SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
Download to read offline
1
1แนวทางการทําโครงงาน PBL ปีการศึกษา 2557 19-Jun-14 1:04 PM
โครงงาน PBL สําหรับช่วงชั้นมัธยม
โครงงาน PBL (Problem-Based Learning)
โรงเรียนเพลินพัฒนา มุ่งพัฒนานักเรียนให้มีทักษะ 3 ด้าน คือ ทักษะชีวิต ทักษะการทํางาน และทักษะ
ความรู้ สําหรับระดับประถม โครงงาน PBL จะอยู่ในชื่อของโครงงาน “ชื่นใจ…ได้เรียนรู้” โดยครูจะเป็นผู้
กําหนดหัวข้อให้นักเรียน ซึ่งจะมีการปูการเรียนรู้เชิงชั้นเรียน มีการทําโจทย์ย่อย ที่จะต่อยอดร้อยเรียง ไปสู่การ
ทําโครงงานในภาคสนาม และสรุปประมวลอย่างเข้มข้นในสองสัปดาห์สุดท้ายของภาคเรียนวิริยะ และ วิมังสา ใน
ปีการศึกษานั้นๆ
แต่สําหรับมัธยมโครงงาน PBL เป็นการทําโครงงานจากโจทย์ในโลกจริง คู่ขนานไปกับโลกการเรียนรู้ของ
นักเรียน เป็นโครงงานที่นักเรียนจะได้ฝึกกระบวนการหาคําตอบด้วยตนเอง และได้ฝึกการบูรณาการทักษะทั้ง 3
ด้านในการแก้โจทย์ปัญหา
เป้ าหมายที่ต้องการให้นักเรียนได้รับจากการทํา PBL
 ได้เรียนรู้ในเรื่องที่อยากรู้ และเป็นเจ้าของการเรียนรู้เอง
 มีสายตาที่มองหาปัญหาหรือประเด็นที่น่าสนใจ ให้เจอแล้วพลิกเป็นโอกาส เพื่อพัฒนาเป็น Products, หรือ
Services หรือ Process ที่มีคุณค่า และมีประโยชน์เพิ่มขึ้น
 การกล้าทําโจทย์ยากให้สําเร็จ ไม่กลัวความล้มเหลว โดยเรียนรู้จากความผิดพลาดได้ และมีความมั่นใจใน
ตนเองว่า I can do.
 ได้ฝึกทักษะในกระบวนการเรียนรู้ หรือหาความรู้ หรือหาคําตอบ ด้วยตนเอง
 ได้แรงบันดาลใจ และกระหายที่อยากจะเรียนรู้เพิ่มเติม หรือต่อยอด หรือลงมือทําด้วยตนเองมากขึ้น
 ได้ค้นพบ ความถนัด ความชอบ และศักยภาพของตนเอง
 ได้ฝึกทักษะการทํางาน 4C ที่สําคัญ ได้แก่
o Critical Thinking - การคิดวิเคราะห์ การหาข้อมูล การประเมินสถานการณ์ การลําดับความสําคัญ
การวางแผนงาน การบริหารเวลา การตัดสินใจ และการแก้ไขปัญหา การลงมือทํางานจนจบ และ
การต่อสู้กับอุปสรรค
o Collaboration - การทํางานร่วมกับผู้อื่น (ถ้าเป็นงานกลุ่ม) ได้ทักษะในการทํางานเป็นทีม การแบ่ง
งาน การประชุม การติดตามงาน
o Communication - การสื่อสารและการนําเสนองาน การตอบข้อซักถาม และการสร้างความ
ประทับใจ
o Creative Thinking - การใช้ความคิดสร้างสรรค์
ประเภทของโครงงาน
โครงงาน PBL สําหรับช่วงชั้นมัธยม แบ่งเป็น 3 ประเภทใหญ่ๆ คือ
2
2แนวทางการทําโครงงาน PBL ปีการศึกษา 2557 19-Jun-14 1:04 PM
1. โครงงานสํารวจ (What it is) เป็นการสํารวจและรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่ง แล้วนําข้อมูลมา
จําแนกเป็นหมวดหมู่ และนําเสนอแบบต่างๆ อย่างมีแบบแผน เพื่อให้เห็นถึงลักษณะหรือความสัมพันธ์ของ
เรื่องดังกล่าวได้ชัดเจนยิ่งขึ้น
2. โครงการทดลอง (What it will be) เป็นการศึกษาเรื่องใดเรื่องหนึ่งว่าจะเกิดอะไร มีตัวแปรต้น และตัวแปร
ตาม
3. โครงงานแก้ปัญหา / นวัตกรรม / สิ่งประดิษฐ์ เป็นการนําความรู้ ทฤษฎี หลักการ หรือแนวคิด หรือ
ความคิดสร้างสรรค์ มาประยุกต์ใช้ในการแก้ปัญหา โดยการคิดกระบวนการจัดการใหม่ หรือประดิษฐ์เป็น
เครื่องมือ เครื่องใช้ต่างๆ อาจเป็นสิ่งประดิษฐ์ใหม่ที่ไม่เคยมีใครทํามาก่อน หรือเป็นการปรับปรุงเปลี่ยนแปลง
จากของเดิมที่มีอยู่ แล้วทําให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้นกว่าที่เป็นอยู่ หรือแก้ไขปัญหาบางอย่างให้ดีขึ้น รวมทั้ง
การสร้างแบบจําลองต่างๆ
ลักษณะการให้โจทย์โครงงาน
โดยทั่วไปแล้ว ลักษณะการให้โจทย์โครงงาน มักจะมี 3 ลักษณะ คือ
1. Guided Project - ครูกําหนดปัญหา และออกแบบกระบวนการทํางานในรายละเอียดให้
2. Less-guided Project - ครูกําหนดปัญหาให้ แต่ให้นักเรียนออกแบบกระบวนการทํางานในรายละเอียดเอง
3. Unguided Project - นักเรียนกําหนดปัญหาตามความสนใจ และออกแบบกระบวนการทํางานใน
รายละเอียดเอง
โครงการชื่นใจได้เรียนรู้ ในช่วงชั้นประถม จะเป็นลักษณะ Guided Project คือ คุณครูเป็นผู้กําหนดกรอบ
การเรียนรู้ หรือมีโครงเรื่องไว้ล่วงหน้า และออกแบบกระบวนการรวบรวมข้อมูลเพื่อให้นักเรียนทุกคนได้เรียนรู้
กระบวนการประมวลความรู้ได้เพียงพอ
แต่สําหรับ PBL ของมัธยม ลักษณะการให้โจทย์จะเป็นแบบ Less-guided project และ Unguided project
จํานวนโครงงานของนักเรียนในแต่ละช่วงชั้น
 มัธยมต้น ปีละ 2 ชิ้น มีทั้งโครงการเดี่ยว และกลุ่มก็ได้ ตามความจําเป็นของโครงการนั้นๆ เพื่อนักเรียน
จะได้มีโอกาสได้ทําโครงงานที่มีความหลากหลายในด้านต่างๆ ที่ควรมีประสบการณ์
 มัธยมปลาย ปีละ 1 ชิ้น เป็นโครงการกลุ่ม เพื่อเปิดโอกาสให้นักเรียนมีเวลาทําโครงงานขนาดใหญ่ได้
โดยมีเวลาทํางานทั้งปี
โดยทั่วไป จะพยายามให้นักเรียนกําหนดหัวข้อโครงงานสําหรับภาคเรียนถัดไปให้เสร็จก่อนปิดภาคเรียน
เพื่อจะได้ใช้เวลาทํา PBL บางส่วนได้ในช่วงปิดภาคการศึกษา จะได้มีเวลาทํา PBL มากขึ้น และเป็นการใช้เวลา
ว่างให้เป็นประโยชน์
การให้คําปรึกษา
การให้คําปรึกษามี 3 ลักษณะ
1. การโค้ชแบบ GROW ME โดย “ครูที่ปรึกษา” คือ การพานักเรียนให้ตั้งเป้าหมาย ประเมินสภาพจริง
หาทางเลือก วางแผนและลงมือทํา ติดตามผล และประเมินเมื่อจบงาน
3
