SlideShare a Scribd company logo
1 of 41
1. หลัก สูตรมาจากภาษาอังกฤษ คือ Curriculum
2. Currer มาจากภาษาลาติน หมายถึง ทางวิ่ง หรือ ลู่วิ่ง
3. โอ ลิวา รวบรวมความหมายของหลักสูตรไว้กี่ความหมาย อะไรบ้าง รวบรวมไว้ 13 ความหมาย
ประกอบด้วย หลักสูตรคือ
- สิ่ง ที่สอนในโรงเรียน
- เนื้อหาวิชา
- โปรแกรม สาหรับการเรียน
- กลุ่มของวัสดุอุปกรณ์
- กลุ่มวิชา
- ลาดับของรายวิชา
- จุด มุ่งหมายที่ผู้เรียนพึงบรรลุ
- ราย วิชาที่จะศึกษา
- ทุก สิ่งทุกอย่างที่ดาเนินภายในโรงเรียนและกิจกรรมนอกชั้นเรียน การแนะแนว รวมทั้งบุคคลที่เกี่ยวข้อง
- สิ่ง ที่สอนทั้งในและนอกห้องเรียน โดยการดูแลจากโรงเรียน
- ทุก สิ่งที่ได้วางแผนจากบุคลากรในโรงเรียน
- ลาดับขั้นตอนของประสบการณ์ที่โรงเรียนจัดให้แก่ผู้เรียน
- ผลของประสบการณ์ที่ผู้เรียนแต่ละคนได้รับมาจากโรงเรียน
4. ความ หมายของหลักสูตรในวงกว้าง คือ
มวลประสบการณ์ทั้งหลายที่จัดให้แก่ผู้เรียนทั้งภายในและภายนอกโรงเรียนทั้ง ทางตรงและทางอ้อม
5. ความ หมายของหลักสูตรในวงแคบ คือ วิชาหรือเนื้อหาที่สอน
6. ความ หมายของหลักสูตรยังแบ่งออกอีกเป็น 2 กลุ่มประกอบด้วย
1) สิ่งที่เป็นเอกสาร 2) เป็น เอกสารและกิจกรรม หรือประสบการณ์
7. สิ่ง ที่เป็นเอกสารในคานิยามของหลักสูตร ประกอบด้วย
คู่มือครู หน่วยการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ หนังสือเรียน หนังสือเสริมประสบการณ์
ตลอดจนสื่อและอุปกรณ์การเรียนแบบต่าง ๆ
8. Curriculumelements หมายถึง องค์ประกอบของหลักสูตร
9. องค์ ประกอบของหลักสูตร หมายถึง การจัดระบบโครงสร้างภายในของหลักสูตร
10. สรุป แล้วองค์ประกอบของหลักสูตร ประกอบด้วยอะไรบ้าง ประกอบ ด้วย
1) หลักการและจุดมุ่งหมาย
2) เนื้อหาวิชาและเวลาเรียน
3) การ นาหลักสูตรไปใช้
4) การ ประเมินผล
11. ใคร เสนอแนวคิดการจัดการหลักสูตรแบบหลักการเหตุผล คือ ไทเลอร์ (Tyler)
12. ไท เลอร์ บอกองค์ประกอบของหลักสูตรไว้ คือ
1) จุด มุ่งหมายทางการศึกษา
2) ประสบการณ์ การเรียนรู้
3) มวลประสบการณ์
4) วิธีการประเมินผล
13. โบ ชอง ให้องค์ประกอบของหลักสูตร 4 ส่วนคือ
1) เป้ าหมายหรือวัตถุประสงค์เฉพาะ
2) ขอบ ข่ายเนื้อหา
3) การวางแผนการใช้หลักสูตร
4) การพิจารณาตัดสิน
14. ผล การเรียนรู้ นิยมเรียกว่า มาตรฐานการเรียนรู้
15. ขอบ ข่ายเนื้อหา เรียกอีกอย่างว่า สาระการเรียนรู้
16. แผน การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน หรือเรียกว่า แผนการจัดการเรียนรู้
17. หลัก การ คือ คุณสมบัติหรือแนวทางในการปฏิบัติเกี่ยวกับหลักสูตร
18. หลัก การมีหน้าที่อะไร บอกให้รู้ว่าหลักสูตรนั้น ๆ จัดขึ้นเพื่ออะไร
19. จุด มุ่งหมายของหลักสูตร มีหน้าที่คืออะไร จะบอกความคาดหวังของหลักสูตรว่าเมื่อเรียนจบแล้ว
จะมีคุณลักษณะอย่างไร ควรมีพฤติกรรมด้านปัญญา เจตคติค่านิยม
20. เนื้อหา วิชา คือ สื่อหรือเครื่องนาทางพาผู้เรียนไปสู่จุดมุ่งหมาย
21. เวลา เรียน คือ ส่วนกาหนดว่าต้องใช้เวลาเรียนหลักสูตรนี้ทั้งหมดกี่ปี
22. การ
นาหลักสูตรไปใช้ประกอบด้วย การแปลงหลักสูตรการสอน การจัดเตรียมสิ่งอานวยความสะดวก การสอ
น
23. การ ประเมินผล ประกอบด้วย การประเมินผลการเรียน การประเมินผลหลักสูตร
24. curriculum development คือ การพัฒนาหลักสูตร
25. การ พัฒนาหลักสูตร
หมายถึง การจัดทาหลักสูตรขึ้นมาใหม่ และ การจัดทาหลักสูตรที่มีอยู่แล้วให้ดีขึ้นยิ่งกว่าเดิม
26. การ พัฒนาหลักสูตรมีผลต่อปัจจัยด้านต่าง ๆ
ประกอบด้วย การพัฒนาเศรษฐกิจ การพัฒนาการเมืองและการปกครอง การพัฒนาสังคม การพัฒนาด้าน
วิชาการ การแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
27. รูป แบบการพัฒนาหลักสูตร ประกอบด้วย รูปแบบการพัฒนาหลักสูตรตามแนวคิดของ ราล์ฟ ไทเลอร์
(Ralph Tyler) ตามแนวคิดของฮิลดา ทาบา (HildaTaba) ตาม แนวคิดของเซเลอร์และคณะ (Saylorand
others)
28. รูป แบบการพัฒนาของราล์ฟ ไทเลอร์ ประกอบด้วย
1) มี จุดมุ่งหมายทางการศึกษา
2) ประสบการณ์ ทางการศึกษา
3) จะ จัดให้ประสบการณ์มีประสิทธิภาพอย่างไร
4) จะ ประเมินผลจุดมุ่งหมายอย่างไรให้มีประสิทธิภาพ
29. รูป แบบของไทเลอร์ ก่อนกาหนดจุดมุ่งหมายชั่วคราว ต้องอาศัยข้อมูลจาก 3 แหล่ง ประกอบด้วย
1) ผู้ เรียน
2) สังคม
3) เนื้อหาวิชา
30. แหล่ง ข้อมูลด้านผู้เรียน ของไทเลอร์
คือ ความต้องการ ความสนใจ ความสามารถ คุณลักษณะอันพึงประสงค์
31. แหล่ง ข้อมูลด้านสังคม ของไทเลอร์ คือ ค่านิยมความเชื่อ และแนวปฏิบัติในการดาเนินชีวิต
32. แหล่ง ข้อมูลด้านเนื้อหาวิชา คือ แนวคิดจากผู้เชี่ยวชาญและผลการวิจัย
33. รูป แบบพัฒนาหลักสูตรของทาบา มี 7 ขั้นตอน ประกอบด้วย
1) วินิจฉัย ความต้องการ
2) กาหนด จุดประสงค์
3) คัด เลือกเนื้อหา
4) จัด เนื้อหา
5) เลือกประสบการณ์การเรียนรู้
6) จัด ประสบการณ์การเรียนรู้
7) กาหนด สิ่งที่ประเมินและวิธีการประเมิน
34. รูป แบบพัฒนาหลักสูตรของเซเลอร์ และคณะ ประกอบด้วย การกาหนดเป้ าหมาย
จุดประสงค์และขอบเขตความรู้ การออกแบบหลักสูตร การนาหลักสูตรไปใช้ การประเมินหลักสูตร
35. หลัก สูตรสถานศึกษา ตรงกับภาษาอังกฤษ ว่า Schoolbasedcurriculumหรือ schoolcurriculum
36. การ พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา อาศัยหลักสูตรใด หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551
37. ขั้น ตอนแรกของการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา คือ ศึกษาข้อมูลที่เกี่ยวข้องประกอบด้วย
หลักสูตรแกนกลาง 2551 กรอบหลักสูตรท้องถิ่น บริบทความต้องการของสถานศึกษา
38. การ จัดทาหลักสูตรสถานศึกษา มีกี่ลักษณะ อะไรบ้าง มี 2 ลักษณะ คือ ระดับสถานศึกษา ระดับชั้นเรียน
39. องค์ ประกอบของหลักสูตรสถานศึกษา ระดับสถานศึกษา มีอะไรบ้าง
1) ส่วน นา
2) โครง สร้างหลักสูตรสถานศึกษา
3) คาอธิบายรายวิชา
4) เกณฑ์ การวัดและประเมินและเกณฑ์การจบหลักสูตร
40. องค์ ประกอบของหลักสูตรสถานศึกษา ระดับชั้นเรียน ประกอบด้วย
1) การ จัดโครงสร้างรายวิชา
2) การ ออกแบบหน่วยการเรียนรู้
3) การ จัดทาแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
41. การ พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาระดับใด เป็นหน้าที่ของครูผู้สอน ระดับชั้นเรียน
42. หลัก สูตรแบ่งได้กี่ประเภท อะไรบ้าง แบ่งได้ 4 ประเภท ประกอบด้วย
1) ประเภท เน้นเนื้อหาวิชา
2) ประเภท เน้นผู้เรียน
3) ประเภท เน้นสังคม
4) ประเภท เน้นการบูรณาการ
43. หลัก สูตรประเภทเน้นเนื้อหาวิชา ประกอบด้วย
1) หลักสูตรายวิชา
2) หลักสูตรสัมพันธ์วิชา
3) หลักสูตรหมวดวิชา
44. หลัก สูตรประเภทเน้นผู้เรียน ประกอบด้วย
1) หลักสูตรกิจกรรมหรือประสบการณ์
2) หลักสูตรเกณฑ์ความสามารถ
3) หลักสูตรเอกัตภาพ
45. หลัก สูตรประเภทเน้นสังคม ประกอบด้วย หลักสูตรเพื่อชีวิตและสังคม
46. หลัก สูตรประเภทเน้นการบูรณาการ ประกอบด้วย หลักสูตรแกน หลักสูตรบูรณาการ
47. Subjectcurriculum หมายถึง หลักสูตรรายวิชา
48. หลัก สูตรใดที่ถือว่าเก่าแก่ที่สุด หลักสูตรรายวิชา
49. หลัก สูตรใดที่ยึดปรัชญาแบบนิรันตรนิยมกับสารัตนิยม หลักสูตรรายวิชา
50. หลัก สูตรที่สอนแยกเป็นรายวิชา คือ หลักสูตรรายวิชา
51. correlatedcurriculum หมายถึง หลักสูตรสัมพันธ์วิชา
52. หลัก สูตรที่นาเนื้อหาวิชา 2-3 วิชาที่เกี่ยวข้องกันมาวางแผนการสอนร่วมกัน คือ หลักสูตรสัมพันธ์วิชา
53. broad fields curriculum หมายถึง หลักสูตรหมวดวิชา
54. หลัก สูตรใดที่นาเอาเนื้อหาวิชาที่เนื้อหา ศาสตร์ใกล้ชิดกัน มารวมในหมวดเดียวกัน หลักสูตรหมวดวิชา
เช่น หมวดวิทยาศาสตร์ ประกอบด้วย เคมีฟิสิกส์
55. activity or experiencecurriculum หมาย ถึง หลักสูตรกิจกรรมหรือประสบการณ์
56. หลัก สูตรใดจัดตามแนวปรัชญาการศึกษาพิพัฒนนิยม คือ หลักสูตรกิจกรรมหรือ ประสบการณ์
57. Progressivism คือ ปรัชญาการศึกษาพิพัฒนนิยม
58. หลัก สูตรกิจกรรมหรือประสบการณ์ เน้นด้านใด เน้นความสนใจของนักเรียน
หรือประสบการณ์ของนักเรียน
59. วิธี การเรียนที่ให้นักเรียนกาหนดเนื้อหาตามความสนใจเอง เรียกว่า วิธีเรียนแบบโครงการ (project
method)
60. competency-basedcurriculum หมายถึง หลักสูตรเกณฑ์ความสามารถ
61. หลัก สูตรที่เน้นพฤติกรรมที่นักเรียนสามารถทาให้มากกว่าเน้นเนื้อหา
คือหลักสูตรใด หลักสูตรเกณฑ์ความสามารถ
62. Individualized curriculum หมาย ถึง หลักสูตรเอกัตภาพ
