SlideShare a Scribd company logo
1 of 55
การสอนคุณ ธรรมจริย ธรรม
เสนอโดย
• นางสาวชัชฎาภรณ์
พรมนอก
5638591
• นางสาวนิตินัย
ทองเหลือ 5638592
เนื้อหา
• นิยาม
• ทฤษฎี
• งานวิจัยในประเทศ
• งานวิจัยต่างประเทศ
• วิเคราะห์แนวทางการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม
นิยาม
- คุณธรรม

- จริยธรรม

- ศีลธรรมคุณ

- ธรรมจริยธรรม

- พฤติกรรมจริยธรรม
นิยาม
• คุณธรรม (virtues)
หมายถึง คุณสมบัติที่สอดคล้องกับมาตรฐานทีถูกต้องและดีงาม
่

“ Webster Ninth New CollegiateDictionary (1991)
นิยาม
• จริยธรรม (Moral)
หมายถึง การประพฤติปฏิบัติของบุคคลหรือกลุ่มบุคคลที่
สอดคล้องกับกรอบหรือหลักประพฤติปฏิบัติอันถูกต้องดีงาม
และเป็นที่ยอมรับของสังคม
Fieser (2004)
นิยาม
• ศีลธรรม
มีความหมายเหมือนกับจริยธรรม
หมายถึง ธรรมที่เป็นข้อประพฤติปฏิบัติ
ความประพฤติหรือหน้าที่ที่ควรปฏิบัติในการครองชีวต
ิ
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน(2546)
นิยาม
• คุณธรรมจริยธรรม
หมายถึง การประพฤติปฏิบัติที่เป็นความดีงาม
และถูกต้องตามมาตรฐานอันเป็นที่ยอมรับของสังคม
หรือมีความหมายว่า คุณธรรมตามกรอบจริยธรรม
นงลักษณ์ และคณะ; 2551
นิยาม
• พฤติกรรมจริยธรรม
 เกี่ยวข้องกับหลักทางศาสนาเช่น รักษาศีล ทาน ทำาสมาธิ
 ค่านิยมต่างๆที่สังคมเห็นว่าเป็นสิ่งที่ดีงามและสำาคัญ เพื่อ
ให้เกิดความสงบสุขในสังคม เช่น พฤติกรรมสามัคคี,รับ
ผิดชอบ ,ซื่อสัตย์
 การกระทำาเพื่อส่วนรวมตามหลักการขั้นสูง เช่น การ
เคารพกฎหมาย ,เคารพสิทธิมนุษยชน
(Villegas de Posada,1994)
นิยาม
• พฤติกรรมจริยธรรม
 การกระทำาที่ต้องให้เกิดผลดีทั้งระยะสั้นและยาว ต่อ
ตนเอง ครอบครัว ชุมชน เช่น มีวนัยหรือการควบคุม
ิ
ตนเอง การเป็นสมาชิกที่ดีต่อองค์กร
 เกี่ยวข้องกับการให้รางวัลส่งเสริมผู้อื่น และลงโทษ อย่าง
ยุติธรรม เช่น พฤติกรรมการปกครอง พฤติกรรมการ
เลี้ยงดูบุตรหลานของผู้ปกครอง
(Villegas de Posada,1994)
ทฤษฎี
• ทฤษฎีพัฒนาการทางการรู้คิด ของ Jean Piaget,1932
• ทฤษฎีพัฒนาการของเหตุผลเชิงจริยธรรมของ Kohlberg,1976
• ทฤษฎีต้นไม้จริยธรรม ของ ดวงเดือน พันธุมนาวิน,2536
ทฤษฎีพัฒนาการทางการรู้คด ของ Jean Piaget
ิ
ทฤษฎีพัฒนาการของเหตุผลเชิงจริยธรรม Kohlberg
ทฤษ

รรม
ริยธ
้
ไมจ
ี
ฎต้น
ตัวอย่างงานวิจัยในประเทศ
• การปลูกฝังคุณธรรมในเด็กปฐมวัยผ่านกระบวนสร้างสรรค์ของ
แกนนำาโรงเรียนวิถพุทธ (ปี 2548)
ี
•

การสังเคราะห์งานวิจัยเกี่ยวกับคุณธรรมจริยธรรมใน
ประเทศไทยและต่างประเทศ (ปี 2551)
การปลูกฝังคุณธรรมในเด็กปฐมวัยผ่านกระบวนสร้างสรรค์
ของแกนนำาโรงเรียนวิถีพทธ (ปี 2548)
ุ
วัต ถุป ระสงค์

ตัว แปร/ประเด็
นที่ม ง ศึก ษา
ุ่

แหล่ง ข้อ มูล

เครื่อ งมือ

แนวทางการ
วิเ คราะห์

1.ศึกษาสภาพการจัด
กระบวนการ
สร้างสรรค์เพื่อปลูกฝัง
คุณธรรมในเด็ก
ปฐมวัย

สภาพการจัด
กระบวนการ
สร้างสรรค์เพื่อ
ปลูกฝังคุณธรรม
ในเด็กปฐมวัย

-รวบรวมเอกสาร/
หลักฐาน
แบบสอบถาม/สัม
ภาษณ์
-การสนทนากลุ่ม

-ใช้วิธีการวิเคราะห์เนื้อหา
-ใช้สถิติเชิงบรรยาย

2.สังเคราะห์รูปแบบ

รูปแบบและ
แนวทางของ
กระบวนการ
สร้างสรรค์เพื่อ
ปลูกฝังคุณธรรม

1.เอกสาร/หลั
กฐานที่เกี่ยว
กับการจัด
หลักสูตรและ
กิจกรรมต่างๆ
2.ผู้บริหาร
สถานศึกษา
และครูผู้สอน
ระดับปฐมวัย

-รวบรวมเอกสาร/
หลักฐาน
แบบสอบถาม/สัม
ภาษณ์

-ใช้วิธีการวิเคราะห์เนื้อหา

และแนวทางของ
กระบวนการ
สร้างสรรค์เพื่อปลูกฝัง
คุณธรรม
การปลูกฝังคุณธรรมในเด็กปฐมวัยผ่านกระบวน
สร้างสรรค์ของแกนนำาโรงเรียนวิถีพุทธ
•

ประกอบด้วย โรงเรียนอนุบาลหนูนอย โรงเรียนทอสี และ
้
โรงเรียนรุ่งอรุณ

• ซึ่งได้รับคัดเลือกจากกรมศาสนาและ กทม. เป็นกลุ่มโรงเรียน
ตัวอย่างในแง่ของการจัดการศึกษาที่สามารถบูรณาการหลักศีล
ธรรมและจริยธรรมผ่านกระบวนการสร้างสรรค์ต่างๆได้อย่างเข้า
กับธรรมชาติการเรียนรู้ในแต่ละวัยของผู้เรียน
โรงเรียนอนุบาลหนูนอย
้
การแบ่งการจัดการเรียนการสอนเป็น 3 ส่วน ดังนี้
ส่วนที่ 1 การจัดการศึกษาเพือพัฒนาเด็กสูมนุษย์ที่สมบูรณ์ เพือพัฒนาพฤติกรรม จิตใจและปัญญา
่
่
่
ผ่านการปฏิบัตจริงในชีวิตประจำาวันของเด็ก ทีหนูน้อย โดยการช่วยเหลือตนเอง การทำางานของ
ิ
่
ชีวตด้วยตนเอง เพือฝึกทักษะ พฤติกรรม ความเคยชินทีดี เหมาะสม กับวัยอนุบาลตามระดับ อายุ
ิ
่
่
ตลอดช่วงของวันตังแต่เช้ามาถึงโรงเรียนจนบ่ายกลับบ้าน ปรากฏชัดเจนอยู่ในตารางกิจวัตรประจำา
้
วันของห้องเรียน
ส่วนที่ 2 การจัดการศึกษาเพือพัฒนาแบบองค์รวมขององค์ประกอบของระบบชีวิต 4 ระบบ คือ
่
ธรรมชาติกับตัวเรา ธรรมชาติ กับสังคมไทย สังคมพุทธ สังคมโลก ธรรมกับ ธรรมชาติ และ
ธรรมชาติกับวิวัฒน์วิทยาการ
ส่วนที่ 3 การถ่ายทอดความรู้ทางวิชาการ และการพัฒนาทักษะความสามารถไปสูงสุดตามศักยภาพ
ของเด็กรายบุคคล ในรูปแบบการจัดกิจกรรม การเรียนการสอนแบบบูรณาการในและนอก
ห้องเรียน ตามแนวทฤษฎี โปรแกรมการเรียนรู้ นวัตกรรมทีเลือกให้ตอบสนองต่อความสามารถ
่
ปัญญา ด้านต่างๆ

http://www.siamsaamtri.ac.th/buddhist_programs.php
โรงเรียนอนุบาลหนูน้อย
โรงเรียนทอสี
การจัดการศึกษาในระดับปฐมวัยเป็นไปเพื่อให้บรรลุเป้าหมายของการศึกษาคือพัฒนา
ด้านวิชาชีวิตและวิชาการ
•โดยใช้บ ทเรีย นจากวิถ ีช ีว ิต ประจำา วัน การกิน อยู่ ดู ฟัง
•ให้รู้จัก “งาน” และ “หน้าที” ด้วยความเข้าใจ เห็นคุณค่า มีปัญญากำากับ
่
• เพือให้เข้าใจการทำางานด้วยตนเอง เคารพงาน เคารพหน้าที่ของตน
่
• เมือเรา “ฝึก” มนุษย์ให้มีพฤติกรรมคุ้นเคยที่ดีงามได้ ให้รู้คุณค่าการ “ฝืน” ทำาในสิ่งที่ดี
่
งาม ถูกต้อง แม้จะไม่ถูกใจ
•เป็นการสร้างวินัยที่เป็นพื้นฐานในการพัฒนาตนเองทั้งด้านชีวิตและการเรียนรู้ เป็นการ
สร้างคุณลักษณะของจิตใจทีมีความเข้มแข็ง “สุขง่าย ทุกข์ยาก” ให้เกิดขึ้นสามารถทำา
่
ควบคู่กันไปได้กับความรู้ทางด้านวิชาความรู้ทมความจำาเป็นกับเด็กตามวัย
ี่ ี
โรงเรียนทอสี
“ชีวิตคือการศึกษา การศึกษาคือชีวิต” เป็นแนวคิดที่นำามาใช้ในการจัดการเรียน
รู้ในระดับประถมโรงเรียนทอสี เพื่อแสดงให้เห็นความสำาคัญของการเชื่อมโยง
โลกรอบตัว และสรรพสิ่งต่างๆ เข้าด้วยกันอย่างไม่แยกส่วน เพื่อให้ผเรียนได้
ู้
เห็นความเชื่อมโยง ต่อเนื่อง ส่งผลต่อกันตามหลักเหตุและปัจจัย เป็นการเปิด
ประตูความรู้และความเข้าใจเรื่องราวภายนอก มิใช่มองมนุษย์แยกออกมาเป็นผู้
จัดการธรรมชาติอื่นๆ แต่มองให้เห็นความเป็นไปทั้งหมด
เป็นหนึ่งเดียวกัน ดังวลีที่ว่า

“เด็ด ดอกไม้ส ะเทือ น ถึง ดวงดาว”
โรงเรียนทอสี
โรงเรียนทอสี
งเรีย
โร

อรุณ
นรุ่ง
เรียน
โรง

อรุณ
รุ่ง
การสังเคราะห์งานวิจัยเกียวกับคุณธรรมจริยธรรมใน
่
ประเทศไทย
 วิธีการคัดเลือกงานวิจัย
1.เป็นรายงานองค์ความรู้เกี่ยวกับสาเหตุและผลจิตกับพฤติกรรมทาง
คุณธรรมจริยธรรมของมนุษย์ ตลอดจนการวิจัยเพื่อสร้างเครื่องมือวัดทาง
คุณธรรมจริยธรรม
2.เป็นรายงานการวิจัยแบบสำารวจกึ่งเปรียบเทียบ หรือการวิจัยเชิง
ทดลอง ที่ใช้เครื่องมือวัดมาตรฐานสูง มีกลุ่มตัวอย่างขนาดใหญ่
3. เป็นการวิจัยเชิงปริมาณที่มีมารฐานสูง ทำาให้ผลวิจัยที่น่าเชื่อถือ
สามารถนำาผลวิจัยโดยรวมนำาไปสู่การวางนโยบาย
การสังเคราะห์งานวิจัยเกียวกับคุณธรรมจริยธรรมใน
่
ประเทศไทย

• วิธีการสรุปและตีความผลงานการวิจัย
การสรุปองค์ความรู้จากการประมวลรายงานการวิจัย แบ่งเป็น 2 ส่วน
 เกี่ยวกับปัจจัยเชิงเหตุทางด้านจิตใจและสถานการณ์ของบุคคลที่
เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมคุณธรรมจริยธรรมต่างๆ ตามกรอบแนวคิด
ทฤษฎีสัมพันธ์นิยม
 เกี่ยวกับผลของการมีพฤติกรรมที่เกี่ยวกับคุณธรรมจริยธรรมในปริมาณ
ต่างกัน อยู่ในรูปของผลทางด้านจิตใจ หรือพฤติกรรมอื่นๆ
การสังเคราะห์งานวิจัยเกียวกับคุณธรรมจริยธรรมใน
่
ประเทศไทย
•

พฤติกรรมวินัยในตนเอง (งานวิจัยศึกษาความสัมพันธ์เปรียบเทียบ)
ปัจจัยเชิงเหตุของพฤติกรรม

-

จากงานวิจัยของ ลักษณ์เสด็จ ทองคำา ปี46 ,

-

ทำาการศึกษา นักเรียนประถมศึกษา ปีที่ 6 พบว่า นักเรียนที่ได้รับการอบรม

ลำาไย สีหามาตย์ ปี45,จตุพร ศิลาเดช ปี 43

เลี้ยงดูแบบรักสนับสนุนและใช้เหตุผลมาก , แบบประชาธิปไตย เป็นผู้มี
พฤติกรรมมีวินัยในตนเองมากด้วย
-

