SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
Download to read offline
โครโมโซม
จากวิกพเดีย สารานุกรมเสรี
      ิ ี




โครโมโซมมนุษย์

          โครโมโซม (chromosome) เป็ นทีอยูของ
                                          ่        หน่วยพันธุกรรมซึงทําหน ้าทีควบคุมและถ่ายทอดข ้อมูล เกียวกับ
ลักษณะทางพันธุกรรมต่างๆ ของสิงมีชวต เช่น ลักษณะของเส ้นผม ลักษณะดวงตา เพศ และผิว
                                 ี ิ


          การศึกษาลักษณะโครโมโซม จะต ้องอาศัยการดูด ้วยกล ้องจุลทรรศน์ทกําลังขยายสูงๆ จึงจะสามารถ มองเห็น
                                                                       ี

รายละเอียดของโครโมโซมได ้

          หน่วยพ ันธุกรรม หรือ ยีน ( อังกฤษ: Gene) ปรากฏอยูบนโครโมโซม ประกอบด ้วยดีเอ็นเอ ทําหน ้าที
                                                           ่

                                         ี ิ                                    ี ิ ่            ่ ู
กําหนดลักษณะ ทางพันธุกรรมต่าง ๆ ของสิงมีชวต หน่วยพันธุกรรม จะถูกถ่ายทอดจากสิงมีชวต รุนก่อนหน ้าสูลกหลาน เช่น

ควบคุมกระบวนทีเกียวกับกิจกรรมทัว ๆ ไปทาง    ี
                                           ชวเคมีภายในเซลล์ของสิงมีชวต ไปจนถึงลักษณะปรากฏทีพบเห็นหรือ
                                                                    ี ิ

                                                                        ั
สังเกตได ้ด ้วยตา เช่น รูปร่างหน ้าตาของเด็กทีมีบางส่วนเหมือนกับแม่, สีสนของดอกไม ้, รสชาติของอาหารนานาชนิด ล ้วนแล ้วแต่

                                        6 6
เป็ นลักษณะทีบันทึกอยูในหน่วยพันธุกรรมทังสิน
                      ่

                               เนือหา

                              [    ่
                                  ซอน]

       การค ้นพบ
          1

     2 ลักษณะของโครโมโซม

     3 รูปร่าง ลักษณะ และจํานวน
โครโมโซม
     4 ยีนกับโครโมโซม

     5 มัลติเปิ ลอัลลีนส ์

     6 ยีนในโครโมโซมเดียวกัน

                             ิ
     7 จํานวนโครโมโซมของสงมีชวต ี ิ
     8 การกําหนดเพศในมนุษย์

     9 การเกิดเพศหญิงเพศชาย

[แก]้ การค ้นพบ
ประมาณปี ค.ศ. 1860   เกรเกอร์ เมนเดล (Gregor Mendel) ได ้ศึกษาลักษณะต่างๆของต ้นถัว
ลันเตา ทีมีการถ่ายทอดจากรุนหนึง ไปยังต ้นถัวทีปลูกในรุนถัดๆไป เขาตังสมมุตฐานว่า มีอะไรบางอย่าง นําลักษณะต่างๆ จาก
                          ่                           ่            6     ิ

              ่ ุ่
รุนพ่อแม่ ไปสูรนลูก
  ่

                                                                                                               การ
           หน่วยพันธุกรรมทีเมนเดลค ้นพบนัน เมนเดลไม่ได ้มองเห็นหน่วยพันธุกรรมจริง เพียงแต่อาศัยข ้อมูล ทีได ้จาก
                                         6

ทดลอง และหาเหตุผลทางคณิตศาสตร์ หน่วยพันธุกรรมทีเมนเดลค ้นพบ เป็ นเพียงนามธรรมเท่านัน (และเขาก็ไม่ได ้
                                         ์                                         6

ใช ้คําว่า ยีน หรือ หน่วยพันธุกรรม โดยตรง)

           แล ้วยีนอยูทไหน?
                      ่ ี

                                         ี
                                      ชววิทยากลุมหนึงทีใชกล ้องจุลทรรศน์ เป็ นเครืองค ้นคว ้า ได ้พบ
           ในขณะทีเมนเดลค ้นคว ้าอยูนัน นัก
                                    ่ 6                   ่       ้

รายละเอียดของเซลล์มากขึน จนกระทัง พ.ศ. 2432 นักชีววิทยาจึงสามารถ เห็นรายละเอียดภายในนิวเคลียส ขณะทีมีการ
                       6

แบ่งเซลล์ ได ้พบว่าภายในนิวเคลียส มีโครงสร ้างทีติดสีได ้และมีลกษณะเป็ นเส ้นใย เรียกว่า โครโมโซม (Chromosome)
                                                               ั

           ปี พ.ศ. 2445 หลังจากการค ้นพบผลงานของเมนเดล 2 ปี                ั
                                                                 วอลเตอร์ ซตตัน นักชีววิทยาชาวอเมริกน
                                                                                                    ั

และ   เทโอดอร์ โบเฟรี นักชีววิทยาชาวเยอรมัน ได ้เสนอว่า "หน่วยพันธุกรรมทีเมนเดลค ้นพบ อยูในโครโมโซม" ซัตตัน
                                                                   ์                     ่

ได ้ศึกษาเซลล์ในอัณฑะตัJกแตน และเสนอไว ้ว่าโครโมโซม ทีเข ้าคูกนในขณะทีมีการแบ่งเซลล์แบบไมโอซส จะ
                                                             ่ ั                                      ิ
แยกจากกันไปอยูตางเซลล์กน เหมือนการแยกของยีนทีเป็ นแอลลีนกัน ตามกฎแห่งการแยกตัว จึงสรุปได ้ว่ายีนอยูบน
                ่ ่    ั                                                                           ่

โครโมโซม

[แก]้ ลักษณะของโครโมโซม




               ่
โครโมโซมมนุษย์ชวง     เมทาเฟส.
           ในภาวะปกติเมือมองผ่านกล ้องจุลทรรศน์จะเห็นโครโมโซมมีลกษณะคล ้ายเส ้นด ้ายบางๆ เรียกว่า “
                                                                ั                                     โครมา
ติน (chromatin) ” ขดตัวอยูในนิวเคลียส เมือเซลล์เริมแบ่งตัว เส ้นโครมาตินจะหดตัวสันเข ้ามีลกษณะเป็ นแท่ง จึงเรียกว่า
                          ่                                                      6        ั