3แนวทางการทําโครงงาน PBL ปีการศึกษา 2557 19-Jun-14 1:04 PM
2. การพาให้นักเรียนทําตามขั้นตอนของ “กระบวนการวิจัย” (Research Method) หรือตามลักษณะ
ของโครงงาน โดยครูที่ปรึกษาอาจขอคําแนะนําจาก ผู้ที่แม่นยําในกระบวนการวิจัย หรือ ผู้ที่มี
ประสบการณ์ในการควบคุมโครงการในแวดวงวิชาชีพ เพื่อนํามาแนะนํานักเรียนต่อไป ซึ่งผู้แม่นยํา
ในกระบวนการวิจัยอาจเป็นผู้ที่กําลังเรียนหรือจบปริญญาโทก็ได้ และไม่จําเป็นต้องเป็นผู้เชี่ยวชาญใน
เนื้อหาโครงงานของนักเรียน
3. การแนะนําในเนื้อหาเรื่องที่ทําโครงงาน โดย ผู้เชี่ยวชาญ ถือเป็นเงื่อนไขปัจจัยที่นักเรียนต้องประเมิน
สภาพจริง เพราะอาจหาผู้เชี่ยวชาญในเรื่องที่จะทําไม่ได้ ก็ต้องหาวิธีการอื่นในการหาข้อมูล หรืออาจต้อง
เปลี่ยนหัวข้อ
ที่ปรึกษา และแนวทาง Coaching แบบ GROW ME
Coaching คือการทําให้นักเรียนได้เห็นจุดอ่อนจุดแข็งของตนด้วยตนเอง ผ่านการชักชวนให้นักเรียน
มองโลกด้วยมุมมองที่หลากหลาย ในขณะที่นักเรียนจะเป็นผู้รับผิดชอบการเรียนรู้และผลงานของตัวเอง มี
ความสําเร็จที่เกิดจาก “ความมุ่งมั่นปรารถนาภายในของตน” และเพราะการเรียนรู้และการเปลี่ยนแปลงต้อง
อาศัยวินัยและความอดทน Coach จึงต้องช่วยให้นักเรียนมองเห็นความก้าวหน้าของตัวเองอยู่เสมอ เพื่อไม่ให้
ถอดใจถอยหนีไปเสียก่อน
 Coaching แบบ GROW ME มุ่งหวังความสําเร็จ คือ การที่ผู้เรียนไปสู่จุดหมายที่วางไว้ และการทําให้
ตัวเองดีขึ้นกว่าเมื่อวานนี้
 Coaching แบบ GROW ME จะมีคําถามและประเด็นสําหรับที่ปรึกษาใช้เป็นแนวทางในการพูดคุยกับ
นักเรียน โดยองค์ประกอบซึ่งแบ่งเป็น 3 ขั้นตอน ดังนี้
ขั้นตอน องค์ประกอบ (ดูเอกสารโค้ชแบบ GROW ME)
ก่อนเริ่ม
Goal G - การตั้งเป้าหมายที่ต้องการบรรลุ
Reality R - การวิเคราะห์สถานการณ์ตามความเป็นจริงว่าขณะนี้เป็นอย่างไร
Option
O - การมองหาวิธีทางเลือกที่เป็นไปได้เพื่อไปสู่เป้าหมาย ซึ่งอาจมีหลาย
ทางเลือก
What’s Next or Will W - การกําหนดทางเลือกที่เหมาะสมที่สุด และแผนการดําเนินงาน
ระหว่างทํา Monitoring M - การตรวจสอบความก้าวหน้าของการดําเนินการ
เมื่องานเสร็จ Evaluation
E - การประเมินผล เพื่อสรุปว่าได้ผลเป็นอย่างไร บรรลุเป้าหมายอย่างน่า
พึงพอใจหรือไม่ และควรทําอย่างไรต่อไปหรือไม่
4
4แนวทางการทําโครงงาน PBL ปีการศึกษา 2557 19-Jun-14 1:04 PM
โครงงาน PBL ปีการศึกษา 2557
ชั้น ฉันทะ-วิริยะ จิตตะ-วิมังสา
7 ชื่อหลัก : Mini Research Method 1
วัตถุประสงค์หลัก : เน้น “กระบวนการวิจัย”โดยเริ่มจากเรื่อง
ของตัวเอง ดึงความสนใจขอตนให้มาเป็นรูปธรรมมากขึ้น
Theme : งานอดิเรก
เงื่อนไข : งานเดี่ยว หรือกลุ่มไม่เกิน 4 คน
 นําเรื่องที่ชอบและสนใจของตัวเองมาเป็นประเด็นที่ต้องการ
กรอบหรือสร้างผลงานที่เป็นรูปธรรม เช่น การออกแบบเกม
การเปลี่ยนแปลงตัวเอง ฯ
 นําเสนอเป็นชิ้นงาน / ผลการทดลอง / หรือเสนอแนวคิด
เป็นภาพ storyboard / animation / model 3 มิติ ฯลฯ โดย
ยังไม่ต้องสร้างเป็นชิ้นงานก็ได้
ชื่อหลัก : Mini Research Method 2
วัตถุประสงค์หลัก : ยํ้าทวน “กระบวนการวิจัย” ฝึกการมองปัญหา
ที่น่าสนใจที่อยู่รอบตัวมาแก้ไขปัญหาให้ดีขึ้น
Theme : พัฒนาเพลิน
เงื่อนไข : งานเดี่ยว หรือ กลุ่มไม่เกิน 4 คน
 หาประเด็นรอบตัวในโรงเรียน สังคม และบ้าน มาตั้งเป็นโจทย์
เพื่อแก้ไข หรือพัฒนาให้ดีขึ้น
 นําเสนอเป็นชิ้นงาน / ผลการทดลอง / หรือเสนอแนวคิด เป็น
ภาพ storyboard / animation / model 3 มิติ ฯลฯ
8 ชื่อหลัก :อาชีพ 1
วัตถุประสงค์หลัก : เชื่อมโยงตัวเองกับโลกการงานจริง
Theme : สัมภาษณ์อาชีพ และเส้นทางอาชีพที่ตนเองสนใจ
เงื่อนไข : งานเดี่ยว
 สัมภาษณ์ บุคคลในอาชีพต่างๆ ตั้งแต่ 3 อาชีพขึ้นไป
 ในประเด็นหลักและหัวข้อย่อยที่กําหนดให้ (ดูเอกสารหัวข้อ
สําหรับการสัมภาษณ์)
ชื่อหลัก :Mini Project
วัตถุประสงค์หลัก : ฝึกการทําโครงงานขนาดย่อมโดยหาโจทย์จาก
โลกจริง
Theme : Junior Project
เงื่อนไข : งานเดี่ยว หรือ กลุ่มไม่เกิน 4 คน
 สํารวจ / ทดลอง / ประดิษฐ์ หรือแก้ปัญหาด้วยการหา
กระบวนการใหม่ๆ
 เพื่อวัตถุประสงค์
o พัฒนาผลิตภัณฑ์ หรือ สร้างมูลค่าเพิ่ม
o พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้อื่น
 นําเสนอเป็นชิ้นงาน / ผลการทดลอง / หรือเสนอแนวคิด เป็น
ภาพ storyboard / animation / model 3 มิติ ฯลฯ
9 ชื่อหลัก : อาชีพและแผนพัฒนาตัวเองเพื่อก้าวสู่อาชีพ
วัตถุประสงค์หลัก : เตรียมตัวสู่โลกการงานจริง
Theme : Road Map สู่อาชีพที่ต้องการ
เงื่อนไข : งานเดี่ยว
 สํารวจเกี่ยวกับอาชีพ อย่างน้อย 2 อาชีพ โดยวิธีสัมภาษณ์
หรือศึกษาจากแหล่งข้อมูลต่างๆ
 ติดตามการทํางานในอาชีพนั้น อย่างน้อย 4 ชม. หากเป็น
อาชีพที่เข้าถึงไม่ได้ ก็ให้หาสถานที่ๆ ทํางานที่ใกล้เคียงกับ
อาชีพนั้นให้มากที่สุด โดยปรึกษากับครูที่ปรึกษาเป็นกรณี
ไป
ชื่อหลัก : พัฒนาแหล่งท่องเที่ยว/สถานที่
วัตถุประสงค์หลัก : ฝึกการมองหาโอกาสในโลกจริงและพลิกให้มี
มูลค่ามากขึ้น เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตคนในชุมชนอย่างยั่งยืน
Theme : Unseen in ……..
เงื่อนไข : (งานเดี่ยว หรือ กลุ่มไม่เกิน 4 คน)
 สํารวจชุมชนทั้งในกรุงเทพฯ-ปริมณฑล หรือต่างจังหวัด เพื่อ
