

What's hot (20)

ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558
ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558
ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558
 
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดีแบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
 
ตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptx
ตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptxตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptx
ตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptx
 
ระบบต่อมไร้ท่อ
ระบบต่อมไร้ท่อระบบต่อมไร้ท่อ
ระบบต่อมไร้ท่อ
 
เรื่องที่ 6 การลำดับชั้นหิน
เรื่องที่ 6 การลำดับชั้นหินเรื่องที่ 6 การลำดับชั้นหิน
เรื่องที่ 6 การลำดับชั้นหิน
 
วิธีสอนแบบอุปมาน
วิธีสอนแบบอุปมานวิธีสอนแบบอุปมาน
วิธีสอนแบบอุปมาน
 
ทศนิยมไม่ใช่เรื่องยาก
ทศนิยมไม่ใช่เรื่องยากทศนิยมไม่ใช่เรื่องยาก
ทศนิยมไม่ใช่เรื่องยาก
 
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
 
คำสำคัญของปริญญานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และงานวิจัย (Research Keywords)
คำสำคัญของปริญญานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และงานวิจัย (Research Keywords)คำสำคัญของปริญญานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และงานวิจัย (Research Keywords)
คำสำคัญของปริญญานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และงานวิจัย (Research Keywords)
 
โครงสร้างการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
โครงสร้างการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป.3โครงสร้างการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
โครงสร้างการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
 
เรื่องที่13แสง
เรื่องที่13แสงเรื่องที่13แสง
เรื่องที่13แสง
 
41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน
41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน
41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน
 
O-net วิทยาศาสตร์ 2557
O-net วิทยาศาสตร์ 2557O-net วิทยาศาสตร์ 2557
O-net วิทยาศาสตร์ 2557
 
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
 
โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
 
49 ตรีโกณมิติ ตอนที่6_กฎของไซน์และโคไซน์
49 ตรีโกณมิติ ตอนที่6_กฎของไซน์และโคไซน์49 ตรีโกณมิติ ตอนที่6_กฎของไซน์และโคไซน์
49 ตรีโกณมิติ ตอนที่6_กฎของไซน์และโคไซน์
 
แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docx
แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docxแบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docx
แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docx
 
Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้
Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้
Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้
 
ปกนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
ปกนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศปกนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
ปกนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
 
สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
 

Similar to ความหมายของบุคลิกภาพ

Similar to ความหมายของบุคลิกภาพ (9)

การจัดการความรู้สำหรับระบบราชการยุคใหม่
การจัดการความรู้สำหรับระบบราชการยุคใหม่การจัดการความรู้สำหรับระบบราชการยุคใหม่
การจัดการความรู้สำหรับระบบราชการยุคใหม่
 
Strategic planning 2
Strategic planning 2Strategic planning 2
Strategic planning 2
 
ผังมโนทัศน์ทางเลือกในการแก้ปัญหา
ผังมโนทัศน์ทางเลือกในการแก้ปัญหาผังมโนทัศน์ทางเลือกในการแก้ปัญหา
ผังมโนทัศน์ทางเลือกในการแก้ปัญหา
 
เครื่องมือชุดธารปัญญา
เครื่องมือชุดธารปัญญาเครื่องมือชุดธารปัญญา
เครื่องมือชุดธารปัญญา
 