“โครโมโซม” แต่ละโครโมโซมประกอบด ้วยแขนสองข ้างทีเรียกว่า “โครมาทิด (chromatid) ” ซึงแขนทังสองข ้างจะมีจดเชือมกัน
                                                                                         6             ุ

เรียกว่า “เซนโทรเมียร์ ( centromere)


           โครโมโซมเป็ นโครงสร ้างทีอยูในนิวเคลียสของเซลล์ ในขณะทีเซลล์ไม่แบ่งตัว โครโมโซมจะยืดยาวออกคล ้ายเส ้นใย
                                       ่

เล็กๆ สานกันอยูในนิวเคลียส เมือมีการแบ่งเซลล์จะมีการแบ่งโครโมโซม โดยโครโมโซมจะจําลองตัวเองขึนมา เป็ นเส ้นคูท ี
               ่                                                                            6               ่

                                     6
เหมือนกันทุกประการ แล ้วค่อยๆ ขดตัวสันเข ้า โครโมโซมจะโตมาก การศึกษาโครโมโซมจึงต ้องศึกษาในระยะแบ่งเซลล์ ถ ้ามี

เทคนิคในการเตรียมทีดี ก็จะสามารถมองเห็นรูปร่างลักษณะ ของโครโมโซมจากกล ้องจุลทรรศน์ และอาจนับจํานวนโครโมโซมได ้
โครโมโซม เป็ นโครงสร ้างทีอยูในนิวเคลียสของเซลล์ ในขณะทีเซลล์ไม่แบ่งตัวหรืออยูในระยะ
                                          ่                                                ่       อินเตอร์เฟต
(interphase) เราจะไม่เห็นโครโมโซมเนืองจากโครโมโซมอยูในลักษณะเป็ นเส ้นใยเล็กๆ สานกันอยูในนิวเคลียส เส ้นใยนีเรียกว่า
                                                    ่                                  ่                    6

โครมาทิน (Chromatin) แต่เมือเซลล์จะแบ่งตัวโครมาทินแต่ละเส ้นจะแบ่งจาก 1 เป็ น 2 เส ้น แล ้วขดตัวสันเข ้า และหนาขึนจน
                                                                                                  6              6

มองเห็นเป็ นแท่งในระยะ   โพรเฟส และ เมทาเฟส และเรียกชือใหม่วา โครโมโซม ทําให ้เรามองเห็นรูปร่างลักษณะและ
                                                            ่

จํานวนโครโมโซมได ้ โครโมโซมทีเห็นได ้ชัดในระยะเมทาเฟต ประกอบด ้วย โครมาทิด 2 อัน ยึดติดกันตรงเซนโทรเมียร์ ส่วนของ

โครโมโซมทียืนออกไปจากเซนโทรเมียร์ เรียกว่า แขน

             อันสันเรียกว่า แขนสัน อันยาวเรียกว่า แขนยาว ในโครโมโซมบางอัน มีเนือโครโมโซมเล็กๆ ยึดติดกับส่วนใหญ่โดยเส ้น
                  6              6                                             6

เล็กๆ เรียกว่า เนือโครโมโซมเล็กๆ นันว่า stellite และเส ้นโครโมโซมเล็กๆ นัน เรียกว่า secondary constriction
                  6                6                                     6

             โครมาทิน เป็ นสาร   นิวคลีโอโปรตีน ซึงก็คอ DNA สายยาวสายเดียวทีพันรอบโปรตีนทีชือ ฮ ี
                                                      ื

สโทน (histone) เอาไว ้ ทําให ้รูปร่างโครมาทินคล ้ายลูกปัดทีเรียงต่อๆ กัน แล ้วมี DNA พันรอบลูกปัดนัน ในเซลล์ทวๆ ไป เมือ
                                                                                                   6         ั

ย ้อมสีเซลล์ ส่วนของโครมาทินจะติดสีได ้ดีและมองดูคล ้ายตาข่างละเอียดๆ จึงเห็นนิวเคลียสชัดเจน

[แก]้ รูปร่าง       ลักษณะ และจํานวนโครโมโซม

             แต่ละโครโมโซมประกอบด ้วย 2 โครมาทิด ทีเหมือนกัน ซึงเกิดจากการทีโครโมโซมจําลองตัวเองในระยะอินเตอร์เฟส

(Interphase) เพือจะแยกออกจากกันในระยะแอนาเฟส anaphase ของการแบ่งเซลล์ โครมาทิดทังสองจะติดกันอยูตรงส่วนที
                                                                                6              ่

เรียกว่า เซนโทรเมียร์ (Centromere) รวมเรียกเซนโทรเมียร์แบ่งเป็ น 2 ส่วน แต่ละโครมาทินก็เรียกว่าโครโมโซม นันคือ 1

โครโมโซม มี 1 เซนโทรเมียร์ โครโมโซม ของเซลล์รางกายจะอยูกนเป็ นคูๆ แต่ละคูเรียกว่า โฮโมโลกัสโครโมโซม (Homologous
                                             ่         ่ ั      ่        ่

Chromosome)

             การนํ าโครโมโซมขนาดต่างๆ มาเรียงกันกันเรียกว่า   แครีโอไทป์       (Karyotype) โดยจําแนกตามลักษณะ ขนาด

และตําแหน่งของเซนโทรเมียร์อาจจะอยูตรงกลาง ค่อนไปทางปลาย หรือ ปลายโครโมโซม จึงแบ่งลักษณะโครโมโซมเป็ นแบบ
                                  ่

ต่างๆ ได ้ดังนี6


       1.    Metacentric เมตาเซนตริก เป็ นโครโมโซมทีมีแขนยืน 2 ข ้างออกจากเซนโทรเมียร์เท่ากันหรือเกือบเท่ากัน

       2.    Submetacentric ซับเมตาเซนตริก เป็ นโครโมโซมทีมีแขนยืนออกมา 2 ข ้างจากเซนโทรเมียร์ไม่เท่ากัน

       3.    Acrocentric อะโครเซนตริก เป็ นโครโมโซมทีมีลกษณะเป็ นแท่ง โดยมีเซนโทรเมียร์อยูใกล ้กับปลายข ้างใดข ้างหนึง จึง
                                                        ั                                 ่