63. หลัก สูตรใดจัดตามแนวปรัชญาภาวะนิยม คือหลักสูตรเอกัตภาพ
64. Existentialism คือ ปรัชญาภาวะนิยม
65. หลัก สูตรที่เกิดจากนักเรียนและครูร่วมกันวางแผน จัดตามความสนใจ
ความสามารถของตน คือหลักสูตรเอกัตภาพ
66. socialprocessandlife function curriculum หมาย ถึง หลักสูตรเพื่อชีวิตและสังคม
67. หลัก สูตรที่ยึดแนวปรัชญาปฏิรูปนิยม คือ หลักสูตรเพื่อชีวิตและสังคม
68. Reconstructionism คือ ปรัชญาปฏิรูปนิยม
69. หลัก สูตรเพื่อชีวิตและสังคมประกอบด้วย ด้านใหญ่ๆ คือ
1) ชีวิต ในสังคมและการดารงอยู่ของมนุษย์
2) ปัญหาของชุมชน
3) การ ดาเนินการเพื่อปรับปรุงสภาพสังคม
70. Core curriculum หมายถึง หลักสูตรแกน
71. หลัก สูตรแกน คือ หลักสูตรที่กาหนดให้มีส่วนแกน เน้นการบูรณาการเนื้อหาวิชามาหลอมเข้าด้วย กัน
72. หลัก สูตรแกน มี 4 ลักษณะ คือ
1) หลักสูตรแกนแบบหมวดวิชา
2) หลักสูตรแกนแบบหลอมวิชา
3) หลักสูตรที่ใช้ปัญหาเป็นแกน
4) หลักสูตรที่ใช้ความสนใจของผู้เรียนเป็นแกน
73. หลัก สูตรแกนแบบหมวดวิชา คือ หลักสูตรที่กาหนดหมวดหนึ่งเป็นแกน
แล้วเอาเนื้อหาจากหมวดอื่นมาสัมพันธ์กัน
74. หลัก สูตรแกนแบบหลอมวิชา คือ นาวิชาตั้งแต่ 2วิชามาหลอมเป็นวิชาเดียว โดยวิชาหนึ่งเป็นแกน
75. หลัก สูตรที่ใช้ปัญหาเป็นแกน คือ เลือกและกาหนดขอบเขตไว้ล่วงหน้า
นาปัญหาที่เลือกมาเป็นแกนจัดเนื้อหาเรียน
76. หลัก สูตรที่ใช้ความสนใจของผู้เรียนเป็นแกน คือ กาหนดเรื่องที่ผู้เรียนสนใจ
แล้วร่วมกันจัดทาหน่วยกิจกรรม
77. integrated curriculum หมายถึง หลักสูตรบูรณาการ
78. หลัก สูตรที่เน้นให้ผู้เรียนพัฒนาทุกด้าน คือ หลักสูตรบูรณาการ
79. กระบวน การบูรณาการมีลักษณะอย่างไรบ้าง มีลักษณะ
1) บูรณาการแบบผู้สอนคนเดียว
2) แบบคู่ขนาน
3) แบบสหวิทยาการ
4) แบบโครงการ
80. การ พัฒนาหลักสูตร ประกอบด้วยข้อมูลพื้นฐาน 2 ลักษณะ คือ ข้อมูลที่คงที่ ข้อมูลที่เป็นพลวัตร
81. ข้อมูล คงที่ (static) คือ ข้อมูลพื้นฐานทางปรัชญาการศึกษา และข้อมูลทางจิตวิทยา
82. ข้อมูล พลวัตร (dynamic) คือ ข้อมูลเกี่ยวกับสังคมผู้เรียน ความรู้
83. ปรัชญา การศึกษามีคุณค่า 5 ประการ ประกอบด้วย
1) ช่วย ในการตั้งคาถามที่ลึกซึ้ง
2) ช่วย ให้เกิดความเข้าใจ
3) ช่วย ขจัดความไม่สอดคล้องต้องกัน
4) ช่วย ให้เห็นภาพรวม
5) ช่วย เสนอแนวคิดใหม่
84. ปรัชญา มีความเกี่ยวข้องกับพื้นฐาน 3ประการ คือ
ธรรมชาติของความจริง ธรรมชาติของความรู้ ธรรมชาติของคุณค่า
85. reality คือ ธรรมชาติของความจริง
86. knowledge คือ ธรรมชาติของความรู้
87. values คือ ธรรมชาติของคุณค่า
88. การ ศึกษาธรรมชาติของความจริง เรียกว่า อภิปรัชญา (ontology)
89. การ ศึกษาธรรมชาติของความรู้ เรียกว่า ญาณวิทยา (epistemology)
90. การ ศึกษาธรรมชาติของคุณค่า เรียกว่า คุณวิทยา(axiology)
91. Essentialism หมายถึง สารัตนิยม
92. ผู้เผยแพร่ปรัชญาการศึกษาสารัตนิยม คือ แบคเลย์ (William Bagley)
93. สา รัตนิยม เกิดจากปรัชญาบริสุทธิ์ 2กลุ่ม คือ จิตนิยม กับ สัจนิยม
94. จิตนิยม คือ Idealism
95. สัจนิยม คือ Realism
96. ปรัชญา การศึกษาใดที่เน้นเนื้อหาวิชา ปรัชญาการศึกษาสารัตนิยม
97. สา รัตนิยม ใช้วิธีการสอนแบบใด แบบบรรยาย อภิปราย ให้ทาตามตัวอย่าง และวิธีอุปมาน
98. Perennialism คือ ปรัชญาการศึกษานิรันตรนิยม
99. ปรัชญา การศึกษาใดที่เน้นสอนเรื่องที่เป็นนิรันดร ไม่เปลี่ยนแปลง
มุ่งพัฒนาคนให้เป็นคนสมบูรณ์ คือ ปรัชญาการศึกษานิรันตรนิยม
100. ปรัชญา การศึกษา มีวิธีการสอนแบบใด เน้นการสอนฝึกสติปัญญา ให้ท่องจา
และถามตอบใช้เหตุผล
101. Progressivism คือ ปรัชญาการศึกษาพิพัฒนนิยม
102. ปรัชญา ใดพัฒนามาจากปรัชญาปฏิบัตินิยม คือ ปรัชญาการศึกษาพิพัฒนนิยม
103. ปรัชญา สาหรับสังคมประชาธิปไตย คือ พิพัฒนนิยม
104. ปรัชญา ใดที่เชื่อว่า ถ้าคุณภาพของกระบวนการดี คุณภาพของผลผลิตก็ดีด้วย คือ พิพัฒนนิยม
105. ปรัชญา การศึกษาใดยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง คือ พิพัฒนนิยม
106. ปรัชญา ที่เน้นว่า “คิดอย่างไร” มากกว่า “คิดอะไร” คือ พิพัฒนนิยม
107. Reconstructionism คือ ปรัชญาการศึกษาปฏิรูปนิยม
108. ปรัชญา การศึกษาปฏิรูปนิยม มีแนวคิดอย่างไร แนวคิดว่าการศึกษาควรจะช่วยปรับปรุง
พัฒนา และปฏิรูปสังคม ตลอดจนช่วยแก้ปัญหาของสังคม
109. ปรัชญา การศึกษาใด เป็นหลักสูตรที่เน้นสังคม คือ ปฏิรูปนิยม
110. ปรัชญา การศึกษาที่สอนโดยวิธีการสอนแบบร่วมมือ (cooperativemethods) คือ ปฏิรูปนิยม
111. Existentialism คือ ปรัชญาการศึกษาภาวะนิยม
112. ปรัชญา ใดเน้นตัวผู้เรียนรายบุคคล คือ ภาวะนิยม
113. individual child-centered คือ การศึกษาเน้นผู้เรียนรายบุคคล
114. ปรัชญา การศึกษาที่มุ่งส่งเสริมพัฒนาตนเอง อิสรภาพ การเลือก
และความรับผิดชอบ คือ ภาวะนิยม
115. Buddhist Philosophy คือ ปรัชญาการศึกษาตามแนวพุทธปรัชญา
116. ปรัชญา การศึกษาตามแนวพุทธปัญญา หมายถึง ปรัชญาการศึกษาที่มีรากฐานความเชื่อ
มากจากพุทธปรัชญา
117. จุด มุ่งหมายการศึกษาของพระพุทธศาสนา คือ ความหลุดพ้นจากทุกข์
118. ธรรมชาติ ของมนุษย์ที่แท้จริง คือ ทุกข์
119. จุด มุ่งหมายการศึกษาตามพุทธปรัชญาประกอบด้วย พัฒนาอกุศลมูลของนักเรียนให้ น้อยลง
รวมกันในสังคมด้วยหลักธรรมสารานิยธรรม 6อปริหานิยธรรม 7 สัปปุริสธรรม 7 ให้ผู้เรียนรู้จักคิด
ใช้เหตุผลและปัญหาแก้ปัญหา
120. ตาม พุทธปรัชญา ผู้สอนควรประกอบด้วยลักษณะใด ประกอบด้วย เป็นกัลยาณมิตร (เพื่อนดี)
ตั้งใจให้ความรู้ มีลีลาการสอน คือ แจ่มแจ้ง จูงใจแกล้วกล้าร่าเริง สอนอย่างรู้จริงมีเหตุผล
สอนให้ได้ผลจริงสาเร็จความมุ่งหมาย ปฏิบัติต่อศิษย์เหมือนทิศเบื้องขวา (ครู อาจารย์)
121. ตาม พุทธปรัชญา ผู้เรียนควรประกอบด้วยลักษณะใด ประกอบด้วย ปฏิบัติตนตามจักร 4
อิทธิบาท 4 คิดเองเป็น เป็นพหูสูต เคารพผู้ให้ความรู้
122. สรุป ปรัชญาการศึกษายึดอะไรเป็นหลักในการจัดการศึกษา ยึดแนวความคิดความเชื่อ ค่านิยม
หรืออุดมการณ์
123. ปรัชญา ที่ประยุกต์มาจากปรัชญาทั่วไปหรือปรัชญาบริสุทธิ์ประกอบด้วย
1) ปรัชญา การศึกษาสารัตนิยม
2) ปรัชญาการศึกษานิรันตรนิยม
3) ปรัชญาการศึกษาพิพัฒนนิยม
4) ปรัชญาการศึกษาปฏิรูปนิยม
5) ปรัชญาการศึกษาภาวะนิยม
6) ปรัชญา การศึกษาตามแนวพุทธปรัชญา
124. การ จัดการศึกษาเป็นกระบวนการทางสังคม 4ประการ ประกอบด้วย
1) ใน ทางมานุษยวิทยา
2) ใน ทางเศรษฐศาสตร์
3) ใน ทางรัฐศาสตร์การเมือง
4) ใน ทางสังคมวิทยา
125. กระบวน การถ่ายทอดวัฒนธรรม คือ กระบวนการทางสังคมด้านใด ทางมานุษยวิทยา
126. enculturation process คือ กระบวนการถ่ายทอดวัฒนธรรม
127. development processคือ กระบวนการพัฒนาสังคม
128. democratization processคือ กระบวนการประชาธิปไตย
129. socialization processคือ กระบวนการสังคมประกิตหรือการขัดเกลาทาง สังคม
130. กระบวน การพัฒนาสังคม คือ เศรษฐศาสตร์
131. กระบวน การประชาธิปไตย คือ รัฐศาสตร์การเมือง
132. กระบวน การสังคมประกิตหรือขัดเกลาทางสังคม คือ สังคมวิทยา
133. การ จัดการศึกษามีบทบาทหลักในการพัฒนาสังคม กี่ประการ ประกอบด้วยอะไรบ้าง มี 5
ประการ ประกอบด้วย
1) การ ฝึกฝนอาชีพให้แก่เยาวชน
2) การ ถ่ายทอดวัฒนธรรมของสังคม
3) การ นาความก้าวหน้ามาสู่สังคม
4) การ สร้างความเป็นปึกแผ่นให้แก่ชาติ
5) การ ส่งเสริมพัฒนาการส่วนบุคคล
134. สิ่ง ที่ส่งผลต่อการศึกษาและสถาบันประกอบไปด้วย
คือ การศึกษาสาหรับเด็กที่มีปัญหาเฉพาะ การแข่งขันจากสถาบันอื่น ความต้องการในอนาคต การเผชิญกั
บแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลายและกระจัดกระจาย สภาพครอบครัวที่แตกต่างจากเดิม
135. สังคม แห่งการเรียนรู้ หมายถึง สังคมมีเทคโนโลยีระบบข่าวสารและความรู้ทุกด้าน
136. learning society คือ สังคมแห่งการเรียนรู้
137. ความ รู้ที่ถือเป็นสินทรัพย์หรือขายได้ด้วย เรียกอีกชื่อว่า เศรษฐกิจฐาน ความรู้
138. knowledge-basedeconomy คือ เศรษฐกิจฐานความรู้
139. หลัก สูตรสาหรับคนรุ่นใหม่ควรมีลักษณะอย่างไร ควรมีลักษณะดังนี้
1) ต้องแสวงหาความเข้าใจอย่างไม่หยุดยั้ง
2) ต้องเลือกเนื้อหาสาระการเรียนรู้
3) ต้องมุ่งศึกษาเพื่ออนาคต ไม่ใช่เพื่ออดีต
4) กระตุ้นให้เกิดความคิด
5) การเรียนรู้ตลอดชีวิต
6) เทคโนโลยีกับแหล่งเรียนรู้
140. หลัก สูตรสมัยใหม่ต้องครอบคลุมเนื้อหา ดังนี้