Km
KmKm
Km
 
Content03
Content03Content03
Content03
 
ใบงานที่ 9
ใบงานที่ 9ใบงานที่ 9
ใบงานที่ 9
 
ใบงานที่ 8
ใบงานที่ 8ใบงานที่ 8
ใบงานที่ 8
 
Wintitude_present
Wintitude_presentWintitude_present
Wintitude_present
 

ความหมายของบุคลิกภาพ

  • 1. ความหมายของบุค ลิก ภาพ ความหมายและความสำา คัญ ของบุค ลิก ภาพ คำาว่า “บุคลิกภาพ” (Personality) มาจากภาษาลาติ นว่า “Persona” ซึ่งแปลว่า หน้ากากที่ตัวละครสมัยกรีก และ โรมันสวมใส่เพื่อแสดงบุคลิกลักษณะที่แตกต่างกัน ให้ผู้เห็นได้ใน ระยะไกล ๆนักจิตวิทยาได้ให้ความหมายของคำาว่า “บุคลิกภาพ” ไว้ต่าง ๆ ดังนี้ "บุคลิกภาพ" หมายถึง สภาวะทุกอย่างที่ประกอบกันขึ้นเป็น ตัวบุคคล โดยหมายรวมถึงคุณสมบัติ หรือคุณลักษณะทางจิตใจ ซึ่งมีอิทธิพลต่อการกระทำาของบุคคลในสถานการณ์ต่าง ๆ "บุคลิกภาพ" หมายถึง คุณลักษณะทางกาย ทางจิตใจ และความรู้สึกนึกคิดที่สะท้อนออกมาให้ผู้อื่นเห็นและเกิดความ ประทับใจมากน้อยเพียงใด "บุคลิกภาพ" หมายถึง ลักษณะท่าทางซึ่งสามารถ แสดงออกมาได้ทั้งทางร่างกาย จิตใจ และความรู้สึกนึกคิด ที่ สะท้อนออกมาให้ผู้อื่นเห็นและเกิดความประทับใจ ฉะนั้น การที่ บุคคลจะได้รับการยอมรับนับถือ การสนับสนุน ความไว้วางใจ และความประทับใจจากผู้อื่นนั้น ก็ควรที่จะแสดงบุคลิกภาพที่ดี และเหมาะสมให้ผู้อื่นเห็น เพราะบุคลิกภาพมีอิทธิพลต่อความรู้สึก และอารมณ์ของผู้ที่พบเห็นเป็นอย่างยิ่ง บุคลิกภาพ เป็นหน่วยรวมของระบบทางกายและจิตภายใน ตัวบุคคล ซึ่งกำาหนดลักษณะการปรับตัวเป็นแบบเฉพาะของบุคคล นั้นต่อสิ่งแวดล้อมของเขา บุคลิกภาพของแต่ละบุคคลจะเห็นได้ ชัดเจนจากลักษณะนิสัยในการคิดและการแสดงออกรวมทั้ง ทัศนคติและความสนใจต่าง ๆ กิริยาท่าทาง ตลอดจนปรัชญาชีวิต ที่บุคคลนั้นยึดถือ องค์ประกอบของบุคลิกภาพ ประกอบด้วย 2 องค์ประกอบ ใหญ่ๆ คือ คุณสมบัติภายนอก และคุณสมบัติภายใน ดัง ภาพที่ 1
  • 2. มอ ไ ด ง เ ห ็น ภ า ้จ า ก คน (V ย น อ ท ี่ท i si bl ก ่า น e) เห ซ ่อ ็น ภา นอย บ ุค (H ย ใ น ู่ ล ิก id de าพ ภ n) ภา ยน ก อ บ ุค ภ า ล ิก ภ า ว ิธ ย ใ น พ ีค - - อ ิด ุป - แ น ิส ัย จ ูง ร ใจ ง คว าม ม ุ่ง - ท ัศ - ม ั่น นค ติ ฯ ลฯ ภาพที่ 1 องค์ประกอบของบุคลิกภาพ บุคลิกภาพ ของแต่ละคนจะเป็นสิ่งประจำาตัวของคนคน นั้น ที่ทำาให้แตกต่างจาก คนอื่น และมีหลายสิ่งหลายอย่าง ที่จะ ประกอบกัน ทำาให้คนแต่ละคนมี บุคลิกภาพ เป็นของตัวเอง ซึ่ง เป็นผลมาจาก การทำางานประสานกันของ สมอง ที่ขึ้นอยู่กับ พันธุกรรม และประสบการณ์ ที่ได้รับจาก สิ่งแวดล้อม บุคลิกภาพ มีความสำาคัญต่อชีวิตเราอย่างยิ่ง ทำาให้เรา รู้สึกถึงความสำาคัญของตัวเอง เราจะไม่มีทางรู้ได้เลยว่า ชีวิตของ เราจะเป็นอย่างไร ถ้าเราไม่รู้ว่าขณะนี้ตัวเราเป็นคนอย่างไร และ เราจะไม่มีทางเข้าใจว่าขณะนี้เราเป็นคนอย่างไร ถ้าไม่รู้ว่าเรา
  • 3. ควรจะเป็นอย่างไร เพราะฉะนั้น สิ่งสำาคัญที่สุด เราจะต้องค้นพบ ตัวเอง และเป็นตัวของตัวเอง คำาว่า “บุคลิกภาพ” (personality) ซึ่งเป็นลักษณะ เฉพาะของบุคคลที่บ่งบอกความแตกต่างระหว่างบุคคล ได้มีผู้ให้ ความหมายไว้ต่างๆ กันดังต่อไปนี้ เออร์เ นส อาร์.ฮิล การ์ด (Hilgard 1962:447) กล่าวว่า บุคลิกภาพ เป็นลักษณะส่วนรวมของบุคคล และการ แสดงออกของพฤติกรรม ซึ่งชี้ให้เห็นความเป็น ปัจเจกบุคคล ใน การปรับตัวต่อสิ่งแวดล้อม รวมถึงลักษณะที่ส่งผลสู่การติดต่อ สัมพันธ์กับผู้อื่น ได้แก่ ความรู้สึกนับถือตนเอง ความสามารถ แรง จูงใจ ปฏิกิริยาในการเกิดอารมณ์ และลักษณะนิสัยที่สะสมจาก ประสบการณ์ชีวิต ฟิล ลิป จี.ซิม บาร์โ ด และฟลอยด์ แอล .รูช (Zimbardo and Ruch 1980:292) อธิบายว่า บุคลิกภาพ เป็นผลรวมของลักษณะ เชิงจิตวิทยาของบุคคลแต่ละคน มีผลต่อ การแสดงออกซึ่งพฤติกรรมหลากหลายของบุคคลนั้น ทั้งส่วนที่ เป็นลักษณะภายนอก ที่สังเกตได้ง่ายและพฤติกรรมภายในที่ สังเกตได้ยาก ลักษณะที่หลากหลายดังกล่าว ส่งผลให้บุคคล แสดงออก ต่างกันใน แต่ละสถานการณ์และช่วงเวลา ริช าร์ด ซี.บุท ซิน และคณะ (Bootzin and others 1991:502) ให้ความหมายว่า บุคลิกภาพ เป็นลักษณะ นิสัยและรูปแบบของความคิด ความรู้สึก และการประพฤติปฏิบัติ ของบุคคลแต่ละคน อัล ชลี แจ่ม เจริญ (2530:163) ให้ความหมายว่า บุคลิกภาพ หมายถึงลักษณะส่วนรวมของบุคคลทั้งหมด ที่ แสดงออกมาปรากฎ ให้คนอื่นได้รู้ได้เห็น ซึ่งแตกต่างกันเพราะ ภาวะสิ่งแวดล้อมที่สร้างตัวบุคคลนั้นแตกต่างกันประการหนึ่ง และ พันธุกรรม ที่แต่ละบุคคล ได้มาก็แตกต่างกัน ไปอีกประการหนึ่ง
  • 4. จากคำาจำากัดความและความหมายของ “บุคลิกภาพ” ที่ กล่าวมา สรุปได้ว่า บุคลิกภาพ คือตัวบุคคลโดยส่วนรวม ทั้ง ลักษณะทางกาย ซึ่งสังเกตได้ง่าย อันได้แก่รูปร่างหน้าตากิริยา ท่าทาง นำ้าเสียง คำาพูด ความสามารถทางสมอง ทักษะการทำา กิจกรรมต่างๆ และลักษณะทางจิต ซึ่งสังเกตได้ค่อนข้างยาก ได้แก่ ความรู้สึกนึกคิด เจตคติ ค่านิยม ความสนใจ ความมุ่งหวัง อุดมคติ เป้าหมาย และความสามารถในการปรับตัว ให้เข้ากับสิ่ง แวดล้อม ลักษณะดังกล่าวมีที่มาจากพันธุกรรมและสิ่งแวดล้อมของ แต่ละคน ส่งผลสู่ความสามารถในการปรับตัว ต่อสิ่งแวดล้อม และ ความแตกต่างระหว่างบุคคล จากความหมายของ บุคลิกภาพ ดังกล่าว เมื่อนำามา วิเคราะห์ให้สัมพันธ์กับงานอุตสาหกรรม ซึ่งเป็นงานที่เกี่ยวข้องกับ การดำาเนินงาน ทั้งด้านการบริหาร การผลิต การจำาหน่าย และ การให้บริการ โดยพิจารณา บุคลิกภาพ ที่ส่งผลต่อการดำาเนินงาน จะพบว่าทุกลักษณะของ บุคลิกภาพ มีอิทธิพลต่อผลการดำาเนิน งาน โดยมีอิทธิพลมากบ้างน้อยบ้าง จึงอาจให้ความหมายของ บุคลิกภาพ เชิงอุตสาหกรรมได้ว่า เป็นลักษณะส่วนรวมของบุคคล ทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ ซึ่งเอื้ออำานวยให้เกิดผลดีต่อการ ดำาเนินงานอุตสาหกรรม ทั้งในแง่ของการบริหาร การผลิต การ จำาหน่าย และการให้บริการในงานอุตสาหกรรม ทฤษฎีหนึ่งที่เกี่ยวกับ บุคลิกภาพ อาศัย ความสัมพันธ์ ระหว่างอารมณ์และ ความสามารถในการรู้ตัวเอง (Self Awareness) ถือเป็น ความฉลาด อย่างหนึ่ง เพราะการที่เราจะ รู้ตัวเอง หรือ รู้พฤติกรรมของเราเอง ได้นั้น ขึ้นอยู่กับว่า เรามอง ตัวเราอย่างไร เมื่อเทียบกับ สิ่งแวดล้อมในโลกนี้ และเราจะ ควบคุมพฤติกรรม ของเราได้อย่างไร ซึ่งความสามารถ ที่จะ จัดการและ ควบคุมชีวิต เรานี้ เป็นความสามารถที่เรียกว่า ประสิทธิภาพส่วนบุคคล (Self Efficacy) คนที่มีประสิทธิภาพ ส่วนบุคคลสูง จะมีความมั่นใจใน การมีพฤติกรรมโต้ตอบที่ถูกต้อง แต่คนที่มีประสิทธิภาพในตัวเอง ตำ่า จะมีความกระวนกระวาย มีความกังวลเมื่อจะต้องมีการโต้ตอบ ต่อ สิ่งแวดล้อม ซึ่งอาจจะอยู่นอกเหนือการควบคุมของคนคนนั้น ความรู้ตัวและประสิทธิภาพส่วนตัวน ีีี้เองจะรวมกันเป็น บุคลิกภาพ ขึ้น