              เห็นส่วนเล็กๆ ยืนออกจากเซนโทรเมียร์

       4.    Telocentric เทโลเซนตริก เป็ นโครโมโซมทีมีลกษณะเป็ นแท่ง โดยมีเซนโทรเมียร์อยูตอนปลายสุดของโครโมโซม
                                                       ั                                 ่

             โครมาทิต 2 โครมาทิต มีตวเชือมคือ เซนโทรเมียร์
                                    ั

[แก]้ ยีนกับโครโมโซม

             ยีน หมายถึง ส่วนของ DNA ทีทําหน ้าทีถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม โครโมโซม เป็ นโครงสร ้างทีมี DNA และโปรตีน

เป็ นองค์ประกอบ โครโมโซมจึงเป็ นทีอยูของยีน และในแต่ละโครโมโซมมียนอีกมากมายมาเรียงต่อๆกัน ดังนันลักษณะทาง
                                     ่                           ี                             6

พันธุกรรม ทีถูกถ่ายทอดไปจึงถูกควบคุม โดยยีนในโครโมโซมนันเอง ซึงแบ่งเป็ น 2 ประเภท คือ ยีนในออโตโซม และยีนใน

โครโมโซมเพศ

[แก]้ มัลติเปิ ลอัลลีนส ์
มัลติเปิ ลอัลลีนส ์ (Multiple alleles) คือ กลุมของอัลลีลส์ทมียนควบคุมลักษณะ มากกกว่า 2 แบบขึนไป
                                                          ่            ี ี                              6

ควบคุมลักษณะใดลักษณะหนึงของสิงมีชวต กฎของเมนเดลสามารถใช ้ทํานายโอกาสทีจะเกิดหมูเลือด หมูใดหมูหนึงได ้
                                 ี ิ                                           ่        ่    ่

[แก]้ ยีนในโครโมโซมเดียวกัน

            เนืองจากในโครโมโซมแต่ละแท่งมียนอยูมากมาย ถ ้ากลุมของยีนทีอยูบนโครโมโซมเดียวกัน ถูกถ่ายทอดไปพร ้อมกัน
                                          ี   ่             ่           ่

โดยไม่แยกตัวไปรวมกลุมกันอย่างอิสระตามกฎข ้อที 2 ของเมนเดล ยีนเหล่านีเรียกว่า ยีนทีเกียวเนืองกัน หรือ ลิงก์ยน (linked
                    ่                                               6                                      ี

gene)

                        ิ   ี ิ
[แก]้ จํานวนโครโมโซมของสงมีชวต

                                   ี ิ                                     ี ิ
            จํานวนโครโมโซมของสิงมีชวตชนิดหนึงๆ จะมีจํานวนเท่ากันเสมอ สิงมีชวตต่างชนิดกันอาจมีจํานวนโครโมโซมเท่ากัน

ได ้ ด ้วยเหตุนนักวิทยาศาสตร์จงไม่ใช ้จํานวนของโครโมโซมมาจําแนกความแตกต่างระหว่างสิงมีชวตแต่ละชนิด เช่น แม ้ว่าจํานวน
               ี6             ึ                                                        ี ิ

                                           ี ิ
โครโมโซมจะมาก แต่กลับไม่มผลต่อขนาดของสิงมีชวต ตัวอย่างทีเห็นได ้ชัดคือ
                         ี                                                ยูกลีนา ทีมีขนาดเล็กมากแม ้มีจํานวน
โครโมโซมถึง 90 แท่ง หรือ 45 คู่

                  ี ิ
            สิงมีชวตชนิดต่างๆ มีจํานวนโครโมโซมแตกต่างกัน จํานวนโครโมโซมในเซลล์รางกายทัวไปมีอยู่ 2 ชุด หรือเรียกว่า 2n
                                                                               ่

            ื
ส่วนในเซลล์สบพันธุมจํานวนโครโมโซมเพียงชุดเดียวเรียกว่า n หรือ จํานวนแฮพลอยด์
                  ์ ี

[แก]้ การกําหนดเพศในมนุษย์

                                 ี ิ
            การกําหนดเพศของสิงมีชวต โดยทัวไปจะพิจารณาจากลักษณะของโครโมโซม

                            ี                                             ่           ่ ึ
            สําหรับในมนุษย์มจํานวนโครโมโซม 46 โครโมโซม หากนํ ามาจัดเป็ นคูจะได ้ 23 คูซงจะมี 22 คู่ ทีเหมือนกันในเพศชาย

และเพศหญิงเราจะเรียกคูโครโมโซมเหล่านีวา โครโมโซมร่างกาย (autosome) ซึงจะมีบทบาทในการกําหนดลักษณะทาง
                      ่              6 ่

พันธุกรรมต่างๆในร่างกาย

            สําหรับโครโมโซมทีเหลืออีก 1 คูจากทังหมด 23 คู่ จะเป็ นโครโมโซมทีทําหน ้าทีกําหนดเพศ เรียกว่า โครโมโซมเพศ
                                          ่    6

(Sex chromosome) โดยโครโมโซมจะเป็ นการจับคูกนของโครโมโซม 2 ตัวทีมีลกษณะต่างกันคือ โครโมโซม X เป็ นตัวกําหนด
                                           ่ ั                     ั

เพศหญิง และโครโมโซม Y เป็ นตัวกําหนดเพศชาย ซึงมีขนาดเล็กกว่าโครโมโซม X
[แก]้ การเกิดเพศหญิงเพศชาย

                                 6                                                   ื
            เซลล์เพศทีถูกสร ้างขึนมาแต่ละเซลล์จะมีโครโมโซมเพศเพียงชุดเดียวโดยทีเซลล์สบพันธุเพศชาย (สเปิ รม) จะมี
                                                                                           ์             ์

      ื
เซลล์สบพันธุ์ ซึงมีโครโมโซม 2 ชนิด คือ 22+X หรือ 22+Y ส่วนเซลล์สบพันธุของเพศหญิงจะมีโครโมโซมได ้เพียงชนิด
                                                                ื     ์

เดียว คือ 22+X ดังนันโอกาสในการเกิดทารกเพศหญิง (โครโมโซม 44+XX) หรือทารกเพศชาย (โครโมโซม 44+XY) จึงเท่ากัน
                    6