1) ธรรมชาติ
2) วัฒนธรรม
3) การรู้จักตัวเอง
4) รู้จักผู้อื่น
141. พัฒนาการ ทางสังคมของครอบครัวยุคใหม่
จะมีลักษณะดังนี้ มีพ่อหรือแม่เพียงคนเดียวเพิ่มมากขึ้น แม่ทางานมากขึ้น ครอบครัวเล็กลง ความขัดแย้งใ
นครอบครัว เด็กถูกทอดทิ้งและถูกทารุณกรรม พ่อหรือแม่แต่งงานใหม่เพิ่มขึ้น วัฒนธรรมเด็กกลุ่มวัยเดียว
กันมีบทบาทมากขึ้น โทรทัศน์และสื่อมีบทบาทเพิ่มมากขึ้น
142. ภา วะโลกาภิวัตน์ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงด้านต่าง ๆ
ประกอบด้วย กระแสเศรษฐกิจเสรีระบบทุนนิยม กระแสสังคมและการเมืองแบบเสรีประชาธิปไตย กระแ
สวัฒนธรรม กระแสสิ่งแวดล้อม กระแสวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
143. กระ แสโลกาภิวัตน์มีผลต่อการจัดการศึกษาหลายทาง
ดังนี้ เด็กขาดที่พึ่งทางใจ การเลือกเส้นทางผิด ค่านิยมทางการศึกษา
การขาดการอบรมทางศีลธรรมและค่านิยมที่ดี เด็กไม่มีกลไกกลั่นกรองข่าวสารข้อมูล ความเหลื่อมล้าทางสั
งคมส่งผลต่อสัมฤทธิผลทางการศึกษา
144. พื้น ฐานหลักสูตรด้านเศรษฐกิจ
ประกอบไปด้วย สภาวะเศรษฐกิจไทยในกระแสโลก การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจไทยในกระแสโลกาภิวัต
น์และผลกระทบต่อการศึกษา
145. สภาวะ เศรษฐกิจไทยในกระแสโลก
ประกอบด้วย ระบบเศรษฐกิจโลกมีความสลับซับซ้อนและ เชื่อมโยงประเทศต่าง ๆ
ใกล้ชิดกันมากขึ้น แนวโน้มการพัฒนาสู่ “เศรษฐกิจ ยุคใหม่”ของสังคมโลกได้ก่อให้เกิด
ความเหลื่อมล้าทางเทคโนโลยี การเปิดเสรีและการกีดกันการค้าเพื่อให้ได้เปรียบทางเศรษฐกิจ ปรากฏการณ์
อีกประการหนึ่งในบริบทเศรษฐกิจโลก
คือระบบภูมิภาคนิยม เสถียรภาพทางเศรษฐกิจโลกยังมีความเปราะบางไม่เป็นระบบสากลที่มั่นคง
แต่เปลี่ยนแปลงไปตามกระแสการเปลี่ยนแปลงของประเทศมหาอานาจทางเศรษฐกิจ
146. การ เปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจไทยในกระแสโลกาภิวัตน์และผลกระทบต่อการศึกษา
ประกอบด้วย เศรษฐกิจโลกกับทักษะที่ต้องการ การจ้างงานในภาคการผลิตต่าง ๆ
ความต้องการคนรุ่นใหม่ การศึกษาอบรมในบริบททางเศรษฐกิจยุคหลังอุตสาหกรรม
147. พื้น ฐานของหลักสูตรด้านการเมืองประกอบด้วย บทบาทของการศึกษาในการพัฒนาการ
เมืองการปกครอง การศึกษากับการสร้างวัฒนธรรมทางการเมืองแบบมีส่วนร่วม
148. ทฤษฎี ที่เกี่ยวกับการพัฒนาหลักสูตร ประกอบด้วย จิตวิทยาการเรียนรู้พฤติกรรมนิยม
(Behaviorist) จิตวิทยาการเรียนรู้ความรู้ความคิดนิยม (cognitivist) จิตวิทยา การเรียนรู้กลุ่มมนุษย์นิยม
(humanist)
149. ทฤษฎี ใดอยู่ในกลุ่มพฤติกรรมนิยม ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสิค
กับทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบปฏิบัติการ
150. classicalconditioning คือ ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสิค
151. operantconditioning คือ ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบปฏิบัติการ
152. ใคร ปูพื้นฐานทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสิค ไอวาน พาฟลอฟ (Ivan Paviov)
153. ทฤษฎี การวางเงื่อนไขแบบคลาสิค ประกอบด้วยแนวคิดของใครบ้าง
1) แนว คิดของเอดเวิร์คทอร์นไดค์ (Edward L. Thorndike)
2) แนว คิดของเอ็ดวิน กัททรี (Edwin R. Guthrie)
3) แนว คิดของแดเนียลฮัลล์ (DanielM.Hull)
154. ทอร์นได ค์ แบ่งกฎแห่งการเรียนรู้ไว้ 3 ประการ
คือ กฎแห่งความพร้อม กฎแห่งการฝึกหัด กฎแห่งผล
155. law ofreadiness คือ กฎแห่งความพร้อม
156. law ofexerciseคือ กฎแห่งการฝึกหัด
157. law ofeffect คือ กฎแห่งผล
158. ความ เต็มใจที่เกิดจากทัศนคติที่ดี นาไปสู่ความพึงพอใจ
อยู่ในกฎข้อใดของทอร์นไดค์ กฎแห่งความพร้อม
159. การ เชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนอง ซ้า ๆ บ่อย ทาให้เกิดเข้มแข็ง
อยู่ในกฎข้อใดของทอร์นไดค์ กฎแห่งการ ฝึกหัด
160. ควร มีการให้รางวัลเพื่อเกิดผลที่น่าพอใจ อยู่ในกฎข้อใดของทอร์นไดค์ กฎแห่งผล
161. ทอร์นไดค์ กล่าวว่าการเรียนรู้จะคงที่หรือลดลงได้
ขึ้นอยู่กับสิ่งใด ขึ้นอยู่กับสิ่งเร้าและระดับความพึงพอใจ
162. ทฤษฎี การวางเงื่อนไขแบบคลาสิคของใครที่ เรียงลาดับส่วนประกอบอย่างสัมพันธ์กัน
เริ่มจากสิ่งง่ายไปหายาก แนวคิด ของเอดเวิร์ด ทอร์นไดค์
163. การ เรียนรู้เกิดจากสิ่งเร้าและการตอบสนองที่เกิดไปด้วยกันอย่างใกล้ชิด
เป็นการวางเงื่อนไขแบบใด แบบติดกัน (ContinuousConditioning)
164. การ วางเงื่อนไขแบบติดกันเป็นแนวคิดใด แนวคิดของเอ็ดวิน กัททรี
165. แนว คิดของเอ็ดวิน กัททรี มีลักษณะอย่างไร สอนสิ่งใหม่ที่มีลักษณะคล้ายคลึง
กับสถานการณ์เดิม ไม่เน้นการเสริมแรงจูงใจ การใช้รางวัลหรือการลงโทษ
166. คา กล่าวที่ว่า
“พฤติกรรมจะเกิดระหว่างสิ่งเร้าและการตอบสนอง” คือแนวคิดใคร แนวคิดของแดเนียล ฮัลล์ (Daniel
M.Hull)
167. แนว ความคิดของแดเนียล ถือว่าสิ่งใดก่อให้เกิดนิสัย คือ การเสริมแรง (reinforcement)
168. ทฤษฎี การวางเงื่อนไขแบบปฏิบัติการ ประกอบด้วยใครบ้าง มี บี เอฟ สกินเนอร์ (B.F.Skinner)
169. ใคร ที่กล่าวว่า “การให้การเสริมแรงหลังจากเลือกพฤติกรรมแล้ว
จะทาให้พฤติกรรมนั้นเข็มแข็งและคงที่ สกินเนอร์
170. ใคร มีการสอนด้วยบทเรียนโปรแกรม สกินเนอร์
171. จิตวิทยา การเรียนรู้กลุ่มความรู้ความคิดนิยม ประกอบด้วยใครบ้าง ประกอบด้วย
1) แนว คิดของกลุ่มเกสตอล์ท(Gestalt)
2) แนว ความคิดของฌอง เพียเจท์ (Jean Piaget)
3) แนว ความคิดของเจโรม บรูเนอร์ (Jerome S. Bruner)
4) แนว ความคิดของจอห์นดิวอี้ (John Dewey)
5) แนว ความคิดของเบิร์ต กานเย่ (Robert M. Gagne)
6) แนว ความคิดของทฤษฎี Constructivist
7) แนว ความคิด“พหุปัญญา” ของโฮเวิร์ค การ์ดเนอร์ (Howard Gardner)
172. แนว คิดกลุ่มเกสตอล์ท (Gestalt) เกิดจากนักจิตวิทยาใครบ้าง
1) เวอร์ไธ เมอร์ (Wertheimer)
2) โค ห์เลอร์ (Kohler)
3) คอฟฟ์ กา (Koffka)
4) ลู วิน (Lewin)
173. คา ว่า gestaltมาจากภาษาเยอรมัน หมายถึง แบบแผน (pattern)หรือเค้าโครงรูปร่าง
(configuration)
174. แนว คิดใดที่มุ่งสอนภาพรวม หรือส่วนรวมทั้งหมดมากกว่า แนวคิดของกลุ่มเกสตอล์ท
175. กฎ แห่งการเรียนรู้ของเกสตอล์ มีกี่ประการ อะไรบ้าง มี 4 ประการ ประกอบด้วย
1) กฎ แห่งความคล้ายคลึง
2) กฎ แห่งความใกล้เคียง
3) กฎ แห่งความใกล้ชิด
4) กฎ แห่งความต่อเนื่องที่ดี
176. law ofsimilarity คือ กฎแห่งความคล้ายคลึง
177. law ofproximity คือ กฎแห่งความใกล้เคียง
178. law ofclosure คือ กฎแห่งความใกล้ชิด
179. law ofcontinuation คือ กฎแห่งความต่อเนื่องที่ดี
180. การ เรียนรู้ด้วยของที่คล้ายคลึงกัน คือ กฎของ law of similarity
181. เอา สิ่งที่อยู่ในพวกเดียวกันและสมัยเดียวกันใกล้เคียงกันในแง่เนื้อที่และเวลา คือ กฎ low of
proximity
182. เนื้อที่ ที่รวมเป็นหน่วยเดียวกันทาให้รับรู้ดีกว่า คือ กฎ low of closure
183. สิ่ง เร้ามีความต่อเนื่องกัน ทิศทางเดียวกัน คือ กฎ low ofcontinuation
184. แนว คิดของฌอง เพียเจท์ เน้นขั้นตอนพัฒนาทางปัญญา ซึ่งมีกี่ขั้น อะไรบ้าง มี 4 ขั้น
ประกอบด้วย
1) ขั้น ใช้อวัยวะและประสาทสัมผัส
2) ขั้น ก่อนปฏิบัติการ
3) ขั้น ปฏิบัติการที่เป็นรูปธรรม
4) ขั้น ปฏิบัติการที่เป็นทางการ
185. sensorymotor ขั้นใช้อวัยวะและประสาทสัมผัส
186. preoperational ขั้นก่อนปฏิบัติการ
187. concreteoperation ขั้นปฏิบัติการที่เป็นรูปธรรม
188. formal operation ขั้นปฏิบัติการที่เป็นทางการ
189. ขั้น ใช้อวัยวะและประสาทสัมผัส อายุเท่าไร อายุแรกเกิด ถึง 2 ขวบ
190. ขั้น ก่อนปฏิบัติการ อายุเท่าไร อายุ 2-7 ปี
191. ขั้น ปฏิบัติการที่เป็นรูปธรรม อายุเท่าไร อายุ7-11 ปี
192. ขั้น ปฏิบัติที่เป็นทางการ อายุเท่าไร อายุ 11-16ปี
193. ขั้น ใดที่จะสร้างการเรียนรู้จากประสบการณ์ตรง ขั้นอวัยวะและประสาทสัมผัส
194. ขั้น ใดที่พัฒนาทางภาษาและใช้สัญลักษณ์ ขั้นก่อนปฏิบัติการ
195. ขั้น ใดที่เริ่มจัดพวก จัดกลุ่ม เปรียบเทียบความเหมือน แตกต่าง ขั้นปฏิบัติที่เป็นรูปธรรม
196. ขั้น ใดพัฒนาวุฒิปัญญาเต็มที่ ขั้นปฏิบัติการที่เป็นทางการ (นามธรรม)
197. แนว ความคิดใดจัดหลักสูตรแบบเกลียว (spiral curriculum) คือ แนวคิดของเจโรม บรูเนอร์
198. หลัก สูตรแบบเกลียวหมายถึง จัดโครงสร้างของวิชา จากพื้นฐานไปสู่สิ่งที่ซับซ้อนขึ้นเรื่อย ๆ