  • 5. ซิก มัน ด์ ฟรอยด์ (Sigmund Freud) นักจิตวิทยาที่ มีชื่อเสียงมาก ได้อธิบายถึงความหมายของคำาว่า "อีโก้ (Ego)" ซึ่งเป็นส่วนสำาคัญของ บุคลิกภาพ ที่ทำาหน้าที่ตัดสินใจ แต่การ ตัดสินใจขึ้นอยู่กับอำานาจภายในร่างกาย หรือความต้องการ ความ ปรารถนาของคนคนนั้น ซึ่งอาจจะเป็นความเห็นแก่ตัว (id) กับ ความรู้สึกผิดชอบชั่วดี ความจริงจากสิ่งแวดล้อมภายนอก จริยธรรม ความเป็นเหตุเป็นผล (superego) และเมื่อมีการชั่งนำ้า หนักระหว่างปัจจัย 2 ปัจจัยนี้แล้วก็จะเกิดการตัดสินใจขึ้น คำาถามคือ บุคลิกภาพ เกิดจากอะไร มาจากไหน นัก ทำานาย บุคลิกภาพ ฟรานซ์ โจเซฟ กอลล์ (Franze Joseph Gall) ได้ให้ทฤษฎีว่า รอยหยักบนพื้นผิวสมองนั่นเองเป็นตัว กำาหนด บุคลิกภาพ เพราะส่วนนี้ทำาให้เราตอบสนองต่อสิ่งแวดล้อม มีผลต่อวิธีคิด ความรู้สึกและการกระทำาของเรา ความสำา คัญ ของการมีบ ุค ลิก ภาพทีด ี ่ ผู้ที่มีบุคลิกภาพที่ดีนั้นเริ่มมาจากผู้ที่มีสุขภาพจิตที่ดี โดยจะเป็นผู้ที่สามารถมองเห็นสิ่งต่างๆตามที่เป็นจริงอย่างถูกต้อง ไม่ต่อต้านหรือยอมรับทุกสิ่งทุกอย่างโดยไร้หลักการ และไม่ว่าจะ อยู่ในสภาวการณ์ใดๆก็ตาม ก็ยังสามารถปฏิบัติได้คงเส้นคงวา นั้นก็คือการเป็นบุคคลที่สามารถปรับตัวได้ดี การเป็นผู้ที่มีบุคลิกภาพที่ดีนั้นมีลักษณะสำาคัญที่เป็น ประโยชน์ต่อการดำาเนินชีวิตในแง่มุมต่างๆ ดังนี้ 1. มีความสามารถในการรับรู้และเข้าใจในสภาพความ เป็นจริงได้อย่างถูกต้อง 2. การแสดงอารมณ์จะอยู่ในลักษณะและขอบเขตที่ เหมาะสม
  • 6. 3. มีความสามารถในการสร้างความสัมพันธ์กับบุคคล อื่นและสังคมได้ดี 4. มีความสามารถในการทำางานที่อำานวยประโยชน์ต่อผู้ อื่นและสังคมได้ 5. มีความรักและความผูกพันต่อผู้อื่น 6. มีความสามารถในการพัฒนาตนเอง และการพัฒนา ทางการแสดงออกของตนต่อผูอื่นได้ดีขึ้น ้ การที่คนเรามีบ ุค ลิก ภาพที่ด ี ย่อมหมายถึง บุคลิกภาพ ที่น่าประทับใจเริ่มตั้งแต่ยังไม่เห็นตัวกัน เมื่อเจอหน้ากัน ภายใน 5 วินาทีแรกเราก็จะถูกประเมินแล้วว่าเป็นคนเช่นไรจาก บุคลิกภาพภายนอก ซึ่งจะเป็นสิ่งที่สร้างความประทับใจตั้งแต่แรก เห็น ไม่ว่าจะสุขภาพร่างกาย หน้าตา ทรงผม เสื้อผ้า แต่งตัว เหมาะสมกับกาลเทศะ แลดูสะอาดเรียบร้อย เครื่องประดับ ลีลา ท่าทางต่าง ๆ เช่น การยืน เดิน นั่ง การพูดจา นำ้าเสียงนุ่มนวล ชวนฟัง ไม่พูดกระโชก หรือขวานผ่าซาก รู้จักพูด รู้จักเลือกใช้ ถ้อยคำาให้เหมาะสมกับคนฟังและกาลเทศะ กิริยาท่าทาง คล่องแคล่วมีความมั่นใจ สรุป คือภาพรวมภายนอกทั้งหมดของคน เราที่ดูดี ดังคำาที่ว่า “กาย-ดูด ี วาจา-น่า ฟัง และใจ-เป็น บวก” สำา หรับ บุค ลิก ภาพที่ไ ม่ด ี หมายถึง ลักษณะ ภายนอกที่ดูไม่ดี ได้แก่ การแสดงพฤติกรรมที่ไม่สุภาพไม่เหมาะ สมแก่กาลเทศะและสถานที่ไม่เป็นที่พึงปรารถนาของสังคม การ แต่งกายที่ไม่สุภาพเรียบร้อย ปล่อยชายเสื้อลอยอยู่นอกกางเกง แต่งกายไม่เหมาะสมกับกาลเทศะ การยืน เดิน นั่ง ไม่สุภาพ การ พูดจา พูดกระโชก หรือขวานผ่าซาก ไม่รู้จักพูด รู้จักเลือกใช้ ถ้อยคำาให้เหมาะสมกับคนฟังและกาลเทศะ กระบวนการพัฒ นาบุค ลิก ภาพ (The Process of Personality Development) การพัฒนาบุคลิกภาพในทัศนะของ Maslow คือการได้รับ ความพึงพอใจจากความต้องการขั้นตำ่าไปสู่ความต้องการขั้นตำ่าไป สู่ความต้องการขั้นที่สูงขึ้นตามลำาดับ การผ่านพ้นความต้องการ แต่ละขั้นนี้ขึ้นอยู่กับสิ่งแวดล้อมของบุคคลนั้น สิ่งแวดล้อมที่ทำาให้
  • 7. เกิดความหวาดหวั่นและไม่สนองความต้องการต่างๆ ย่อมจะส่ง เสริมความเจริญเติบโตของบุคลิกภาพและนำาไปสู่การเข้าใจ ตนเองอย่างแท้จริง ในทัศนะของ Maslow สิ่งแวดล้อมสำาคัญมาก ในความต้องการเบื้องต้น ตัวอย่างที่แสดงความสำาคัญของสิ่ง แวดล้อม เช่น เป็นที่เข้าใจชัดเจนว่าความต้องการต่างๆ ต่อไปนี้ ความปลอดภัย ความรักและความเป็นเจ้าของ เป็นความต้องการที่ ขึ้นอยู่กับความร่วมมือจากบุคคลอื่นที่จะทำาให้เกิดความพึงพอใจ ต่อมาในความต้องการระดับสูงขึ้นบุคคลจะอาศัยสิ่งแวดล้อมน้อย ลงแต่จะใช้ประสบการณ์ภายในตนเพื่อชี้นำาพฤติกรรม ดังนั้นใน ความต้องการระดับสูง พฤติกรรมจึงถูกกำาหนดโดยธรรมชาติ ภายในของบุคคล เช่น ความสามารถ ศักยภาพ ความสามารถ พิเศษ และแรงกระตุ้นทางการสร้างสรรค์ เมื่อถึงระยะนี้ก็เป็นที่ ประจักษ์ชัดแจ้งว่าบุคคลต้องการรางวัลหรือความเห็นชอบจากผู้ อื่นลดน้อยลงเป็นการเปลี่ยนการเรียนรู้จากการเชื่อมโยงความ สัมพันธ์ไปสู่การเรียนรู้โดยวิธีรับรู้ด้วยตนเอง (associative learning to perceptual learning) การเรียนรู้โดยวิธีรับรู้ด้วย ตนเองจะเป็นการเรียนรู้โดยความสมัครใจ มีความสามารถในการ หยั่งเห็น (insight) มีความสามารถเข้าใจตนเอง และไปสู่ พัฒนาการของบุคลิกภาพขั้นสุดท้าย คือมีความเข้าใจตนเอง และ โลกอย่างแท้จริงซึ่งจะช่วยให้การดำาเนินชีวิต เป็นไปอย่างราบรื่น และประสบความสำาเร็จ ทฤษฎีบ ุค ลิก ภาพของ Maslow