หาประเด็นมาสร้างจุดเด่น หรือจุดแตกต่าง
 พัฒนาเป็นเรื่องราวขึ้นมาให้เป็นที่น่าสนใจ ไม่ว่าจะเป็น ตัว
สถานที่ / วัฒนธรรม-ประเพณี / อาหาร / สิ่งประดิษฐ์ / ตัว
บุคคล-ภูมิปัญญา / พืช-สัตว์ ฯลฯ
 กําหนดแผนงานทั้งหมดที่จะทําให้บรรลุเป้าหมายที่ต้องการ
 ทําสื่อประชาสัมพันธ์
5
5แนวทางการทําโครงงาน PBL ปีการศึกษา 2557 19-Jun-14 1:04 PM
ชั้น ฉันทะ-วิริยะ จิตตะ-วิมังสา
10 ชื่อหลัก : Senior Project : พัฒนาผลิตภัณฑ์ หรือ สร้างมูลค่าเพิ่ม
Theme : การพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่ทําจากวัตถุดิบในท้องถิ่น ให้ได้รับความนิยมและมีโอกาสประสบความสําเร็จ
วัตถุประสงค์หลัก : สร้างการเปลี่ยนแปลงในโลกจริง ให้เกิดความสุขอย่างยั่งยืนของชีวิตและสังคม
เงื่อนไข : งานเดี่ยว / งานกลุ่ม หรืองานที่ทําด้วยกันทั้งชั้น
 สํารวจ / ทดลอง / ประดิษฐ์ หรือแก้ปัญหาด้วยการหากระบวนการใหม่ๆ
 ลงมือทําจริง ให้เกิดผลได้จริง
11 ชื่อหลัก : Senior Project: พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้อื่น
Theme : การช่วยทําให้คุณภาพชีวิตของผู้อื่น ดีขึ้นระยะยาวอย่างยั่งยืน (อาจจะเป็นวิธีจัดการ การพัฒนาเครื่องมือ การประดิษฐ์ และ
อื่นๆ)
วัตถุประสงค์หลัก : สร้างการเปลี่ยนแปลงในโลกจริงให้เกิดความสุขอย่างยั่งยืนของชีวิตและสังคม
เงื่อนไข : งานเดี่ยว /งานกลุ่ม หรืองานที่ทําด้วยกันทั้งชั้น
 สํารวจ / ทดลอง / ประดิษฐ์ หรือแก้ปัญหาด้วยการหากระบวนการใหม่ๆ
 ลงมือทําจริง ให้เกิดผลได้จริง
การแสดงผลงาน
 ทําวิดีโอแนะนําโครงงานขนาดสั้น (ไม่เกิน 2 นาที) (เพื่อเผยแพร่ให้กับผู้สนใจ และให้รุ่นน้องได้สืบค้น
ว่ารุ่นพี่ทําอะไรกันบ้างเพื่อนําไปต่อยอด)
 นําเสนอในวันเปิ ดแสดงโครงงาน PBL เลือกนําเสนอได้ 2 วิธี
o การออกบูธ เพื่อฝึกการจัดงานแสดงสินค้า/บริการ และฝึกทักษะการ “ขายไอเดีย” ที่จะดึงดูดความ
สนใจจากผู้เยี่ยมชมงาน
 ออกบูธวันเปิดแสดงโครงงาน PBL
 นัดวันเวลาบันทึกวิดีโออธิบายรายละเอียดโครงงาน ความยาวประมาณไม่เกิน 7 นาที หลัง
เลิกเรียน หรือวันเสาร์-อาทิตย์
o การนําเสนอในห้องประชุมใหญ่ในเปิ ดแสดงโครงงาน PBL โดยไม่มีการออกบูธ เพื่อฝึกทักษะ
ในการนําเสนอ และฝึกตอบข้อซักถามที่ไม่รู้คําถามมาก่อนต่อหน้าคนจํานวนมาก
 ใช้เวลานําเสนอประมาณไมเกิน 7 นาทีโดยมี presentation ประกอบ
 ตอบข้อซักถามจากผู้ชมประมาณไม่เกิน 7 นาที
 ทําบทคัดย่อหรือรายงานสรุปส่งก่อนวันเปิดแสดงโครงงาน PBL โดยทําเป็นเอกสารและไฟล์ในรูปแบบ
ที่กําหนด เพื่อให้สะดวกในการจัดการข้อมูลในระบบ
หมายเหตุ สําหรับวิดีโออธิบายรายละเอียด (ประมาณไม่เกิน 7 นาที) ทั้งที่บันทึกจากการนําเสนอในห้องประชุม
ใหญ่ หรือการบันทึกหลังวันแสดงโครงงาน PBL ทําขึ้นเพื่อให้ผู้ที่เห็นวิดีโอขนาดสั้นแล้วสนใจได้ศึกษา
รายละเอียดเพิ่มเติม
6
6แนวทางการทําโครงงาน PBL ปีการศึกษา 2557 19-Jun-14 1:04 PM
การประเมินผล
การประเมินผล ใช้เกณฑ์ ผ่าน - ไม่ผ่าน โดยเกณฑ์ผ่าน จะต้องได้ 60 คะแนนขึ้นไป
 ใช้รูบริคการให้คะแนนทักษะหลักของศตวรรษที่ 21 => 4 C’s (ดูเอกสารเกณฑ์การให้คะแนน)
รายละเอียดการประเมิน คะแนน เครื่องมือประเมินทักษะ 4C หลักฐานการเรียนรู้
ส่งหัวข้อเพื่อให้คณะกรรมการพิจารณา มีรายละเอียดครบถ้วน
และภายในกําหนดเวลา
10 Project Design Rubrics
แบบเสนอหัวข้อ
พบที่ปรึกษาตามนัดหมาย และมีรายงานความก้าวหน้าของงาน 60 Collaboration Rubrics
แบบบันทึกความก้าวหน้าCritical Thinking Rubrics
Creative Thinking Rubrics
คุณภาพวิดีโอแนะนําโครงงานขนาดสั้น และส่งก่อนวันเปิด
แสดงโครงงาน PBL
5
Communication Rubrics
คลิปวีดีโอ
กระบวนการการนําเสนอออกบูธ และบันทึกวิดีโอหลังการ
ออกบูธ
หรือกระบวนการนําเสนอในห้องประชุมใหญ่ ในวันนําเปิดแสดง
โครงงาน
20
การนําเสนอ
คุณภาพบทคัดย่อหรือรายงานสรุปและส่งภายในเวลาที่กําหนด 5 Writing Rubrics แบบรายงานสรุป
รายงานสรุป
 นักเรียนที่ได้คะแนนอยู่ในระดับมาตรฐานจะได้รับประกาศนียบัตรจากโรงเรียน
 นักเรียนไม่มาพบครูที่ปรึกษาเพื่อรายงานความคืบหน้าตั้งแต่ 2 ครั้งขึ้นไป ทางโรงเรียนจะมีจดหมายแจ้ง
ไปยังผู้ปกครองและอาจถูกพิจารณาให้เปลี่ยนครูที่ปรึกษา
7
7แนวทางการทําโครงงาน PBL ปีการศึกษา 2557 19-Jun-14 1:04 PM
กําหนดการภาคฉันทะ-วิริยะ
9 มิ.ย. ครูแจ้ง Theme PBL และภาพรวมโครงงาน PBL ในปีการศึกษานี้
13 มิ.ย. วันสุดท้ายที่นักเรียนจะนําเสนอหัวข้อเพื่อให้คณะกรรมการพิจารณา
16 - 27 มิ.ย. นักเรียนชี้แจงหัวข้อต่อคณะกรรมการ เพื่อขออนุมัติหัวข้อ
1 ก.ย. สําหรับชั้น 7-8-9 : วันแสดงโครงงาน PBLภาคฉันทะ-วิริยะ
8 ก.ย. สําหรับชั้น 7-8-9 : AAR และ ซักซ้อมการทําโครงงาน PBL และ Theme สําหรับภาคจิตตะ-
วิริยะ
15 - 20 ก.ย. สําหรับชั้น 7-8-9 :ส่งห้วข้อเพื่อขออนุมัติ และพิจารณาหัวข้อของภาคจิตตะ-วิมังสา เพื่อจะได้ลง
มือทําโครงงานในช่วงปิดเทอมได้
6 ต.ค. สอบ Final
11ต.ค. ปิดภาคเรียนวิริยะ
12 - 26 ต.ค. ใช้เวลาปิดภาคเรียนทําโครงงาน PBL (ชิ้นที่สอง สําหรับนักเรียนมัธยมต้น)
27 ต.ค. เปิดภาคเรียนจิตตะ
..............................................................................................