199. ความ งอกงามทางปัญญา หมายถึง การเพิ่มความสามารถในการสื่อสารระหว่างตนเองกับ ผู้อื่น
200. แนว คิดของจอห์น ดิวอี้ มีแนวคิดอย่างไร มีแนวคิดว่าการจัดหลักสูตรแบบเกลียวที่ต่อเนื่อง
เนื้อหาวิชาสอดคล้องกับประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับสังคม
201. แนว คิดที่เชื่อว่า การเรียนรู้ของมนุษย์ มี 5 ด้าน คือ แนวคิดใคร ประกอบด้วยอะไรบ้าง
แนวคิดของโรเบิร์ต กานเย่ (Robert M. Gagne) ประกอบด้วย
1) ด้าน สติปัญญา
2) ด้าน ความคิด
3) ด้าน คาพูด
4) ด้าน ทักษะ
5) ด้าน เจตคติ
202. วิธี การสอนของกานเย่มีกี่ขั้นตอน 9 ขั้นตอน
203. แนว คิดทฤษฎี Constructivist คือ ความรู้คือโครงสร้างทางปัญญาที่ สามารถแก้ปัญหาได้
204. แนว คิด Constructivist ประกอบด้วย อะไรบ้าง มี 3 ขั้นตอน ประกอบด้วย
1) สร้าง ความขัดแย้งทางปัญญา
2) ดาเนิน กิจกรรมไตร่ตรอง
3) สรุปผลการสร้างโครงสร้างใหม่ทางปัญญา
205. การ เรียนการสอนตามลาดับขั้นพัฒนาการของผู้เรียน คือแนวคิดใด แนวคิด “พหุปัญญา”
ของโฮเวิร์ต การ์ดเนอร์ (Howard Gardner)
206. พหุ ปัญญา คือ multiple intelligence หมายถึง การตระหนักถึงสติปัญญาด้านต่าง ๆ
207. สติ ปัญญาตามแนวคิดของ Gardner มีกี่ด้าน อะไรบ้าง มี 8 ด้าน ประกอบด้วย
1) ด้าน ดนตรี
2) ด้าน การเคลื่อนไหวร่างกายและกล้ามเนื้อ
3) ด้าน การใช้เหตุผลเชิงตรรกและคณิตศาสตร์
4) ด้าน ภาษา
5) ด้าน มิติสัมพันธ์
6) ด้าน การเข้ากับผู้อื่น
7) ด้าน การเข้าใจตนเอง
8) ด้าน ความเข้าใจในธรรมชาติ
208. จิตวิทยา การเรียนรู้กลุ่มมนุษยนิยม ประกอบด้วยแนวคิดใดบ้าง ประกอบด้วย
1) แนว คิดอับบราฮัม มาสโลว์
2) แนว คิด คาร์ล โรเจอร์ส
209. แนว คิดใดเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง จัดการศึกษาระบบเปิด แนวคิดของมาสโลว์ (Abraham
Maslow)
210. ความ ต้องการพื้นฐานตามแนวคิดของ Maslow ประกอบด้วย
1) ความต้องการทางร่างกาย
2) ความต้องการความปลอดภัยหรือความมั่นคง
3) ความต้องการความรักและความเป็นเจ้าของ
4) ความต้องการได้รับการยกย่องนับถือ
5) ความต้องการด้านสุนทรียภาพ
6) ความต้องการเข้าใจความเป็นจริงเกี่ยวกับตนเอง
211. แนว คิดใดจัดหลักสูตรตามแบบโรงเรียนซัมเมอร์ฮิลล์ (SummerHill) แนวคิดของเจอร์ส
212. โรง เรียนซัมเมอร์ฮิลล์สอนอย่างไร จัดหลักสูตรมีการยืดหยุ่น ไม่ตายตัว
ผู้เรียนเรียนตามความถนัดความสนใจ
213. แนว คิดของโรเจอร์สเน้นด้านใด เน้นการสร้างบรรยากาศและสิ่งแวดล้อม
214. บรรยากาศ ที่ส่งเสริมการเรียนรู้ของโรเจอร์ส
ประกอบด้วยอะไรบ้าง ประกอบด้วยความเป็นจริง การยอมรับและให้เกียรติผู้เรียน ความเข้าใจ
215. องค์ ประกอบด้านสติปัญญา เปรียบได้กับกลุ่มใด กลุ่มความรู้ความคิดนิยม
216. องค์ ประกอบการใช้กล้ามเนื้อปฏิบัติงาน เปรียบได้กับกลุ่มใด กลุ่มพฤติกรรม นิยม
217. องค์ ประกอบด้านอารมณ์ เปรียบได้กับกลุ่มใด กลุ่มมนุษยนิยม
218. ความ รู้ หรือ เนื้อหาวิชา ที่เกี่ยวข้องกับมนุษย์ มี 3 ประเภท ประกอบด้วยอะไรบ้าง
1) ธรรมชาติ วิทยา
2) มานุษย วิทยา
3) สังคม วิทยา
219. NaturalSciences คือ ธรรมชาติวิทยา
220. Anthropology คือ มานุษยวิทยา
221. SocialSciencesคือ สังคมวิทยา
222. ความ รู้เกี่ยวกับมนุษย์กับธรรมชาติ คือ ธรรมชาติวิทยา
223. ความ รู้เกี่ยวกับมนุษย์กับตนเอง คือ มานุษยวิทยา
224. ความ รู้เกี่ยวกับมนุษย์กับสังคม คือ สังคมวิทยา
225. ManandNatureคือ มนุษย์กับธรรมชาติ
226. ManandSelf คือ มนุษย์กับตนเอง
227. ManandSociety คือ มนุษย์กับสังคม
228. เนื้อหา ความรู้ คือ ความรู้ที่ดัดแปลงมาจากศาสตร์ (Disciplines) หรือ เนื้อหาสาระ ข้อมูล
ทฤษฎีที่สาคัญและจาเป็นที่ผู้เรียนต้องเรียนเพื่อให้เกิดการเรียนรู้
229. ทา บาแบ่งเนื้อหาความรู้เป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง 4 ประเภท ประกอบด้วย
1) เนื้อหาความรู้ที่เป็นข้อเท็จจริงและกระบวนการ
2) เนื้อหาความรู้ที่เป็นแนวคิดพื้นฐาน
3) เนื้อหาความรู้ที่เป็นมโนทัศน์
4) เนื้อหาความรู้ที่เป็นระบบการคิด
230. thought systems คือ เนื้อหาความรู้ที่เป็นระบบการคิด
231. Concepts คือ เนื้อความรู้ที่เป็นมโนทัศน์
232. basic ideas คือ เนื้อหาความรู้ที่เป็นแนวคิดพื้นฐาน
233. facts andprocessesเนื้อหาความรู้ที่เป็นข้อเท็จจริงและ กระบวนการ
234. เนื้อหา ใดเป็นความรู้ขั้นต่าสุด ข้อมูลแสดงความจริงของธรรมชาติ facts and processes
235. เนื้อหา ใดที่เกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างของสองสิ่ง คือ basic ideas
236. เนื้อหา ใดที่เกี่ยวกับความเข้าใจโครงสร้างและส่วนประกอบย่อยเป็นรูปธรรมและนามธรรม
คือ concepts
237. เนื้อหาใดที่เกี่ยวกับระบบการคิดรวบยอด thoughtsystems
238. ใคร เป็นผู้แบ่งประเภทเนื้อหาวิชา
เป็น เนื้อหาวิชาทั่วไป เนื้อหาวิชาเฉพาะ เนื้อหาวิชาเชิงพรรณนา เนื้อหาวิชาเชิงค่านิยม คือ สมิท สแตนเ
ลย์ และชอร์ส (Smith, Stanleyand Shores)
239. GeneralSubjectMatter คือ เนื้อหาวิชาทั่วไป
240. SpecializedSubjectMatter คือ เนื้อหาวิชาเฉพาะ
241. Descriptive SubjectMatter คือ เนื้อหาวิชาเชิงพรรณนา
242. Normative SubjectMatter คือ เนื้อหาวิชาเชิงค่านิยม
243. เนื้อหา วิชาที่ไม่เป็นทางการ แต่ต้องเรียน ไม่ว่าจะจากครอบครัวหรือสังคม
พัฒนามาสอนในระบบโรงเรียน คือเนื้อหาวิชาแบบใด แบบทั่วไป General Subject Matter
244. เนื้อหา วิชาที่ต้องเชี่ยวชาญพิเศษ หรือเทคนิคพิเศษเพื่อการประกอบอาชีพ
คือเนื้อหาวิชาแบบใด แบบเฉพาะ Specialized Subject Matter
245. เนื้อ วิชาที่เป็นข้อเท็จจริงและหลักการ เช่น คณิตศาสตร์ คือเนื้อหาแบบใด แบบเชิงพรรณนา
DescriptiveSubjectMatter
246. เนื้อหา ที่เกี่ยวกับกฎ ระเบียบ กติกา ค่านิยม หรือเนื้อหาวิชาแบบใด แบบค่านิยม Normative
Subject Matter
247. ธวัช ชัย ชัยจิรฉายากุล แบ่งเนื้อหาความรู้เป็น 3 ประเภทได้แก่
1) เนื้อหาที่มีโครงสร้างแน่นอน
2) เนื้อหาที่มีโครงสร้างไม่แน่นอน
3) เนื้อหาที่เกี่ยวกับทักษพิสัย
248. เนื้อหา ที่มีโครงสร้างแน่นอน คือ เนื้อหาที่สอนตามลักษณะสาขาวิชา
เน้นด้านพุทธพิสัยเป็นหลัก
249. เนื้อหา ที่มีโครงสร้างไม่แน่นอน คือ เนื้อหาที่สอนเน้นด้านจิตพิสัย ด้านอารมณ์ ความรู้สึก
เจตคติ
250. เนื้อหา ที่เกี่ยวกับทักษพิสัย คือ สนองพฤติกรรมการเรียนรู้ที่ใช้อวัยวะ กลไกและส่วนต่าง ๆ
ของร่างกายในการทางาน
251. curriculum content คือ เนื้อหาหลักสูตร
252. เนื้อหา หลักสูตรประกอบด้วย
1) เนื้อหาความรู้หรือเนื้อหาวิชา
2) ประสบการณ์ เรียนรู้
3) กิจกรรม การเรียนรู้
253. subjectmatter คือ เนื้อหาความรู้ หรือเนื้อหาวิชา
254. learning experienceคือ ประสบการณ์การเรียนรู้
255. learning activities คือ กิจกรรมการเรียนรู้
256. subjectmatter คือ เนื้อหาหลักสูตรที่สามารถตอบได้ว่าเรียน “อะไร”
257. learning experienceคือ การเรียนรู้จากการปฏิบัติในห้องเรียน นอกห้องเรียน ในโรงเรียน
และสิ่งแวดล้อม
258. learning activities คือ เนื้อหาส่วนที่ผู้สอนจัดให้
259. ไม่ว่าจะจัดเนื้อหาเป็นอย่างไรก็ตามสิ่งต้องคานึงถึง 3ประการ
มีอะไรบ้าง มีขอบเขต ความต่อเนื่อง ความเป็นลาดับ และการบูรณาการ
260. scope ขอบเขต
261. continuity ความต่อเนื่อง
262. sequenceความเป็นลาดับ
263. integration การบูรณาการ
264. ขอบ เขต คือ การจัดความกว้าง และขอบเขตของความคิด หรือมโนทัศน์เนื้อหาในหลักสูตร
265. ความ ต่อเนื่อง คือ จัดเนื้อหาหลักสูตรจากระดับหนึ่งไปอีกระดับหนึ่ง
จากเนื้อหาหนึ่งไปอีกเนื้อหาหนึ่งโดยไม่ขาดตอน
266. ความ เป็นลาดับ คือ การสอนจากพื้นฐานไปหาสิ่งที่ซับซ้อน จากรูปธรรมไปหานามธรรม
267. การ บูรณาการ คือ เนื้อหาวิชามีความสัมพันธ์กัน สามารถเชื่อมโยงความรู้ด้วยกันได้
268. เกณฑ์ ในการเลือกเนื้อหาของหลักสูตร มีเกณฑ์ดังนี้
1) ความเที่ยงตรงและความสาคัญของเนื้อหา
2) ความสมดุลระหว่างเนื้อหาที่เรียนทั้งเชิงกว้างและลึก
3) ความสอดคล้องของเนื้อหากับความต้องการและความสนใจของผู้เรียน
4) การ เน้นคุณภาพที่ยั่งยืนและสาระสาคัญของเนื้อหา
5) ความสัมพันธ์ระหว่างเนื้อหาหลักและเนื้อหาย่อยกับความคิดและมโนทัศน์
6) ความสามารถในการเรียนรู้เนื้อหาได้
7) ความเป็นไปได้ในการทาให้เนื้อหากระจ่างด้วยการใช้ข้อมูลจากความรู้ในสาขาอื่น