  • 8. เป็นทฤษฎีที่ให้ความรู้และข้อคิดเห็นเกี่ยวกับมนุษย์แตกต่าง ไปจากทฤษฎีที่ตั้งขึ้นในระยะแรกๆ ของการศึกษาในเรื่องนี้ เป็น ทฤษฎีที่มองมนุษย์ในมิติใหม่ว่ามนุษย์นั้นมีความดี มีความงาม มี คุณค่า และมีความปรารถนาที่จะพัฒนาตนเองซึ่งนับว่าเป็นความ คิดเห็นที่มีประโยชน์ในการศึกษาจิตวิทยาบุคลิกภาพทำาให้เข้าใจ พฤติกรรมได้ชัดเจนยิ่งขึ้นซึ่งจะเป็นข้อมูลสำาหรับการพัฒนา บุคลิกภาพให้ไปสู่จุดมุ่งหมายสุดท้ายคือบุคลิกภาพที่สมบูรณ์แบบ หรือในทัศนะของ Maslow คือการพัฒนาบุคคลไปสู่การเข้าใจ ตนเองอย่างแท้จริงนั่นเอง ประวัต ิโ ดยย่อ ของ Maslow Abraham Maslow เกิดเมื่อวันที่ 1 เมษายน ค.ศ. 1908 ที่เมือง Brooklyn ในประเทศสหรัฐอเมริการัฐ New York บิดา มารดาเป็นชาวยิว (Jews) ซึ่งอพยพมาจากรัสเซีย Maslow เป็น พี่ชายคนโตมีพี่น้อง 7 คน พ่อแม่ของเขามีความปรารถนาที่จะให้ เขาได้รับการศึกษาอย่างดีที่สุดซึ่ง Maslow ก็ยอมรับในความ ปรารถนานี้ อย่างไรก็ตามการศึกษาเพื่อไปสู่เป้าหมายที่พ่อแม่ตั้ง ไว้ในระยะวัยเด็กและวัยรุ่นตอนต้นก็สร้างความขมขื่นให้แก่เขา มากเหมือนกัน ดังที่เขาได้เขียนเกี่ยวกับตัวเองได้ว่า“ ด้วยความ เป็นเด็กจึงไม่เป็นที่น่าสงสัยว่าทำาไมฉันจึงไม่ป่วยเป็นโรคจิตฉัน เป็นเด็กชายยิวตัวเล็กๆอยู่ในกลุ่มเพื่อนที่ไม่ใช่ชาวยิว ซึ่งมัน เหมือนกับสภาพของเด็กนิโกรคนแรกที่เข้าไปอยู่โรงเรียนที่มีแต่ เด็กผิวขาว ฉันรู้สึกโดดเดี่ยวและไม่มีความสุข ฉันใช้เวลาอยู่แต่ ในห้องสมุดและห้อมล้อมด้วยหนังสือต่างๆ โดยปราศจากเพื่อน” จากประสบการณ์ดังกล่าวทำาให้บางคนอาจคิดว่าความปรารถนา ของ Maslow ที่จะช่วยเหลือเพื่อนมนุษย์ให้มีชีวิตความเป็นอยู่ดี ขึ้นนั้นเริ่มต้นมาจากความปรารถนาที่จะให้ชีวิตความเป็นอยู่ของ เขาดีขึ้นนั่นเอง Maslow ได้ทุ่มเทเวลาอย่างมากให้กับการศึกษา จิตวิทยาเกี่ยวกับมนุษย์ แต่เขาก็ยังมีประสบการณ์งานด้านอื่นๆ เช่น ใช้เวลาในช่วงฤดูร้อนช่วยเหลือครอบครัวในการประกอบ ธุรกิจสร้างถังไม้ ซึ่งน้องชายของเขาก็ยังทำากิจการนี้อยู่ทุกวันนี้ Maslow เริ่มต้นการศึกษาในระดับปริญญาในวิชากฎหมายตาม คำาเสนอแนะของพ่อที่ City College of New York แต่เมื่อเรียน ไปเพียง 2 สัปดาห์เขาก็ตัดสินใจว่าเขาไม่สามารถเป็นนัก กฎหมายได้ เขาจึงเปลี่ยนมาศึกษาที่มหาวิทยาลัย Cornell และ ต่อมาก็มาเรียนที่มหาวิทยาลัย Wisconsin ในสาขาจิตวิทยา เขา
  • 9. ได้รับปริญญาตรีเมื่อค.ศ. 1930 ปริญญาโท ในปีค.ศ. 1931 และปริญญาเอกในปีค.ศ. 1934 ทางด้านชีวิตครอบครัว เขาได้ แต่งงานกับ Bertha Goodman ซึ่ง Maslow ยกย่องภรรยาว่ามี ความสำาคัญต่อชีวิตของเขามาก ดังที่เขากล่าวว่า“ ชีวิตยังไม่ได้ เริ่มต้นสำาหรับฉันจนกระทั่งเมื่อฉันแต่งงานและได้ย้ายเข้ามาอยู่ใน Wisconsin” บุค ลิก ภาพทีด ี...เป็น ใบเบิก ทางสูค วามสำา เร็จ ่ ่ “บุคลิกภาพเป็นสิ่งที่สามารถสร้างสรรค์และเปลี่ยนแปลง ไปในทางที่ดีได้” เป็นคำายืนยันจาก นายแพทย์บุตร ประดิษฐวณิช จากเมื่อครั้งแรกที่หนังสือ ‘ขุมทองในบุคลิกภาพ’ ถูกตีพิมพ์เมื่อปี พ.ศ.2511 จนถึ ง การพิ ม พ์ ใ นครั้ ง ที่ ส าม พ.ศ.2533 โดยสำา นั ก พิมพ์ข้าวฟ่าง หรือแม้กระทั่งในปัจจุบันคำากล่าวนี้ยังคงใช้ได้ดีแม้ กาลเวลาจะเปลี่ ย นแปลงสั ง คมก็ เ ปลี่ ย นไป ทั้ ง นี้ ห ลั ก คิ ด ในการ สร้างเสริมบุคลิกภาพนั้นนายแพทย์บุตร ประดิษฐวณิช ประมวลไว้ เป็น 3 หัวข้อใหญ่ คือ 1. ต้องทราบว่าบุคลิกภาพคืออะไร มีลักษณะอย่างไรใน การทำางานร่วมกับผู้อื่น รวมทั้งการจูงใจผู้อื่นตลอดจนการปลุกใจ ต น เ อ ง นั้ น จ ะ ต้ อ ง ส ร้ า ง บุ ค ลิ ก ภ า พ อ ะ ไ ร บ้ า ง 2. ต้ อ งทร าบ วิ ธี ส ะ ส ม บุ ค ลิ กภ า พที่ พึ ง ปร า ร ถ นา 3. ต้องทราบวิธีฝึกฝนให้เกิดบุคลิกภาพที่ยังขาดไป หรือ มี กำา ลั ง อ่ อ น จ น ก ล า ย เ ป็ น นิ สั ย ที่ เ ค ย ชิ น ตัวอย่างบุคคลที่ผ่านการฝึกตนตนเองให้กลายเป็ นผู้ มี บุคลิกภาพดีอาทิเช่น ธีโ อดอร์ รูส เวลท์ อเมริกาไม่ได้สร้างเขาขึ้นมา แต่เขาสร้างตัว ของเขาเอง จากเด็กหนุ่มขี้อายขี้ตื่นมาเป็นประธานาธิบดีของ
  • 10. สหรัฐอเมริกา เดิมทีเขาเป็นเด็กหนุ่มรูปร่างอ่อนแอ้นคล้ายผู้หญิง แถมสายตาสั้นและเป็นหืด มีกำาเนิดรกรากอยู่ที่ลองไอส์แสนด์ใน สหรัฐ เป็นคนที่ถูกครูออกปากว่าไม่มีแววเอาถ่านอะไรเลย สติ ปัญญาก็โง่ทึบผิดวัยเด็กหนุ่มขนาดนั้น อย่างไรก็ดีเขาตระหนัก ตนเองได้ว่าเป็นคนมีบุคลิกลักษณะที่ด้อยกว่าคนอื่นหลายประการ ซึ่งทำาให้เขารู้สึกไม่พอใจตัวเองอยู่แล้วทุกครั้งที่มีผู้กระตุ้นปมด้อย ของเขา ยิ่งถูกนำาไปเปรียบเทียบกับคนอื่นยิ่งประทับความทรงจำา อับปวดร้าวให้รุนแรงมากยิ่งขึ้น รูสเวลท์ พลิกวิกฤตเป็นโอกาส กลับสร้างทิฐิมานะใน ทางสร้างสรรค์ให้เกิดขึ้น ด้วยการแก้ไขลักษณะที่บกพร่องของตน ตั้งหน้าตั้งตาเสริมบุคลิกลักษณะที่เห็นว่าด้อยให้ดูเข้มแข็งขึ้น ทั้ง จากากรรค้นคว้าอ่านตำารับตำารา สังเกตบุคลิกจากผู้ใหญ่ซึ่งได้รับ การเคารพยอมรับจากคนทั้งหลาย หลายปีผ่านไปเด็กหนุ่มขี้ตื่น กลัว อ้อนแอ้น เบาปัญญา ผลักดันตนเองขึ้นมาเป็นผู้นำาที่ยิ่งใหญ่ ของอเมริกันชนและเป็นผู้นำาอเมริกันคนเดียวที่ประชาชนของเขา ยอมยกนิ้วว่าเป็นผู้นำาที่แข็งแกร่งและมีความเชื่อมั่นในตัวเองมาก ที่สุดเท่าที่อเมริกาเคยมีมา ยอร์ช วอชิง ตัน จากเด็กหนุ่มกำาพร้าวัย 15 ปีชาวเมือง เวอร์จิเนีย ถูกทอดทิ้งให้อยูตามลำาพังในชนบท นอกจากเขาจะมี ่ จมูกใหญ่ผิดปกติแล้ว (แต่เขาเป็นชายจมูกใหญ่ซึ่งไม่มีพฤติกรรม ลำาพองตน) เขายังมีนิสัยเป็นคนขี้ขลาดขี้อาย ยิ่งเป็นซำ้าเติม ทำาลายบุคลิกภาพให้แย่ลงไปอีก คนรอบข้างจึงไม่คิดว่าเขาจะ เติบโตเป็นผู้นำาที่ยิ่งใหญ่ของชาติได้ แต่เขาตระหนักดีว่าเขาจะ ต้องเป็นผู้สร้างอนาคตด้วยตนเอง โชคชะตานั้นอยู่ในกำามือของ เขาเอง จุดเริ่มต้นของการเปลี่ยนแปลงคือพิจารณาลักษณะนิสัย ของตน จดบันทึกไว้ในสมุดพกเล่มหนึ่ง แบ่งเป็นส่วนดีและส่วน บกพร่องหรืออ่อนแอ ใช้การสังเกตทุกวัน หาวิธีการปรับปรุงแก้ไข ให้ดีขึ้น ในที่สุดก็สามารถวางกฎเกณฑ์สอนตัวเองจนบุคลิกภาพ เปลี่ยนไปชนิดพลิกจากหน้ามือเป็นหลังมือ เป็นกฎที่มีอยู่ 57 ข้อ ด้วยกัน การปฏิบัติอย่างเคร่งครัดไม่ว่าเขาจะเคลื่อนไป ณ จุดใด