More Related Content

Similar to แนวทางการทำโครงงาน PBL มัธยม ปีการศึกษา 2557

ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยtyehh
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยtyehh
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2Jiramet Ponyiam
 
โครงงานคืออะไร
โครงงานคืออะไรโครงงานคืออะไร
โครงงานคืออะไรTrepet Parungnantakul
 
9789740330325
97897403303259789740330325
9789740330325CUPress
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
ความหมายและความสำคัญ
ความหมายและความสำคัญความหมายและความสำคัญ
ความหมายและความสำคัญPennapa Boopphacharoensok
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยtyehh
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยNoppasorn Boonsena
 
Challenge Based Learning(CBL) : การเรียนรู้บนความท้าทาย :
Challenge Based Learning(CBL)  : การเรียนรู้บนความท้าทาย :Challenge Based Learning(CBL)  : การเรียนรู้บนความท้าทาย :
Challenge Based Learning(CBL) : การเรียนรู้บนความท้าทาย :DrDanai Thienphut
 

Similar to แนวทางการทำโครงงาน PBL มัธยม ปีการศึกษา 2557 (20)

ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วย
 
jariyaporn
jariyapornjariyaporn
jariyaporn
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วย
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
 
Pre orientation
Pre orientationPre orientation
Pre orientation
 
01 ตอนที่ 1 word
01 ตอนที่ 1 word01 ตอนที่ 1 word
01 ตอนที่ 1 word
 
โครงงานคืออะไร
โครงงานคืออะไรโครงงานคืออะไร
โครงงานคืออะไร
 
Kp iappliedart
Kp iappliedartKp iappliedart
Kp iappliedart
 
9789740330325
97897403303259789740330325
9789740330325
 
Roongarun
RoongarunRoongarun
Roongarun
 
Rung aroon
Rung aroonRung aroon
Rung aroon
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
ความหมายและความสำคัญ
ความหมายและความสำคัญความหมายและความสำคัญ
ความหมายและความสำคัญ
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วย
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
new portfolio
new portfolionew portfolio
new portfolio
 
Utq 2128 1-pdf
Utq 2128 1-pdfUtq 2128 1-pdf
Utq 2128 1-pdf
 
Challenge Based Learning(CBL) : การเรียนรู้บนความท้าทาย :
Challenge Based Learning(CBL)  : การเรียนรู้บนความท้าทาย :Challenge Based Learning(CBL)  : การเรียนรู้บนความท้าทาย :
Challenge Based Learning(CBL) : การเรียนรู้บนความท้าทาย :
 

More from Weena Wongwaiwit

ค่ายลูกเสือ ปีการศึกษา 2557
ค่ายลูกเสือ ปีการศึกษา 2557ค่ายลูกเสือ ปีการศึกษา 2557
ค่ายลูกเสือ ปีการศึกษา 2557Weena Wongwaiwit
 
โครงการภาคสนาม ชั้น ๗ ตอน "ตามรอยอาณาจักรโบราณ อารยธรรมแห่งอรุณรุ่ง"
โครงการภาคสนาม ชั้น ๗ ตอน "ตามรอยอาณาจักรโบราณ  อารยธรรมแห่งอรุณรุ่ง"โครงการภาคสนาม ชั้น ๗ ตอน "ตามรอยอาณาจักรโบราณ  อารยธรรมแห่งอรุณรุ่ง"
โครงการภาคสนาม ชั้น ๗ ตอน "ตามรอยอาณาจักรโบราณ อารยธรรมแห่งอรุณรุ่ง"Weena Wongwaiwit
 
G9 fieldtrip compress version
G9 fieldtrip compress versionG9 fieldtrip compress version
G9 fieldtrip compress versionWeena Wongwaiwit
 