ขึนอยูกบ
  6   ่ ั  สเปิ รมทีเข ้าผสมกับไข่จะเป็ นสเปิ รมชนิดใด
                 ์                             ์


            โครโมโซมในร่างกายมนุษย์มทงหมด 46 แท่ง แบ่งเป็ น
                                    ี ั6


      1.    โครโมโซมร่างกาย (autosome) จํานวน 44 แท่ง

      2.    โครโมโซมเพศ (sex chromosome) จํานวน 2 แท่ง มีรปแบบเป็ น XX หรือ XY
                                                          ู


            มนุษย์ผู ้หญิงมีโครโมโซม 44+XX แท่ง

            มนุษย์ผู ้ชายมีโครโมโซม 44+XY แท่ง

            เซลล์ไข่มโครโมโซม 22+X แท่ง
                     ี
เซลล์อสุจมโครโมโซม 22+X แท่ง หรือ 22+Y แท่ง
         ิ ี

More Related Content

What's hot

การแบ่งเซลล์
การแบ่งเซลล์การแบ่งเซลล์
การแบ่งเซลล์พัน พัน
 
ชีววิทยา เรื่อง การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส mitosis
ชีววิทยา เรื่อง การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส mitosisชีววิทยา เรื่อง การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส mitosis
ชีววิทยา เรื่อง การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส mitosiskasidid20309
 
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์Kankamol Kunrat
 
การแบ่งเซลล์
การแบ่งเซลล์การแบ่งเซลล์
การแบ่งเซลล์Pew Juthiporn
 
Cell and structure of cell
Cell and structure of cellCell and structure of cell
Cell and structure of cellPhattarawan Wai
 
โอลิมปิก สอวน.
โอลิมปิก สอวน.โอลิมปิก สอวน.
โอลิมปิก สอวน.itualeksuriya
 
2ติวสสวทเซลล์
2ติวสสวทเซลล์2ติวสสวทเซลล์
2ติวสสวทเซลล์Wichai Likitponrak
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง ยีนและโครโมโซม
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง ยีนและโครโมโซมหน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง ยีนและโครโมโซม
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง ยีนและโครโมโซมWichai Likitponrak
 
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
บทที่  16  ยีนและโครโมโซมบทที่  16  ยีนและโครโมโซม
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซมPinutchaya Nakchumroon
 
เซเรบอส Brands วิชาชีววิทยา (192 หน้า) new
เซเรบอส Brands วิชาชีววิทยา (192 หน้า) newเซเรบอส Brands วิชาชีววิทยา (192 หน้า) new
เซเรบอส Brands วิชาชีววิทยา (192 หน้า) newfindgooodjob
 
ยีนและโครโมโซม
ยีนและโครโมโซมยีนและโครโมโซม
ยีนและโครโมโซมComputer ITSWKJ
 
โครงสร้างของเซลล์
โครงสร้างของเซลล์โครงสร้างของเซลล์
โครงสร้างของเซลล์chawisa44361
 

What's hot (20)

01เอกสารสอนเสริม01 16
01เอกสารสอนเสริม01 1601เอกสารสอนเสริม01 16
01เอกสารสอนเสริม01 16
 
4
44
4
 
การแบ่งเซลล์
การแบ่งเซลล์การแบ่งเซลล์
การแบ่งเซลล์
 
ชีววิทยา เรื่อง การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส mitosis
ชีววิทยา เรื่อง การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส mitosisชีววิทยา เรื่อง การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส mitosis
ชีววิทยา เรื่อง การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส mitosis
 
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
 
การแบ่งเซลล์
การแบ่งเซลล์การแบ่งเซลล์
การแบ่งเซลล์
 
Cell and structure of cell
Cell and structure of cellCell and structure of cell
Cell and structure of cell
 
โอลิมปิก สอวน.
โอลิมปิก สอวน.โอลิมปิก สอวน.
โอลิมปิก สอวน.
 
เซลล์
เซลล์เซลล์
เซลล์
 
2ติวสสวทเซลล์
2ติวสสวทเซลล์2ติวสสวทเซลล์
2ติวสสวทเซลล์
 
Cell
CellCell
Cell
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง ยีนและโครโมโซม
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง ยีนและโครโมโซมหน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง ยีนและโครโมโซม
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง ยีนและโครโมโซม
 
โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)
โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)
โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 
Cell2558
Cell2558Cell2558
Cell2558
 
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
บทที่  16  ยีนและโครโมโซมบทที่  16  ยีนและโครโมโซม
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
 
เซเรบอส Brands วิชาชีววิทยา (192 หน้า) new
เซเรบอส Brands วิชาชีววิทยา (192 หน้า) newเซเรบอส Brands วิชาชีววิทยา (192 หน้า) new
เซเรบอส Brands วิชาชีววิทยา (192 หน้า) new
 
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
 
ยีนและโครโมโซม
ยีนและโครโมโซมยีนและโครโมโซม
ยีนและโครโมโซม
 
โครงสร้างของเซลล์
โครงสร้างของเซลล์โครงสร้างของเซลล์
โครงสร้างของเซลล์
 

Viewers also liked

خطط منوعة لحفظ القرآن
خطط منوعة لحفظ القرآنخطط منوعة لحفظ القرآن
خطط منوعة لحفظ القرآنReema Reema
 
พันธุกรรม
พันธุกรรมพันธุกรรม
พันธุกรรมkruyaippk
 
Computer past 1
Computer past 1Computer past 1
Computer past 1krudeaw
 
Computer past 1
Computer past 1Computer past 1
Computer past 1krudeaw
 
Computer networks--network
Computer networks--networkComputer networks--network
Computer networks--networkAyush Bhardwaj
 
Translations from german into czech
Translations from german into czechTranslations from german into czech
Translations from german into czechIrakli Ninua
 
Media dakwah @ internet
Media dakwah @ internetMedia dakwah @ internet
Media dakwah @ internetgustiadona
 
Validação de sistemas computadorizados
Validação de sistemas computadorizadosValidação de sistemas computadorizados
Validação de sistemas computadorizadosinetep
 