  • 11. กฎเหล่านี้ก็ติดตามเขาไปเช่นกัน ขณะที่อเมริกาประกาศอิสรภาพ จากอังกฤษกฎเหล่านี้ก็ติดตามเขาไปเช่นกัน ต่อมาเมื่อเขาได้เป็น สมาชิกของเวอร์จิเนียเฮาส์ออฟเบอร์เกสส์ กฎทั้ง 57 ได้เข้าไปนั่ง อยู่ในสภาพร้อมกัน และเมื่อครั้งเข้าประชุมสภาคองเกรสและ กระทำาสัตย์สาบานตนเป็นประธานาธิบดีคนแรกของสหรัฐ กฎ เหล่านี้ก็ยังนอนยิ้มกริ่มในกระเป๋าของเขาอีกเช่นกัน คัท ริน มหาราชิน ี จากหญิงสาวเยอรมันที่ถูกจัดว่าหน้าตาน่า เกลียดคนหนึ่ง ในครอบครัวที่พ่อเป็นข้าราชการระดับล่าง ฝ่า วงล้อมแห่งอุปสรรคอาจหาญก้าวขึ้นเป็นจักพรรดินีผู้มีสร้อย พระนามมหาราชินีแห่งจักรวรรดิรัสเซียมหาอำานาจของยุโรปได้ คนแวดล้อมมองว่าเด็กสาวคนนี้อย่างดีคงเป็นได้แค่เพียงแม่บ้าน ของนายทหารเยอรมันคนใดคนหนึ่งเท่านั้น ขณะที่ทุกคนมองข้าม เธอไปเธอกลับวิเคราะห์ตนเองและโลกภายนอก ภายหลังจากเธอ ประสบความสำาเร็จเกินกว่าคนทั่วไปจะทำาได้เธอได้เขียนบันทึกไว้ ตอนหนึ่งซึ่งทำาให้โลกได้รับรู้ว่าเธอสร้างความรุ่งโรจน์ด้วยอำานาจ แรงส่งของบุคลิกภาพว่า “เมื่อข้าพเจ้าอายุได้สิบสี่หรือสิบห้าปี ข้าพเจ้าก็แน่ใจว่า ข้าพเจ้ามีรูปร่างขี้เหร่ ฉะนั้นข้าพเจ้าจึงจำาเป็น ต้องปรับปรุงคุณสมบัติภายในของข้าพเจ้าให้สูงส่งยิ่งขึ้น เพื่อ ชดเชยความน่าเกลียดในรูปร่างของข้าพเจ้าเอง” ลีโ อ ตอลสตอย นักประพันธ์ผู้ยิ่งใหญ่ชาวรัสเซีย คนไทยไม่ น้อยรู้จักผลงานซึ่งถูกแปลเป็นภาษาไทยเล่มหนาอย่าง สงคราม และสันติภาพ ในวัยเด็กเป็นชายที่เติบโตบนกองเงินกองทองตาม ประสาของคนในชนชั้นดังกล่าวเขาใช้ชีวิตรื่นเริงตามฐานันดร ของตนเอง พ่อของเขาเป็นขุนนางมีบรรดาศักดิ์ มีไร่นาจำานวน มากพร้อมด้วยทาสรับใช้อีกนับร้อย แต่เขาไม่ใคร่พอใจในสิ่ง
  • 12. เหล่านี้นักเมื่อได้เห็นการกดขี่ผู้คนจากอิทธิพลของครอบครัวตน ส่งผลให้เขาไม่ได้รับความชื่นชมจากพ่อแม่และญาติพี่น้อง อีกทั้ง รูปลักษณ์เป็นคนจมูกใหญ่ ปากหนา (เน้นว่าปากหนานะครับ ไม่ใช่จมูกใหญ่ และปาก...อย่างอื่น) เขารู้ตัวเองดีว่าไม่มีใครชอบ ในวัย 14 ปีเขาจึงเริ่มวิเคราะห์ตนเองอย่างเงียบๆ สำารวจนิสัย ต่างๆ ที่คิดว่าเป็นเครื่องบั่นทอนบุคลิกภาพของตน แล้วบันทึกนิสัย เสียทั้งหมดเอาไว้ 4 ปีผ่านไปได้จัดกลุ่มนิสัยดีของตนเพื่อเปรียบ เทียบกับนิสัยเสียซึ่งค้นพบ แต่ในวัยเพียง 18 ปีชีวิตได้เข้าไปพัว พนกับความบันเทิงสนุกนานตามประสาคนหนุ่มและความมั่งมีของ ครอบครัว การดื่มสุรา การพนัน จนเมื่อแต่งงานในวัย 34 ปี หลัง จากฮันนีมูนผ่านพ้นไป ภรรยาได้ค้นพบบัญชีนิสัยในอดีต นำาพาสู่ การชักจูงให้ละทิ้งนิสัยเลวร้ายหันมามีความประพฤติที่ถูกที่ควร เพราะรู้ว่าสามีไม่ชอบการบังคับ ผลจากการดำาเนินกลยุทธ์ของศรี ภรรยาส่งผลให้เกิดนักคิดนักปฏิรูปที่ผลงานได้รับความนิยม กึกก้องในยุคพระเจ้าซาร์ เป็นโชคดีที่ผู้อยู่เบื้องหลังนั้นตระหนัก ถึงคุณค่าในสิ่งดีซึ่งสามีได้ค้นพบแตะละเลยไปเพราะสิ่งแวดล้อม ชักนำา จึงไม่แปลกที่เขามักจะกล่าวยกย่องภรรยาผู้เปลี่ยนชีวิตเขา ไปในทางที่ดีอยู่เสมอ การสร้า งตนเองให้เ ป็น ที่ย อมรับ นั้น ไม่ใ ช่เ รื่อ ง ยากเกิน ความสามารถ หากแต่การเปลี่ยนแปลงตนเองไปสู้สิ่งที่ ดีกว่านั้นเป็นสิ่งที่จะเป็นจะต้องตระหนักรู้ พร้อมกับการเปลี่ยนไปสู่ สิ่งที่ดีกว่าในชีวิต บางทีการค้นพบแล้วปล่อยให้ผ่านเลยไปตาม กาลเวลาอย่างน่าเสียดาย แต่ไม่สายเกินไปที่จะสร้างคุณค่าให้ ตนเองจากบุคลิกภาพทีดี ตัวอย่างของผู้นำาโลกที่นำามาบอก กล่าว ก็หวังว่านักศึกษาคงจะนำาไปเป็นแนวทางในการปรับปรุง พัฒนาตนเองต่อไป องค์ป ระกอบต่า งๆของบุค ลิก ภาพ บุคลิกภาพของบุคคลประกอบขึ้นด้วยองค์ประกอบต่าง ๆ ดังนี้ 1.ด้า นกายภาพ หมายถึง รูปร่างหน้าตา ทรวดทรง ท่าทาง การแต่งกาย การเดิน เป็นต้น บุคลิกภาพด้านกายภาพ นี้ เป็นสิ่งที่ผู้อื่นมองเห็นได้
  • 13. 2.ด้า นวาจา หมายถึง การใช้ถ้อยคำา นำ้าเสียง ซึ่งผู้อื่น จะรับรู้ได้โดยการฟัง ลักษณะต่าง ๆ สะท้อน บุคลิกภาพด้านนี้เช่น การพูดไม่เข้าหูคน การพูดจากระโชกโฮกฮาก การพูดจาน่าฟัง เป็นต้น บุคลิกภาพทางวาจาที่ดีย่อมหมายถึงการพูดจาด้วยนำ้า เสียงนุ่มนวล น่าฟังเป็นมิตร และได้สาระ 3.ด้า นสติป ัญ ญา หมายถึง ความสามารถทางการคิด แก้ปัญหา ไหวพริบ ความสามารถที่จะมี ปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น ได้ อย่างเหมาะสม คิดเป็น รู้จักคิด คิดแก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้ดี แสดงออกหรือสนองตอบผู้อื่นได้อย่าง “ทันกัน” และ “ทันกาล” 4.ด้า นอารมณ์ หมายถึง การมีอารมณ์ดี คงเส้นคงวา ไม่วู่วาม เอาแต่อารมณ์ ฉุนเฉียวโกรธง่าย หรือบางคนมีอารมณ์ ร่าเริง มากกว่าอารมณ์อื่น หรือบางคน เครียด เศร้า ขุนมัว ่ หม่นหมองอยู่เสมอ 5.ด้า นความสนใจและเจตคติ ของแต่ละคนย่อม แตกต่างกันไปบางคนไม่สนใจการเมือง ซึ่งบางคนมีความสนใจ หลากหลายไม่สนใจเพียง เรื่องใดเรื่องหนึ่งแต่เพียงอย่างเดียว 6.ด้า นการปรับ ตัว มีผลต่อลักษณะของบุคลิกภาพ ถ้า ใช้แบบที่ดีมีพฤติกรรมที่เหมาะสม สังคม ยอมรับ จะอยู่ในสังคม ได้อย่างมีความสุข ตรงกันข้ามถ้าปรับตัวไม่ดีวางตัวในสังคมไม่ เหมาะสม ย่อมมี ผลเสียต่อบุคลิกภาพด้านอื่น ๆ ไปด้วย ประเภทของบุค ลิก ภาพ .1 บุค ลิก ภาพภายนอก คือ สิ่งที่เห็นได้ชัดเจนจาก ภายนอกของแต่ละคน สามารถที่จะปรับปรุงแก้ไขได้ง่าย ใช้
  • 14. เวลาไม่นาน แบ่งได้เป็น 4 หมวด คือ 1. รูปร่างหน้าตา 2. การแต่งกาย 3. กิริยาท่าทาง 4. การพูด 2 บุค ลิก ภาพภายใน คือ สิ่งที่อยู่ภายในจิตใจ หรือ อุปนิสัยใจคอที่มองไม่เห็น สัมผัสไม่ได้ แก้ไขได้ยาก เช่น 1. ความเชื่อมั่นในตนเอง 2. ความซื่อสัตย์สุจริต 3. ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ 4. ความรับผิดชอบ 3. หลัก และวิธ ีเ สริม สร้า งบุค ลิก ภาพ การยืน เดิน นั่ง เป็นส่วนสำาคัญที่บอกถึงบุคลิกภาพของ แต่ละบุคคล งามอิริยาบถ คือ การเดิน ยืน นั่ง เปิด-ปิดประตู ขึ้นลงรถ อย่างถูกต้องสวยงาม การรู้จักทำาตัวให้เข้ากับบุคคล สถานที่ และเวลา อย่างถูก ต้องถือว่ามีมารยาททางสังคมที่ดี เช่น การรู้จักกราบไหว้ที่ถูก วิธี และถูกกาลเทศะ การรู้จักธรรมเนียมของชาวต่างชาติ การ ปฏิบัติตนในงานเลี้ยงต่าง ๆ การไปเยี่ยมคนป่วย การมอบดอกไม้ แสดงความยินดีหรือให้ผู้อาวุโส เป็นต้น บางครั้งเราอาจจะต้องอยู่ในสถานการณ์ที่ไม่ทันได้เตรียม ตัวเตรียมใจ และอาจเกิดอะไรขึ้นกับเราได้ทุกวินาทีนั้น เราต้อง พร้อมเสมอที่จะเผชิญกับเหตุการณ์ในลักษณะที่พร้อม คือ ไม่ ตกใจ ดีใจ เสียใจ กลัว เกินกว่าเหตุ สามารถควบคุมท่าทางของ ตนเองได้เป็นอย่างดี 4. แนวทางในการพัฒ นาบุค ลิก ภาพ 4.1 การรัก ษาสุข ภาพอนามัย - ออกกำาลังกายสมำ่าเสมอ