Plearnpattana School : Open House
Plearnpattana School : Open HousePlearnpattana School : Open House
Plearnpattana School : Open HouseWeena Wongwaiwit
 
Critical thinking : Taboos and Issues
Critical thinking : Taboos and IssuesCritical thinking : Taboos and Issues
Critical thinking : Taboos and IssuesWeena Wongwaiwit
 
ภาคสนามวิถีแห่งสายน้ำ และการงานอาชีพฯ ชั้น 10 ปีการศึกษา 2557
ภาคสนามวิถีแห่งสายน้ำ และการงานอาชีพฯ ชั้น 10 ปีการศึกษา 2557ภาคสนามวิถีแห่งสายน้ำ และการงานอาชีพฯ ชั้น 10 ปีการศึกษา 2557
ภาคสนามวิถีแห่งสายน้ำ และการงานอาชีพฯ ชั้น 10 ปีการศึกษา 2557Weena Wongwaiwit
 
แนวทางการพิจารณาหัวข้อ (เฉพาะครู และ ผู้ปกครองอาสา)
แนวทางการพิจารณาหัวข้อ (เฉพาะครู และ ผู้ปกครองอาสา)แนวทางการพิจารณาหัวข้อ (เฉพาะครู และ ผู้ปกครองอาสา)
แนวทางการพิจารณาหัวข้อ (เฉพาะครู และ ผู้ปกครองอาสา)Weena Wongwaiwit
 

More from Weena Wongwaiwit (10)

ค่ายลูกเสือ ปีการศึกษา 2557
ค่ายลูกเสือ ปีการศึกษา 2557ค่ายลูกเสือ ปีการศึกษา 2557
ค่ายลูกเสือ ปีการศึกษา 2557
 
Survival camp 2014
Survival camp 2014Survival camp 2014
Survival camp 2014
 
โครงการภาคสนาม ชั้น ๗ ตอน "ตามรอยอาณาจักรโบราณ อารยธรรมแห่งอรุณรุ่ง"
โครงการภาคสนาม ชั้น ๗ ตอน "ตามรอยอาณาจักรโบราณ  อารยธรรมแห่งอรุณรุ่ง"โครงการภาคสนาม ชั้น ๗ ตอน "ตามรอยอาณาจักรโบราณ  อารยธรรมแห่งอรุณรุ่ง"
โครงการภาคสนาม ชั้น ๗ ตอน "ตามรอยอาณาจักรโบราณ อารยธรรมแห่งอรุณรุ่ง"
 
G8 field trip (compress)
G8 field trip (compress)G8 field trip (compress)
G8 field trip (compress)
 
G9 fieldtrip compress version
G9 fieldtrip compress versionG9 fieldtrip compress version
G9 fieldtrip compress version
 
Plearnpattana School : Open House
Plearnpattana School : Open HousePlearnpattana School : Open House
Plearnpattana School : Open House
 
Critical thinking : Taboos and Issues
Critical thinking : Taboos and IssuesCritical thinking : Taboos and Issues
Critical thinking : Taboos and Issues
 
ภาคสนามวิถีแห่งสายน้ำ และการงานอาชีพฯ ชั้น 10 ปีการศึกษา 2557
ภาคสนามวิถีแห่งสายน้ำ และการงานอาชีพฯ ชั้น 10 ปีการศึกษา 2557ภาคสนามวิถีแห่งสายน้ำ และการงานอาชีพฯ ชั้น 10 ปีการศึกษา 2557
ภาคสนามวิถีแห่งสายน้ำ และการงานอาชีพฯ ชั้น 10 ปีการศึกษา 2557
 
แนวทางการพิจารณาหัวข้อ (เฉพาะครู และ ผู้ปกครองอาสา)
แนวทางการพิจารณาหัวข้อ (เฉพาะครู และ ผู้ปกครองอาสา)แนวทางการพิจารณาหัวข้อ (เฉพาะครู และ ผู้ปกครองอาสา)
แนวทางการพิจารณาหัวข้อ (เฉพาะครู และ ผู้ปกครองอาสา)
 