ส่วนการเลี้ยงดูอบรมแบบเข้มงวดและ

แบบปล่อยปละละเลย ไม่มีความสัมพันธ์กบความมีวินัยในตนเอง
ั
ปัจจัยเชิงสาเหตุด้านโรงเรียน ในแง่ ความสัมพันธ์ระหว่างครูกบนักเรียนมี
ั
ความสัมพันธ์ทางบวกกับพฤติกรรมวินัยในตนเองมากด้วย
การสังเคราะห์งานวิจัยเกียวกับคุณธรรมจริยธรรมใน
่
ประเทศไทย
•

การพัฒนาพฤติกรรมวินัยในตนเอง และผลการวิจัย
- การฝึกอบรมพัฒนาให้เด็กก่อนวัยเรียน และนักเรียนประถม มีความเป็น
ระเบียบ มีวินัย และคุณธรรมอื่นๆ เช่น ความเอื้อเฟื้อ ซื่อสัตย์ รับผิดชอบ
เป็นต้น เป็นสิ่งที่นักวิจัยไทยสนใจในการทำาวิจัยอย่างมาก
- สรุปผลจากการวิจัยเชิงทดลอง 10 เรื่อง กึ่งทดลอง 8 เรื่อง มีวิธีการ
พัฒนาเด็ก 4 รูปแบบ ดังนี้ 1.การใช้ตัวแบบ พบว่า นักเรียนกลุ่มทดลองมี
เจตคติต่อความซื่อสัตย์ , พฤติกรรมวินัยในตนเอง มากกว่า กลุ่มควบคุม
(นักเรียนอนุบาล ,ป3, ป4)
การสังเคราะห์งานวิจัยเกียวกับคุณธรรมจริยธรรมใน
่
ประเทศไทย
•

การพัฒนาพฤติกรรมวินัยในตนเอง และผลการวิจัย
2. การใช้กระบวนการกลุ่ม พบว่านักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมกลุ่มมี
พฤติกรรมวินัยในตนเอง มากกว่า
3. การใช้สถานการณ์จำาลอง โดยให้นักเรียนเข้าไปมีส่วนร่วมเพื่อฝึก
พฤติกรรมที่ต้องการ พบว่า กลุ่มตัวอย่าง นักเรียนอนุบาลและ ประถมปลาย
มีวินัยในตนเองสูงขึนหลังเข้ารับการฝึก
้
4. การพัฒนาจิตลักษณะของนักเรียน แสดงให้เห็นจากงานวิจัยว่า การ
พัฒนาจิตลักษณะยิงหลายตัว จะทำาให้พฤติกรรมพัฒนาด้วย
่
วิเคราะห์โครงการพัฒนาเด็กและเยาวชน
•

ในประเทศไทย หัวข้อวิจัยที่มีน้อย แต่มีความสำาคัญมาก เช่น
ลักษณะชาตินิยม การดำาเนินชีวตตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง
ิ
ความเป็นประชาธิปไตยในจิตใจและในครอบครัว โรงเรียน
หน่วยงาน

•

การศึกษาอิทธิพลของเพื่อนและการเป็นกัลยาณมิตรเพื่อสร้าง
ภูมิคุ้มกันกับเยาวชน และจริยธรรมที่เกียวข้องกับบุคคลในวัย
่
ชรา การทำาประโยชน์ต่อสังคมตลอดจนสาเหตุ และวิธีการที่
เหมาะสมในการผดุงเกียรติและศักดิ์ศรี
วิเคราะห์โครงการพัฒนาเด็กและเยาวชน
• งานวิจัยเชิงสำารวจ มีมากในประเทศไทย แต่เชิงทดลองมีน้อย
อาจเนื่องจากผู้วจัยขาดความรู้ และทักษะ
ิ
• การจัดการเชิงรุก หรือ มาตรการป้องกันก่อนเกิดปัญหา
• งานวิจัยแบบระยะยาวไม่ค่อยมีในไทย
• ด้านทฤษฎีและการอบรม การจัดอบรม หรือหลักสูตรทีขาด
่
ความรู้ทางทฤษฎี ทำาให้ไม่เกิดผล
• ขาดความต่อเนื่องของการอบรม อาจเนื่องจากขาดบุคลากร
เงินทุนสนับสนุน
ลักษณะโครงการพัฒนาคุณธรรมที่จะประสบความ
สำาเร็จ
1. เป็นโครงการที่ใช้ทฤษฎีที่มีความน่าเชื่อถือ เป็นพื้นฐานของนโยบาย
2. เป็นโครงการที่ใช้องค์ความรู้จากหลายสาขาวิชามาร่วมกัน
3. โครงการที่ต้องมีการประเมินผล / พัฒนาโครงการ อย่างต่อเนื่อง และใช้
วิจัยขันสูง
้
4. โครงการควรมีการพัฒนาอย่างครบวงจร ไม่ใช่แค่ส่วนเดียว เช่น พัฒนา
เด็กแค่ที่โรงเรียน ส่วนที่บ้านยังมีต้นแบบที่เป็นแบบเดิม แบบนี้ก็ไม่ได้ผล
ต้องพัฒนาเหตุปัจจัยทุกด้านอย่างเป็นระบบ ครบวงจร
5. โครงการที่ได้รับการสนับสนุนต่อเนื่อง ระยะเวลายาวนาน ตลอดทั้งการ
พัฒนาบุคลากรด้วย
6. คุณภาพของนักพัฒนาในโครงการมีความเกี่ยวข้องโดยตรง พัฒนาตนเอง
หาองค์ความรู้ใหม่ๆ ตลอดเวลา ไม่หยุดนิ่ง
การสังเคราะห์งานวิจัยเกียวกับคุณธรรมจริยธรรมในต่าง
่
ประเทศ

อ้า งอิง
เจือจันทร์ จงสถิตอยู่, รุ่งเรือง สุขาภิรมย์ ศูนย์สง
่
เสริมและพัฒนาพลังแผ่นดินเชิงคุณธรรม
สำานักงานบริหารและพัฒนาองค์ความรู้ (องค์การ
มหาชน). รายงานการสัง เคราะห์ง านวิจ ัย
คุณ ลัก ษณะและกระบวนการ ปลูก ฝัง
คุณ ธรรม จริย ธรรม ของประเทศต่า งๆ ของ
ศูน ย์ค ณ ธรรม. กรุงเทพฯ : พริกหวานก
ุ
ราฟฟิค, 2550.
• The moral development of the child:
an integrated model
Ma HK (2013) The moral development of the child : an
integrated model. Front.Public Health 1:57.
doi:10.3389/fpubh.2013.00057
Department of Education Study, Centre for Child Development, Hong
Kong Baptist University, Kowloon Tong, Hong Kong, China
A summary of the stage
characteristics
ตารางแสดงพัฒ นาการทางจริย ธรรมตาม
ทฤษฎีข
ระดับ จริย ธรรม และอายุ อง Kohlbergลเชิง จริย ธรรม
ขัน การใช้เ หตุผ (1969)
้
ระดับ ที่1 ก่อ นกฎเกณฑ์ อายุ 2-10
ขวบ

ขันที่ 1 หลักการหลบหลีกการถูกลงโทษ
้

ขันที่ 2 หลักการแสวงหารางวัล
้
ระดับ ที่2 ตามกฎเกณฑ์ อายุ 10-16 ปี ขันที่ 3 หลักการทำาตามความเห็นชอบของผู้อน
้
ื่

ขันที่ 4 หลักการทำาตามหน้าทีและกฎข้อบังคับใน
้
่
สังคม
ระดับ ที่3 เหนือ กฎเกณฑ์ อายุ 16 ปี
ขึ้น ไป

ขันที่ 5 หลักการทำาตามคำามั่นสัญญา
้

ขันที่ 6 หลักการยึดอุดมคติสากล
้
ตารางแสดงหลัก ในการฝึก อบรมและให้ร างวัล เพื่อ พัฒ นาเหตุผ ลเชิง
จริย ธรรมในขัน ต่า งๆ(
้
ดวงเดือ น พัน ธุมผ ลเชิง ,2537) ด ของรางวัล
พัฒ นาการของหุ นาวัน
ชนิ
การฝึก อบรม
จริย ธรรม

1.หลัก การหลบหลัก การถูก ลงโทษ
(อายุ 2-7 ปี)

สัมผัสทางกายที่อ่อนโยน

ฝึกให้เชื่อฟัง

2.หลัก การแสวงหารางวัล
(อายุ7-10 ขวบ)

วัตถุสิ่งของ

ฝึกให้เชื่อฟัง

3.หลัก การทำา ตามความเห็น ชอบ
ของผู้อ ื่น
(อายุ 10-13 ปี)

กล่าวชมเชย และให้รางวัลที่
เป็นสัญลักษณ์

ฝึกให้รู้จักควบคุมตน

4.หลัก การทำา ตามหน้า ที่แ ละกฎข้อ
บัง คับ ในสัง คม (อายุ 13-16ปี)

เริ่มให้รางวัลตนเอง

ฝึกให้รู้จักควบคุมตน

5.หลัก การทำา ตามคำา มั่น สัญ ญา
(อายุ 16 ปีข ึ้น ไป)

ความภาคภูมิใจในตนเอง

ให้รางวัลตนเองได้

6.หลัก การยึด อุด มคติส ากล
(อายุ 16 ปีข ึ้น ไป)

ความภาคภูมิใจในตนเอง

ให้รางวัลตนเองได้
เกาหลี
การสอนคุณธรรมจริยธรรมใช้หลักการแนวคิดของขงจื้อผสมผสานกับแนวคิดสมัยใหม่
แล้วสร้างเป็นหลักสูตร ตั้งแต่ระดับอนุบาลจนถึงระดับมหาวิทยาลัย ดังนี้
1)ระดับอนุบาล – ประถมศึกษาปีที่ 3 ปลูกฝังคุณลักษณะความเป็นระเบียบในสังคม กฎ
จราจรและจิตสำานึกในการอยูร่วมกันในสังคม
่
2)ระดับประถมศึกษาปีที่ 4 ถึง ประถมศึกษาตอนต้น ปลูกฝังสิทธิและหน้าทีของตนใน
่
ระบอบประชาธิปไตย เคารพกฎหมายของบ้านเมือง การตัดสินใจด้วยตนเองอย่างมีเหตุผล
3)ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ถึงอุดมศึกษา ปลูกฝังสิทธิและหน้าทีการเป็นพลเมืองโลก
่
สันติภาพ ความเข้าใจคุณลักษณะอันเป็นสากลและความเข้าใจอันดีต่อวัฒนธรรมของชาติ
อื่นๆ
โดยโรงเรียนต้องปลูกฝังคุณลักษณะอันพึงประสงค์เข้าไปในทุกรายวิชา นอกจากนี้
โรงเรียนยังต้องปลูกจิตสำานึกในเรื่องเมตตาธรรม และมนุษยธรรมในกระแสโลกาภิวัฒน์
ไต้หวัน
• บทเรีย นจากไต้ห วัน
• ผู้นำาองค์กรเป็นแบบอย่างทั้งด้านการปฏิบัติส่วนตัวและเป็นผู้นำา
ทำากิจกรรมต่างๆ ที่เป็นประโยชน์ในวงกว้าง
• เผยแพร่ธรรมะด้วยสื่อต่างๆ และหลายรูปแบบอย่างมีคุณภาพ
เหมาะสมกับวัย โดยเฉพาะสำาหรับเด็กและเยาวชน
• ระบบสื่อสารมวลชน สามารถจัดตั้งสถานีโทรทัศน์เป็นของ
ตนเองทำาให้สามารถผลิตรายการธรรมะเผยแพร่สู่ประชาชนได้
ในวงกว้างและตลอดเวลา
• เผยแพร่ธรรมะผ่านกิจกรรมต่างๆ ทั้งด้านการบริการสังคม การ
ช่วยเหลือผู้อนด้วยเมตตา
ื่
เวียดนาม
บทเรีย นจากเวีด นาม
• ชาวเวียดนามสามารถรักษาคุณลักษณะเด่นโดยเฉพาะอย่างยิ่ง
ความรักชาติ ความกตัญญูกตเวที ตามหลักคำาสอนของลัทธิ
ขงจื้อ ด้านความเสียสละยิ่งสตรีเวียดนามจะเสียสละให้กับ
ครอบครัวเป็นอันดับแรก เป็นสิ่งที่ปลูกฝังในความคิดของสตรี
เวียดนามแทบทุกคน
บทเรียนสำาคัญๆจากการศึกษาได้แก่
 ผู้นำาประเทศในอตีดเป็นต้นแบบของความรักชาติ ความขยัน
อดทน ความเสียสละ ได้
• ถ่ายทอดอุดมการณ์และตอกยำ้าคุณลักษณะเด่นนี้ไว้ตลอดเวลา
สถาบันครอบครัว สถาบันการศึกษา รวมทั้งรัฐบาลและ
สื่อมวลชนมีส่วนร่วมอย่างยิ่งในการช่วยถ่ายทอดด้วย
ได้ม ก ารปฏิร ูป การศึก ษาโดยเน้น การสร้า ง
ี
คุณ ลัก ษณะของผู้เ รีย นที่พ ง ประสงค์
ึ



คุณลักษณะสำาหรับการเตรียมคนทีมทักษะต่างๆสามารถทำางานในเศรษฐกิจสมัยใหม่
่ ี
ได้ในขณะเดียวกันยังให้สามารถรักษาเอกลักษณ์และวัฒนธรรมของประเทศ และ
รักษาคุณธรรมจริยธรรมของสังคม

•

ในการปฏิรูปการศึกษาของระดับ ชั้น ประถมศึก ษาทางภาคกลางของเวีย ดนาม
มีการกำาหนดให้เด็กทำาการบ้าน 5 ข้อ เพือให้เด็กได้ซมซับการปลูกฝังคุณงามความดี
่
ึ
ผ่านการเรียนการสอน ดังนี้