  • 15. - รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ - ควบคุมนำ้าหนักไม่ให้เพิ่มหรือลดผิดปกติ - ละเว้นการสูบบุหรี่หรือยาเสพติดให้โทษทุกชนิด - ไม่ดื่มสิ่งของที่มีแอลกอฮอล์หรือคาเฟอีน - พักผ่อนนอนหลับให้เพียงพอ วันละ 7-8 ชม. - รักษาอารมณ์ให้สดชื่นแจ่มใสอยู่เสมอ 4.2 การดูแ ลร่า งกาย - รักษาความสะอาดในช่องปากและฟัน - ดูแลรักษาเส้นผมและทรงผมให้เรียบร้อยทั้งด้านความ สะอาดและรูปทรง - โกนหนวดเคราให้เกลี้ยงเกลา ตัดและขริบให้ เรียบร้อย - รักษาผิวพรรณให้สะอาดสดชื่นอยู่เสมอ อย่าให้ผิว แห้งกร้าน - รักษากลิ่นตัว - รู้จักการแต่งหน้าแต่พองาม - ดูแลเล็บมือ เล็บเท้า ให้สะอาดอยู่เสมอ - ปรับเปลี่ยนเสื้อผ้าและชุดชั้นในที่สวมใส่ทุกวัน - ควรมีการเช็คร่างกายเป็นประจำาทุกปี - เมื่อร่างกายมีอาการผิดปกติรีบไปปรึกษาแพทย์ 4.3 การแต่ง กาย - สวมใส่เสื้อผ้าที่สะอาด ซักรีดให้เรียบ - สีสันไม่ฉูดฉาด ควรเลือกสีให้เหมาะสมกับรูปร่างและ ผิวพรรณของตนเอง - กระเป๋าถือและรองเท้า ควรใช้หนังที่มีคุณภาพดี สี เรียบ สำารวจส้นรองเท้าจัดการซ่อมแซมให้เรียบร้อย - แต่งหน้าให้แนบเนียน ไม่แต่งเข้มผิดธรรมชาติ เลือก ใช้เครื่องสำาอางค์ที่มีคุณภาพดี - เล็บและการทาเล็บ ไม่ควรไว้เล็บยาวจนเกินไป ควร เลือกสีกลาง ๆ อย่าปล่อยให้สีถลอกจะไม่น่าดู - ผม หมั่นสระให้สะอาด อย่างน้อยสัปดาห์ละ 1-2 ครั้ง แปรงหวีให้เรียบร้อย เลือกทรงผมที่รับกับใบหน้า - เครื่องประดับ ควรใช้เพื่อเสริมการแต่งกายให้ดูดีขึ้น แต่ไม่ควรใช้เครื่องประดับมากจนเกินไปจนดูสะดุดตารกรุงรังไป หมด
  • 16. - ควรแต่งกายให้เหมาะสมกับสภาพภูมิศาสตร์และ วัฒนธรรม - ควรแต่งกายให้เหมาะสมกับกาลเทศะ 4.4 อารมณ์ รู้จักควบคุมอารมณ์ ไม่ปล่อยอารมณ์ไปตามใจตนเอง คนที่ ควบคุมอารมณ์ตนเองได้จะได้เปรียบและจะเอาชนะเหตุการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นได้ ในการปฏิบัติงานเป็นเรื่องธรรมดาที่จะต้องมี เหตุการณ์มากระทบกระเทือนอารมณ์กันอยู่เสมอ ฉะนั้น บุคคลใดที่ต้องการจะพัฒนาบุคลิกภาพของตนให้ดี ขึ้น จะต้องเป็นคนรู้จักอดทนใจเย็นเมื่อมีเหตุการณ์ที่ไม่ถูกใจเกิด ขึ้น 4.5 ความเชื่อ มั่น ในตนเอง - ยอมรับในความสามารถของตนเอง - อย่าเล็งผลเลิศในการทำางานจนเกินไป - อย่าถือคติว่าการทำางานสิ่งใดเมื่อทำาแล้วต้องดีที่สุด - อย่านำาความเก่งของผู้อื่นมาทับถมตนเอง - หมั่นฝึกจิตใจตนเองให้ชนะความกลัวให้ได้ 5. การพัฒ นาบุค ลิก ภาพด้า นความรู้ส ึก นึก คิด ความรู้สึกนึกคิดของแต่ละคนย่อมไม่เหมือนกัน ถ้ามีความรู้สึก นึกคิดในด้านดี ไม่มองคนในแง่ร้าย จิตใจก็เป็นสุข ไม่มีความ กังวล ดังนั้น เลขานุการจึงควรพัฒนาบุคลิกภาพด้านความรู้สึก นึกคิดดังนี้ 1. มีความเชื่อมั่นในตนเองในการกระทำาในสิ่งต่าง ๆ 2. มีความซื่อสัตย์ กระทำาตนให้ผู้อื่นเชื่อถือเรา แล้วความไว้ วางใจจะตามมา มีเรื่องสำาคัญเขาก็จะให้เราทำา 3. มีความสามารถที่จะทำาสิ่งเหล่านั้น ให้เหมาะสมกับผู้ที่มอบ หมายไว้วางใจให้เราทำา 4. มีความกระตือรือร้น ที่อยากจะทำา เตรียมตัวให้พร้อมอยู่ เสมอ 5. มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ รู้จักปรับปรุงงานอยู่เสมอ 6. มีความรับผิดชอบ ไม่ว่าจะทำาอะไรก็ตามต้องมีความ ห่วงใยจะต้องทำาให้เสร็จทันตามกำาหนดเวลา 7. มีความรอบรู้ 8. ห่วงตัวเอง เติมชีวิตให้กับตัวเอง
  • 17. 9. มีความจำาแม่น 10. วางตัวเหมาะสมกับกาลเทศะ 6. การพัฒ นาบุค ลิก ภาพด้า นกายบริห ารทรวดทรง องค์ประกอบของทรวดทรง ขึนอยู่กับกลไกของการ ้ เคลื่อนไหวของร่างกายและโครงสร้างของร่างกายไม่ว่าหญิงหรือ ชายก็ชอบที่จะมีรูปร่างงามทั้งนั้น ผู้ชายก็ต้องการมีรูปร่างสมา ร์ท ผู้หญิงก็ต้องการมีเอวบาง ร่างน้อย มีสขภาพดี การมีรูปร่าง ุ งาม สุขภาพดี เกิดจากการพัฒนาตัวเราเอง เราเป็นผู้วางแผนใน ชีวิตของเราเอง ทรวดทรงอาจไม่ใช่ทุกสิ่งทุกอย่างในชีวิต แต่ส่วนสัด และท่าทาง ทำาให้คนทุกคนดูแตกต่างกันไป บุคลิกที่ไม่ดีแสดง ว่าเจ้าของเรือนร่างขาดความเชื่อมั่นในตัวเอง ถ้าได้เรียนรู้วิธี เสริมสร้างเสน่ห์ให้กับบุคลิกภาพของตนเองแล้ว จะไม่เพียงทำาให้ มีรูปร่างสง่างามเท่านั้น ยังสามารถทำาให้การปฏิบัติงานเกิดความ เชื่อมั่น งานก็มีประสิทธิภาพอีกด้วย ดังนั้นเลขานุการจึงควรใช้ เวลาในการบริหารทรวดทรงของตนเองเป็นประจำาสมำ่าเสมอ เพราะสุขภาพที่ดี และทรวดทรงที่งดงามอีกด้วย แนวทางการพัฒ นาบุค ลิก ภาพ
  • 18. การที่บุคคลจะมีบุคลิกภาพที่ดีต้องมีการปรับตัวและพัฒนาตน โดย เริ่มต้นจาก 1. สำา รวจตนเอง โดยอยูหน้ากระจกแล้วสังเกต ่ บุคลิกภาพที่ประกอบกันขึ้นมาจากหลายๆสิ่งหลายๆอย่างซึ่งรวม เป็นหมวดหมู่แล้วก็จะมีอยู่ 5 หัวข้อต่อไปนี้ 1.1 ร่างกาย หมายถึงรูปลักษณ์ภายนอกของ คุณที่ปรากฏต่อผู้อื่น รวมตั้งแต่รูปร่างหน้าตา การแต่งกาย ทรง ผม กระทั่งการดูแลรักษาความสะอาด และนำ้าเสียงหรือถ้อยวาจาที่ ออกมาจากปาก 1.2 สติปัญญา ก็คือความสามารถในการรับรู้ การ ทำาความเข้าใจปรากฏการณ์ต่างๆด้วยเหตุและผล ตลอดจนความ สามารถในการแยกแยะข้อเท็จจริงต่างๆ 1.3 อารมณ์ เป็นปฏิกิริยาของจิตใจที่ตอบสนอง ต่อเรื่องราวที่มากระทบตามธรรมชาติมนุษย์ เช่น อารมณ์ขัน อารมณ์เศร้าโศกเสียใจ อารมณ์หดหู่เบื่อหน่าย และอีกหลาย อารมณ์ ซึ่งบางครั้งก็เกิดขึ้นเฉพาะในการรับรู้ของแต่ละคนเอง หรือบางครั้งก็อาจปรากฏตัวออกมาให้เป็นที่รู้เห็นของบุคคลอื่นได้ เหมือนกัน 1.4 นิสัย คือพื้นฐานพฤติกรรมต่างๆอันเกิดจาก ความเชื่อ ทัศนคติ ค่านิยม ซึ่งเกิดขึ้นจากการสะสมข้อมูลรวมทั้ง การกระทำาตามความเคยชินและข้อมูลที่ได้รับรู้มาจากแหล่งต่างๆ ประกอบกัน 1.5 สังคม หมายถึง สิ่งแวดล้อมในทุกด้านของ ชีวิต ทั้งที่เป็นบุคคลและเป็นปรากฏการณ์ต่างๆนับตั้งแต่เกิดมา จนถึงปัจจุบัน 2. จดลงสมุด บัน ทึก ว่ามีอะไรบ้างในตัวเองที่รู้สึกไม่ พอใจและรู้สึกชื่นชม พิจารณาดูว่าสิ่งใดที่เราไม่พอใจและอยาก ปรับเปลี่ยน 3. ถามคนรอบข้า ง ถามว่าพวกเขาอยากให้เราปรับปรุง เปลี่ยนแปลงอะไรบ้าง การเปิดใจรับฟังเสียงของคนรอบข้าง เหมือนเราได้กระจกส่องชั้นดีทีเดียวมาช่วยส่องอีกทาง เพราะถึงที่