269. หลัก สูตรระดับชาติก่อน พ.ศ. ใช้ชื่อว่าอะไร “หลักสูตรแม่บท”
270. หลัก สูตรระดับชาติ ตั้งแต่พ.ศ. 2544 ใช้ชื่อว่า “หลักสูตรแกนกลาง”
271. การ พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษามี 3 ลักษณะ
ประกอบด้วย สถานศึกษาปรับจากหลักสูตรระดับชาติ สถานศึกษาพัฒนาหลัก
สูตรเองให้สอดคล้องกับหลักสูตรระดับชาติ สถานศึกษาพัฒนาหลักสูตรเองตามเกณฑ์มาตรฐาน
272. หลัก สูตรระดับก่อนประถมศึกษา ปัจจุบันใช้หลักสูตรใด ใช้หลักสูตรการศึกษา ปฐมวัย
พุทธศักราช 2546
273. หลัก สูตรระดับก่อนประถมศึกษา
มีปรัชญาด้านใด เน้นปรัชญาในการพัฒนาเด็กแรกเกิดถึงอายุ 5 ปี 11เดือน 29 วัน
274. หลัก สูตรก่อนประถมศึกษา แบ่งได้เป็น หลักสูตรการศึกษาปฐมวัยสาหรับเด็กอายุ ต่ากว่า3
ปี หลักสูตรการศึกษาปฐมวัยสาหรับเด็กอายุ 3 –5 ปี
275. หลัก สูตรการศึกษาปฐมวัยสาหรับเด็กอายุต่ากว่า 3
ปี มีจุดมุ่งหมายเพื่อให้เด็กมีร่างกายเจริญเติบโตตามวัยและมีสุขภาพ ดี
276. หลัก สูตรการศึกษาปฐมวัยสาหรับเด็กอายุ 3 – 5
ปี มีจุดมุ่งหมายให้เด็กมีร่างกายแข็งแรงเจริญเติบโตตามวัยและสุขนิสัย ที่ดี
277. หลัก สูตรระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปัจจุบันใช้หลักสูตร
ใด หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
278. หลัก สูตรแกนกลาง พ.ศ. 2551 มีองค์ประกอบใด
1) วิสัย ทัศน์ของหลักสูตร
2) หลักการของหลักสูตร
3) จุด มุ่งหมายของหลักสูตร
4) สมรรถนะ สาคัญของผู้เรียน
5) คุณลักษณะ อันพึงประสงค์
6) โครง สร้างของหลักสูตร
7) มาตรฐาน การเรียนรู้และตัวชี้วัด
8) โครง สร้างเวลาเรียน
279. หลัก การของหลักสูตร สรุปว่ามี การศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย
280. จุด มุ่งหมายของหลักสูตร สรุปว่า มีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมอันพึงประสงค์
281. สมรรถนะ สาคัญของผู้เรียน 5 ประการ คือ
1) ความสามารถในการสื่อสาร
2) ความสามารถในการคิด
3) ความสามารถในการแก้ปัญหา
4) ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
5) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
282. คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ ประกอบด้วย รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์ มีวินัย ใฝ่เรียนรู้
อยู่อย่างพอเพียง มุ่งมั่นในการทางาน รักความเป็นไทย มีจิตสาธารณะ
283. โครง สร้างของหลักสูตร แบ่งเป็น 8 กลุ่มสาระ ดังนี้
1) ภาษา ไทย
2) สุขศึกษา และพลศึกษา
3) คณิตศาสตร์
4) ศิลปะ
5) วิทยา ศาสตร์
6) การ งานอาชีพและเทคโนโลยี
7) สังคม ศึกษา
8) ศาสนา และวัฒนธรรม
9) ภาษา ต่างประเทศ
284. มาตรฐาน การเรียนรู้ คือ เป้ าหมายสาคัญของการพัฒนาผู้เรียน
285. ตัว ชี้วัด คือ เป้ าหมายในการพัฒนาผู้เรียน เป็นตัวเฉพาะเจาะจง
สะท้อนถึงมาตรฐานการเรียนรู้
286. โครง สร้างเวลาเรียน ระดับประถมศึกษา มีเวลาเรียนทั้งหมด 1,000
ชั่วโมง ระดับมัธยมศึกษา ตอนต้น รวม 1,200 ชั่วโมง ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย รวม 3,600 ชั่วโมง
287. แนว ทางการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 มีขั้นตอน ดังนี้
1) ศึกษา และวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐาน
2) กาหนด วิสัยทัศน์ ภารกิจ เป้ าหมายและคุณลักษณะที่พึงประสงค์
3) วิเคราะห์ ตัวชี้วัด
4) จัด ทาคาอธิบายรายวิชา จากผลการวิเคราะห์ตัวชี้วัด
5) จัด ทาโครงสร้างรายวิชา แบ่งเนื้อหาสาระเป็นชื่อหน่วยการเรียนรู้
และจานวนเวลาที่ใช้ในแต่ละหน่วยการเรียนรู้
6) ออก แบบหน่วยการเรียนรู้และทาแผนการจัดการเรียนรู้
288. วิสัย ทัศน์ หมายถึง เจตนารมณ์ อุดมการณ์ อนาคตที่พึงประสงค์ของสถานศึกษา
289. ภารกิจ หรือพันธกิจ วิธีดาเนินงานของสถานศึกษา
เพื่อบรรลุวิสัยทัศน์และนาไปสู่การวางแผนปฏิบัติต่อไป
290. เป้า หมาย คือ แสดงคุณลักษณะของผู้ที่จบหลักสูตรสถานศึกษานั้น ๆ
291. คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ เน้นคุณลักษณะด้านคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมและคติ
292. หลัก สูตรระดับอุดมศึกษา ปัจจุบันดาเนินการตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับอุดม ศึกษา
พ.ศ. 2548
293. เกณฑ์ มาตรฐานระดับอุดมศึกษา สรุปได้ดังนี้
1) หลักสูตร 4ปี เรียนไม่น้อยกว่า 120หน่วยกิต
2) หลักสูตร 5ปี เรียนไม่น้อยกว่า 150 หน่วยกิต
3) เรียน ไม่น้อยกว่า 6ปี มีหน่วยกิตไม่น้อยกว่า 180หน่วยกิต
294. โครง สร้างหลักสูตรระดับอุดมศึกษา ประกอบด้วย
1) หมวด วิชาศึกษาทั่วไป ไม่น้อยกว่า 30หน่วยกิต
2) หมวด วิชาชีพเฉพาะ
2.1 ไม่ น้อยกว่า84 หน่วยกิต สาหรับหลักสูตร 4 ปี
2.2 ไม่ น้อยกว่า114 หน่วยกิต สาหรับหลักสูตร 5ปี
2.3 ไม่ น้อยกว่า144 หน่วยสาหรับ6 ปี หมวดวิชาเลือกเสรีไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต
295. การ คิดหน่วยกิตในระดับอุดมศึกษา คิดดังนี้ ภาคทฤษฎี 1หน่วยกิตใช้เวลาบรรยาย 1
ชั่วโมง ต่อสัปดาห์ ภาคปฏิบัติ 1 หน่วยกิตเวลาเรียน2-3ชั่วโมงต่อสัปดาห์ การฝึกงานหรือภาคสนาม 1
หน่วยกิตใช้เวลา3-6ชั่วโมงต่อสัปดาห์
296. หลัก สูตร หมายถึง ประสบการณ์การเรียนรู้ทั้งหมดที่ผู้รับผิดชอบจัดการศึกษา
จัดให้แก่ผู้เรียน
297. การ จัดการเรียนรู้ หมายถึง การจัดกิจกรรมเพื่อช่วยให้ผู้เรียนรับ ประสบการณ์การเรียนรู้
ทั้งเนื้อหาวิชา ทักษะ กระบวนการ มีคุณธรรมและจริยธรรม
298. พัฒนา หลักสูตรมีขั้นตอนดังนี้
1) วิเคราะห์ และรวบรวมข้อมูลพื้นฐาน
2) กาหนด หลักการและจุดมุ่งหมายของหลักสูตร
3) การ เลือกและจัดลาดับเนื้อหาและประสบการณ์เรียนรู้
4) กาหนด แนวทางการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
5) การ ตรวจสอบคุณภาพหลักสูตรและการปรับแก้ก่อนนาไปใช้
6) การ นาหลักสูตรไปใช้
7) การ ประเมินหลักสูตร
8) การ ปรับปรุงแก้ไขหลักสูตร
299. การ จัดการเรียนรู้มี 4 ขั้นตอน คือ กาหนดจุดประสงค์การเรียนรู้
เลือกและจัดเนื้อหาประสบการณ์การเรียนรู้ จัดกิจกรรมการเรียนรู้ ประเมินผลการเรียนรู้
300. ปัจจุบัน เราใช้กฎหมายใดของการศึกษา พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542
301. การ จัดการศึกษาเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
เป็นแนวคิดปรัชญาการศึกษาใด ปรัชญาการศึกษาพิพัฒนนิยม
302. การ เรียนแบบเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง ครูมีบทบาทอย่างไร ครูมีบทบาทเป็น
ผู้จัดการ หรือผู้อานวยความสะดวกในกระบวนการจัดการเรียนรู้
303. Inductive Method คือ วิธีจัดการเรียนรู้แบบอุปนัย
304. วิธี จัดการเรียนรู้แบบอุปนัย มีขั้นตอนอย่างไร 1) ขั้นเตรียม 2) ขั้นสอน 3)
ขั้นเปรียบเทียบและรวบรวม
4) ขั้นสรุป 5) ขั้นนาไปใช้
305. Deductive Method คือ วิธีจัดการเรียนรู้แบบนิรนัย
306. วิธี จัดการเรียนรู้แบบนิรนัย มีขั้นตอนคือ 1) ขั้นอธิบายปัญหา 2) ขั้นอธิบายข้อสรุป 3)
ขั้นตกลงใจ4) ขั้นพิสูจน์
307. Demonstration Method คือ วิธีจัดการเรียนรู้แบบสาธิต
308. วิธี จัดการเรียนรู้แบบสาธิต มีขั้นตอน คือ 1) ขั้นนา 2) ขั้นแสดงการสาธิต 3) ขั้นสรุป
309. Role PlayingMethod คือ วิธีจัดการเรียนรู้แบบแสดงบทบาท
310. Simulation คือ วิธีจัดการเรียนรู้โดยใช้สถานการณ์จาลอง มีขั้นตอนดังนี้ 1) ขั้นเตรียม 2)
ขั้นนาเสนอสถานการณ์จาลอง3) ขั้นกาหนดบทบาทในการแสดง 4) ขั้นแสดง 5) ขั้นอภิปราย สรุป
และประเมินผล
311. PlayWayMethod คือ วิธีจัดการเรียนรู้แบบเล่นปนเรียน
312. TeamTeachingMethod คือ วิธีจัดการเรียนรู้เป็นทีม ใช้ครู 2คนขึ้นไป มี 3รูปแบบ
คือ กลุ่มใหญ่ การจัดกิจกรรมกลุ่มย่อย การค้นคว้าและทางานอิสระ
313. Gagne คือ วิธีจัดการเรียนรู้ตามแนวกานเย่ มีขั้นตอนดังนี้ 1) สร้างความสนใจ 2)
แจ้งจุดประสงค์ของบทเรียน 3) กระตุ้นให้ผู้เรียนระลึกถึงพื้นฐานความรู้ 4)
เสนอบทเรียนใหม่โดยใช้สื่อกระตุ้น 5) ให้แนวการเรียนรู้ 6) ให้ผู้เรียนลงมือปฏิบัติ 7) ให้ข้อมูลป้ อนกลับ8)
ประเมินผลหลังการปฏิบัติ 9) เพิ่มการจาและการถ่ายโอนการเรียนรู้
314. Method ofInquiry คือ วิธีจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวน หรือแบบสืบเสาะความรู้
มีขั้นตอน คือ 1) ขั้นสังเกต2) ขั้นอธิบาย 3) ขั้นทานายหรือพยากรณ์ 4) ขั้นนาไปและสร้างสรรค์
315. Problem-Solving Method คือ วิธีจัดการเรียนรู้แบบแก้ปัญหา มีขั้นตอนดังนี้ 1)