1. วันนี้หนูทำาความดีอะไรบ้าง เด็กต้องทำาความดีทุกวัน ให้เด็กจดความดีที่ทำาไว้ช่วง 6
ปีที่เรียน
2. วันนี้หนูช่วยคุณพ่อคุณแม่ทำางานอะไรบ้าง เป็นการสร้างความอบอุ่นในครอบครัวมาก
ขึ้น
3. วันนี้ในชุมชนของหนูมเหตุการณ์ใดเกิดขึ้นบ้าง เด็กต้อง ออกไปตระเวนยังบ้านเรือน
ี
ใกล้เคียงเพื่อบันทึกเรื่องราว ทำาให้เด็กเกิดความผูกพันกับชุมชน
4. ให้รายงานข่าวหนึ่งข่าวเกี่ยวกับประเทศเวียดนาม เป็นการช่วยสร้างความรักชาติทาง
อ้อม
5. ให้รายงานข่าวหนึ่งข่าวเกี่ยวกับสถานการณ์โลก ทำาให้รจักสังคมโลก
ู้
ศรีลังกา
 การจัดโรงเรียนพุทธศาสนาวันอาทิตย์ประสบ
ผลสำาเร็จดี เพราะความร่วมมืออันดีระหว่าง
• บ้าน โรงเรียน วัด ชุมชนและรัฐ กล่าวคือ ครอบครัวนิยมส่งลูก
หลานเข้าเรียนพาลูกมาส่งที่โรงเรียนและบางครอบครัวอยู่ปฏิบัติ
ธรรมในวัดและรอรับลูกกลับบ้าน โรงเรียนตั้งอยู่ในวัด พระภิกษุ
หรือภิกษุณในวัดจะนำาอาราธนาศีลก่อนเข้าเรียน ครูที่สอนส่วน
ี
ใหญ่เป็นอาสาสมัครที่สอนอยู่ในโรงเรียนปกติมาสอนให้ฟรี
ชุมชนเป็นผู้สนับสนุนกิจกรรมต่างๆ ส่วนรัฐรับผิดชอบการจัดทำา
หลักสูตรและผลิตตำารา แจกตำาราฟรี ดูแลเรื่องมาตรฐานการ
ศึกษา
อินเดีย
• บทเรีย นจากอิน เดีย
 การปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรมของอินเดียเป็นแบบไม่เป็น
ทางการ แต่ได้ผล
 สำาหรับสถานศึกษาไม่สามารถสอนหลักศาสนาใดให้ลกซึ้ง
ึ
เป็นการเฉพาะได้ เพราะขัดกับรัฐธรรมนูญ
 มีช่องสถานีโทรทัศน์ที่ออกอากาศรายการทางศาสนา ใช้
สื่อมวลชนช่วยเผยแพร่คุณธรรมจริยธรรมแก่ประชาชน
ในประทศอินเดีย มีการสัมภาษณ์การใช้เหตุผลเชิง
จริยธรรมในเด็กอายุ 5 ถึง 13 ปี จากครอบครัวฐานะต่าง
กัน จำานวน 167 คน พบว่า เด็กทีมอายุมากขึ้น
่ ี
มักเป็นผู้ทมลักษณะ 1.ความเอาใจใส่ในความต้องการผู้
ี่ ี
อื่น 2. การให้ได้ประโยชน์ทงฝ่ายตนและฝ่ายอื่นพร้อม
ั้
กัน 3.การยอมรับในจิตใจเกี่ยวกับปทัสถานและค่านิยม
นอกจากนีเด็กอินเดียจากครอบครัวฐานะสูง มีเหตุผลเชิง
้
จริยธรรมสูงมากกว่าผู้ทมาจากครอบครัวฐานะตำ่าอย่าง
ี่
ชัดเจนด้วย (Chadha & Misra,2004 )
ฟินแลนด์
 เด็กในประเทศฟินแลนด์เข้าโรงเรียนช้า
คือ ประมาณอายุ 6 ขวบ โดยครอบครัว
มีบทบาทอย่างมากต่อการหล่อหลอมเด็ก
ตั้งแต่เกิดและในระยะที่เด็กยังเล็กอยู่
 การสอนคุณธรรมจริยธรรมในวิชาศาสนา
หรือวิชาปรัชญาชีวิต เริ่มตั้งแต่ในระดับ
การศึกษาพื้นฐานจนถึงมัธยมศึกษาตอน
ปลาย
สวิตเซอร์แลนด์
 ชาวสวิสเชื่อว่าเด็ก คือ อนาคตของชาติ ก่อนตั้งครรภ์ต้องเตรียม
ตัวให้พร้อม โดยเฉพาะต้องมีฐานะมั่นคงจึงจะแต่งงานและมีบุตร
 ชาวสวิส เชื่อ ว่า พ่อ แม่ม ีส ่ว นสำา คัญ ที่ส ุด ในการอบรมเลี้ย ง
ลูก ดัง นั้น เมื่อ มีบ ุต ร ฝ่า ยหญิง จึง ลาออกจากงานเพื่อ ทำา
หน้า ที่แ ม่บ ้า นเต็ม เวลา ซึ่ง ถือ ว่า เป็น การเสีย สละอย่า ง
มาก แม่จ ะทำา หน้า ที่เ ป็น ครูข องลูก ปลูก ฝัง คุณ ธรรม
จริย ธรรมให้เ กิด กับ ลูก ด้ว ยวิถ ีช ีว ิต ความเป็น อยู่ป ระจำา
เยอรมัน
 แม่มีบทบาทสำาคัญยิ่งในการหล่อหลอมเด็กให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ รัฐ
ส่งเสริมให้พ่อแม่มีความสามารถในการอบรมเลี้ยงดูเด็ก
 เยอรมันมีระบบการศึกษาเป็นรากฐานสำาคัญที่หล่อหลอมคนให้มีคุณภาพดี
อย่างต่อเนื่อง
 การปลุกฝังคุณธรรมจริยธรรมโดยใช้การศึกษาตั้งแต่อนุบาลและ
กระบวนการจัดการศึกษาที่เน้นวิชาการกับการทำางานและชีวิตจริง คือ
- ความรับผิดชอบต่อตนเอง
- ความรับผิดชอบต่อประเทศชาติ
 เด็กๆได้รับการอบรมสั่งสอนในเรื่องของการรักษาสิ่งแวดล้อม ตั้งแต่เด็ก เช่น
การแยกขยะ การเก็บสิ่งของ การจัดระเบียบต่างๆ เป็นการปลูกฝังให้เด็กตั้ง
แต่เล็กๆ เมื่อเด็กโตขึนก็จำาไปปฏิบัติ สิ่งนี้จะกลายเป็นอุปนิสัยประจำาตัว
้
แคนาดา
 การกำาหนดวิสัยทัศน์ของประเทศที่ระบุว่า “Canada for All” หรือแคนาดา
คือสถานที่สำาหรับทุกคนไม่แบ่งแยก
 มีการกำาหนดวางแผนและดำาเนินการอย่างเป็นระบบ ต่อเนื่อง มีระบบการ
ควบคุมและกำากับการดำาเนินการที่มีประสิทธิภาพ
 สิ่งที่รัฐบาลแคนาดาให้ความสำาคัญ ในการทำาให้ประเทศชาติมีการพัฒนา
ก้าวหน้า มีความมั่นคง
รัฐบาลให้ความสำาคัญอยู่ 3 เรื่อง คือ เยาวชน สถาบันครอบครัว และการศึกษา
 การพัฒนาเยาวชนของชาติ ไม่ได้อาศัยองค์กรใดองค์กรหนึ่งเป็นหลักแต่
เพียงองค์กรเดียว  
ญี่ปุ่น
ตาราง แสดงคุณ ลัก ษณะเด่น ด้า นคุณ ธรรมจริย ธรรมของ
ž ³Á«
¦ ž
ž ¨´
ž ¬ž³
» ž
คนในประเทศต่า งๆ
Áµ ¨
„® ¸

„ „¤ ° „ „»Á„ „„ „ „ „ ¤ ® n „Ä° „„ („ „ ) ¦ „ µ „ ¤ „´„µ Ä° µ à „„ „„ ¨ „ „ „ „
¥ Å n ° n„ µµ ¦ ´
´ ¥ o ¤ Î
n
„µ ·(¦ ´ ¼¨ ¦ ´ „ „ ¦) „ s¼´ ¦«¹¬µ ª · ¥ ¦¡ „ ª» o´ o  ³„ „ ® o É
®n µ
Á
r
´
„
¸ Á
­¦¼ ® µ É
¸
·´ µ¸
·
° ¥ „ ¤ „ (¨ µ „ „¦„ Î „ „µ „ªÁ„¨ ªµ ¦n ¤ *
µ „Â È
n Áo „ ³° ¥ n µ ¦³„ „ ¦¡ ¹„ °  ³„ ¤ ª¤ ° )
°
µ·
É´
º

Åo „
„ ª´
®

„·„° „ „ ¦³® „ „ „ ® „ ¤ ° n „o Á „¦ „„ „ „„È„ „ „ªÁ„ É„ „ „µ ¤ „„· µ ¹Á° „ µ ¼
¦„„ „ „
´
¥ „¥ «¹¬µ µ ªµ ¦ ¼„ ° ¤ „¦n ´ ¦³Á¥ Á „ ª ° „ ° „º ª µ „¦Á° ¤ „­ Î „ ¦ É Á ­ „
´ ´
o
°
„ Ä
¸
´
´
„´
º ¸
„ º ª¨
Áµ Ä„ „„ ¤„ „ „¨ Ä „¨ „ · µ Á É„ „„„ „
„¦¡ „ » n ªµ ÁÈ „ µ® µ ¦„„„º ° ­»¹ ³„ ³
„µ
„
o o o
° o o
„

Á¥ „ ¤
ª¸ µ
„

„ „ „ „¦ „ „ „´s¼ ¦¡ Ä° µ à ɭ „ ¦ „ ¦«¹¬ Án¦ ¥
¥° „ ´
´
„µ „ „ Á
·
„µ „ ª» ° ´ r´
­„º ¥ „µ „ µ¨ Á¸
µ „

«¦ ¨ „
¸ µ
„
´

° n „ ¤ „´s¼ ¦¡ Ä° µ ĺ„ ¦ „ „ „ n „° „¨ ° ɤ ª„ ° Á¥
°„o „ „ Á
°
„µ „ ª» É ¦„´ ·„° „ „ Á  ³„ „ „¸ ¡ ¡ ¸
­ °
„
°
¼ ¸ ·
o
º
„

° „„
· Á¥
¸

„ „„® ÄÁ„ ¼„„ „ ¸ ® ¥ „¤ ¥Â ¤ ªÁ n Ä
´ ¦ ´ n ¥ o ´¥¥ · ° µÉ° „„ µ ¦ „³ ª„ ¦ „„
¥ „ ¥   ¦ ¸ ¼„ ³¦ „„ ¤ ¤ ° ªÁ „¨ ­ ³„ „ ´
° ³ „ ¦ o  ¨ nÅ µ
¦ „ ´ °„´
¦„
o
„
¸n „
¥
µµ
¦„
«µ µ ¨ „ „ Á ÉÄÄ ³„¤ „ „ „ „Ä° n Ĥ„¸ Á¥ Å „¥ „ ¤ „ ¦„® ·­ µ
­„  ³ª´„ ¦¦¤„º „„ „ µ „ µ ¦¦¤ „· „° „¥ Å Á ¥ „ „¤ · ¤ ªµ ¦»Â ° „
°
n
»Î
¸
n „ ¸ n

­ª„„ ¦r¨ „
· Á° Â „ r

„ „ Á µ É­ „ ­ »¦„ ¤ „ „ ° „ ¤° µ„­n „ ª„ „ªÁ„ª„´
¦„nª¨ „º ´ r„· „ªµ ¦ ´ · „ „ªµ Á ÄÄÁ „ ° „ ° ¤ · ¥
°
° ¥
„
„È ´
´ ¸

¢„ ¨ „
· „ r

„ ­ „ ­ » · ¤ „´
° ¥ ¦„ ¸
É ´ r„ ª · ¥
º

Á° ¦¤
¥ „
´

¤ ³Á¥ ª„ „ªµ ¦ „ „ ° „„„ „„ » ¦„ É„ „¦„nª¨ „¦³® „
¦ „ „ · ¥ ¤ ´ · „ ¦¼ ® o ­ „ · „º ¦„ „ Á µ
¸ ¸ ´
„
o´ µ É
¸
°
°
¥
´

 „„
„µµ

¤ „ ¥ È„ ¨ „ o ¦´­ „ ° ´ n¤µ „®¦ · É„rn ¦ ´ µ n
Á¥ Á ¤ ¤ Ä ¤ È ´
³¸ª„ „ »„ · Á „ ° „„ „¥„ ¦  o„ ° ¤Ä ¼ „ ¦ µ
¸„„ ¸ ¸ „ „ ·
¦ · ´ „„
Á
®
„
ÊÅ· Ĥ ÄÁ Á ¬¦ o „ ° „
¨
„„ o » ¦ „ ¡ ¥
¤ „ „¸ º „
ª
¥ »
 

„ „ r
· ¸ „
ª„ ¨

¤ „ „º­ „ Á ¦¡ Ä„ ¤ „ „„ ¦¡ „ ° É
ª· ¥ É ´ r
¸ ´ ° ¥„µ „ ªµ  „ n Á
µ „µ „ „
º

„ *
„
É
¸ *
n
»

„ „ Á µ „ „ „ n „o „ ¤ „ É­ „ ­ » ¦„ „ £´ „¦³® „­ n ¥ ³Á¥ „Î „„„ „ ¦³¨ „» „ ­³° µ „È
¦„nª¨ ¦ ´ ·„° ° ° „ ° ¤ n „ „º ´ r„ · „ ¦„ „ ¸ ¥ ÄÄ
°
„
°
° ¥
„
´ „¦µ ¨ ° ¸ µ µ ÁÈ ¤ „ „ »
„
„¸ ¹
„
„Á „
¦³Á¥  „ ³Á° „n „  ³„ ¤ „ „ ° „„ „„ µ µ „ ° ¦° ¦ „
„ „ ¥ ¥ ¦ É ­ ª„ ª ¨ ªµ ¦ ´ · „ Ä® o „Î „„ ¦³„ o
¸
º
´
„
µÉ
¸
º