7 1
7 17 1
7 1
 

แนวทางการทำโครงงาน PBL มัธยม ปีการศึกษา 2557

  • 1. 1 1แนวทางการทําโครงงาน PBL ปีการศึกษา 2557 19-Jun-14 1:04 PM โครงงาน PBL สําหรับช่วงชั้นมัธยม โครงงาน PBL (Problem-Based Learning) โรงเรียนเพลินพัฒนา มุ่งพัฒนานักเรียนให้มีทักษะ 3 ด้าน คือ ทักษะชีวิต ทักษะการทํางาน และทักษะ ความรู้ สําหรับระดับประถม โครงงาน PBL จะอยู่ในชื่อของโครงงาน “ชื่นใจ…ได้เรียนรู้” โดยครูจะเป็นผู้ กําหนดหัวข้อให้นักเรียน ซึ่งจะมีการปูการเรียนรู้เชิงชั้นเรียน มีการทําโจทย์ย่อย ที่จะต่อยอดร้อยเรียง ไปสู่การ ทําโครงงานในภาคสนาม และสรุปประมวลอย่างเข้มข้นในสองสัปดาห์สุดท้ายของภาคเรียนวิริยะ และ วิมังสา ใน ปีการศึกษานั้นๆ แต่สําหรับมัธยมโครงงาน PBL เป็นการทําโครงงานจากโจทย์ในโลกจริง คู่ขนานไปกับโลกการเรียนรู้ของ นักเรียน เป็นโครงงานที่นักเรียนจะได้ฝึกกระบวนการหาคําตอบด้วยตนเอง และได้ฝึกการบูรณาการทักษะทั้ง 3 ด้านในการแก้โจทย์ปัญหา เป้ าหมายที่ต้องการให้นักเรียนได้รับจากการทํา PBL  ได้เรียนรู้ในเรื่องที่อยากรู้ และเป็นเจ้าของการเรียนรู้เอง  มีสายตาที่มองหาปัญหาหรือประเด็นที่น่าสนใจ ให้เจอแล้วพลิกเป็นโอกาส เพื่อพัฒนาเป็น Products, หรือ Services หรือ Process ที่มีคุณค่า และมีประโยชน์เพิ่มขึ้น  การกล้าทําโจทย์ยากให้สําเร็จ ไม่กลัวความล้มเหลว โดยเรียนรู้จากความผิดพลาดได้ และมีความมั่นใจใน ตนเองว่า I can do.  ได้ฝึกทักษะในกระบวนการเรียนรู้ หรือหาความรู้ หรือหาคําตอบ ด้วยตนเอง  ได้แรงบันดาลใจ และกระหายที่อยากจะเรียนรู้เพิ่มเติม หรือต่อยอด หรือลงมือทําด้วยตนเองมากขึ้น  ได้ค้นพบ ความถนัด ความชอบ และศักยภาพของตนเอง  ได้ฝึกทักษะการทํางาน 4C ที่สําคัญ ได้แก่ o Critical Thinking - การคิดวิเคราะห์ การหาข้อมูล การประเมินสถานการณ์ การลําดับความสําคัญ การวางแผนงาน การบริหารเวลา การตัดสินใจ และการแก้ไขปัญหา การลงมือทํางานจนจบ และ การต่อสู้กับอุปสรรค o Collaboration - การทํางานร่วมกับผู้อื่น (ถ้าเป็นงานกลุ่ม) ได้ทักษะในการทํางานเป็นทีม การแบ่ง งาน การประชุม การติดตามงาน o Communication - การสื่อสารและการนําเสนองาน การตอบข้อซักถาม และการสร้างความ ประทับใจ o Creative Thinking - การใช้ความคิดสร้างสรรค์ ประเภทของโครงงาน โครงงาน PBL สําหรับช่วงชั้นมัธยม แบ่งเป็น 3 ประเภทใหญ่ๆ คือ
  • 2. 2 2แนวทางการทําโครงงาน PBL ปีการศึกษา 2557 19-Jun-14 1:04 PM 1. โครงงานสํารวจ (What it is) เป็นการสํารวจและรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่ง แล้วนําข้อมูลมา จําแนกเป็นหมวดหมู่ และนําเสนอแบบต่างๆ อย่างมีแบบแผน เพื่อให้เห็นถึงลักษณะหรือความสัมพันธ์ของ เรื่องดังกล่าวได้ชัดเจนยิ่งขึ้น 2. โครงการทดลอง (What it will be) เป็นการศึกษาเรื่องใดเรื่องหนึ่งว่าจะเกิดอะไร มีตัวแปรต้น และตัวแปร ตาม 3. โครงงานแก้ปัญหา / นวัตกรรม / สิ่งประดิษฐ์ เป็นการนําความรู้ ทฤษฎี หลักการ หรือแนวคิด หรือ ความคิดสร้างสรรค์ มาประยุกต์ใช้ในการแก้ปัญหา โดยการคิดกระบวนการจัดการใหม่ หรือประดิษฐ์เป็น เครื่องมือ เครื่องใช้ต่างๆ อาจเป็นสิ่งประดิษฐ์ใหม่ที่ไม่เคยมีใครทํามาก่อน หรือเป็นการปรับปรุงเปลี่ยนแปลง จากของเดิมที่มีอยู่ แล้วทําให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้นกว่าที่เป็นอยู่ หรือแก้ไขปัญหาบางอย่างให้ดีขึ้น รวมทั้ง การสร้างแบบจําลองต่างๆ ลักษณะการให้โจทย์โครงงาน โดยทั่วไปแล้ว ลักษณะการให้โจทย์โครงงาน มักจะมี 3 ลักษณะ คือ 1. Guided Project - ครูกําหนดปัญหา และออกแบบกระบวนการทํางานในรายละเอียดให้ 2. Less-guided Project - ครูกําหนดปัญหาให้ แต่ให้นักเรียนออกแบบกระบวนการทํางานในรายละเอียดเอง 3. Unguided Project - นักเรียนกําหนดปัญหาตามความสนใจ และออกแบบกระบวนการทํางานใน รายละเอียดเอง โครงการชื่นใจได้เรียนรู้ ในช่วงชั้นประถม จะเป็นลักษณะ Guided Project คือ คุณครูเป็นผู้กําหนดกรอบ การเรียนรู้ หรือมีโครงเรื่องไว้ล่วงหน้า และออกแบบกระบวนการรวบรวมข้อมูลเพื่อให้นักเรียนทุกคนได้เรียนรู้ กระบวนการประมวลความรู้ได้เพียงพอ แต่สําหรับ PBL ของมัธยม ลักษณะการให้โจทย์จะเป็นแบบ Less-guided project และ Unguided project จํานวนโครงงานของนักเรียนในแต่ละช่วงชั้น  มัธยมต้น ปีละ 2 ชิ้น มีทั้งโครงการเดี่ยว และกลุ่มก็ได้ ตามความจําเป็นของโครงการนั้นๆ เพื่อนักเรียน จะได้มีโอกาสได้ทําโครงงานที่มีความหลากหลายในด้านต่างๆ ที่ควรมีประสบการณ์  มัธยมปลาย ปีละ 1 ชิ้น เป็นโครงการกลุ่ม เพื่อเปิดโอกาสให้นักเรียนมีเวลาทําโครงงานขนาดใหญ่ได้ โดยมีเวลาทํางานทั้งปี โดยทั่วไป จะพยายามให้นักเรียนกําหนดหัวข้อโครงงานสําหรับภาคเรียนถัดไปให้เสร็จก่อนปิดภาคเรียน เพื่อจะได้ใช้เวลาทํา PBL บางส่วนได้ในช่วงปิดภาคการศึกษา จะได้มีเวลาทํา PBL มากขึ้น และเป็นการใช้เวลา ว่างให้เป็นประโยชน์ การให้คําปรึกษา การให้คําปรึกษามี 3 ลักษณะ 1. การโค้ชแบบ GROW ME โดย “ครูที่ปรึกษา” คือ การพานักเรียนให้ตั้งเป้าหมาย ประเมินสภาพจริง หาทางเลือก วางแผนและลงมือทํา ติดตามผล และประเมินเมื่อจบงาน