Computer past 1
Computer past 1Computer past 1
Computer past 1krudeaw
 
แหล่งโบราณคดีบ้านโป่งมะนาว [โหมดความเข้ากันได้]
แหล่งโบราณคดีบ้านโป่งมะนาว [โหมดความเข้ากันได้]แหล่งโบราณคดีบ้านโป่งมะนาว [โหมดความเข้ากันได้]
แหล่งโบราณคดีบ้านโป่งมะนาว [โหมดความเข้ากันได้]krudeaw
 
V fabricoverveiw telkom
V fabricoverveiw telkomV fabricoverveiw telkom
V fabricoverveiw telkomAbdul Zaelani
 
برنامج رمضاني يومي
برنامج رمضاني يوميبرنامج رمضاني يومي
برنامج رمضاني يوميReema Reema
 
เครื่องมือทางภูมิศาสตร์
เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ เครื่องมือทางภูมิศาสตร์
เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ krudeaw
 
Maximizing Linked In
Maximizing Linked InMaximizing Linked In
Maximizing Linked InRod Arnold
 

Viewers also liked (14)

خطط منوعة لحفظ القرآن
خطط منوعة لحفظ القرآنخطط منوعة لحفظ القرآن
خطط منوعة لحفظ القرآن
 
พันธุกรรม
พันธุกรรมพันธุกรรม
พันธุกรรม
 
Computer past 1
Computer past 1Computer past 1
Computer past 1
 
Computer past 1
Computer past 1Computer past 1
Computer past 1
 
Computer networks--network
Computer networks--networkComputer networks--network
Computer networks--network
 
Translations from german into czech
Translations from german into czechTranslations from german into czech
Translations from german into czech
 
Media dakwah @ internet
Media dakwah @ internetMedia dakwah @ internet
Media dakwah @ internet
 
Validação de sistemas computadorizados
Validação de sistemas computadorizadosValidação de sistemas computadorizados
Validação de sistemas computadorizados
 
Computer past 1
Computer past 1Computer past 1
Computer past 1
 
แหล่งโบราณคดีบ้านโป่งมะนาว [โหมดความเข้ากันได้]
แหล่งโบราณคดีบ้านโป่งมะนาว [โหมดความเข้ากันได้]แหล่งโบราณคดีบ้านโป่งมะนาว [โหมดความเข้ากันได้]
แหล่งโบราณคดีบ้านโป่งมะนาว [โหมดความเข้ากันได้]
 
V fabricoverveiw telkom
V fabricoverveiw telkomV fabricoverveiw telkom
V fabricoverveiw telkom
 
برنامج رمضاني يومي
برنامج رمضاني يوميبرنامج رمضاني يومي
برنامج رمضاني يومي
 
เครื่องมือทางภูมิศาสตร์
เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ เครื่องมือทางภูมิศาสตร์
เครื่องมือทางภูมิศาสตร์
 
Maximizing Linked In
Maximizing Linked InMaximizing Linked In
Maximizing Linked In
 

Similar to Bbb

การถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม.pptx
การถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม.pptxการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม.pptx
การถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม.pptxssuser4ff757
 
ยีนและโครโมโซม กลุ่มที่2
ยีนและโครโมโซม กลุ่มที่2ยีนและโครโมโซม กลุ่มที่2
ยีนและโครโมโซม กลุ่มที่2naan1338
 
ยีนและโครโมโซม กลุ่ม 2
ยีนและโครโมโซม กลุ่ม 2ยีนและโครโมโซม กลุ่ม 2
ยีนและโครโมโซม กลุ่ม 2room62group2
 
ยีนและโครโมโซม ม.6/2 กลุ่มที่2 โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯ
ยีนและโครโมโซม ม.6/2 กลุ่มที่2 โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯยีนและโครโมโซม ม.6/2 กลุ่มที่2 โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯ
ยีนและโครโมโซม ม.6/2 กลุ่มที่2 โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯroom62group2
 
Gene chromosome
Gene chromosomeGene chromosome
Gene chromosomeAngel Jang
 
ยีนและโครโมโซม
ยีนและโครโมโซมยีนและโครโมโซม
ยีนและโครโมโซมAngel Jang
 
พันธุกรรม
พันธุกรรมพันธุกรรม
พันธุกรรมkrudararad
 
พันธุกรรม2
พันธุกรรม2พันธุกรรม2
พันธุกรรม2wijitcom
 
Pont มุนี
Pont มุนีPont มุนี
Pont มุนีmu_nin
 
งานชีววิทยา
งานชีววิทยางานชีววิทยา
งานชีววิทยาPa Paveena
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตsupreechafkk
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตTakky Pinkgirl
 
ระบบสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต - Reprodutive system
ระบบสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต - Reprodutive systemระบบสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต - Reprodutive system
ระบบสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต - Reprodutive systemsupreechafkk
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)Thanyamon Chat.
 

Similar to Bbb (20)

การถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม.pptx
การถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม.pptxการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม.pptx
การถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม.pptx
 
pantugam
pantugampantugam
pantugam
 
ยีนและโครโมโซม กลุ่มที่2
ยีนและโครโมโซม กลุ่มที่2ยีนและโครโมโซม กลุ่มที่2
ยีนและโครโมโซม กลุ่มที่2
 
ยีนและโครโมโซม กลุ่ม 2
ยีนและโครโมโซม กลุ่ม 2ยีนและโครโมโซม กลุ่ม 2
ยีนและโครโมโซม กลุ่ม 2
 
ยีนและโครโมโซม ม.6/2 กลุ่มที่2 โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯ
ยีนและโครโมโซม ม.6/2 กลุ่มที่2 โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯยีนและโครโมโซม ม.6/2 กลุ่มที่2 โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯ
ยีนและโครโมโซม ม.6/2 กลุ่มที่2 โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯ
 
อุปกรณ์
อุปกรณ์อุปกรณ์
อุปกรณ์
 
Gene2003
Gene2003Gene2003
Gene2003
 
Gene chromosome
Gene chromosomeGene chromosome
Gene chromosome
 
ยีนและโครโมโซม
ยีนและโครโมโซมยีนและโครโมโซม
ยีนและโครโมโซม
 
Gene
GeneGene
Gene
 
Genetics
GeneticsGenetics
Genetics
 
พันธุกรรม
พันธุกรรมพันธุกรรม
พันธุกรรม
 
พันธุกรรม2
พันธุกรรม2พันธุกรรม2
พันธุกรรม2
 
B03
B03B03
B03
 
Pont มุนี
Pont มุนีPont มุนี
Pont มุนี
 
งานชีววิทยา
งานชีววิทยางานชีววิทยา
งานชีววิทยา
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 
ระบบสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต - Reprodutive system
ระบบสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต - Reprodutive systemระบบสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต - Reprodutive system
ระบบสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต - Reprodutive system
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
 