° „§ *
´ ¬*
„

„ „ Á µ ¦ ³Á ¥ ¦ „¬µ ªµ ­ ³° µ ° ­¦³Â ¥ ¦¼ Á„„ ¦„ „ ¥
¦„nª¨ ¤ „¸ ´ „ ¤
°
¸
„
„ · ¦³® „ „n„¦ ´
´ oµ · „µ „ £´

(*) ผู้วิจัยไม่ได้ระบุไว้โดยตรง แต่ปรากฏในกระบวนการปลูก
ฝัง
ตาราง แสดงคุณ ลัก ษณะเด่น ร่ว ม /เฉพาะด้า นคุณ ธรรมของคนใน
ประเทศต่า งๆ
คุณ ลัก ษณะ

ความขยัน อดทน
รักการศึกษา ขยันหาความรู้
กตัญญู
ความรักชาติ
อ่อนน้อม
ประหยัด
ซื่อตรง ซื่อสัตย์
มีวินัย เคร่งในระเบียบ
รู้จักหน้าที่ รับผิดชอบในงาน
จิตสำานึกเรื่องเวลาสูง/ตรงต่อเวลา

(**)

คน/ประเทศ
เอเชีย
ยุโ รป-อเมริก าเหนือ -แปซิฟ ิค ใต้
คนเกาหลี ไต้หวัน เวียดนาม
คนเยอรมัน แคนาดา นิวซีแลนด์
อินเดีย
คนเกาหลี ไต้หวัน เวียดนาม
คนแคนาดา นิวซีแลนด์ เยอรมัน
อินเดีย
คนเกาหลี เวียดนาม ศรีลงกา
ั
 
ญี่ปุ่น**
คนเกาหลีและเวียดนาม ญี่ปุ่น**
คนแคนาดา
คนไต้หวันและศรีลังกา ญี่ปุ่น**
 
คนไต้หวันและอินเดีย ญี่ปุ่น**
คนเยอรมัน สวิส อังกฤษ**
คนศรีลังกา และ ไต้หวัน ญี่ปุ่น**
คนสวิส เยอรมัน นิวซีแลนด์
คนเกาหลีและไต้หวัน ญี่ปุ่น**
คนสวิส เยอรมัน ฟินแลนด์ แคนาดา
นิวซีแลนด์ อังกฤษ**
คนเกาหลีและอินเดีย ญี่ปุ่น**
คนสวิส เยอรมัน
คนไต้หวัน ญี่ปุ่น**
คนสวิส เยอรมัน ฟินแลนด์ แคนาดา
อังฤษ**
คนไต้หวัน
คนไต้หวัน
คนอินเดีย
คนเกาหลี
คนแคนาดา นิวซีแลนด์

ตื่นตัวทางการนเมือง
กล้าให้ กล้าบริจาค
เชื่อในโชคชะตา มุงทำากรรมดี
่
ละอายต่อการกระทำาผิด
ยอมรับความแตกต่าง/ความหลาก
หลาย
เคารพคุณค่าความเป็นคน/ให้
คนไต้หวัน
จากงานศึกษาอืเ่นทีนมนุษย์นำาเสนอศูนย์คุณธรรมฯโดยตรง
่ไม่ได้
เกียรติ พื่อ
รักการผจญภัย
ใส่ใจในรายละเอียด
คนญี่ปุ่น**
ทำางานเป็นทีม
คนญี่ปุ่น**

คนแคนาดา นิวซีแลนด์
คนอังกฤษ**
คนสวิส
บรรณนานุกรม
เจือจันทร์ จงสถิตอยู่, รุ่งเรือง สุขาภิรมย์ ศูนย์สงเสริมและพัฒนาพลังแผ่นดินเชิงคุณธรรม สำานักงาน
่
บริหารและพัฒนาองค์ความรู้ (องค์การมหาชน). รายงานการสัง เคราะห์ง านวิจ ัย คุณ ลัก ษณะ
และกระบวนการ ปลูก ฝัง คุณ ธรรม จริย ธรรม ของประเทศต่า งๆ ของศูน ย์ค ุณ ธรรม .
กรุงเทพฯ : พริกหวานกราฟฟิค, 2550.
นงลักษณ์ วิรัชชัย และคณะ. (2551).การสำารวจและสังเคราะห์ตัวบ่งชี้คุณธรรมจริยธรรม: รายงาน
วิจยเรื่องที่ 1ใน4 ของชุดโครงการวิจย เรื่องการพัฒนาตัวบ่งชี้คุณธรรมจริยธรรมการพัฒนาและ
ั
ั
พัฒนาการ, (น.3-9).
ดุจเดือน พันธุมนาวิน.(2551). การสังเคราะห์งานวิจัยเกียวกับคุณธรรมจริยธรรมในประเทศไทย
่
และต่างประเทศ,กรุงเทพ: ศุนย์คุณธรรม
อดิศร จันทรสุข.(2548).รายงานการวิจัย การปลูกฝังคุณธรรมในเด็กปฐมวัยผ่านกระบวน
สร้างสรรค์ของแกนนำาโรงเรียนวิถพุทธ : โครงการวิจยภายใต้ทนสนับสนุนจากศูนย์สงเสริมและ
ี
ั
ุ
่
พัฒนาพลังแผ่นดินเชิงคุณธรรม

Ma HK (2013) The moral development of the child : an
integrated model. Front.Public Health 1:57.
doi:10.3389/fpubh.2013.00057

More Related Content

What's hot

การนำเสนอคุณธรรมและจริยธรรมสำหรับผู้นำ3
การนำเสนอคุณธรรมและจริยธรรมสำหรับผู้นำ3การนำเสนอคุณธรรมและจริยธรรมสำหรับผู้นำ3
การนำเสนอคุณธรรมและจริยธรรมสำหรับผู้นำ3ฟองเพียร ใจติ๊บ
 
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาpentanino
 
ปรัชญาการศึกษา Philosophy of Education
ปรัชญาการศึกษา Philosophy of Education ปรัชญาการศึกษา Philosophy of Education
ปรัชญาการศึกษา Philosophy of Education Weerachat Martluplao
 
7 พฤติกรรมศาสตร์
7 พฤติกรรมศาสตร์7 พฤติกรรมศาสตร์
7 พฤติกรรมศาสตร์Watcharin Chongkonsatit
 
บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่
บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่
บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่Aj.Mallika Phongphaew
 
แนวข้อสอบ วิชา พระพุทธศาสนา
แนวข้อสอบ วิชา พระพุทธศาสนาแนวข้อสอบ วิชา พระพุทธศาสนา
แนวข้อสอบ วิชา พระพุทธศาสนาOppo Optioniez
 
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์pentanino
 
9789740330660
97897403306609789740330660
9789740330660CUPress
 
จริยศาสตร์ประเมินบทที่222 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่222 3-ปีจริยศาสตร์ประเมินบทที่222 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่222 3-ปีPa'rig Prig
 
2014-07-04 การบริหารงานแนวพุทธ
2014-07-04 การบริหารงานแนวพุทธ2014-07-04 การบริหารงานแนวพุทธ
2014-07-04 การบริหารงานแนวพุทธNopporn Thepsithar
 
แผ่นพับโครงงานของฝาก 1
แผ่นพับโครงงานของฝาก 1แผ่นพับโครงงานของฝาก 1
แผ่นพับโครงงานของฝาก 1KruKaiNui
 
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรม
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรมการบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรม
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรมpentanino
 
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหารการนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหารpentanino
 
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทย
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทยการพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทย
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทยpentanino
 
6 พฤติกรรมสุขภาพ
6 พฤติกรรมสุขภาพ6 พฤติกรรมสุขภาพ
6 พฤติกรรมสุขภาพWatcharin Chongkonsatit
 
พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่
พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่
พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่Chatnakrop Sukhonthawat
 
เอกสารเผยแพร่โครงงานสุขภาพ
เอกสารเผยแพร่โครงงานสุขภาพ เอกสารเผยแพร่โครงงานสุขภาพ
เอกสารเผยแพร่โครงงานสุขภาพ tassanee chaicharoen
 
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนาหลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนาNew Nan
 
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญา
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญาสุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญา
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญาpentanino
 

What's hot (20)

การนำเสนอคุณธรรมและจริยธรรมสำหรับผู้นำ3
การนำเสนอคุณธรรมและจริยธรรมสำหรับผู้นำ3การนำเสนอคุณธรรมและจริยธรรมสำหรับผู้นำ3
การนำเสนอคุณธรรมและจริยธรรมสำหรับผู้นำ3
 
ปฏิบัตินิยม
ปฏิบัตินิยมปฏิบัตินิยม
ปฏิบัตินิยม
 
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
 
ปรัชญาการศึกษา Philosophy of Education
ปรัชญาการศึกษา Philosophy of Education ปรัชญาการศึกษา Philosophy of Education
ปรัชญาการศึกษา Philosophy of Education
 
7 พฤติกรรมศาสตร์
7 พฤติกรรมศาสตร์7 พฤติกรรมศาสตร์
7 พฤติกรรมศาสตร์
 
บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่
บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่
บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่
 
แนวข้อสอบ วิชา พระพุทธศาสนา
แนวข้อสอบ วิชา พระพุทธศาสนาแนวข้อสอบ วิชา พระพุทธศาสนา
แนวข้อสอบ วิชา พระพุทธศาสนา
 
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
 
9789740330660
97897403306609789740330660
9789740330660
 
จริยศาสตร์ประเมินบทที่222 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่222 3-ปีจริยศาสตร์ประเมินบทที่222 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่222 3-ปี
 
2014-07-04 การบริหารงานแนวพุทธ
2014-07-04 การบริหารงานแนวพุทธ2014-07-04 การบริหารงานแนวพุทธ
2014-07-04 การบริหารงานแนวพุทธ
 
แผ่นพับโครงงานของฝาก 1
แผ่นพับโครงงานของฝาก 1แผ่นพับโครงงานของฝาก 1
แผ่นพับโครงงานของฝาก 1
 
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรม
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรมการบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรม
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรม
 
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหารการนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร
 
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทย
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทยการพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทย
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทย
 
6 พฤติกรรมสุขภาพ
6 พฤติกรรมสุขภาพ6 พฤติกรรมสุขภาพ
6 พฤติกรรมสุขภาพ
 
พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่
พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่
พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่
 
เอกสารเผยแพร่โครงงานสุขภาพ
เอกสารเผยแพร่โครงงานสุขภาพ เอกสารเผยแพร่โครงงานสุขภาพ
เอกสารเผยแพร่โครงงานสุขภาพ
 
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนาหลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
 
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญา
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญาสุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญา
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญา
 

Viewers also liked

Critical thinking : Taboos and Issues
Critical thinking : Taboos and IssuesCritical thinking : Taboos and Issues
Critical thinking : Taboos and IssuesWeena Wongwaiwit
 
ปฐมนิเทศ 2555 ประถม
ปฐมนิเทศ 2555 ประถมปฐมนิเทศ 2555 ประถม
ปฐมนิเทศ 2555 ประถมOrange Wongwaiwit
 
ภาคสนามวิถีแห่งสายน้ำ และการงานอาชีพฯ ชั้น 10 ปีการศึกษา 2557
ภาคสนามวิถีแห่งสายน้ำ และการงานอาชีพฯ ชั้น 10 ปีการศึกษา 2557ภาคสนามวิถีแห่งสายน้ำ และการงานอาชีพฯ ชั้น 10 ปีการศึกษา 2557
ภาคสนามวิถีแห่งสายน้ำ และการงานอาชีพฯ ชั้น 10 ปีการศึกษา 2557Weena Wongwaiwit
 
ปฐมนิเทศภาพรวม รร.เพลินพัฒนา ปี ๒๕๕๖
ปฐมนิเทศภาพรวม  รร.เพลินพัฒนา ปี ๒๕๕๖ปฐมนิเทศภาพรวม  รร.เพลินพัฒนา ปี ๒๕๕๖
ปฐมนิเทศภาพรวม รร.เพลินพัฒนา ปี ๒๕๕๖plearnnews
 
แนะนำมัธยมเพลินพัฒนา 9 nov 12
แนะนำมัธยมเพลินพัฒนา 9 nov 12แนะนำมัธยมเพลินพัฒนา 9 nov 12
แนะนำมัธยมเพลินพัฒนา 9 nov 12Orange Wongwaiwit
 
ภาคสนามชั้น 7
ภาคสนามชั้น 7 ภาคสนามชั้น 7
ภาคสนามชั้น 7 Orange Wongwaiwit
 
ภาคสนามชั้น 7 ปีการศึกษา 2558
ภาคสนามชั้น 7 ปีการศึกษา 2558ภาคสนามชั้น 7 ปีการศึกษา 2558
ภาคสนามชั้น 7 ปีการศึกษา 2558Orange Wongwaiwit
 
ต้อนรับคณะนักศึกษา ปโท ดูงาน
ต้อนรับคณะนักศึกษา ปโท ดูงาน ต้อนรับคณะนักศึกษา ปโท ดูงาน
ต้อนรับคณะนักศึกษา ปโท ดูงาน Orange Wongwaiwit
 
การทำงานมัธยม
การทำงานมัธยมการทำงานมัธยม
การทำงานมัธยมOrange Wongwaiwit
 
สมุดภาคสนาม (Field Trip journal)
สมุดภาคสนาม (Field Trip journal)สมุดภาคสนาม (Field Trip journal)
สมุดภาคสนาม (Field Trip journal)Orange Wongwaiwit
 