กาหนดขอบเขตของปัญหา 2) ตั้งสมมุติฐาน 3) ทดลองและรวบรวมข้อมูล 4) วิเคราะห์ข้อมูล 5) สรุป
316. Group DiscussionMethod คือ วิธีจัดการเรียนรู้แบบอภิปรายกลุ่มย่อย มีขั้นตอนดังนี้ 1) ขั้นเตรียม
2) ขั้นอภิปรายตอนต้น 3) ขั้นอภิปรายตอนกลาง 4) ขั้นอภิปรายตอนสุดท้าย 5)
ขั้นเสนอผลการอภิปรายต่อกลุ่มใหญ่
317. ProjectMethod คือ วิธีจัดการเรียนรู้แบบโครงงาน มีขั้นตอนดังนี้ 1) กาหนดจุดมุ่งหมาย 2)
วางแผนโดยผู้เรียนร่วมกัน 3) ดาเนินการ 4) ประเมินผล
318. Unit TeachingMethod คือ วิธีจัดการเรียนรู้แบบหน่วย มีขั้นตอนดังนี้ 1) ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน 2)
ขั้นนักเรียนและครูวางแผนร่วมกัน 3) ขั้นลงมือทางาน 4) ขั้นเสนอผลกิจกรรม5) ขั้นประเมินผล
319. Learning Center คือ วิธีจัดการเรียนรู้แบบศูนย์การเรียน ศูนย์แต่ละศูนย์มีส่วนประกอบ 1)
เนื้อหา 2) สื่อการสอน 3) บัตรคาสั่ง
320. Individualized Learning คือ วิธีจัดการเรียนรู้ตามเอกัตภาพ มีองค์ประกอบ 5 ส่วน 1) ผู้เรียน 2)
สภาพแวดล้อมทางการเรียนรู้ 3) เนื้อหาความรู้ 4) สื่อการเรียนรู้ 5) เทคนิควิธีการเรียนรู้
321. CIPPA Model คือ วิธีจัดการเรียนรู้แบบซิปปา
322. C มาจาก Construction of knowledge คือ สร้างความรู้ด้วยตนเอง
323. I มาจาก Interaction คือ ปฏิสัมพันธ์ทางสังคม
324. P มาจาก Physical participation คือ ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการปฏิบัติ
325. P มา จาก Processlearningคือ การเรียนรู้กระบวนการที่จาเป็นต่อการดารงชีวิต
326. A มาจาก Application คือ นาความรู้ไปประยุกต์ใช้
327. CIPPA มีขั้นตอนดังนี้
1) ทบทวนความรู้เดิม
2) แสวงหาความรู้ใหม่
3) ทาความเข้าใจข้อมูลความรู้ใหม่
4) แลกเปลี่ยนความรู้ความเข้าใจกลุ่ม
5) การสรุปและจัดระเบียบความรู้
6) การปฏิบัติและหรือการแสดงความรู้และผลงาน
7) การประยุกต์ใช้ความรู้
328. สรุป การเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง ประกอบด้วยวิธีการสอน ดังนี้
1) วิธี การจัดการเรียนรู้แบบ อุปนัย
2) นิรนัย
3) แสดง บทบาท
4) สถานการณ์ จาลอง
5) เล่น ปนเรียน
6) เรียน รู้เป็นทีม ตามแนวกานเย่
7) แบบ สืบสวน
8) แบบ แก้ปัญหา
9) แบบ อภิปรายกลุ่มย่อย
10) แบบ โครงงาน
11) แบบ หน่วย
12) แบบ ศูนย์การเรียน
13) แบบ ตามเอกัตภาพ
14) แบบ ซิปปา
15) ผู้ เรียนนาตนเอง
16) ใช้ ปัญหาเป็นฐาน
17) แบบ แก้ปัญหา
18) ใช้ สมองเป็นฐาน
19) แบบ ร่วมมือ แบบบูรณาการ
329. Self-Directed learning คือ วิธีจัดการเรียนรู้ที่ผู้เรียนนาตนเอง
330. scientific method คือ วิธีจัดการเรียนรู้โดยวิธีการวิทยา ศาสตร์
331. learning contractsคือ วิธีจัดการเรียนรู้โดยใช้สัญญาการเรียน รู้
332. Problem-Basedlearning คือ วิธีจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน
333. problem solving คือ วิธีจัดการเรียนรู้แบบแก้ปัญหา
334. living casestudy คือ วิธีจัดการเรียนรู้โดยใช้การศึกษาราย กรณีตามสภาพจริง
335. directpracticeคือ วิธีจัดการเรียนรู้โดยการปฏิบัติบริบท จริง
336. Brain-Base learning คือ วิธีจัดการเรียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐาน
337. Cooperative Learningการเรียนรู้แบบร่วมมือ
338. STAD คือ Student Teams-AchievementDivisions หมาย ถึง ทุกคนทางานเป็นทีมและช่วยเหลือกัน
339. การ จัดการเรียนรู้เป็นทั้งศาสตร์และศิลป์ คาว่า ศาสตร์ หมายถึง ครูต้องมี เนื้อหาวิชา
มีการวางแผน คาว่าศิลป์ หมายถึง สามารถดาเนินการจัดการเรียนรู้ได้อย่างราบรื่น
340. ใน การจัดสถานการณ์การเรียนรู้ ครูมี 2 บทบาท คือ จัดการและจัดกระทา
341. ประสิทธิภาพ (efficiency) หมายถึง การทาสิ่งใดสิ่งหนึ่งได้ถูกต้อง
342. ประสิทธิผล (effectiveness) หมายถึง การทาสิ่งที่ถูกต้อง
343. บท เรียนแบ่งเป็นประเภทใหญ่ๆ ได้2 ประเภท คือ
1) บทเรียนที่เป็นเนื้อหาความรู้
2) บทเรียนที่เป็นทักษะ
344. ก่อน ที่ครูจะจัดทาแผนการเรียนรู้ ผู้สอนต้องศึกษาพระราชบัญญัติการศึกษาแห่ง ชาติ พ.ศ.
2542
345. ก่อน จัดทาแผนการเรียนรู้ผู้สอนต้องมีความรู้ในเรื่องต่อไปนี้คือ
1) มีความรู้เกี่ยวกับผู้เรียน
2) ความรู้ในด้านเนื้อหาวิชาที่จะดาเนินการสอน
3) มีความรู้ในด้านทฤษฎีการสอน
346. สิ่ง ที่ผู้สอนควรจัดทาและกาหนดแผนการเรียนรู้ใน 4ระดับ ดังต่อไปนี้
1) แผนการเรียนรู้ระดับกระบวนวิชา
2) แผนการเรียนรู้ระดับหน่วย
3) แผนการเรียนรู้ในแต่ละสัปดาห์
4) แผนการเรียนรู้รายคาบเวลา
347. แผน การเรียนรู้ระดับกระบวนวิชา (Course planning) คือ จัดแบบรายปี รายภาคเรียน
348. แผน การเรียนรู้ระดับหน่วย (Unit planning) คือ จัดเป็นหน่วยการเรียน
กาหนดจากมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้
349. แผน การเรียนรู้ในแต่ละสัปดาห์ (Weekly planning) คือ จัดกิจกรรมการเรียนรู้
350. แผน การเรียนรู้รายคาบเวลา (DailyLessonplanning) คือ กาหนดการสอนในแต่ละคาบเวลา
351. ศึกษา หลักสูตรแกนกางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 ประกอบด้วย กลุ่มสาระ 8
กลุ่มสาระ 40สาระวิชา และ67 มาตรฐานการเรียนรู้
352. การ จัดสภาพแวดล้อมในการเรียน มีองค์ประกอบ 4ด้านนี้ คือ
1) ผู้ สอน
2) การ จัดสภาพแวดล้อมของกิจกรรมการเรียนการสอน
3) การ จัดสภาพแวดล้อมของห้องเรียน
4) การ บริหารงานของโรงเรียน
353. ลักษณะ ของครูที่สอนในชั้นเรียนมี 4 ประเภท คือ
1) เข้มงวดในการสอน (Authoritarian)
2) มีความเป็นครู(Authoritative)
3) ตามใจนักเรียน (Laissez-faire)
4) ไม่เอาใจใส่การสอน (Indifferent)
354. จรรยาบรรณ ครู สานักเลขาธิการคุรุสภาพ 2539 แบ่งไว้ 9 ข้อ
355. สภาพ แวดล้อมในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ จัดได้ดังนี้
1) สร้างความสนใจในการเรียนเมื่อเริ่มบทเรียน
2) ดาเนินการสอนให้เป็นที่น่าสนใจ
3) ดูแลและเอาใจใส่นักเรียนระหว่างการสอน
4) กระตุ้นความสนใจของนักเรียนเป็นระยะ ๆ
5) พยายามให้นักเรียนมีส่วนร่วม
6) กาหนดกิจกรรมการเรียนการสอนในบทเรียนให้พอดีความความสนใจของนักเรียน
356. แผน การศึกษาแห่งชาติ มีระยะกี่ปี พ.ศ. 2545-2559
357. แผน การศึกษาแห่งชาติ มีวัตถุประสงค์กี่ข้อ อะไรบ้าง 11 ข้อ ประกอบด้วยแบ่งได้ 3
ส่วนใหญ่ๆ คือ
1) วัตถุ ประสงค์ประการที่ 1
เป็นการพัฒนาคนอย่างรอบด้านและสมดุลเพื่อเป็นฐานหลักของการพัฒนา (มี 4 ข้อ)
2) วัตถุประสงค์ที่ 2 เพื่อสร้างสังคมไทยให้เป็นสังคมคุณธรรม ภูมิปัญญาและเป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ (มี
3 ข้อ)
3) วัตถุประสงค์ที่ 3 เป็นการพัฒนาสภาพแวดล้อมของสังคม
เป็นฐานในการพัฒนาคนและนาไปสู่การสร้างสังคมคุณธรรมที่มีภูมิปัญญาและความ รู้ (4ข้อ)
358. หลัก สูตรและการจัดการเรียนรู้ในปัจจุบัน พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.
2542 แก้ไขเพิ่มเติม 2545 กาหนดไว้ว่า มี 3รูปแบบ
คือ การศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ การศึกษาตามอัธยาศัย
359. แนว คิดใหม่ในการพัฒนาหลักสูตร ควรมีรูปแบบ ดังนี้
1) หลักสูตรที่เน้นความต้องการของโรงเรียน (School-based)
2) หลักสูตรหัวข้อเรื่อง(ThematicCurricula)
3) หลักสูตรที่เน้นผลสัมฤทธิ์ (Outcome-base Curriculum)
360. นวัต กรรมที่นามาใช้ในการจัดการเรียนการสอน ควรมีลักษณะดังนี้
1) การจัดการเรียนแบบไม่มีระดับชั้น (Non-graded)
2) การจัดการเรียนเป็นรายบุคคล (Individualized Learning)
3) การจัดการเรียนแบบร่วมมือ (Cooperative Learning)
4) การจัดการเรียนแบบ Active Learning
5) การจัดการศึกษาทางไกล (Distance Learning)
6) การจัดการเรียนโดยใช้ e-learning
7) การจัดการเรียนรู้แบบผสมผสาน (Blended Learning)
361. นวัต กรรมและเทคโนโลยีที่ใช้ในกิจกรรมการเรียนรู้ ประกอบด้วย
1) เครื่องคอมพิวเตอร์ แบ่งเป็น
1.1 ใช้ในการสอน (Computer Assisted Instruction :CAI)
1.2 ช่วยในงานสอน (Computer Managed Instruction)
1.3 ใช้ในการเรียนคอมพิวเตอร์
1.4 ใช้ในการบริหารงาน
แนวข้อสอบ
แนวข้อสอบ
แนวข้อสอบ
แนวข้อสอบ
แนวข้อสอบ
แนวข้อสอบ
แนวข้อสอบ
แนวข้อสอบ
แนวข้อสอบ
แนวข้อสอบ
แนวข้อสอบ
แนวข้อสอบ
แนวข้อสอบ
แนวข้อสอบ
แนวข้อสอบ
แนวข้อสอบ
แนวข้อสอบ
แนวข้อสอบ
แนวข้อสอบ