Bbb

  • 1. โครโมโซม จากวิกพเดีย สารานุกรมเสรี ิ ี โครโมโซมมนุษย์ โครโมโซม (chromosome) เป็ นทีอยูของ ่ หน่วยพันธุกรรมซึงทําหน ้าทีควบคุมและถ่ายทอดข ้อมูล เกียวกับ ลักษณะทางพันธุกรรมต่างๆ ของสิงมีชวต เช่น ลักษณะของเส ้นผม ลักษณะดวงตา เพศ และผิว ี ิ การศึกษาลักษณะโครโมโซม จะต ้องอาศัยการดูด ้วยกล ้องจุลทรรศน์ทกําลังขยายสูงๆ จึงจะสามารถ มองเห็น ี รายละเอียดของโครโมโซมได ้ หน่วยพ ันธุกรรม หรือ ยีน ( อังกฤษ: Gene) ปรากฏอยูบนโครโมโซม ประกอบด ้วยดีเอ็นเอ ทําหน ้าที ่ ี ิ ี ิ ่ ่ ู กําหนดลักษณะ ทางพันธุกรรมต่าง ๆ ของสิงมีชวต หน่วยพันธุกรรม จะถูกถ่ายทอดจากสิงมีชวต รุนก่อนหน ้าสูลกหลาน เช่น ควบคุมกระบวนทีเกียวกับกิจกรรมทัว ๆ ไปทาง ี ชวเคมีภายในเซลล์ของสิงมีชวต ไปจนถึงลักษณะปรากฏทีพบเห็นหรือ ี ิ ั สังเกตได ้ด ้วยตา เช่น รูปร่างหน ้าตาของเด็กทีมีบางส่วนเหมือนกับแม่, สีสนของดอกไม ้, รสชาติของอาหารนานาชนิด ล ้วนแล ้วแต่ 6 6 เป็ นลักษณะทีบันทึกอยูในหน่วยพันธุกรรมทังสิน ่ เนือหา [ ่ ซอน] การค ้นพบ 1 2 ลักษณะของโครโมโซม 3 รูปร่าง ลักษณะ และจํานวน โครโมโซม 4 ยีนกับโครโมโซม 5 มัลติเปิ ลอัลลีนส ์ 6 ยีนในโครโมโซมเดียวกัน ิ 7 จํานวนโครโมโซมของสงมีชวต ี ิ 8 การกําหนดเพศในมนุษย์ 9 การเกิดเพศหญิงเพศชาย [แก]้ การค ้นพบ
  • 2. ประมาณปี ค.ศ. 1860 เกรเกอร์ เมนเดล (Gregor Mendel) ได ้ศึกษาลักษณะต่างๆของต ้นถัว ลันเตา ทีมีการถ่ายทอดจากรุนหนึง ไปยังต ้นถัวทีปลูกในรุนถัดๆไป เขาตังสมมุตฐานว่า มีอะไรบางอย่าง นําลักษณะต่างๆ จาก ่ ่ 6 ิ ่ ุ่ รุนพ่อแม่ ไปสูรนลูก ่ การ หน่วยพันธุกรรมทีเมนเดลค ้นพบนัน เมนเดลไม่ได ้มองเห็นหน่วยพันธุกรรมจริง เพียงแต่อาศัยข ้อมูล ทีได ้จาก 6 ทดลอง และหาเหตุผลทางคณิตศาสตร์ หน่วยพันธุกรรมทีเมนเดลค ้นพบ เป็ นเพียงนามธรรมเท่านัน (และเขาก็ไม่ได ้ ์ 6 ใช ้คําว่า ยีน หรือ หน่วยพันธุกรรม โดยตรง) แล ้วยีนอยูทไหน? ่ ี ี ชววิทยากลุมหนึงทีใชกล ้องจุลทรรศน์ เป็ นเครืองค ้นคว ้า ได ้พบ ในขณะทีเมนเดลค ้นคว ้าอยูนัน นัก ่ 6 ่ ้ รายละเอียดของเซลล์มากขึน จนกระทัง พ.ศ. 2432 นักชีววิทยาจึงสามารถ เห็นรายละเอียดภายในนิวเคลียส ขณะทีมีการ 6 แบ่งเซลล์ ได ้พบว่าภายในนิวเคลียส มีโครงสร ้างทีติดสีได ้และมีลกษณะเป็ นเส ้นใย เรียกว่า โครโมโซม (Chromosome) ั ปี พ.ศ. 2445 หลังจากการค ้นพบผลงานของเมนเดล 2 ปี ั วอลเตอร์ ซตตัน นักชีววิทยาชาวอเมริกน ั และ เทโอดอร์ โบเฟรี นักชีววิทยาชาวเยอรมัน ได ้เสนอว่า "หน่วยพันธุกรรมทีเมนเดลค ้นพบ อยูในโครโมโซม" ซัตตัน ์ ่ ได ้ศึกษาเซลล์ในอัณฑะตัJกแตน และเสนอไว ้ว่าโครโมโซม ทีเข ้าคูกนในขณะทีมีการแบ่งเซลล์แบบไมโอซส จะ ่ ั ิ แยกจากกันไปอยูตางเซลล์กน เหมือนการแยกของยีนทีเป็ นแอลลีนกัน ตามกฎแห่งการแยกตัว จึงสรุปได ้ว่ายีนอยูบน ่ ่ ั ่ โครโมโซม [แก]้ ลักษณะของโครโมโซม ่ โครโมโซมมนุษย์ชวง เมทาเฟส. ในภาวะปกติเมือมองผ่านกล ้องจุลทรรศน์จะเห็นโครโมโซมมีลกษณะคล ้ายเส ้นด ้ายบางๆ เรียกว่า “ ั โครมา ติน (chromatin) ” ขดตัวอยูในนิวเคลียส เมือเซลล์เริมแบ่งตัว เส ้นโครมาตินจะหดตัวสันเข ้ามีลกษณะเป็ นแท่ง จึงเรียกว่า ่ 6 ั “โครโมโซม” แต่ละโครโมโซมประกอบด ้วยแขนสองข ้างทีเรียกว่า “โครมาทิด (chromatid) ” ซึงแขนทังสองข ้างจะมีจดเชือมกัน 6 ุ เรียกว่า “เซนโทรเมียร์ ( centromere) โครโมโซมเป็ นโครงสร ้างทีอยูในนิวเคลียสของเซลล์ ในขณะทีเซลล์ไม่แบ่งตัว โครโมโซมจะยืดยาวออกคล ้ายเส ้นใย ่ เล็กๆ สานกันอยูในนิวเคลียส เมือมีการแบ่งเซลล์จะมีการแบ่งโครโมโซม โดยโครโมโซมจะจําลองตัวเองขึนมา เป็ นเส ้นคูท ี ่ 6 ่ 6 เหมือนกันทุกประการ แล ้วค่อยๆ ขดตัวสันเข ้า โครโมโซมจะโตมาก การศึกษาโครโมโซมจึงต ้องศึกษาในระยะแบ่งเซลล์ ถ ้ามี เทคนิคในการเตรียมทีดี ก็จะสามารถมองเห็นรูปร่างลักษณะ ของโครโมโซมจากกล ้องจุลทรรศน์ และอาจนับจํานวนโครโมโซมได ้
  • 3. โครโมโซม เป็ นโครงสร ้างทีอยูในนิวเคลียสของเซลล์ ในขณะทีเซลล์ไม่แบ่งตัวหรืออยูในระยะ ่ ่ อินเตอร์เฟต (interphase) เราจะไม่เห็นโครโมโซมเนืองจากโครโมโซมอยูในลักษณะเป็ นเส ้นใยเล็กๆ สานกันอยูในนิวเคลียส เส ้นใยนีเรียกว่า ่ ่ 6 โครมาทิน (Chromatin) แต่เมือเซลล์จะแบ่งตัวโครมาทินแต่ละเส ้นจะแบ่งจาก 1 เป็ น 2 เส ้น แล ้วขดตัวสันเข ้า และหนาขึนจน 6 6 มองเห็นเป็ นแท่งในระยะ โพรเฟส และ เมทาเฟส และเรียกชือใหม่วา โครโมโซม ทําให ้เรามองเห็นรูปร่างลักษณะและ ่ จํานวนโครโมโซมได ้ โครโมโซมทีเห็นได ้ชัดในระยะเมทาเฟต ประกอบด ้วย โครมาทิด 2 อัน ยึดติดกันตรงเซนโทรเมียร์ ส่วนของ โครโมโซมทียืนออกไปจากเซนโทรเมียร์ เรียกว่า แขน อันสันเรียกว่า แขนสัน อันยาวเรียกว่า แขนยาว ในโครโมโซมบางอัน มีเนือโครโมโซมเล็กๆ ยึดติดกับส่วนใหญ่โดยเส ้น 6 6 6 เล็กๆ เรียกว่า เนือโครโมโซมเล็กๆ นันว่า stellite และเส ้นโครโมโซมเล็กๆ นัน เรียกว่า secondary constriction 6 6 6 โครมาทิน เป็ นสาร นิวคลีโอโปรตีน ซึงก็คอ DNA สายยาวสายเดียวทีพันรอบโปรตีนทีชือ ฮ ี ื สโทน (histone) เอาไว ้ ทําให ้รูปร่างโครมาทินคล ้ายลูกปัดทีเรียงต่อๆ กัน แล ้วมี DNA พันรอบลูกปัดนัน ในเซลล์ทวๆ ไป เมือ 6 ั ย ้อมสีเซลล์ ส่วนของโครมาทินจะติดสีได ้ดีและมองดูคล ้ายตาข่างละเอียดๆ จึงเห็นนิวเคลียสชัดเจน [แก]้ รูปร่าง ลักษณะ และจํานวนโครโมโซม แต่ละโครโมโซมประกอบด ้วย 2 โครมาทิด ทีเหมือนกัน ซึงเกิดจากการทีโครโมโซมจําลองตัวเองในระยะอินเตอร์เฟส (Interphase) เพือจะแยกออกจากกันในระยะแอนาเฟส anaphase ของการแบ่งเซลล์ โครมาทิดทังสองจะติดกันอยูตรงส่วนที 6 ่ เรียกว่า เซนโทรเมียร์ (Centromere) รวมเรียกเซนโทรเมียร์แบ่งเป็ น 2 ส่วน แต่ละโครมาทินก็เรียกว่าโครโมโซม นันคือ 1 โครโมโซม มี 1 เซนโทรเมียร์ โครโมโซม ของเซลล์รางกายจะอยูกนเป็ นคูๆ แต่ละคูเรียกว่า โฮโมโลกัสโครโมโซม (Homologous ่ ่ ั ่ ่ Chromosome) การนํ าโครโมโซมขนาดต่างๆ มาเรียงกันกันเรียกว่า แครีโอไทป์ (Karyotype) โดยจําแนกตามลักษณะ ขนาด และตําแหน่งของเซนโทรเมียร์อาจจะอยูตรงกลาง ค่อนไปทางปลาย หรือ ปลายโครโมโซม จึงแบ่งลักษณะโครโมโซมเป็ นแบบ ่ ต่างๆ ได ้ดังนี6 1. Metacentric เมตาเซนตริก เป็ นโครโมโซมทีมีแขนยืน 2 ข ้างออกจากเซนโทรเมียร์เท่ากันหรือเกือบเท่ากัน 2. Submetacentric ซับเมตาเซนตริก เป็ นโครโมโซมทีมีแขนยืนออกมา 2 ข ้างจากเซนโทรเมียร์ไม่เท่ากัน 3. Acrocentric อะโครเซนตริก เป็ นโครโมโซมทีมีลกษณะเป็ นแท่ง โดยมีเซนโทรเมียร์อยูใกล ้กับปลายข ้างใดข ้างหนึง จึง ั ่ เห็นส่วนเล็กๆ ยืนออกจากเซนโทรเมียร์ 4. Telocentric เทโลเซนตริก เป็ นโครโมโซมทีมีลกษณะเป็ นแท่ง โดยมีเซนโทรเมียร์อยูตอนปลายสุดของโครโมโซม ั ่ โครมาทิต 2 โครมาทิต มีตวเชือมคือ เซนโทรเมียร์ ั [แก]้ ยีนกับโครโมโซม ยีน หมายถึง ส่วนของ DNA ทีทําหน ้าทีถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม โครโมโซม เป็ นโครงสร ้างทีมี DNA และโปรตีน เป็ นองค์ประกอบ โครโมโซมจึงเป็ นทีอยูของยีน และในแต่ละโครโมโซมมียนอีกมากมายมาเรียงต่อๆกัน ดังนันลักษณะทาง ่ ี 6 พันธุกรรม ทีถูกถ่ายทอดไปจึงถูกควบคุม โดยยีนในโครโมโซมนันเอง ซึงแบ่งเป็ น 2 ประเภท คือ ยีนในออโตโซม และยีนใน โครโมโซมเพศ [แก]้ มัลติเปิ ลอัลลีนส ์