ปัจจัยที่มีผลต่อการเรียนรู้และพัฒนาการวัยรุ่น
ปัจจัยที่มีผลต่อการเรียนรู้และพัฒนาการวัยรุ่นปัจจัยที่มีผลต่อการเรียนรู้และพัฒนาการวัยรุ่น
ปัจจัยที่มีผลต่อการเรียนรู้และพัฒนาการวัยรุ่นOrange Wongwaiwit
 
เปลี่ยนความคิด ชีวิตก็เปลี่ยน
เปลี่ยนความคิด ชีวิตก็เปลี่ยนเปลี่ยนความคิด ชีวิตก็เปลี่ยน
เปลี่ยนความคิด ชีวิตก็เปลี่ยนPronthep Chaisri
 
การสื่อสารในทางบวก
การสื่อสารในทางบวกการสื่อสารในทางบวก
การสื่อสารในทางบวกAj Muu
 
ทัศนคติ (Attitude)
ทัศนคติ (Attitude)ทัศนคติ (Attitude)
ทัศนคติ (Attitude)Ritthiporn Lekdee
 
แนวทางการทำโครงงาน PBL มัธยม ปีการศึกษา 2557
แนวทางการทำโครงงาน PBL มัธยม ปีการศึกษา 2557แนวทางการทำโครงงาน PBL มัธยม ปีการศึกษา 2557
แนวทางการทำโครงงาน PBL มัธยม ปีการศึกษา 2557Weena Wongwaiwit
 
สไลด์ สนุกกับการแก้ปัญหา
สไลด์ สนุกกับการแก้ปัญหาสไลด์ สนุกกับการแก้ปัญหา
สไลด์ สนุกกับการแก้ปัญหาOrange Wongwaiwit
 
การทำงานสู่ความเป็นเลิศ
การทำงานสู่ความเป็นเลิศการทำงานสู่ความเป็นเลิศ
การทำงานสู่ความเป็นเลิศsongsri
 
906702 Enhancing Business Processes Using Enterprise Information Systems
906702 Enhancing Business Processes Using Enterprise Information Systems906702 Enhancing Business Processes Using Enterprise Information Systems
906702 Enhancing Business Processes Using Enterprise Information Systemssiroros
 

Viewers also liked (20)

Critical thinking : Taboos and Issues
Critical thinking : Taboos and IssuesCritical thinking : Taboos and Issues
Critical thinking : Taboos and Issues
 
Fieldtrip Journal
Fieldtrip JournalFieldtrip Journal
Fieldtrip Journal
 
ปฐมนิเทศ 2555 ประถม
ปฐมนิเทศ 2555 ประถมปฐมนิเทศ 2555 ประถม
ปฐมนิเทศ 2555 ประถม
 
ภาคสนามวิถีแห่งสายน้ำ และการงานอาชีพฯ ชั้น 10 ปีการศึกษา 2557
ภาคสนามวิถีแห่งสายน้ำ และการงานอาชีพฯ ชั้น 10 ปีการศึกษา 2557ภาคสนามวิถีแห่งสายน้ำ และการงานอาชีพฯ ชั้น 10 ปีการศึกษา 2557
ภาคสนามวิถีแห่งสายน้ำ และการงานอาชีพฯ ชั้น 10 ปีการศึกษา 2557
 
Discovery asean 1
Discovery asean 1Discovery asean 1
Discovery asean 1
 
ปฐมนิเทศภาพรวม รร.เพลินพัฒนา ปี ๒๕๕๖
ปฐมนิเทศภาพรวม  รร.เพลินพัฒนา ปี ๒๕๕๖ปฐมนิเทศภาพรวม  รร.เพลินพัฒนา ปี ๒๕๕๖
ปฐมนิเทศภาพรวม รร.เพลินพัฒนา ปี ๒๕๕๖
 
แนะนำมัธยมเพลินพัฒนา 9 nov 12
แนะนำมัธยมเพลินพัฒนา 9 nov 12แนะนำมัธยมเพลินพัฒนา 9 nov 12
แนะนำมัธยมเพลินพัฒนา 9 nov 12
 
ภาคสนามชั้น 7
ภาคสนามชั้น 7 ภาคสนามชั้น 7
ภาคสนามชั้น 7
 
ภาคสนามชั้น 7 ปีการศึกษา 2558
ภาคสนามชั้น 7 ปีการศึกษา 2558ภาคสนามชั้น 7 ปีการศึกษา 2558
ภาคสนามชั้น 7 ปีการศึกษา 2558
 
ต้อนรับคณะนักศึกษา ปโท ดูงาน
ต้อนรับคณะนักศึกษา ปโท ดูงาน ต้อนรับคณะนักศึกษา ปโท ดูงาน
ต้อนรับคณะนักศึกษา ปโท ดูงาน
 
การทำงานมัธยม
การทำงานมัธยมการทำงานมัธยม
การทำงานมัธยม
 
สมุดภาคสนาม (Field Trip journal)
สมุดภาคสนาม (Field Trip journal)สมุดภาคสนาม (Field Trip journal)
สมุดภาคสนาม (Field Trip journal)
 
ปัจจัยที่มีผลต่อการเรียนรู้และพัฒนาการวัยรุ่น
ปัจจัยที่มีผลต่อการเรียนรู้และพัฒนาการวัยรุ่นปัจจัยที่มีผลต่อการเรียนรู้และพัฒนาการวัยรุ่น
ปัจจัยที่มีผลต่อการเรียนรู้และพัฒนาการวัยรุ่น
 
เปลี่ยนความคิด ชีวิตก็เปลี่ยน
เปลี่ยนความคิด ชีวิตก็เปลี่ยนเปลี่ยนความคิด ชีวิตก็เปลี่ยน
เปลี่ยนความคิด ชีวิตก็เปลี่ยน
 
การสื่อสารในทางบวก
การสื่อสารในทางบวกการสื่อสารในทางบวก
การสื่อสารในทางบวก
 
ทัศนคติ (Attitude)
ทัศนคติ (Attitude)ทัศนคติ (Attitude)
ทัศนคติ (Attitude)
 
แนวทางการทำโครงงาน PBL มัธยม ปีการศึกษา 2557
แนวทางการทำโครงงาน PBL มัธยม ปีการศึกษา 2557แนวทางการทำโครงงาน PBL มัธยม ปีการศึกษา 2557
แนวทางการทำโครงงาน PBL มัธยม ปีการศึกษา 2557
 
สไลด์ สนุกกับการแก้ปัญหา
สไลด์ สนุกกับการแก้ปัญหาสไลด์ สนุกกับการแก้ปัญหา
สไลด์ สนุกกับการแก้ปัญหา
 
การทำงานสู่ความเป็นเลิศ
การทำงานสู่ความเป็นเลิศการทำงานสู่ความเป็นเลิศ
การทำงานสู่ความเป็นเลิศ
 
906702 Enhancing Business Processes Using Enterprise Information Systems
906702 Enhancing Business Processes Using Enterprise Information Systems906702 Enhancing Business Processes Using Enterprise Information Systems
906702 Enhancing Business Processes Using Enterprise Information Systems
 

Similar to Topicค ณธรรม (2)

สุขฯ ม.2 หน่วย 7
สุขฯ ม.2 หน่วย 7สุขฯ ม.2 หน่วย 7
สุขฯ ม.2 หน่วย 7supap6259
 
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทpentanino
 
ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1Kiw E D
 
9789740330691
97897403306919789740330691
9789740330691CUPress
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)Miss.Yupawan Triratwitcha
 
ความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษา
ความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษาความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษา
ความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษาitedu355
 
การศึกษาค้นคว้าและสร้างสรรค์องค์ความรู้
การศึกษาค้นคว้าและสร้างสรรค์องค์ความรู้การศึกษาค้นคว้าและสร้างสรรค์องค์ความรู้
การศึกษาค้นคว้าและสร้างสรรค์องค์ความรู้sirirak Ruangsak
 
44444444444444
4444444444444444444444444444
44444444444444bow4903
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้Wichai Likitponrak
 
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ05102500
 
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ05102500
 
แผ่นพับ โครงงานคุณธรรม 1
แผ่นพับ โครงงานคุณธรรม 1แผ่นพับ โครงงานคุณธรรม 1
แผ่นพับ โครงงานคุณธรรม 1KruKaiNui
 
จริยศาสตร์ประเมินบทที่333 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่333 3-ปีจริยศาสตร์ประเมินบทที่333 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่333 3-ปีPa'rig Prig
 

Similar to Topicค ณธรรม (2) (20)

Intro sciproject
Intro sciprojectIntro sciproject
Intro sciproject
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 7
สุขฯ ม.2 หน่วย 7สุขฯ ม.2 หน่วย 7
สุขฯ ม.2 หน่วย 7
 
6บทที่2
6บทที่2 6บทที่2
6บทที่2
 
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
 
ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1
 
9789740330691
97897403306919789740330691
9789740330691
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
 
ความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษา
ความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษาความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษา
ความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษา
 
Arkom
ArkomArkom
Arkom
 
หน่วยที่๘
หน่วยที่๘หน่วยที่๘
หน่วยที่๘
 
การศึกษาค้นคว้าและสร้างสรรค์องค์ความรู้
การศึกษาค้นคว้าและสร้างสรรค์องค์ความรู้การศึกษาค้นคว้าและสร้างสรรค์องค์ความรู้
การศึกษาค้นคว้าและสร้างสรรค์องค์ความรู้
 
44444444444444
4444444444444444444444444444
44444444444444
 
Km tqf
Km tqfKm tqf
Km tqf
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
 
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
 
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
 
แผ่นพับ โครงงานคุณธรรม 1
แผ่นพับ โครงงานคุณธรรม 1แผ่นพับ โครงงานคุณธรรม 1
แผ่นพับ โครงงานคุณธรรม 1
 
งานนำเสนอ Sar
งานนำเสนอ Sarงานนำเสนอ Sar
งานนำเสนอ Sar
 
03chap1
03chap103chap1
03chap1
 
จริยศาสตร์ประเมินบทที่333 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่333 3-ปีจริยศาสตร์ประเมินบทที่333 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่333 3-ปี
 

Topicค ณธรรม (2)