More Related Content

What's hot

โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนโครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนพัน พัน
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้Aoun หมูอ้วน
 
การจัดการเรียนการสอนสำหรับเด็ก ld
การจัดการเรียนการสอนสำหรับเด็ก ldการจัดการเรียนการสอนสำหรับเด็ก ld
การจัดการเรียนการสอนสำหรับเด็ก ldPa'rig Prig
 
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6Napadon Yingyongsakul
 
หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 1
หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 1หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 1
หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 1CC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
ประวัติผู้วิจัย
ประวัติผู้วิจัยประวัติผู้วิจัย
ประวัติผู้วิจัยYanee Chaiwongsa
 
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงWareerut Hunter
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศdnavaroj
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีWarodom Techasrisutee
 
สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็นTaraya Srivilas
 
โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)Guntima NaLove
 
แบบทดสอบโครงงาน
แบบทดสอบโครงงานแบบทดสอบโครงงาน
แบบทดสอบโครงงานRattana Wongphu-nga
 
กิจกรรมที่1 โครงงานการทุจริต คอร์รัปชั่น
กิจกรรมที่1 โครงงานการทุจริต คอร์รัปชั่นกิจกรรมที่1 โครงงานการทุจริต คอร์รัปชั่น
กิจกรรมที่1 โครงงานการทุจริต คอร์รัปชั่นPimnatthacha
 
แรงลัพธ์
แรงลัพธ์แรงลัพธ์
แรงลัพธ์Kan Pan
 
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยthnaporn999
 
ความหมายและทฤษฏีการบริหารสถานศึกษา
ความหมายและทฤษฏีการบริหารสถานศึกษาความหมายและทฤษฏีการบริหารสถานศึกษา
ความหมายและทฤษฏีการบริหารสถานศึกษาPitchayakarn Nitisahakul
 
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3ทศพล พรหมภักดี
 
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตร
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตรรูปแบบการพัฒนาหลักสูตร
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตรBigbic Thanyarat
 

What's hot (20)

โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนโครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
การจัดการเรียนการสอนสำหรับเด็ก ld
การจัดการเรียนการสอนสำหรับเด็ก ldการจัดการเรียนการสอนสำหรับเด็ก ld
การจัดการเรียนการสอนสำหรับเด็ก ld
 
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
 
หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 1
หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 1หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 1
หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 1
 
ประวัติผู้วิจัย
ประวัติผู้วิจัยประวัติผู้วิจัย
ประวัติผู้วิจัย
 
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็น
 
โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)
 
ชุดการสอนที่ 8 ฟีโรโมน
ชุดการสอนที่ 8 ฟีโรโมนชุดการสอนที่ 8 ฟีโรโมน
ชุดการสอนที่ 8 ฟีโรโมน
 
12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์
12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์
12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์
 
แบบทดสอบโครงงาน
แบบทดสอบโครงงานแบบทดสอบโครงงาน
แบบทดสอบโครงงาน
 
กิจกรรมที่1 โครงงานการทุจริต คอร์รัปชั่น
กิจกรรมที่1 โครงงานการทุจริต คอร์รัปชั่นกิจกรรมที่1 โครงงานการทุจริต คอร์รัปชั่น
กิจกรรมที่1 โครงงานการทุจริต คอร์รัปชั่น
 
แรงลัพธ์
แรงลัพธ์แรงลัพธ์
แรงลัพธ์
 
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
 
ความหมายและทฤษฏีการบริหารสถานศึกษา
ความหมายและทฤษฏีการบริหารสถานศึกษาความหมายและทฤษฏีการบริหารสถานศึกษา
ความหมายและทฤษฏีการบริหารสถานศึกษา
 
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3
 
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตร
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตรรูปแบบการพัฒนาหลักสูตร
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตร
 

Viewers also liked

Paper id 23201434
Paper id 23201434Paper id 23201434
Paper id 23201434IJRAT
 
Paper id 21201495
Paper id 21201495Paper id 21201495
Paper id 21201495IJRAT
 
Paper id 26201493
Paper id 26201493Paper id 26201493
Paper id 26201493IJRAT
 
Paper id 24201453
Paper id 24201453Paper id 24201453
Paper id 24201453IJRAT
 
Paper id 252014107
Paper id 252014107Paper id 252014107
Paper id 252014107IJRAT
 
Paper id 24201474
Paper id 24201474Paper id 24201474
Paper id 24201474IJRAT
 
Paper id 252014144
Paper id 252014144Paper id 252014144
Paper id 252014144IJRAT
 
The Ukraine and Me
The Ukraine and MeThe Ukraine and Me
The Ukraine and Mehuckrachael
 
Paper id 21201422
Paper id 21201422Paper id 21201422
Paper id 21201422IJRAT
 
Paper id 252014114
Paper id 252014114Paper id 252014114
Paper id 252014114IJRAT
 
Paper id 26201481
Paper id 26201481Paper id 26201481
Paper id 26201481IJRAT
 
Paper id 21201494
Paper id 21201494Paper id 21201494
Paper id 21201494IJRAT
 
Paper id 25201447
Paper id 25201447Paper id 25201447
Paper id 25201447IJRAT
 
地方財政、預算經驗談-黃崇哲(2014.09.23)
地方財政、預算經驗談-黃崇哲(2014.09.23)地方財政、預算經驗談-黃崇哲(2014.09.23)
地方財政、預算經驗談-黃崇哲(2014.09.23)平台 青
 
Paper id 25201435
Paper id 25201435Paper id 25201435
Paper id 25201435IJRAT
 
Paper id 2720149
Paper id 2720149Paper id 2720149
Paper id 2720149IJRAT
 
2d work slide show
2d work slide show2d work slide show
2d work slide showLibby Lynch
 
Paper id 25201482
Paper id 25201482Paper id 25201482
Paper id 25201482IJRAT
 
Paper id 212014107
Paper id 212014107Paper id 212014107
Paper id 212014107IJRAT
 
Paper id 21201482
Paper id 21201482Paper id 21201482
Paper id 21201482IJRAT
 

Viewers also liked (20)

Paper id 23201434
Paper id 23201434Paper id 23201434
Paper id 23201434
 
Paper id 21201495
Paper id 21201495Paper id 21201495
Paper id 21201495
 
Paper id 26201493
Paper id 26201493Paper id 26201493
Paper id 26201493
 
Paper id 24201453
Paper id 24201453Paper id 24201453
Paper id 24201453
 
Paper id 252014107
Paper id 252014107Paper id 252014107
Paper id 252014107
 
Paper id 24201474
Paper id 24201474Paper id 24201474
Paper id 24201474
 
Paper id 252014144
Paper id 252014144Paper id 252014144
Paper id 252014144
 
The Ukraine and Me
The Ukraine and MeThe Ukraine and Me
The Ukraine and Me
 
Paper id 21201422
Paper id 21201422Paper id 21201422
Paper id 21201422
 
Paper id 252014114
Paper id 252014114Paper id 252014114
Paper id 252014114
 
Paper id 26201481
Paper id 26201481Paper id 26201481
Paper id 26201481
 
Paper id 21201494
Paper id 21201494Paper id 21201494
Paper id 21201494
 
Paper id 25201447
Paper id 25201447Paper id 25201447
Paper id 25201447
 
地方財政、預算經驗談-黃崇哲(2014.09.23)
地方財政、預算經驗談-黃崇哲(2014.09.23)地方財政、預算經驗談-黃崇哲(2014.09.23)
地方財政、預算經驗談-黃崇哲(2014.09.23)
 
Paper id 25201435
Paper id 25201435Paper id 25201435
Paper id 25201435
 
Paper id 2720149
Paper id 2720149Paper id 2720149
Paper id 2720149
 
2d work slide show
2d work slide show2d work slide show
2d work slide show
 
Paper id 25201482
Paper id 25201482Paper id 25201482
Paper id 25201482
 
Paper id 212014107
Paper id 212014107Paper id 212014107
Paper id 212014107
 
Paper id 21201482
Paper id 21201482Paper id 21201482
Paper id 21201482
 

Similar to แนวข้อสอบ

กระบวนการพัฒนาหลักสูตร
กระบวนการพัฒนาหลักสูตรกระบวนการพัฒนาหลักสูตร
กระบวนการพัฒนาหลักสูตรNoawanit Songkram
 
รูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอนรูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอนwannaphakdee
 
04 instructional system_design
04 instructional system_design04 instructional system_design
04 instructional system_designAthit Thongkum
 
หลักการและแนวคิดในการจัดทำหลักสูตร
หลักการและแนวคิดในการจัดทำหลักสูตรหลักการและแนวคิดในการจัดทำหลักสูตร
หลักการและแนวคิดในการจัดทำหลักสูตรKidty Nunta
 
ทฤ.หลักสูตร
ทฤ.หลักสูตรทฤ.หลักสูตร
ทฤ.หลักสูตรTawatchai Bunchuay
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
การพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตรการพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตรJiraprapa Suwannajak
 
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐานการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐานkruthai40
 
Curriculum Planning
Curriculum PlanningCurriculum Planning
Curriculum PlanningChompri Ch
 
ความหมาย ความสำคัญของหลักสูตร
ความหมาย ความสำคัญของหลักสูตรความหมาย ความสำคัญของหลักสูตร
ความหมาย ความสำคัญของหลักสูตรmaturos1984
 