  • 3. 3 3แนวทางการทําโครงงาน PBL ปีการศึกษา 2557 19-Jun-14 1:04 PM 2. การพาให้นักเรียนทําตามขั้นตอนของ “กระบวนการวิจัย” (Research Method) หรือตามลักษณะ ของโครงงาน โดยครูที่ปรึกษาอาจขอคําแนะนําจาก ผู้ที่แม่นยําในกระบวนการวิจัย หรือ ผู้ที่มี ประสบการณ์ในการควบคุมโครงการในแวดวงวิชาชีพ เพื่อนํามาแนะนํานักเรียนต่อไป ซึ่งผู้แม่นยํา ในกระบวนการวิจัยอาจเป็นผู้ที่กําลังเรียนหรือจบปริญญาโทก็ได้ และไม่จําเป็นต้องเป็นผู้เชี่ยวชาญใน เนื้อหาโครงงานของนักเรียน 3. การแนะนําในเนื้อหาเรื่องที่ทําโครงงาน โดย ผู้เชี่ยวชาญ ถือเป็นเงื่อนไขปัจจัยที่นักเรียนต้องประเมิน สภาพจริง เพราะอาจหาผู้เชี่ยวชาญในเรื่องที่จะทําไม่ได้ ก็ต้องหาวิธีการอื่นในการหาข้อมูล หรืออาจต้อง เปลี่ยนหัวข้อ ที่ปรึกษา และแนวทาง Coaching แบบ GROW ME Coaching คือการทําให้นักเรียนได้เห็นจุดอ่อนจุดแข็งของตนด้วยตนเอง ผ่านการชักชวนให้นักเรียน มองโลกด้วยมุมมองที่หลากหลาย ในขณะที่นักเรียนจะเป็นผู้รับผิดชอบการเรียนรู้และผลงานของตัวเอง มี ความสําเร็จที่เกิดจาก “ความมุ่งมั่นปรารถนาภายในของตน” และเพราะการเรียนรู้และการเปลี่ยนแปลงต้อง อาศัยวินัยและความอดทน Coach จึงต้องช่วยให้นักเรียนมองเห็นความก้าวหน้าของตัวเองอยู่เสมอ เพื่อไม่ให้ ถอดใจถอยหนีไปเสียก่อน  Coaching แบบ GROW ME มุ่งหวังความสําเร็จ คือ การที่ผู้เรียนไปสู่จุดหมายที่วางไว้ และการทําให้ ตัวเองดีขึ้นกว่าเมื่อวานนี้  Coaching แบบ GROW ME จะมีคําถามและประเด็นสําหรับที่ปรึกษาใช้เป็นแนวทางในการพูดคุยกับ นักเรียน โดยองค์ประกอบซึ่งแบ่งเป็น 3 ขั้นตอน ดังนี้ ขั้นตอน องค์ประกอบ (ดูเอกสารโค้ชแบบ GROW ME) ก่อนเริ่ม Goal G - การตั้งเป้าหมายที่ต้องการบรรลุ Reality R - การวิเคราะห์สถานการณ์ตามความเป็นจริงว่าขณะนี้เป็นอย่างไร Option O - การมองหาวิธีทางเลือกที่เป็นไปได้เพื่อไปสู่เป้าหมาย ซึ่งอาจมีหลาย ทางเลือก What’s Next or Will W - การกําหนดทางเลือกที่เหมาะสมที่สุด และแผนการดําเนินงาน ระหว่างทํา Monitoring M - การตรวจสอบความก้าวหน้าของการดําเนินการ เมื่องานเสร็จ Evaluation E - การประเมินผล เพื่อสรุปว่าได้ผลเป็นอย่างไร บรรลุเป้าหมายอย่างน่า พึงพอใจหรือไม่ และควรทําอย่างไรต่อไปหรือไม่
  • 4. 4 4แนวทางการทําโครงงาน PBL ปีการศึกษา 2557 19-Jun-14 1:04 PM โครงงาน PBL ปีการศึกษา 2557 ชั้น ฉันทะ-วิริยะ จิตตะ-วิมังสา 7 ชื่อหลัก : Mini Research Method 1 วัตถุประสงค์หลัก : เน้น “กระบวนการวิจัย”โดยเริ่มจากเรื่อง ของตัวเอง ดึงความสนใจขอตนให้มาเป็นรูปธรรมมากขึ้น Theme : งานอดิเรก เงื่อนไข : งานเดี่ยว หรือกลุ่มไม่เกิน 4 คน  นําเรื่องที่ชอบและสนใจของตัวเองมาเป็นประเด็นที่ต้องการ กรอบหรือสร้างผลงานที่เป็นรูปธรรม เช่น การออกแบบเกม การเปลี่ยนแปลงตัวเอง ฯ  นําเสนอเป็นชิ้นงาน / ผลการทดลอง / หรือเสนอแนวคิด เป็นภาพ storyboard / animation / model 3 มิติ ฯลฯ โดย ยังไม่ต้องสร้างเป็นชิ้นงานก็ได้ ชื่อหลัก : Mini Research Method 2 วัตถุประสงค์หลัก : ยํ้าทวน “กระบวนการวิจัย” ฝึกการมองปัญหา ที่น่าสนใจที่อยู่รอบตัวมาแก้ไขปัญหาให้ดีขึ้น Theme : พัฒนาเพลิน เงื่อนไข : งานเดี่ยว หรือ กลุ่มไม่เกิน 4 คน  หาประเด็นรอบตัวในโรงเรียน สังคม และบ้าน มาตั้งเป็นโจทย์ เพื่อแก้ไข หรือพัฒนาให้ดีขึ้น  นําเสนอเป็นชิ้นงาน / ผลการทดลอง / หรือเสนอแนวคิด เป็น ภาพ storyboard / animation / model 3 มิติ ฯลฯ 8 ชื่อหลัก :อาชีพ 1 วัตถุประสงค์หลัก : เชื่อมโยงตัวเองกับโลกการงานจริง Theme : สัมภาษณ์อาชีพ และเส้นทางอาชีพที่ตนเองสนใจ เงื่อนไข : งานเดี่ยว  สัมภาษณ์ บุคคลในอาชีพต่างๆ ตั้งแต่ 3 อาชีพขึ้นไป  ในประเด็นหลักและหัวข้อย่อยที่กําหนดให้ (ดูเอกสารหัวข้อ สําหรับการสัมภาษณ์) ชื่อหลัก :Mini Project วัตถุประสงค์หลัก : ฝึกการทําโครงงานขนาดย่อมโดยหาโจทย์จาก โลกจริง Theme : Junior Project เงื่อนไข : งานเดี่ยว หรือ กลุ่มไม่เกิน 4 คน  สํารวจ / ทดลอง / ประดิษฐ์ หรือแก้ปัญหาด้วยการหา กระบวนการใหม่ๆ  เพื่อวัตถุประสงค์ o พัฒนาผลิตภัณฑ์ หรือ สร้างมูลค่าเพิ่ม o พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้อื่น  นําเสนอเป็นชิ้นงาน / ผลการทดลอง / หรือเสนอแนวคิด เป็น ภาพ storyboard / animation / model 3 มิติ ฯลฯ 9 ชื่อหลัก : อาชีพและแผนพัฒนาตัวเองเพื่อก้าวสู่อาชีพ วัตถุประสงค์หลัก : เตรียมตัวสู่โลกการงานจริง Theme : Road Map สู่อาชีพที่ต้องการ เงื่อนไข : งานเดี่ยว  สํารวจเกี่ยวกับอาชีพ อย่างน้อย 2 อาชีพ โดยวิธีสัมภาษณ์ หรือศึกษาจากแหล่งข้อมูลต่างๆ  ติดตามการทํางานในอาชีพนั้น อย่างน้อย 4 ชม. หากเป็น อาชีพที่เข้าถึงไม่ได้ ก็ให้หาสถานที่ๆ ทํางานที่ใกล้เคียงกับ อาชีพนั้นให้มากที่สุด โดยปรึกษากับครูที่ปรึกษาเป็นกรณี ไป ชื่อหลัก : พัฒนาแหล่งท่องเที่ยว/สถานที่ วัตถุประสงค์หลัก : ฝึกการมองหาโอกาสในโลกจริงและพลิกให้มี มูลค่ามากขึ้น เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตคนในชุมชนอย่างยั่งยืน Theme : Unseen in …….. เงื่อนไข : (งานเดี่ยว หรือ กลุ่มไม่เกิน 4 คน)  สํารวจชุมชนทั้งในกรุงเทพฯ-ปริมณฑล หรือต่างจังหวัด เพื่อ หาประเด็นมาสร้างจุดเด่น หรือจุดแตกต่าง  พัฒนาเป็นเรื่องราวขึ้นมาให้เป็นที่น่าสนใจ ไม่ว่าจะเป็น ตัว สถานที่ / วัฒนธรรม-ประเพณี / อาหาร / สิ่งประดิษฐ์ / ตัว บุคคล-ภูมิปัญญา / พืช-สัตว์ ฯลฯ  กําหนดแผนงานทั้งหมดที่จะทําให้บรรลุเป้าหมายที่ต้องการ  ทําสื่อประชาสัมพันธ์