  • 3. เนื้อหา • นิยาม • ทฤษฎี • งานวิจัยในประเทศ • งานวิจัยต่างประเทศ • วิเคราะห์แนวทางการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม
  • 4. นิยาม - คุณธรรม - จริยธรรม - ศีลธรรมคุณ - ธรรมจริยธรรม - พฤติกรรมจริยธรรม
  • 5. นิยาม • คุณธรรม (virtues) หมายถึง คุณสมบัติที่สอดคล้องกับมาตรฐานทีถูกต้องและดีงาม ่ “ Webster Ninth New CollegiateDictionary (1991)
  • 6. นิยาม • จริยธรรม (Moral) หมายถึง การประพฤติปฏิบัติของบุคคลหรือกลุ่มบุคคลที่ สอดคล้องกับกรอบหรือหลักประพฤติปฏิบัติอันถูกต้องดีงาม และเป็นที่ยอมรับของสังคม Fieser (2004)
  • 9. นิยาม • พฤติกรรมจริยธรรม  เกี่ยวข้องกับหลักทางศาสนาเช่น รักษาศีล ทาน ทำาสมาธิ  ค่านิยมต่างๆที่สังคมเห็นว่าเป็นสิ่งที่ดีงามและสำาคัญ เพื่อ ให้เกิดความสงบสุขในสังคม เช่น พฤติกรรมสามัคคี,รับ ผิดชอบ ,ซื่อสัตย์  การกระทำาเพื่อส่วนรวมตามหลักการขั้นสูง เช่น การ เคารพกฎหมาย ,เคารพสิทธิมนุษยชน (Villegas de Posada,1994)
  • 10. นิยาม • พฤติกรรมจริยธรรม  การกระทำาที่ต้องให้เกิดผลดีทั้งระยะสั้นและยาว ต่อ ตนเอง ครอบครัว ชุมชน เช่น มีวนัยหรือการควบคุม ิ ตนเอง การเป็นสมาชิกที่ดีต่อองค์กร  เกี่ยวข้องกับการให้รางวัลส่งเสริมผู้อื่น และลงโทษ อย่าง ยุติธรรม เช่น พฤติกรรมการปกครอง พฤติกรรมการ เลี้ยงดูบุตรหลานของผู้ปกครอง (Villegas de Posada,1994)
  • 11. ทฤษฎี • ทฤษฎีพัฒนาการทางการรู้คิด ของ Jean Piaget,1932 • ทฤษฎีพัฒนาการของเหตุผลเชิงจริยธรรมของ Kohlberg,1976 • ทฤษฎีต้นไม้จริยธรรม ของ ดวงเดือน พันธุมนาวิน,2536
  • 15. ตัวอย่างงานวิจัยในประเทศ • การปลูกฝังคุณธรรมในเด็กปฐมวัยผ่านกระบวนสร้างสรรค์ของ แกนนำาโรงเรียนวิถพุทธ (ปี 2548) ี • การสังเคราะห์งานวิจัยเกี่ยวกับคุณธรรมจริยธรรมใน ประเทศไทยและต่างประเทศ (ปี 2551)
  • 16. การปลูกฝังคุณธรรมในเด็กปฐมวัยผ่านกระบวนสร้างสรรค์ ของแกนนำาโรงเรียนวิถีพทธ (ปี 2548) ุ วัต ถุป ระสงค์ ตัว แปร/ประเด็ นที่ม ง ศึก ษา ุ่ แหล่ง ข้อ มูล เครื่อ งมือ แนวทางการ วิเ คราะห์ 1.ศึกษาสภาพการจัด กระบวนการ สร้างสรรค์เพื่อปลูกฝัง คุณธรรมในเด็ก ปฐมวัย สภาพการจัด กระบวนการ สร้างสรรค์เพื่อ ปลูกฝังคุณธรรม ในเด็กปฐมวัย -รวบรวมเอกสาร/ หลักฐาน แบบสอบถาม/สัม ภาษณ์ -การสนทนากลุ่ม -ใช้วิธีการวิเคราะห์เนื้อหา -ใช้สถิติเชิงบรรยาย 2.สังเคราะห์รูปแบบ รูปแบบและ แนวทางของ กระบวนการ สร้างสรรค์เพื่อ ปลูกฝังคุณธรรม 1.เอกสาร/หลั กฐานที่เกี่ยว กับการจัด หลักสูตรและ กิจกรรมต่างๆ 2.ผู้บริหาร สถานศึกษา และครูผู้สอน ระดับปฐมวัย -รวบรวมเอกสาร/ หลักฐาน แบบสอบถาม/สัม ภาษณ์ -ใช้วิธีการวิเคราะห์เนื้อหา และแนวทางของ กระบวนการ สร้างสรรค์เพื่อปลูกฝัง คุณธรรม
  • 17. การปลูกฝังคุณธรรมในเด็กปฐมวัยผ่านกระบวน สร้างสรรค์ของแกนนำาโรงเรียนวิถีพุทธ • ประกอบด้วย โรงเรียนอนุบาลหนูนอย โรงเรียนทอสี และ ้ โรงเรียนรุ่งอรุณ • ซึ่งได้รับคัดเลือกจากกรมศาสนาและ กทม. เป็นกลุ่มโรงเรียน ตัวอย่างในแง่ของการจัดการศึกษาที่สามารถบูรณาการหลักศีล ธรรมและจริยธรรมผ่านกระบวนการสร้างสรรค์ต่างๆได้อย่างเข้า กับธรรมชาติการเรียนรู้ในแต่ละวัยของผู้เรียน
  • 18. โรงเรียนอนุบาลหนูนอย ้ การแบ่งการจัดการเรียนการสอนเป็น 3 ส่วน ดังนี้ ส่วนที่ 1 การจัดการศึกษาเพือพัฒนาเด็กสูมนุษย์ที่สมบูรณ์ เพือพัฒนาพฤติกรรม จิตใจและปัญญา ่ ่ ่ ผ่านการปฏิบัตจริงในชีวิตประจำาวันของเด็ก ทีหนูน้อย โดยการช่วยเหลือตนเอง การทำางานของ ิ ่ ชีวตด้วยตนเอง เพือฝึกทักษะ พฤติกรรม ความเคยชินทีดี เหมาะสม กับวัยอนุบาลตามระดับ อายุ ิ ่ ่ ตลอดช่วงของวันตังแต่เช้ามาถึงโรงเรียนจนบ่ายกลับบ้าน ปรากฏชัดเจนอยู่ในตารางกิจวัตรประจำา ้ วันของห้องเรียน ส่วนที่ 2 การจัดการศึกษาเพือพัฒนาแบบองค์รวมขององค์ประกอบของระบบชีวิต 4 ระบบ คือ ่ ธรรมชาติกับตัวเรา ธรรมชาติ กับสังคมไทย สังคมพุทธ สังคมโลก ธรรมกับ ธรรมชาติ และ ธรรมชาติกับวิวัฒน์วิทยาการ ส่วนที่ 3 การถ่ายทอดความรู้ทางวิชาการ และการพัฒนาทักษะความสามารถไปสูงสุดตามศักยภาพ ของเด็กรายบุคคล ในรูปแบบการจัดกิจกรรม การเรียนการสอนแบบบูรณาการในและนอก ห้องเรียน ตามแนวทฤษฎี โปรแกรมการเรียนรู้ นวัตกรรมทีเลือกให้ตอบสนองต่อความสามารถ ่ ปัญญา ด้านต่างๆ http://www.siamsaamtri.ac.th/buddhist_programs.php
  • 20. โรงเรียนทอสี การจัดการศึกษาในระดับปฐมวัยเป็นไปเพื่อให้บรรลุเป้าหมายของการศึกษาคือพัฒนา ด้านวิชาชีวิตและวิชาการ •โดยใช้บ ทเรีย นจากวิถ ีช ีว ิต ประจำา วัน การกิน อยู่ ดู ฟัง •ให้รู้จัก “งาน” และ “หน้าที” ด้วยความเข้าใจ เห็นคุณค่า มีปัญญากำากับ ่ • เพือให้เข้าใจการทำางานด้วยตนเอง เคารพงาน เคารพหน้าที่ของตน ่ • เมือเรา “ฝึก” มนุษย์ให้มีพฤติกรรมคุ้นเคยที่ดีงามได้ ให้รู้คุณค่าการ “ฝืน” ทำาในสิ่งที่ดี ่ งาม ถูกต้อง แม้จะไม่ถูกใจ •เป็นการสร้างวินัยที่เป็นพื้นฐานในการพัฒนาตนเองทั้งด้านชีวิตและการเรียนรู้ เป็นการ สร้างคุณลักษณะของจิตใจทีมีความเข้มแข็ง “สุขง่าย ทุกข์ยาก” ให้เกิดขึ้นสามารถทำา ่ ควบคู่กันไปได้กับความรู้ทางด้านวิชาความรู้ทมความจำาเป็นกับเด็กตามวัย ี่ ี
  • 21. โรงเรียนทอสี “ชีวิตคือการศึกษา การศึกษาคือชีวิต” เป็นแนวคิดที่นำามาใช้ในการจัดการเรียน รู้ในระดับประถมโรงเรียนทอสี เพื่อแสดงให้เห็นความสำาคัญของการเชื่อมโยง โลกรอบตัว และสรรพสิ่งต่างๆ เข้าด้วยกันอย่างไม่แยกส่วน เพื่อให้ผเรียนได้ ู้ เห็นความเชื่อมโยง ต่อเนื่อง ส่งผลต่อกันตามหลักเหตุและปัจจัย เป็นการเปิด ประตูความรู้และความเข้าใจเรื่องราวภายนอก มิใช่มองมนุษย์แยกออกมาเป็นผู้ จัดการธรรมชาติอื่นๆ แต่มองให้เห็นความเป็นไปทั้งหมด เป็นหนึ่งเดียวกัน ดังวลีที่ว่า “เด็ด ดอกไม้ส ะเทือ น ถึง ดวงดาว”
  • 26. การสังเคราะห์งานวิจัยเกียวกับคุณธรรมจริยธรรมใน ่ ประเทศไทย  วิธีการคัดเลือกงานวิจัย 1.เป็นรายงานองค์ความรู้เกี่ยวกับสาเหตุและผลจิตกับพฤติกรรมทาง คุณธรรมจริยธรรมของมนุษย์ ตลอดจนการวิจัยเพื่อสร้างเครื่องมือวัดทาง คุณธรรมจริยธรรม 2.เป็นรายงานการวิจัยแบบสำารวจกึ่งเปรียบเทียบ หรือการวิจัยเชิง ทดลอง ที่ใช้เครื่องมือวัดมาตรฐานสูง มีกลุ่มตัวอย่างขนาดใหญ่ 3. เป็นการวิจัยเชิงปริมาณที่มีมารฐานสูง ทำาให้ผลวิจัยที่น่าเชื่อถือ สามารถนำาผลวิจัยโดยรวมนำาไปสู่การวางนโยบาย
  • 27. การสังเคราะห์งานวิจัยเกียวกับคุณธรรมจริยธรรมใน ่ ประเทศไทย • วิธีการสรุปและตีความผลงานการวิจัย การสรุปองค์ความรู้จากการประมวลรายงานการวิจัย แบ่งเป็น 2 ส่วน  เกี่ยวกับปัจจัยเชิงเหตุทางด้านจิตใจและสถานการณ์ของบุคคลที่ เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมคุณธรรมจริยธรรมต่างๆ ตามกรอบแนวคิด ทฤษฎีสัมพันธ์นิยม  เกี่ยวกับผลของการมีพฤติกรรมที่เกี่ยวกับคุณธรรมจริยธรรมในปริมาณ ต่างกัน อยู่ในรูปของผลทางด้านจิตใจ หรือพฤติกรรมอื่นๆ
  • 28. การสังเคราะห์งานวิจัยเกียวกับคุณธรรมจริยธรรมใน ่ ประเทศไทย • พฤติกรรมวินัยในตนเอง (งานวิจัยศึกษาความสัมพันธ์เปรียบเทียบ) ปัจจัยเชิงเหตุของพฤติกรรม - จากงานวิจัยของ ลักษณ์เสด็จ ทองคำา ปี46 , - ทำาการศึกษา นักเรียนประถมศึกษา ปีที่ 6 พบว่า นักเรียนที่ได้รับการอบรม ลำาไย สีหามาตย์ ปี45,จตุพร ศิลาเดช ปี 43 เลี้ยงดูแบบรักสนับสนุนและใช้เหตุผลมาก , แบบประชาธิปไตย เป็นผู้มี พฤติกรรมมีวินัยในตนเองมากด้วย - ส่วนการเลี้ยงดูอบรมแบบเข้มงวดและ แบบปล่อยปละละเลย ไม่มีความสัมพันธ์กบความมีวินัยในตนเอง ั ปัจจัยเชิงสาเหตุด้านโรงเรียน ในแง่ ความสัมพันธ์ระหว่างครูกบนักเรียนมี ั ความสัมพันธ์ทางบวกกับพฤติกรรมวินัยในตนเองมากด้วย
  • 29. การสังเคราะห์งานวิจัยเกียวกับคุณธรรมจริยธรรมใน ่ ประเทศไทย • การพัฒนาพฤติกรรมวินัยในตนเอง และผลการวิจัย - การฝึกอบรมพัฒนาให้เด็กก่อนวัยเรียน และนักเรียนประถม มีความเป็น ระเบียบ มีวินัย และคุณธรรมอื่นๆ เช่น ความเอื้อเฟื้อ ซื่อสัตย์ รับผิดชอบ เป็นต้น เป็นสิ่งที่นักวิจัยไทยสนใจในการทำาวิจัยอย่างมาก - สรุปผลจากการวิจัยเชิงทดลอง 10 เรื่อง กึ่งทดลอง 8 เรื่อง มีวิธีการ พัฒนาเด็ก 4 รูปแบบ ดังนี้ 1.การใช้ตัวแบบ พบว่า นักเรียนกลุ่มทดลองมี เจตคติต่อความซื่อสัตย์ , พฤติกรรมวินัยในตนเอง มากกว่า กลุ่มควบคุม (นักเรียนอนุบาล ,ป3, ป4)