  • 4. มัลติเปิ ลอัลลีนส ์ (Multiple alleles) คือ กลุมของอัลลีลส์ทมียนควบคุมลักษณะ มากกกว่า 2 แบบขึนไป ่ ี ี 6 ควบคุมลักษณะใดลักษณะหนึงของสิงมีชวต กฎของเมนเดลสามารถใช ้ทํานายโอกาสทีจะเกิดหมูเลือด หมูใดหมูหนึงได ้ ี ิ ่ ่ ่ [แก]้ ยีนในโครโมโซมเดียวกัน เนืองจากในโครโมโซมแต่ละแท่งมียนอยูมากมาย ถ ้ากลุมของยีนทีอยูบนโครโมโซมเดียวกัน ถูกถ่ายทอดไปพร ้อมกัน ี ่ ่ ่ โดยไม่แยกตัวไปรวมกลุมกันอย่างอิสระตามกฎข ้อที 2 ของเมนเดล ยีนเหล่านีเรียกว่า ยีนทีเกียวเนืองกัน หรือ ลิงก์ยน (linked ่ 6 ี gene) ิ ี ิ [แก]้ จํานวนโครโมโซมของสงมีชวต ี ิ ี ิ จํานวนโครโมโซมของสิงมีชวตชนิดหนึงๆ จะมีจํานวนเท่ากันเสมอ สิงมีชวตต่างชนิดกันอาจมีจํานวนโครโมโซมเท่ากัน ได ้ ด ้วยเหตุนนักวิทยาศาสตร์จงไม่ใช ้จํานวนของโครโมโซมมาจําแนกความแตกต่างระหว่างสิงมีชวตแต่ละชนิด เช่น แม ้ว่าจํานวน ี6 ึ ี ิ ี ิ โครโมโซมจะมาก แต่กลับไม่มผลต่อขนาดของสิงมีชวต ตัวอย่างทีเห็นได ้ชัดคือ ี ยูกลีนา ทีมีขนาดเล็กมากแม ้มีจํานวน โครโมโซมถึง 90 แท่ง หรือ 45 คู่ ี ิ สิงมีชวตชนิดต่างๆ มีจํานวนโครโมโซมแตกต่างกัน จํานวนโครโมโซมในเซลล์รางกายทัวไปมีอยู่ 2 ชุด หรือเรียกว่า 2n ่ ื ส่วนในเซลล์สบพันธุมจํานวนโครโมโซมเพียงชุดเดียวเรียกว่า n หรือ จํานวนแฮพลอยด์ ์ ี [แก]้ การกําหนดเพศในมนุษย์ ี ิ การกําหนดเพศของสิงมีชวต โดยทัวไปจะพิจารณาจากลักษณะของโครโมโซม ี ่ ่ ึ สําหรับในมนุษย์มจํานวนโครโมโซม 46 โครโมโซม หากนํ ามาจัดเป็ นคูจะได ้ 23 คูซงจะมี 22 คู่ ทีเหมือนกันในเพศชาย และเพศหญิงเราจะเรียกคูโครโมโซมเหล่านีวา โครโมโซมร่างกาย (autosome) ซึงจะมีบทบาทในการกําหนดลักษณะทาง ่ 6 ่ พันธุกรรมต่างๆในร่างกาย สําหรับโครโมโซมทีเหลืออีก 1 คูจากทังหมด 23 คู่ จะเป็ นโครโมโซมทีทําหน ้าทีกําหนดเพศ เรียกว่า โครโมโซมเพศ ่ 6 (Sex chromosome) โดยโครโมโซมจะเป็ นการจับคูกนของโครโมโซม 2 ตัวทีมีลกษณะต่างกันคือ โครโมโซม X เป็ นตัวกําหนด ่ ั ั เพศหญิง และโครโมโซม Y เป็ นตัวกําหนดเพศชาย ซึงมีขนาดเล็กกว่าโครโมโซม X [แก]้ การเกิดเพศหญิงเพศชาย 6 ื เซลล์เพศทีถูกสร ้างขึนมาแต่ละเซลล์จะมีโครโมโซมเพศเพียงชุดเดียวโดยทีเซลล์สบพันธุเพศชาย (สเปิ รม) จะมี ์ ์ ื เซลล์สบพันธุ์ ซึงมีโครโมโซม 2 ชนิด คือ 22+X หรือ 22+Y ส่วนเซลล์สบพันธุของเพศหญิงจะมีโครโมโซมได ้เพียงชนิด ื ์ เดียว คือ 22+X ดังนันโอกาสในการเกิดทารกเพศหญิง (โครโมโซม 44+XX) หรือทารกเพศชาย (โครโมโซม 44+XY) จึงเท่ากัน 6 ขึนอยูกบ 6 ่ ั สเปิ รมทีเข ้าผสมกับไข่จะเป็ นสเปิ รมชนิดใด ์ ์ โครโมโซมในร่างกายมนุษย์มทงหมด 46 แท่ง แบ่งเป็ น ี ั6 1. โครโมโซมร่างกาย (autosome) จํานวน 44 แท่ง 2. โครโมโซมเพศ (sex chromosome) จํานวน 2 แท่ง มีรปแบบเป็ น XX หรือ XY ู มนุษย์ผู ้หญิงมีโครโมโซม 44+XX แท่ง มนุษย์ผู ้ชายมีโครโมโซม 44+XY แท่ง เซลล์ไข่มโครโมโซม 22+X แท่ง ี