  • 19. สุดแล้วคนที่จะตัดสินว่าเราน่าคบค้าสมาคม น่าส่งเสริมสนับสนุน หรือน่าเบื่อหน่ายก็คือคนรอบข้างของเรา 4. ขอคำา แนะนำา จากคนที่มีความรู้ในการพัฒนา บุคลิกภาพ หรือผู้ที่มีบุคลิกภาพที่ดีว่าควรทำาอย่างไร หรือมีเคล็ด ลับพิเศษของแต่ละคนหรือไม่ และพึงรับฟังคำาแนะนำาด้วยท่าทีที่ แจ่มใส ฟังด้วยหัวใจมิใช่ฟังด้วยหู 5. หาหนัง สือ มาอ่า น ซึ่งเป็นหนังสือที่แนะนำาวิธีสำารวจ ตรวจตราตนเอง มารยาทที่พึงปฏิบัติ 6. หาใครสัก คนช่ว ยฝึก ฝน หรือจะเป็นผู้เชี่ยวชาญ ด้านบุคลิกภาพและมารยาทสังคม ซึ่งจะช่วยแก้ไขปัญหาได้ใน ระยะเวลาอันสั้น ดังนั้น การที่บุคคลจะมีบุคลิกภาพที่ดีนั้น ไม่ใช่การ ปรับปรุงเปลี่ยนแปลงแค่ภายนอกด้วยการแต่งกายหรือพฤติกรรม ที่แสดงออกเท่านั้น หากจำาเป็นต้องมีการปรับปรุงหรือพัฒนา บุคลิกภาพภายในเสียก่อน จึงจะทำาให้การพัฒนาบุคลิกภาพ ภายนอกประสบความสำาเร็จได้ การพัฒนาบุคลิกภาพจากภายใน
  • 20. การเสริม สร้า งบุค ลิก ภาพ การเสริมสร้างบุคลิกภาพสามารถพัฒนาได้ ตั้งแต่การ เคลื่อนไหว การทรงตัว การพูด ความสะอาดหมดจด ความนึกคิด ที่ดี ซึ่งสามารถฝึกฝนได้ดังนี้ การนั่ง ควรนั่งไหล่ตรง หลังตรง วางมือในที่อันควร การยืน ควรยืนตัวตรง อกผายไหล่ผึ่ง ขาตรง เท้าชิด หรือ เบี่ยงเล็กน้อย การเดินและการเคลื่อนไหว ควรเดินตัวตรง ศีรษะตั้งตรง แกว่งแขนเล็กน้อย การหยิบของที่พื้น ควรย่อตัวลงหยิบ ไม่ใช่ก้มตัวลงหยิบ การพูด ควรพูดด้วยจังหวะที่ดี ใช้นำ้าเสียงที่จริงใจ ให้ความ รู้สึกเป็นมิตร การแสดงสีหน้า ควรแสดงสีหน้าปกติ ไม่แสดงความยินดี โกรธ หรือเย็นชาจนเกินไป การคิด ควรคิดแต่สิ่งที่ดี ไม่หมกมุ่นอยู่กับความทุกข์ การรักษาสุขภาพและความสะอาด ควรรักษานำ้าหนักให้ เหมาะสมกับความสูง รักษาสุขภาพกายและจิตให้ดีอยู่เสมอ รักษาความสะอาดของร่างกาย สุขภาพที่ดีจะส่งผลให้บุคลิกภาพ ดีด้วยเช่นกัน
  • 21. ขัน ตอนสำา คัญ ในการพัฒ นาบุค ลิก ภาพ ้ คือ ตั้งใจมุ่งมั่นแล้วเริ่มจากการสำารวจตัวเองอย่างตรงไป ตรงมาว่ามีข้อดี-ข้อเสียอะไรบ้าง โดยเน้นที่ข้อบกพร่องเพราะเรา ต้องการนำามาเป็นข้อมูลในการพัฒนาบุคลิกภาพ จากนั้นค่อยๆ พัฒนาบุคลิกภาพภายใน (Internal Personality) เมื่อความรู้สึก นึกคิด มีจิตใจดี มีการมองโลกในแง่ดี ก็จะส่งผลให้เกิดการกระทำา ที่ดี ตามความคิดที่ออกมาจากจิตใจภายใน ขันต่อไปคือการ ้ พัฒนาบุคลิกภาพภายนอก(External Personality) ที่จะได้รับ พื้นฐานที่ดีจากบุคลิกภาพภายใน ทำาให้การกระทำาและการ แสดงออกมาแล้ว ดูดี มีเสน่ห์แล้วทำาการพัฒนาบุคลิกภาพ ภายนอกเพิ่มเติมก็เป็นอันสมบูรณ์ แนวทางที่ค นส่ว นใหญ่ย ึด ถือ ในการพิจ ารณาบุค ลิก ภาพ ของคน มีด ัง นี้ 1. ลัก ษณะทางกาย ได้แก่ รูปร่าง ทรวดทรง ความสูง นำ้าหนัก ความปกติของอวัยวะ สีผม ผิวพรรณ หน้าตา ท่วงที ท่าทาง การแต่งกาย (ตามกาลเทศะ) ฯลฯ สิ่งเหล่านี้ย่อมเป็น เครื่องแสดงให้ทราบถึงประสิทธิภาพของบุคคลทางกายซึ่งผู้ พบเห็นจะประเมินเราเมื่อเจอกันในเวลา 1-5 วินาทีแรก 2. คุณ ลัก ษณะทางจิต ใจ เช่น สติปัญญา ความจำา จินตนาการ ความถนัด เจตคติ ความสนใจ ความตั้งใจ การตัดสิน ใจ ความคิดด้วยเหตุผล ฯลฯ เหล่านี้เกี่ยวกับสมองทั้งสิ้น 3. อุป นิส ัย หมายถึง ลักษณะโดยรวมของนิสัยหลายๆ อย่าง ของบุคคลที่แสดงออกเป็นพฤติกรรม เป็นระยะที่ยาวนานพอ
  • 22. สมควร จนกลายเป็นความประพฤติหรือความมีศีลธรรม จรรยา มารยาท และคุณธรรม 4. อารมณ์ ได้แก่ ความรู้สึกแห่งจิตที่ก่อให้เกิดการกระ ทำาต่างๆ เช่น ชื่นชอบ ตื่นเต้น โกรธ กล้าหาญ หวาดกลัว ตกใจ ง่าย ร่าเริง หดหู่ หงุดหงิด กังวล ฯลฯ 5. กำา ลัง ใจ คือ ความสามารถที่จะควบคุมหรือบังคับ กิริยาอาการต่างๆ ที่กระทำาไปโดยเจตนา เช่น กระฉับกระเฉง ว่องไว หรือเฉื่อยชา เชื่องช้า ความอดทนหรือความเบื่อหน่าย 6. การสมาคม คือ กิริยา ท่าที อาการที่บุคคลแสดงต่อ ผู้อื่น เช่น ชอบคบค้าสมาคม หรือเก็บตัว เมตตาปราณี เห็นอก เห็นใจผู้อื่น หรือไม่แยแสเอาใจใส่กับผู้ใด 7. ความรู้ ความสามารถ อำา นาจ ฐานะ ความรู้ส ูง ความชำา นาญ มีความสามารถเป็นพิเศษ ความมี-อำานาจ อิทธิพล มียศถาบรรดาศักดิ์ เหล่านี้เป็นปัจจัยส่งเสริมบุคลิกภาพอย่างมาก การฝึก พัฒ นาบุค ลิก ภาพภายใน การฝึกพัฒนาบุคลิกภาพภายใน เริ่มจาก 1. ทัศ นคติ คือ จุด เริ่ม ต้น ทัศนคติที่ดี คือ จุดเริ่มต้นของบุคลิกง่ายๆ เพียงแต่ มองทุกสิ่งในด้านที่ดี ก็จะทำาให้มีความสุข แล้วความสุขก็จะเปล่ง ประกายออกมาภายนอก หรือการมองทุกคนในแง่ดี พยายาม เข้าใจว่าเขามีเหตุผลในการกระทำาของเขา ก็จะทำาให้เราไม่โกรธ ใครง่ายๆ มองโลกสวยงาม ทำาให้เรามีจิตใจรื่นรมย์ แล้วยิ่งหมั่นมี จิตใจเอื้ออาทรต่อผู้คนเพิ่มขึ้นไปอีก ใครๆก็จะชื่นชมได้โดยไม่ ยากสบายใจแจ่มใสเสมอ ดังนั้นจึงควรหมั่นทำาใจให้ผ่องแผ้ว แจ่มใส และสบายใจอยู่เสมอในทุกสถานการณ์ ภาพสะท้อนที่ ปรากฏออกมา ทำาให้เราเป็นคนร่าเริง กุ๊กกิ๊กน่ารัก สนุกสนานและ มีอารมณ์ขันอยู่เสมอ น่ารักอย่างนี้แล้วใครที่ไหนจะไม่ชื่นชม 2. สร้า งความเชื่อ มั่น ในตนเอง คือ มั่น ใจในตนเอง ควรหมายถึงการมีศรัทธาในตนเอง เชื่อมั่น เชื่อถือใน คุณค่า ความสามารถ รูปลักษณ์ บุคลิกลักษณะ ตลอดจนความรู้ และหัวจิตหัวใจของตนเอง ทำาให้ไม่มีความประหม่า มีความกล้า วินิจฉัยปัญหาได้ด้วยตนเอง ตัดสินใจได้ด้วยตนเอง สามารถคาด