  • 30. การสังเคราะห์งานวิจัยเกียวกับคุณธรรมจริยธรรมใน ่ ประเทศไทย • การพัฒนาพฤติกรรมวินัยในตนเอง และผลการวิจัย 2. การใช้กระบวนการกลุ่ม พบว่านักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมกลุ่มมี พฤติกรรมวินัยในตนเอง มากกว่า 3. การใช้สถานการณ์จำาลอง โดยให้นักเรียนเข้าไปมีส่วนร่วมเพื่อฝึก พฤติกรรมที่ต้องการ พบว่า กลุ่มตัวอย่าง นักเรียนอนุบาลและ ประถมปลาย มีวินัยในตนเองสูงขึนหลังเข้ารับการฝึก ้ 4. การพัฒนาจิตลักษณะของนักเรียน แสดงให้เห็นจากงานวิจัยว่า การ พัฒนาจิตลักษณะยิงหลายตัว จะทำาให้พฤติกรรมพัฒนาด้วย ่
  • 31. วิเคราะห์โครงการพัฒนาเด็กและเยาวชน • ในประเทศไทย หัวข้อวิจัยที่มีน้อย แต่มีความสำาคัญมาก เช่น ลักษณะชาตินิยม การดำาเนินชีวตตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง ิ ความเป็นประชาธิปไตยในจิตใจและในครอบครัว โรงเรียน หน่วยงาน • การศึกษาอิทธิพลของเพื่อนและการเป็นกัลยาณมิตรเพื่อสร้าง ภูมิคุ้มกันกับเยาวชน และจริยธรรมที่เกียวข้องกับบุคคลในวัย ่ ชรา การทำาประโยชน์ต่อสังคมตลอดจนสาเหตุ และวิธีการที่ เหมาะสมในการผดุงเกียรติและศักดิ์ศรี
  • 32. วิเคราะห์โครงการพัฒนาเด็กและเยาวชน • งานวิจัยเชิงสำารวจ มีมากในประเทศไทย แต่เชิงทดลองมีน้อย อาจเนื่องจากผู้วจัยขาดความรู้ และทักษะ ิ • การจัดการเชิงรุก หรือ มาตรการป้องกันก่อนเกิดปัญหา • งานวิจัยแบบระยะยาวไม่ค่อยมีในไทย • ด้านทฤษฎีและการอบรม การจัดอบรม หรือหลักสูตรทีขาด ่ ความรู้ทางทฤษฎี ทำาให้ไม่เกิดผล • ขาดความต่อเนื่องของการอบรม อาจเนื่องจากขาดบุคลากร เงินทุนสนับสนุน
  • 33. ลักษณะโครงการพัฒนาคุณธรรมที่จะประสบความ สำาเร็จ 1. เป็นโครงการที่ใช้ทฤษฎีที่มีความน่าเชื่อถือ เป็นพื้นฐานของนโยบาย 2. เป็นโครงการที่ใช้องค์ความรู้จากหลายสาขาวิชามาร่วมกัน 3. โครงการที่ต้องมีการประเมินผล / พัฒนาโครงการ อย่างต่อเนื่อง และใช้ วิจัยขันสูง ้ 4. โครงการควรมีการพัฒนาอย่างครบวงจร ไม่ใช่แค่ส่วนเดียว เช่น พัฒนา เด็กแค่ที่โรงเรียน ส่วนที่บ้านยังมีต้นแบบที่เป็นแบบเดิม แบบนี้ก็ไม่ได้ผล ต้องพัฒนาเหตุปัจจัยทุกด้านอย่างเป็นระบบ ครบวงจร 5. โครงการที่ได้รับการสนับสนุนต่อเนื่อง ระยะเวลายาวนาน ตลอดทั้งการ พัฒนาบุคลากรด้วย 6. คุณภาพของนักพัฒนาในโครงการมีความเกี่ยวข้องโดยตรง พัฒนาตนเอง หาองค์ความรู้ใหม่ๆ ตลอดเวลา ไม่หยุดนิ่ง
  • 34. การสังเคราะห์งานวิจัยเกียวกับคุณธรรมจริยธรรมในต่าง ่ ประเทศ อ้า งอิง เจือจันทร์ จงสถิตอยู่, รุ่งเรือง สุขาภิรมย์ ศูนย์สง ่ เสริมและพัฒนาพลังแผ่นดินเชิงคุณธรรม สำานักงานบริหารและพัฒนาองค์ความรู้ (องค์การ มหาชน). รายงานการสัง เคราะห์ง านวิจ ัย คุณ ลัก ษณะและกระบวนการ ปลูก ฝัง คุณ ธรรม จริย ธรรม ของประเทศต่า งๆ ของ ศูน ย์ค ณ ธรรม. กรุงเทพฯ : พริกหวานก ุ ราฟฟิค, 2550.
  • 35. • The moral development of the child: an integrated model Ma HK (2013) The moral development of the child : an integrated model. Front.Public Health 1:57. doi:10.3389/fpubh.2013.00057 Department of Education Study, Centre for Child Development, Hong Kong Baptist University, Kowloon Tong, Hong Kong, China
  • 36. A summary of the stage characteristics
  • 37. ตารางแสดงพัฒ นาการทางจริย ธรรมตาม ทฤษฎีข ระดับ จริย ธรรม และอายุ อง Kohlbergลเชิง จริย ธรรม ขัน การใช้เ หตุผ (1969) ้ ระดับ ที่1 ก่อ นกฎเกณฑ์ อายุ 2-10 ขวบ ขันที่ 1 หลักการหลบหลีกการถูกลงโทษ ้ ขันที่ 2 หลักการแสวงหารางวัล ้ ระดับ ที่2 ตามกฎเกณฑ์ อายุ 10-16 ปี ขันที่ 3 หลักการทำาตามความเห็นชอบของผู้อน ้ ื่ ขันที่ 4 หลักการทำาตามหน้าทีและกฎข้อบังคับใน ้ ่ สังคม ระดับ ที่3 เหนือ กฎเกณฑ์ อายุ 16 ปี ขึ้น ไป ขันที่ 5 หลักการทำาตามคำามั่นสัญญา ้ ขันที่ 6 หลักการยึดอุดมคติสากล ้
  • 38. ตารางแสดงหลัก ในการฝึก อบรมและให้ร างวัล เพื่อ พัฒ นาเหตุผ ลเชิง จริย ธรรมในขัน ต่า งๆ( ้ ดวงเดือ น พัน ธุมผ ลเชิง ,2537) ด ของรางวัล พัฒ นาการของหุ นาวัน ชนิ การฝึก อบรม จริย ธรรม 1.หลัก การหลบหลัก การถูก ลงโทษ (อายุ 2-7 ปี) สัมผัสทางกายที่อ่อนโยน ฝึกให้เชื่อฟัง 2.หลัก การแสวงหารางวัล (อายุ7-10 ขวบ) วัตถุสิ่งของ ฝึกให้เชื่อฟัง 3.หลัก การทำา ตามความเห็น ชอบ ของผู้อ ื่น (อายุ 10-13 ปี) กล่าวชมเชย และให้รางวัลที่ เป็นสัญลักษณ์ ฝึกให้รู้จักควบคุมตน 4.หลัก การทำา ตามหน้า ที่แ ละกฎข้อ บัง คับ ในสัง คม (อายุ 13-16ปี) เริ่มให้รางวัลตนเอง ฝึกให้รู้จักควบคุมตน 5.หลัก การทำา ตามคำา มั่น สัญ ญา (อายุ 16 ปีข ึ้น ไป) ความภาคภูมิใจในตนเอง ให้รางวัลตนเองได้ 6.หลัก การยึด อุด มคติส ากล (อายุ 16 ปีข ึ้น ไป) ความภาคภูมิใจในตนเอง ให้รางวัลตนเองได้
  • 39. เกาหลี การสอนคุณธรรมจริยธรรมใช้หลักการแนวคิดของขงจื้อผสมผสานกับแนวคิดสมัยใหม่ แล้วสร้างเป็นหลักสูตร ตั้งแต่ระดับอนุบาลจนถึงระดับมหาวิทยาลัย ดังนี้ 1)ระดับอนุบาล – ประถมศึกษาปีที่ 3 ปลูกฝังคุณลักษณะความเป็นระเบียบในสังคม กฎ จราจรและจิตสำานึกในการอยูร่วมกันในสังคม ่ 2)ระดับประถมศึกษาปีที่ 4 ถึง ประถมศึกษาตอนต้น ปลูกฝังสิทธิและหน้าทีของตนใน ่ ระบอบประชาธิปไตย เคารพกฎหมายของบ้านเมือง การตัดสินใจด้วยตนเองอย่างมีเหตุผล 3)ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ถึงอุดมศึกษา ปลูกฝังสิทธิและหน้าทีการเป็นพลเมืองโลก ่ สันติภาพ ความเข้าใจคุณลักษณะอันเป็นสากลและความเข้าใจอันดีต่อวัฒนธรรมของชาติ อื่นๆ โดยโรงเรียนต้องปลูกฝังคุณลักษณะอันพึงประสงค์เข้าไปในทุกรายวิชา นอกจากนี้ โรงเรียนยังต้องปลูกจิตสำานึกในเรื่องเมตตาธรรม และมนุษยธรรมในกระแสโลกาภิวัฒน์
  • 40. ไต้หวัน • บทเรีย นจากไต้ห วัน • ผู้นำาองค์กรเป็นแบบอย่างทั้งด้านการปฏิบัติส่วนตัวและเป็นผู้นำา ทำากิจกรรมต่างๆ ที่เป็นประโยชน์ในวงกว้าง • เผยแพร่ธรรมะด้วยสื่อต่างๆ และหลายรูปแบบอย่างมีคุณภาพ เหมาะสมกับวัย โดยเฉพาะสำาหรับเด็กและเยาวชน • ระบบสื่อสารมวลชน สามารถจัดตั้งสถานีโทรทัศน์เป็นของ ตนเองทำาให้สามารถผลิตรายการธรรมะเผยแพร่สู่ประชาชนได้ ในวงกว้างและตลอดเวลา • เผยแพร่ธรรมะผ่านกิจกรรมต่างๆ ทั้งด้านการบริการสังคม การ ช่วยเหลือผู้อนด้วยเมตตา ื่
  • 42. บทเรีย นจากเวีด นาม • ชาวเวียดนามสามารถรักษาคุณลักษณะเด่นโดยเฉพาะอย่างยิ่ง ความรักชาติ ความกตัญญูกตเวที ตามหลักคำาสอนของลัทธิ ขงจื้อ ด้านความเสียสละยิ่งสตรีเวียดนามจะเสียสละให้กับ ครอบครัวเป็นอันดับแรก เป็นสิ่งที่ปลูกฝังในความคิดของสตรี เวียดนามแทบทุกคน บทเรียนสำาคัญๆจากการศึกษาได้แก่  ผู้นำาประเทศในอตีดเป็นต้นแบบของความรักชาติ ความขยัน อดทน ความเสียสละ ได้ • ถ่ายทอดอุดมการณ์และตอกยำ้าคุณลักษณะเด่นนี้ไว้ตลอดเวลา สถาบันครอบครัว สถาบันการศึกษา รวมทั้งรัฐบาลและ สื่อมวลชนมีส่วนร่วมอย่างยิ่งในการช่วยถ่ายทอดด้วย
  • 43. ได้ม ก ารปฏิร ูป การศึก ษาโดยเน้น การสร้า ง ี คุณ ลัก ษณะของผู้เ รีย นที่พ ง ประสงค์ ึ  คุณลักษณะสำาหรับการเตรียมคนทีมทักษะต่างๆสามารถทำางานในเศรษฐกิจสมัยใหม่ ่ ี ได้ในขณะเดียวกันยังให้สามารถรักษาเอกลักษณ์และวัฒนธรรมของประเทศ และ รักษาคุณธรรมจริยธรรมของสังคม • ในการปฏิรูปการศึกษาของระดับ ชั้น ประถมศึก ษาทางภาคกลางของเวีย ดนาม มีการกำาหนดให้เด็กทำาการบ้าน 5 ข้อ เพือให้เด็กได้ซมซับการปลูกฝังคุณงามความดี ่ ึ ผ่านการเรียนการสอน ดังนี้ 1. วันนี้หนูทำาความดีอะไรบ้าง เด็กต้องทำาความดีทุกวัน ให้เด็กจดความดีที่ทำาไว้ช่วง 6 ปีที่เรียน 2. วันนี้หนูช่วยคุณพ่อคุณแม่ทำางานอะไรบ้าง เป็นการสร้างความอบอุ่นในครอบครัวมาก ขึ้น 3. วันนี้ในชุมชนของหนูมเหตุการณ์ใดเกิดขึ้นบ้าง เด็กต้อง ออกไปตระเวนยังบ้านเรือน ี ใกล้เคียงเพื่อบันทึกเรื่องราว ทำาให้เด็กเกิดความผูกพันกับชุมชน 4. ให้รายงานข่าวหนึ่งข่าวเกี่ยวกับประเทศเวียดนาม เป็นการช่วยสร้างความรักชาติทาง อ้อม 5. ให้รายงานข่าวหนึ่งข่าวเกี่ยวกับสถานการณ์โลก ทำาให้รจักสังคมโลก ู้
  • 44. ศรีลังกา  การจัดโรงเรียนพุทธศาสนาวันอาทิตย์ประสบ ผลสำาเร็จดี เพราะความร่วมมืออันดีระหว่าง • บ้าน โรงเรียน วัด ชุมชนและรัฐ กล่าวคือ ครอบครัวนิยมส่งลูก หลานเข้าเรียนพาลูกมาส่งที่โรงเรียนและบางครอบครัวอยู่ปฏิบัติ ธรรมในวัดและรอรับลูกกลับบ้าน โรงเรียนตั้งอยู่ในวัด พระภิกษุ หรือภิกษุณในวัดจะนำาอาราธนาศีลก่อนเข้าเรียน ครูที่สอนส่วน ี ใหญ่เป็นอาสาสมัครที่สอนอยู่ในโรงเรียนปกติมาสอนให้ฟรี ชุมชนเป็นผู้สนับสนุนกิจกรรมต่างๆ ส่วนรัฐรับผิดชอบการจัดทำา หลักสูตรและผลิตตำารา แจกตำาราฟรี ดูแลเรื่องมาตรฐานการ ศึกษา
  • 45. อินเดีย • บทเรีย นจากอิน เดีย  การปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรมของอินเดียเป็นแบบไม่เป็น ทางการ แต่ได้ผล  สำาหรับสถานศึกษาไม่สามารถสอนหลักศาสนาใดให้ลกซึ้ง ึ เป็นการเฉพาะได้ เพราะขัดกับรัฐธรรมนูญ  มีช่องสถานีโทรทัศน์ที่ออกอากาศรายการทางศาสนา ใช้ สื่อมวลชนช่วยเผยแพร่คุณธรรมจริยธรรมแก่ประชาชน