  • 5. 5 5แนวทางการทําโครงงาน PBL ปีการศึกษา 2557 19-Jun-14 1:04 PM ชั้น ฉันทะ-วิริยะ จิตตะ-วิมังสา 10 ชื่อหลัก : Senior Project : พัฒนาผลิตภัณฑ์ หรือ สร้างมูลค่าเพิ่ม Theme : การพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่ทําจากวัตถุดิบในท้องถิ่น ให้ได้รับความนิยมและมีโอกาสประสบความสําเร็จ วัตถุประสงค์หลัก : สร้างการเปลี่ยนแปลงในโลกจริง ให้เกิดความสุขอย่างยั่งยืนของชีวิตและสังคม เงื่อนไข : งานเดี่ยว / งานกลุ่ม หรืองานที่ทําด้วยกันทั้งชั้น  สํารวจ / ทดลอง / ประดิษฐ์ หรือแก้ปัญหาด้วยการหากระบวนการใหม่ๆ  ลงมือทําจริง ให้เกิดผลได้จริง 11 ชื่อหลัก : Senior Project: พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้อื่น Theme : การช่วยทําให้คุณภาพชีวิตของผู้อื่น ดีขึ้นระยะยาวอย่างยั่งยืน (อาจจะเป็นวิธีจัดการ การพัฒนาเครื่องมือ การประดิษฐ์ และ อื่นๆ) วัตถุประสงค์หลัก : สร้างการเปลี่ยนแปลงในโลกจริงให้เกิดความสุขอย่างยั่งยืนของชีวิตและสังคม เงื่อนไข : งานเดี่ยว /งานกลุ่ม หรืองานที่ทําด้วยกันทั้งชั้น  สํารวจ / ทดลอง / ประดิษฐ์ หรือแก้ปัญหาด้วยการหากระบวนการใหม่ๆ  ลงมือทําจริง ให้เกิดผลได้จริง การแสดงผลงาน  ทําวิดีโอแนะนําโครงงานขนาดสั้น (ไม่เกิน 2 นาที) (เพื่อเผยแพร่ให้กับผู้สนใจ และให้รุ่นน้องได้สืบค้น ว่ารุ่นพี่ทําอะไรกันบ้างเพื่อนําไปต่อยอด)  นําเสนอในวันเปิ ดแสดงโครงงาน PBL เลือกนําเสนอได้ 2 วิธี o การออกบูธ เพื่อฝึกการจัดงานแสดงสินค้า/บริการ และฝึกทักษะการ “ขายไอเดีย” ที่จะดึงดูดความ สนใจจากผู้เยี่ยมชมงาน  ออกบูธวันเปิดแสดงโครงงาน PBL  นัดวันเวลาบันทึกวิดีโออธิบายรายละเอียดโครงงาน ความยาวประมาณไม่เกิน 7 นาที หลัง เลิกเรียน หรือวันเสาร์-อาทิตย์ o การนําเสนอในห้องประชุมใหญ่ในเปิ ดแสดงโครงงาน PBL โดยไม่มีการออกบูธ เพื่อฝึกทักษะ ในการนําเสนอ และฝึกตอบข้อซักถามที่ไม่รู้คําถามมาก่อนต่อหน้าคนจํานวนมาก  ใช้เวลานําเสนอประมาณไมเกิน 7 นาทีโดยมี presentation ประกอบ  ตอบข้อซักถามจากผู้ชมประมาณไม่เกิน 7 นาที  ทําบทคัดย่อหรือรายงานสรุปส่งก่อนวันเปิดแสดงโครงงาน PBL โดยทําเป็นเอกสารและไฟล์ในรูปแบบ ที่กําหนด เพื่อให้สะดวกในการจัดการข้อมูลในระบบ หมายเหตุ สําหรับวิดีโออธิบายรายละเอียด (ประมาณไม่เกิน 7 นาที) ทั้งที่บันทึกจากการนําเสนอในห้องประชุม ใหญ่ หรือการบันทึกหลังวันแสดงโครงงาน PBL ทําขึ้นเพื่อให้ผู้ที่เห็นวิดีโอขนาดสั้นแล้วสนใจได้ศึกษา รายละเอียดเพิ่มเติม
  • 6. 6 6แนวทางการทําโครงงาน PBL ปีการศึกษา 2557 19-Jun-14 1:04 PM การประเมินผล การประเมินผล ใช้เกณฑ์ ผ่าน - ไม่ผ่าน โดยเกณฑ์ผ่าน จะต้องได้ 60 คะแนนขึ้นไป  ใช้รูบริคการให้คะแนนทักษะหลักของศตวรรษที่ 21 => 4 C’s (ดูเอกสารเกณฑ์การให้คะแนน) รายละเอียดการประเมิน คะแนน เครื่องมือประเมินทักษะ 4C หลักฐานการเรียนรู้ ส่งหัวข้อเพื่อให้คณะกรรมการพิจารณา มีรายละเอียดครบถ้วน และภายในกําหนดเวลา 10 Project Design Rubrics แบบเสนอหัวข้อ พบที่ปรึกษาตามนัดหมาย และมีรายงานความก้าวหน้าของงาน 60 Collaboration Rubrics แบบบันทึกความก้าวหน้าCritical Thinking Rubrics Creative Thinking Rubrics คุณภาพวิดีโอแนะนําโครงงานขนาดสั้น และส่งก่อนวันเปิด แสดงโครงงาน PBL 5 Communication Rubrics คลิปวีดีโอ กระบวนการการนําเสนอออกบูธ และบันทึกวิดีโอหลังการ ออกบูธ หรือกระบวนการนําเสนอในห้องประชุมใหญ่ ในวันนําเปิดแสดง โครงงาน 20 การนําเสนอ คุณภาพบทคัดย่อหรือรายงานสรุปและส่งภายในเวลาที่กําหนด 5 Writing Rubrics แบบรายงานสรุป รายงานสรุป  นักเรียนที่ได้คะแนนอยู่ในระดับมาตรฐานจะได้รับประกาศนียบัตรจากโรงเรียน  นักเรียนไม่มาพบครูที่ปรึกษาเพื่อรายงานความคืบหน้าตั้งแต่ 2 ครั้งขึ้นไป ทางโรงเรียนจะมีจดหมายแจ้ง ไปยังผู้ปกครองและอาจถูกพิจารณาให้เปลี่ยนครูที่ปรึกษา
  • 7. 7 7แนวทางการทําโครงงาน PBL ปีการศึกษา 2557 19-Jun-14 1:04 PM กําหนดการภาคฉันทะ-วิริยะ 9 มิ.ย. ครูแจ้ง Theme PBL และภาพรวมโครงงาน PBL ในปีการศึกษานี้ 13 มิ.ย. วันสุดท้ายที่นักเรียนจะนําเสนอหัวข้อเพื่อให้คณะกรรมการพิจารณา 16 - 27 มิ.ย. นักเรียนชี้แจงหัวข้อต่อคณะกรรมการ เพื่อขออนุมัติหัวข้อ 1 ก.ย. สําหรับชั้น 7-8-9 : วันแสดงโครงงาน PBLภาคฉันทะ-วิริยะ 8 ก.ย. สําหรับชั้น 7-8-9 : AAR และ ซักซ้อมการทําโครงงาน PBL และ Theme สําหรับภาคจิตตะ- วิริยะ 15 - 20 ก.ย. สําหรับชั้น 7-8-9 :ส่งห้วข้อเพื่อขออนุมัติ และพิจารณาหัวข้อของภาคจิตตะ-วิมังสา เพื่อจะได้ลง มือทําโครงงานในช่วงปิดเทอมได้ 6 ต.ค. สอบ Final 11ต.ค. ปิดภาคเรียนวิริยะ 12 - 26 ต.ค. ใช้เวลาปิดภาคเรียนทําโครงงาน PBL (ชิ้นที่สอง สําหรับนักเรียนมัธยมต้น) 27 ต.ค. เปิดภาคเรียนจิตตะ ..............................................................................................