  • 23. การณ์ล่วงหน้าได้พอประมาณว่า ถ้าลงมือกระทำาไปแล้วจะได้รับ ผลอย่างไรความแน่ใจในอันที่จะเดิน จะลุกจะนั่ง จะทำา จะพูด จะ คิด หรือแสดงออกต่อหน้าสาธารณชนอย่างสร้างสรรค์ และมี ความสุขสิ่งที่จะช่วยให้แต่ละคนมีความมั่นใจในตนเองมีความรู้สึก มั่นคง 3. พยายามวิเ คราะห์ป ระเมิน ตนเองอย่า งแท้จ ริง คือ พิจารณาว่าตนมีความสามารถใด และขาดความ สามารถทางใด แล้วใช้ความสามารถที่มีอยู่ให้ได้ประโยชน์มาก ที่สุด พยายามเปลี่ยนสิ่งที่พอจะเปลี่ยนได้ สิ่งที่เปลี่ยนไม่ได้ก็อย่า นำามาคำานึงถึงจนกลายเป็นความวิตกกังวล 4. ทำา ใจให้พ ร้อ มในการเผชิญ ความจริง โดยคิดว่าในโลกนี้มีขึ้นมีลง มีทั้งสิ่งดีและไม่ดี มีทั้งคนดี มากและคนดีน้อย เราก็เหมือนคนอื่นๆ คือ ประสบทั้งสิ่งดีและไม่ดี ในชีวิต เราอาจพบหัวหน้าห้อง เพื่อนร่วมห้อง รุ่นพี่ และลูกน้อง บางคนที่ดีมาก แต่บางคนก็ทำาให้เรายุ่งยากใจในการทำางานร่วม ด้วย คนบางคนเป็นคนดีตามที่เราต้องการ แต่บางคนถึงกับทำาให้ เราล้มหมอนนอนเสื่อ ส่วนชีวิตของเรานั้น บางตอนก็ดูราบรื่น มั่นคง บางตอนก็ทำาท่าจะไปไม่ไหว คนที่มีความเป็นผู้ใหญ่คือ คน ซึ่งไม่ว่าจะอยู่ในสถานการณ์ใดก็ยังพร้อมอยู่เสมอที่จะปรับปรุง ชีวิตของตนเองให้ดีขึ้น ไม่หวั่นไหวไปกับการเปลี่ยนแปลงที่เป็น ไปตามกฎธรรมชาติจนเกินกว่าเหตุ 5. ฝึก ตนให้ม ีค วามสามารถในการควบคุม อารมณ์ ของตนเองไม่ว ่า จะอยู่ใ นสถานการณ์ใ ด คือ มีอารมณ์มั่นคง ไม่ปล่อยตนเป็นทาสของอารมณ์ ตามธรรมชาติไปเสียหมด โดยธรรมชาติของชีวิตนั้น บางคนก็ ร่าเริงมีความสุข บางครั้งก็เศร้าหมองหดหู่ บางครั้งก็โกรธเกลียด
  • 24. ไม่ชอบใจ แต่ก็ต้องทำาใจว่าชีวิตใครๆ ก็เป็นอย่างนี้ “ชั่วเจ็ดที ดี เจ็ดหน” การมีดีบ้างชั่วบ้างก็ทำาให้ชีวิตมีรสชาติ ดังนั้นเมื่อมีความ สุขก็ อย่าปล่อยให้ความปิติยินดีมากจนทำาให้เราร่าเริง จนผิด กาลเทศะ หรือเมื่อเศร้าหมองหดหู่ใจ ก็อย่าปล่อยตนจมอยู่กับ ความเศร้าโศกจนทำาอะไรไม่ได้หรือขาดสมาธิในการทำางาน การ ยิ้มสู้เข้าไว้ก็น่าจะเป็นทางออกที่ดีและอย่าคิดสั้น ควรให้โอกาสแก่ ตนเองในการเผชิญกับปัญหา ไม่ควรคิดสั้นฆ่าตัวตายเพื่อหนี ความล้มเหลว 6. ฝึก ตนให้ท ำา งานโดยมีก ารวางแผนและเป้า หมาย คือ ไม่ปล่อยชีวิตให้เป็นไปตามลมเพลมพัด เมื่อจะ ทำางานก็ควรจะถามตัวเองว่า ทำาเพื่อใคร ทำาอะไร ทำาเมื่อใด และ ทำาอย่างไร มีการเตรียมการล่วงหน้า กำาหนดกิจกรรมต่างๆ ไว้ล่วง หน้าวิธีการดังกล่าวนี้ จะช่วยให้ก้าวหน้าอย่างมีจังหวะ และทำาให้ ชีวิตในแต่ละวันมีความหมายสำาหรับตน 7. รู้จ ัก บัง คับ ใจตนเอง คือ ทำาตนให้มีความสามารถในการ “รอ” สิ่งที่ต้องการ ได้ ผู้ใดก็ตามถ้าไม่สามารถรอสิ่งที่ต้องการได้ นับว่ายังไม่เป็น ผู้ใหญ่ ทั้งยังมีผลทำาให้บุคลิกภาพด้านอื่นๆ พลอยเสียไปด้วย และ แสดงว่ายังไม่พร้อมสำาหรับการมีบุคลิกภาพที่ดี ความสามารถใน การรอคอย ยังช่วยให้มีสัมพันธภาพที่ดีกับผู้อื่น และแก้ปัญหาทาง อารมณ์ได้มาก เช่น สามารถรอคอยผู้ที่ผิดนัดได้ 8. พยายามปรับ ชีว ิต ให้เ ข้า กับ สัง คม คือ ทำาตนให้มีความสุขในทุกสภาพของสิ่งแวดล้อม เราอาจเป็นคนชอบสันโดษ แต่ถ้าเขามีงานรื่นเริง ไม่ว่าจะใน
  • 25. ระหว่างเพื่อน ระหว่างรุ่นพี่ กับรุ่นน้อง เราก็ต้องแสดงความพอใจ ที่จะร่วมด้วยได้ เป็นต้น หรือเราอาจมีวิธีทำางานที่ต่างไปจากคน อื่น แต่เราก็ต้องสามารถผ่อนปรนได้บ้างโดยไม่กระทบกระเทือน ถึงอิสระในความคิดอ่านของผู้อื่น 9. ฝึก ความอดทนและอดกลั้น ให้ก ับ ตนเอง คือ อดทนต่อความคิดของผู้อื่นที่ขัดแย้งกับตน อดทน กับพฤติกรรมของคนบางคน อดทนกับการถูกมองข้ามในสิ่งที่ไม่ อยากให้เขามองข้าม ยอมรับฟังคำาวิจารณ์จากคนอื่นโดยพยายาม คิดว่าคำาวิจารณ์ต่างๆ เหล่านั้นจะทำาให้ตนได้ปรับปรุง เรื่องที่ไม่ พอใจบางเรื่องควรพยายามลืม เมื่อไม่ชอบใจใคร ไม่ควรใช้วิธี พรำ่าบ่น เนื่องจากอาจสร้างความรำาคาญให้ผู้อื่น และพลอยทำาให้ ผู้อื่นมีปัญหาทางอารมณ์ไปด้วย 10. มีค วามสามารถในการรับ และแก้ไ ขสิ่ง ที่ไ ม่ ชอบ คือไม่ควรหัวเสียหรือพรำ่าพรรณนาในโชคชะตาของ ตนเองให้ผู้อื่นรับฟังไม่หยุดหย่อน เพราะไม่ว่าจะทำาอะไร มีอาชีพ อย่างไร อยู่ในตำาแหน่งใด หรือสัมพันธ์เกี่ยวข้องกับใครก็จะต้องมี สิ่งไม่ชอบรวมอยู่ด้วยทั้งสิ้น 11. ใช้ค วามสามารถที่ม ีอ ยู่ใ ห้เ ป็น ประโยชน์ต ่อ ตนเอง ดังตัวอย่างในชีวิตประจำาวันที่มักพบว่ามีคนมากมาย ที่มีทักษะทำางานเก่งแต่เก็บความรู้ความสามารถเหล่านั้นใส่ลิ้นชัก ไว้ แล้วทำางานเท่าที่ได้รับคำาสั่งให้ทำา ทำางานเพียงเพื่อแลกกับผล ตอบแทนให้พออยู่ได้ การดำาเนินงานดังกล่าวนี้ มักไม่นำาพาไปสู่ ความก้าวหน้าหรือความสำาเร็จในชีวิต
  • 26. 12. สร้า งความรู้ส ึก พอใจที่จ ะได้ป ฏิบ ัต ิต าม ระเบีย บข้อ บัง คับ ทั้งนี้ เพราะกฎและระเบียบทำาให้อยู่ร่วมกันได้อย่าง ปกติสุขถ้าหากทุกคนเคารพในกฎและระเบียบนั้น กฎเกณฑ์ใดใน องค์การที่เรารู้สึกว่ามันเป็นไปได้ในแง่ของการปฏิบัติ ผู้ที่มี ลักษณะเป็นผู้ใหญ่แล้วควรสามารถที่จะเสนอข้อปรับปรุง เปลี่ยนแปลงได้โดยสันติวิธี โดยอ่อนน้อมถ่อมตน และโดยเลือก จังหวะเวลาที่เหมาะสมในการนำาเสนอข้อคิดเห็นวิธีการดังกล่าวนี้ จะช่วยสร้างบรรยากาศที่ดี ส่งผลให้ทำางานร่วมกันได้โดยราบรื่น 13. ฝึก มองทุก ปัญ หาให้เ ป็น เรื่อ งเล็ก ข้อนี้อาจยากสำาหรับบางคน แต่ความจริงที่จะช่วยให้ ทำาใจได้ก็คือ ไม่ว่าเรื่องเลวร้ายอะไรที่มันได้เกิดขึ้นในชีวิต มันได้ เกิดขึ้นแล้ว และถ้ายังหาทางแก้ไขไม่ได้ มันก็ยังคงอยู่ มันไม่มี ทางไปไหนพ้นจากชีวิตได้ในเวลานี้เลย เพราะฉะนั้นทางเดียวที่ จะต้องเผชิญหน้ากับปัญหาที่ยังจัดการไม่ได้ก็คือ มองมันให้เป็น เรื่องเล็กที่สุด ไม่ปล่อยให้มันมาทำาอะไร ให้กระทบกระเทือนชีวิต ส่วนอื่นๆ เพราะมันเป็นเรื่องเล็กๆเท่านั้นเอง ต้องหมั่นทำาใจว่า อะไรที่มันจะเกิด มันก็ต้องเกิด ทุกคนในโลกต่างก็มีเวลาต้องพบ เจอกันทั้งนั้น ไม่ใช่คุณคนเดียวหรอก เพราะฉะนั้นวางมันลง ดำาเนินชีวิตต่อไปอย่างสง่างาม บุคลิกภาพที่ดีประการหนึ่งก็คือ การที่ไม่เป็นคนตีโพยตีพายโวยวายเวลามีปัญหา 14. ควบคุม ตนให้ค ิด ถึง ผู้อ ื่น มากกว่า คิด ถึง ตนเอง เพราะเราทำาดีคนอื่นก็ทำาดี นี่คือแนวคิดแบบ ที่เรียก ว่า I am OK, He or she OK ..นั่นคือมองตนเองด้วยการ ยอมรับ เข้าใจเหตุผลบนการกระทำาของตนเองอย่างถูกต้อง และก็ ต้องคิดเหมือนกันกับคนอื่นด้วย ไม่เช่นนั้นจะกลายเป็นคนประเภท ที่คิดว่าตัวเองดีอยู่คนเดียว คนอื่นแย่หมด...อย่างนี้ใครๆก็ไม่อยาก รัก การเข้าใจตนเองและเข้าใจผู้อื่นเหมือนกับที่เราเข้าใจตัวเอง อาจฟังเป็นเรื่องยากสำาหรับบางคน แต่ถ้ามีโอกาสได้เห็นว่ากิริยา อาการของเรา เวลาที่มองการกระทำาของคนอื่น ว่าไม่ดีนั้นไม่