  • 46. ในประทศอินเดีย มีการสัมภาษณ์การใช้เหตุผลเชิง จริยธรรมในเด็กอายุ 5 ถึง 13 ปี จากครอบครัวฐานะต่าง กัน จำานวน 167 คน พบว่า เด็กทีมอายุมากขึ้น ่ ี มักเป็นผู้ทมลักษณะ 1.ความเอาใจใส่ในความต้องการผู้ ี่ ี อื่น 2. การให้ได้ประโยชน์ทงฝ่ายตนและฝ่ายอื่นพร้อม ั้ กัน 3.การยอมรับในจิตใจเกี่ยวกับปทัสถานและค่านิยม นอกจากนีเด็กอินเดียจากครอบครัวฐานะสูง มีเหตุผลเชิง ้ จริยธรรมสูงมากกว่าผู้ทมาจากครอบครัวฐานะตำ่าอย่าง ี่ ชัดเจนด้วย (Chadha & Misra,2004 )
  • 47. ฟินแลนด์  เด็กในประเทศฟินแลนด์เข้าโรงเรียนช้า คือ ประมาณอายุ 6 ขวบ โดยครอบครัว มีบทบาทอย่างมากต่อการหล่อหลอมเด็ก ตั้งแต่เกิดและในระยะที่เด็กยังเล็กอยู่  การสอนคุณธรรมจริยธรรมในวิชาศาสนา หรือวิชาปรัชญาชีวิต เริ่มตั้งแต่ในระดับ การศึกษาพื้นฐานจนถึงมัธยมศึกษาตอน ปลาย
  • 48. สวิตเซอร์แลนด์  ชาวสวิสเชื่อว่าเด็ก คือ อนาคตของชาติ ก่อนตั้งครรภ์ต้องเตรียม ตัวให้พร้อม โดยเฉพาะต้องมีฐานะมั่นคงจึงจะแต่งงานและมีบุตร  ชาวสวิส เชื่อ ว่า พ่อ แม่ม ีส ่ว นสำา คัญ ที่ส ุด ในการอบรมเลี้ย ง ลูก ดัง นั้น เมื่อ มีบ ุต ร ฝ่า ยหญิง จึง ลาออกจากงานเพื่อ ทำา หน้า ที่แ ม่บ ้า นเต็ม เวลา ซึ่ง ถือ ว่า เป็น การเสีย สละอย่า ง มาก แม่จ ะทำา หน้า ที่เ ป็น ครูข องลูก ปลูก ฝัง คุณ ธรรม จริย ธรรมให้เ กิด กับ ลูก ด้ว ยวิถ ีช ีว ิต ความเป็น อยู่ป ระจำา
  • 50.  แม่มีบทบาทสำาคัญยิ่งในการหล่อหลอมเด็กให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ รัฐ ส่งเสริมให้พ่อแม่มีความสามารถในการอบรมเลี้ยงดูเด็ก  เยอรมันมีระบบการศึกษาเป็นรากฐานสำาคัญที่หล่อหลอมคนให้มีคุณภาพดี อย่างต่อเนื่อง  การปลุกฝังคุณธรรมจริยธรรมโดยใช้การศึกษาตั้งแต่อนุบาลและ กระบวนการจัดการศึกษาที่เน้นวิชาการกับการทำางานและชีวิตจริง คือ - ความรับผิดชอบต่อตนเอง - ความรับผิดชอบต่อประเทศชาติ  เด็กๆได้รับการอบรมสั่งสอนในเรื่องของการรักษาสิ่งแวดล้อม ตั้งแต่เด็ก เช่น การแยกขยะ การเก็บสิ่งของ การจัดระเบียบต่างๆ เป็นการปลูกฝังให้เด็กตั้ง แต่เล็กๆ เมื่อเด็กโตขึนก็จำาไปปฏิบัติ สิ่งนี้จะกลายเป็นอุปนิสัยประจำาตัว ้
  • 51. แคนาดา  การกำาหนดวิสัยทัศน์ของประเทศที่ระบุว่า “Canada for All” หรือแคนาดา คือสถานที่สำาหรับทุกคนไม่แบ่งแยก  มีการกำาหนดวางแผนและดำาเนินการอย่างเป็นระบบ ต่อเนื่อง มีระบบการ ควบคุมและกำากับการดำาเนินการที่มีประสิทธิภาพ  สิ่งที่รัฐบาลแคนาดาให้ความสำาคัญ ในการทำาให้ประเทศชาติมีการพัฒนา ก้าวหน้า มีความมั่นคง รัฐบาลให้ความสำาคัญอยู่ 3 เรื่อง คือ เยาวชน สถาบันครอบครัว และการศึกษา  การพัฒนาเยาวชนของชาติ ไม่ได้อาศัยองค์กรใดองค์กรหนึ่งเป็นหลักแต่ เพียงองค์กรเดียว  
  • 53. ตาราง แสดงคุณ ลัก ษณะเด่น ด้า นคุณ ธรรมจริย ธรรมของ ž ³Á« ¦ ž ž ¨´ ž ¬ž³ » ž คนในประเทศต่า งๆ Áµ ¨ „® ¸ „ „¤ ° „ „»Á„ „„ „ „ „ ¤ ® n „Ä° „„ („ „ ) ¦ „ µ „ ¤ „´„µ Ä° µ à „„ „„ ¨ „ „ „ „ ¥ Å n ° n„ µµ ¦ ´ ´ ¥ o ¤ Î n „µ ·(¦ ´ ¼¨ ¦ ´ „ „ ¦) „ s¼´ ¦«¹¬µ ª · ¥ ¦¡ „ ª» o´ o  ³„ „ ® o É ®n µ Á r ´ „ ¸ Á ­¦¼ ® µ É ¸ ·´ µ¸ · ° ¥ „ ¤ „ (¨ µ „ „¦„ Î „ „µ „ªÁ„¨ ªµ ¦n ¤ * µ „Â È n Áo „ ³° ¥ n µ ¦³„ „ ¦¡ ¹„ °  ³„ ¤ ª¤ ° ) ° µ· É´ º Åo „ „ ª´ ® „·„° „ „ ¦³® „ „ „ ® „ ¤ ° n „o Á „¦ „„ „ „„È„ „ „ªÁ„ É„ „ „µ ¤ „„· µ ¹Á° „ µ ¼ ¦„„ „ „ ´ ¥ „¥ «¹¬µ µ ªµ ¦ ¼„ ° ¤ „¦n ´ ¦³Á¥ Á „ ª ° „ ° „º ª µ „¦Á° ¤ „­ Î „ ¦ É Á ­ „ ´ ´ o ° „ Ä ¸ ´ ´ „´ º ¸ „ º ª¨ Áµ Ä„ „„ ¤„ „ „¨ Ä „¨ „ · µ Á É„ „„„ „ „¦¡ „ » n ªµ ÁÈ „ µ® µ ¦„„„º ° ­»¹ ³„ ³ „µ „ o o o ° o o „ Á¥ „ ¤ ª¸ µ „ „ „ „ „¦ „ „ „´s¼ ¦¡ Ä° µ à ɭ „ ¦ „ ¦«¹¬ Án¦ ¥ ¥° „ ´ ´ „µ „ „ Á · „µ „ ª» ° ´ r´ ­„º ¥ „µ „ µ¨ Á¸ µ „ «¦ ¨ „ ¸ µ „ ´ ° n „ ¤ „´s¼ ¦¡ Ä° µ ĺ„ ¦ „ „ „ n „° „¨ ° ɤ ª„ ° Á¥ °„o „ „ Á ° „µ „ ª» É ¦„´ ·„° „ „ Á  ³„ „ „¸ ¡ ¡ ¸ ­ ° „ ° ¼ ¸ · o º „ ° „„ · Á¥ ¸ „ „„® ÄÁ„ ¼„„ „ ¸ ® ¥ „¤ ¥Â ¤ ªÁ n Ä ´ ¦ ´ n ¥ o ´¥¥ · ° µÉ° „„ µ ¦ „³ ª„ ¦ „„ ¥ „ ¥   ¦ ¸ ¼„ ³¦ „„ ¤ ¤ ° ªÁ „¨ ­ ³„ „ ´ ° ³ „ ¦ o  ¨ nÅ µ ¦ „ ´ °„´ ¦„ o „ ¸n „ ¥ µµ ¦„ «µ µ ¨ „ „ Á ÉÄÄ ³„¤ „ „ „ „Ä° n Ĥ„¸ Á¥ Å „¥ „ ¤ „ ¦„® ·­ µ ­„  ³ª´„ ¦¦¤„º „„ „ µ „ µ ¦¦¤ „· „° „¥ Å Á ¥ „ „¤ · ¤ ªµ ¦»Â ° „ ° n »Î ¸ n „ ¸ n ­ª„„ ¦r¨ „ · Á°  „ r „ „ Á µ É­ „ ­ »¦„ ¤ „ „ ° „ ¤° µ„­n „ ª„ „ªÁ„ª„´ ¦„nª¨ „º ´ r„· „ªµ ¦ ´ · „ „ªµ Á ÄÄÁ „ ° „ ° ¤ · ¥ ° ° ¥ „ „È ´ ´ ¸ ¢„ ¨ „ · „ r „ ­ „ ­ » · ¤ „´ ° ¥ ¦„ ¸ É ´ r„ ª · ¥ º Á° ¦¤ ¥ „ ´ ¤ ³Á¥ ª„ „ªµ ¦ „ „ ° „„„ „„ » ¦„ É„ „¦„nª¨ „¦³® „ ¦ „ „ · ¥ ¤ ´ · „ ¦¼ ® o ­ „ · „º ¦„ „ Á µ ¸ ¸ ´ „ o´ µ É ¸ ° ° ¥ ´  „„ „µµ ¤ „ ¥ È„ ¨ „ o ¦´­ „ ° ´ n¤µ „®¦ · É„rn ¦ ´ µ n Á¥ Á ¤ ¤ Ä ¤ È ´ ³¸ª„ „ »„ · Á „ ° „„ „¥„ ¦  o„ ° ¤Ä ¼ „ ¦ µ ¸„„ ¸ ¸ „ „ · ¦ · ´ „„ Á ® „ ÊÅ· Ĥ ÄÁ Á ¬¦ o „ ° „ ¨ „„ o » ¦ „ ¡ ¥ ¤ „ „¸ º „ ª ¥ »   „ „ r · ¸ „ ª„ ¨ ¤ „ „º­ „ Á ¦¡ Ä„ ¤ „ „„ ¦¡ „ ° É ª· ¥ É ´ r ¸ ´ ° ¥„µ „ ªµ  „ n Á µ „µ „ „ º „ * „ É ¸ * n » „ „ Á µ „ „ „ n „o „ ¤ „ É­ „ ­ » ¦„ „ £´ „¦³® „­ n ¥ ³Á¥ „Î „„„ „ ¦³¨ „» „ ­³° µ „È ¦„nª¨ ¦ ´ ·„° ° ° „ ° ¤ n „ „º ´ r„ · „ ¦„ „ ¸ ¥ ÄÄ ° „ ° ° ¥ „ ´ „¦µ ¨ ° ¸ µ µ ÁÈ ¤ „ „ » „ „¸ ¹ „ „Á „ ¦³Á¥  „ ³Á° „n „  ³„ ¤ „ „ ° „„ „„ µ µ „ ° ¦° ¦ „ „ „ ¥ ¥ ¦ É ­ ª„ ª ¨ ªµ ¦ ´ · „ Ä® o „Î „„ ¦³„ o ¸ º ´ „ µÉ ¸ º ° „§ * ´ ¬* „ „ „ Á µ ¦ ³Á ¥ ¦ „¬µ ªµ ­ ³° µ ° ­¦³Â ¥ ¦¼ Á„„ ¦„ „ ¥ ¦„nª¨ ¤ „¸ ´ „ ¤ ° ¸ „ „ · ¦³® „ „n„¦ ´ ´ oµ · „µ „ £´ (*) ผู้วิจัยไม่ได้ระบุไว้โดยตรง แต่ปรากฏในกระบวนการปลูก ฝัง
  • 54. ตาราง แสดงคุณ ลัก ษณะเด่น ร่ว ม /เฉพาะด้า นคุณ ธรรมของคนใน ประเทศต่า งๆ คุณ ลัก ษณะ ความขยัน อดทน รักการศึกษา ขยันหาความรู้ กตัญญู ความรักชาติ อ่อนน้อม ประหยัด ซื่อตรง ซื่อสัตย์ มีวินัย เคร่งในระเบียบ รู้จักหน้าที่ รับผิดชอบในงาน จิตสำานึกเรื่องเวลาสูง/ตรงต่อเวลา (**) คน/ประเทศ เอเชีย ยุโ รป-อเมริก าเหนือ -แปซิฟ ิค ใต้ คนเกาหลี ไต้หวัน เวียดนาม คนเยอรมัน แคนาดา นิวซีแลนด์ อินเดีย คนเกาหลี ไต้หวัน เวียดนาม คนแคนาดา นิวซีแลนด์ เยอรมัน อินเดีย คนเกาหลี เวียดนาม ศรีลงกา ั   ญี่ปุ่น** คนเกาหลีและเวียดนาม ญี่ปุ่น** คนแคนาดา คนไต้หวันและศรีลังกา ญี่ปุ่น**   คนไต้หวันและอินเดีย ญี่ปุ่น** คนเยอรมัน สวิส อังกฤษ** คนศรีลังกา และ ไต้หวัน ญี่ปุ่น** คนสวิส เยอรมัน นิวซีแลนด์ คนเกาหลีและไต้หวัน ญี่ปุ่น** คนสวิส เยอรมัน ฟินแลนด์ แคนาดา นิวซีแลนด์ อังกฤษ** คนเกาหลีและอินเดีย ญี่ปุ่น** คนสวิส เยอรมัน คนไต้หวัน ญี่ปุ่น** คนสวิส เยอรมัน ฟินแลนด์ แคนาดา อังฤษ** คนไต้หวัน คนไต้หวัน คนอินเดีย คนเกาหลี คนแคนาดา นิวซีแลนด์ ตื่นตัวทางการนเมือง กล้าให้ กล้าบริจาค เชื่อในโชคชะตา มุงทำากรรมดี ่ ละอายต่อการกระทำาผิด ยอมรับความแตกต่าง/ความหลาก หลาย เคารพคุณค่าความเป็นคน/ให้ คนไต้หวัน จากงานศึกษาอืเ่นทีนมนุษย์นำาเสนอศูนย์คุณธรรมฯโดยตรง ่ไม่ได้ เกียรติ พื่อ รักการผจญภัย ใส่ใจในรายละเอียด คนญี่ปุ่น** ทำางานเป็นทีม คนญี่ปุ่น** คนแคนาดา นิวซีแลนด์ คนอังกฤษ** คนสวิส
  • 55. บรรณนานุกรม เจือจันทร์ จงสถิตอยู่, รุ่งเรือง สุขาภิรมย์ ศูนย์สงเสริมและพัฒนาพลังแผ่นดินเชิงคุณธรรม สำานักงาน ่ บริหารและพัฒนาองค์ความรู้ (องค์การมหาชน). รายงานการสัง เคราะห์ง านวิจ ัย คุณ ลัก ษณะ และกระบวนการ ปลูก ฝัง คุณ ธรรม จริย ธรรม ของประเทศต่า งๆ ของศูน ย์ค ุณ ธรรม . กรุงเทพฯ : พริกหวานกราฟฟิค, 2550. นงลักษณ์ วิรัชชัย และคณะ. (2551).การสำารวจและสังเคราะห์ตัวบ่งชี้คุณธรรมจริยธรรม: รายงาน วิจยเรื่องที่ 1ใน4 ของชุดโครงการวิจย เรื่องการพัฒนาตัวบ่งชี้คุณธรรมจริยธรรมการพัฒนาและ ั ั พัฒนาการ, (น.3-9). ดุจเดือน พันธุมนาวิน.(2551). การสังเคราะห์งานวิจัยเกียวกับคุณธรรมจริยธรรมในประเทศไทย ่ และต่างประเทศ,กรุงเทพ: ศุนย์คุณธรรม อดิศร จันทรสุข.(2548).รายงานการวิจัย การปลูกฝังคุณธรรมในเด็กปฐมวัยผ่านกระบวน สร้างสรรค์ของแกนนำาโรงเรียนวิถพุทธ : โครงการวิจยภายใต้ทนสนับสนุนจากศูนย์สงเสริมและ ี ั ุ ่ พัฒนาพลังแผ่นดินเชิงคุณธรรม Ma HK (2013) The moral development of the child : an integrated model. Front.Public Health 1:57. doi:10.3389/fpubh.2013.00057