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางรูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางIaon Srichiangsa
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2Jiramet Ponyiam
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7fernfielook
 

Similar to แนวข้อสอบ (20)

กระบวนการพัฒนาหลักสูตร
กระบวนการพัฒนาหลักสูตรกระบวนการพัฒนาหลักสูตร
กระบวนการพัฒนาหลักสูตร
 
รูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอนรูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอน
 
04 instructional system_design
04 instructional system_design04 instructional system_design
04 instructional system_design
 
E4
E4E4
E4
 
Surapol3
Surapol3Surapol3
Surapol3
 
หลักการและแนวคิดในการจัดทำหลักสูตร
หลักการและแนวคิดในการจัดทำหลักสูตรหลักการและแนวคิดในการจัดทำหลักสูตร
หลักการและแนวคิดในการจัดทำหลักสูตร
 
ทฤ.หลักสูตร
ทฤ.หลักสูตรทฤ.หลักสูตร
ทฤ.หลักสูตร
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
Botkwam
BotkwamBotkwam
Botkwam
 
Botkwam
BotkwamBotkwam
Botkwam
 
Botkwam
BotkwamBotkwam
Botkwam
 
การพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตรการพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตร
 
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐานการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
 
Curriculum Planning
Curriculum PlanningCurriculum Planning
Curriculum Planning
 
Ppt
PptPpt
Ppt
 
ความหมาย ความสำคัญของหลักสูตร
ความหมาย ความสำคัญของหลักสูตรความหมาย ความสำคัญของหลักสูตร
ความหมาย ความสำคัญของหลักสูตร
 
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางรูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 

แนวข้อสอบ

  • 1. 1. หลัก สูตรมาจากภาษาอังกฤษ คือ Curriculum 2. Currer มาจากภาษาลาติน หมายถึง ทางวิ่ง หรือ ลู่วิ่ง 3. โอ ลิวา รวบรวมความหมายของหลักสูตรไว้กี่ความหมาย อะไรบ้าง รวบรวมไว้ 13 ความหมาย ประกอบด้วย หลักสูตรคือ - สิ่ง ที่สอนในโรงเรียน - เนื้อหาวิชา - โปรแกรม สาหรับการเรียน - กลุ่มของวัสดุอุปกรณ์ - กลุ่มวิชา - ลาดับของรายวิชา - จุด มุ่งหมายที่ผู้เรียนพึงบรรลุ - ราย วิชาที่จะศึกษา - ทุก สิ่งทุกอย่างที่ดาเนินภายในโรงเรียนและกิจกรรมนอกชั้นเรียน การแนะแนว รวมทั้งบุคคลที่เกี่ยวข้อง - สิ่ง ที่สอนทั้งในและนอกห้องเรียน โดยการดูแลจากโรงเรียน - ทุก สิ่งที่ได้วางแผนจากบุคลากรในโรงเรียน - ลาดับขั้นตอนของประสบการณ์ที่โรงเรียนจัดให้แก่ผู้เรียน - ผลของประสบการณ์ที่ผู้เรียนแต่ละคนได้รับมาจากโรงเรียน 4. ความ หมายของหลักสูตรในวงกว้าง คือ มวลประสบการณ์ทั้งหลายที่จัดให้แก่ผู้เรียนทั้งภายในและภายนอกโรงเรียนทั้ง ทางตรงและทางอ้อม 5. ความ หมายของหลักสูตรในวงแคบ คือ วิชาหรือเนื้อหาที่สอน 6. ความ หมายของหลักสูตรยังแบ่งออกอีกเป็น 2 กลุ่มประกอบด้วย 1) สิ่งที่เป็นเอกสาร 2) เป็น เอกสารและกิจกรรม หรือประสบการณ์ 7. สิ่ง ที่เป็นเอกสารในคานิยามของหลักสูตร ประกอบด้วย คู่มือครู หน่วยการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ หนังสือเรียน หนังสือเสริมประสบการณ์ ตลอดจนสื่อและอุปกรณ์การเรียนแบบต่าง ๆ 8. Curriculumelements หมายถึง องค์ประกอบของหลักสูตร 9. องค์ ประกอบของหลักสูตร หมายถึง การจัดระบบโครงสร้างภายในของหลักสูตร 10. สรุป แล้วองค์ประกอบของหลักสูตร ประกอบด้วยอะไรบ้าง ประกอบ ด้วย 1) หลักการและจุดมุ่งหมาย 2) เนื้อหาวิชาและเวลาเรียน 3) การ นาหลักสูตรไปใช้ 4) การ ประเมินผล 11. ใคร เสนอแนวคิดการจัดการหลักสูตรแบบหลักการเหตุผล คือ ไทเลอร์ (Tyler) 12. ไท เลอร์ บอกองค์ประกอบของหลักสูตรไว้ คือ 1) จุด มุ่งหมายทางการศึกษา 2) ประสบการณ์ การเรียนรู้
  • 2. 3) มวลประสบการณ์ 4) วิธีการประเมินผล 13. โบ ชอง ให้องค์ประกอบของหลักสูตร 4 ส่วนคือ 1) เป้ าหมายหรือวัตถุประสงค์เฉพาะ 2) ขอบ ข่ายเนื้อหา 3) การวางแผนการใช้หลักสูตร 4) การพิจารณาตัดสิน 14. ผล การเรียนรู้ นิยมเรียกว่า มาตรฐานการเรียนรู้ 15. ขอบ ข่ายเนื้อหา เรียกอีกอย่างว่า สาระการเรียนรู้ 16. แผน การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน หรือเรียกว่า แผนการจัดการเรียนรู้ 17. หลัก การ คือ คุณสมบัติหรือแนวทางในการปฏิบัติเกี่ยวกับหลักสูตร 18. หลัก การมีหน้าที่อะไร บอกให้รู้ว่าหลักสูตรนั้น ๆ จัดขึ้นเพื่ออะไร 19. จุด มุ่งหมายของหลักสูตร มีหน้าที่คืออะไร จะบอกความคาดหวังของหลักสูตรว่าเมื่อเรียนจบแล้ว จะมีคุณลักษณะอย่างไร ควรมีพฤติกรรมด้านปัญญา เจตคติค่านิยม 20. เนื้อหา วิชา คือ สื่อหรือเครื่องนาทางพาผู้เรียนไปสู่จุดมุ่งหมาย 21. เวลา เรียน คือ ส่วนกาหนดว่าต้องใช้เวลาเรียนหลักสูตรนี้ทั้งหมดกี่ปี 22. การ นาหลักสูตรไปใช้ประกอบด้วย การแปลงหลักสูตรการสอน การจัดเตรียมสิ่งอานวยความสะดวก การสอ น 23. การ ประเมินผล ประกอบด้วย การประเมินผลการเรียน การประเมินผลหลักสูตร 24. curriculum development คือ การพัฒนาหลักสูตร 25. การ พัฒนาหลักสูตร หมายถึง การจัดทาหลักสูตรขึ้นมาใหม่ และ การจัดทาหลักสูตรที่มีอยู่แล้วให้ดีขึ้นยิ่งกว่าเดิม 26. การ พัฒนาหลักสูตรมีผลต่อปัจจัยด้านต่าง ๆ ประกอบด้วย การพัฒนาเศรษฐกิจ การพัฒนาการเมืองและการปกครอง การพัฒนาสังคม การพัฒนาด้าน วิชาการ การแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ 27. รูป แบบการพัฒนาหลักสูตร ประกอบด้วย รูปแบบการพัฒนาหลักสูตรตามแนวคิดของ ราล์ฟ ไทเลอร์ (Ralph Tyler) ตามแนวคิดของฮิลดา ทาบา (HildaTaba) ตาม แนวคิดของเซเลอร์และคณะ (Saylorand others) 28. รูป แบบการพัฒนาของราล์ฟ ไทเลอร์ ประกอบด้วย 1) มี จุดมุ่งหมายทางการศึกษา 2) ประสบการณ์ ทางการศึกษา 3) จะ จัดให้ประสบการณ์มีประสิทธิภาพอย่างไร 4) จะ ประเมินผลจุดมุ่งหมายอย่างไรให้มีประสิทธิภาพ 29. รูป แบบของไทเลอร์ ก่อนกาหนดจุดมุ่งหมายชั่วคราว ต้องอาศัยข้อมูลจาก 3 แหล่ง ประกอบด้วย 1) ผู้ เรียน
  • 3. 2) สังคม 3) เนื้อหาวิชา 30. แหล่ง ข้อมูลด้านผู้เรียน ของไทเลอร์ คือ ความต้องการ ความสนใจ ความสามารถ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 31. แหล่ง ข้อมูลด้านสังคม ของไทเลอร์ คือ ค่านิยมความเชื่อ และแนวปฏิบัติในการดาเนินชีวิต 32. แหล่ง ข้อมูลด้านเนื้อหาวิชา คือ แนวคิดจากผู้เชี่ยวชาญและผลการวิจัย 33. รูป แบบพัฒนาหลักสูตรของทาบา มี 7 ขั้นตอน ประกอบด้วย 1) วินิจฉัย ความต้องการ 2) กาหนด จุดประสงค์ 3) คัด เลือกเนื้อหา 4) จัด เนื้อหา 5) เลือกประสบการณ์การเรียนรู้ 6) จัด ประสบการณ์การเรียนรู้ 7) กาหนด สิ่งที่ประเมินและวิธีการประเมิน 34. รูป แบบพัฒนาหลักสูตรของเซเลอร์ และคณะ ประกอบด้วย การกาหนดเป้ าหมาย จุดประสงค์และขอบเขตความรู้ การออกแบบหลักสูตร การนาหลักสูตรไปใช้ การประเมินหลักสูตร 35. หลัก สูตรสถานศึกษา ตรงกับภาษาอังกฤษ ว่า Schoolbasedcurriculumหรือ schoolcurriculum 36. การ พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา อาศัยหลักสูตรใด หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 37. ขั้น ตอนแรกของการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา คือ ศึกษาข้อมูลที่เกี่ยวข้องประกอบด้วย หลักสูตรแกนกลาง 2551 กรอบหลักสูตรท้องถิ่น บริบทความต้องการของสถานศึกษา 38. การ จัดทาหลักสูตรสถานศึกษา มีกี่ลักษณะ อะไรบ้าง มี 2 ลักษณะ คือ ระดับสถานศึกษา ระดับชั้นเรียน 39. องค์ ประกอบของหลักสูตรสถานศึกษา ระดับสถานศึกษา มีอะไรบ้าง 1) ส่วน นา 2) โครง สร้างหลักสูตรสถานศึกษา 3) คาอธิบายรายวิชา 4) เกณฑ์ การวัดและประเมินและเกณฑ์การจบหลักสูตร 40. องค์ ประกอบของหลักสูตรสถานศึกษา ระดับชั้นเรียน ประกอบด้วย 1) การ จัดโครงสร้างรายวิชา 2) การ ออกแบบหน่วยการเรียนรู้ 3) การ จัดทาแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 41. การ พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาระดับใด เป็นหน้าที่ของครูผู้สอน ระดับชั้นเรียน
  • 4. 42. หลัก สูตรแบ่งได้กี่ประเภท อะไรบ้าง แบ่งได้ 4 ประเภท ประกอบด้วย 1) ประเภท เน้นเนื้อหาวิชา 2) ประเภท เน้นผู้เรียน 3) ประเภท เน้นสังคม 4) ประเภท เน้นการบูรณาการ 43. หลัก สูตรประเภทเน้นเนื้อหาวิชา ประกอบด้วย 1) หลักสูตรายวิชา 2) หลักสูตรสัมพันธ์วิชา 3) หลักสูตรหมวดวิชา 44. หลัก สูตรประเภทเน้นผู้เรียน ประกอบด้วย 1) หลักสูตรกิจกรรมหรือประสบการณ์ 2) หลักสูตรเกณฑ์ความสามารถ 3) หลักสูตรเอกัตภาพ 45. หลัก สูตรประเภทเน้นสังคม ประกอบด้วย หลักสูตรเพื่อชีวิตและสังคม 46. หลัก สูตรประเภทเน้นการบูรณาการ ประกอบด้วย หลักสูตรแกน หลักสูตรบูรณาการ 47. Subjectcurriculum หมายถึง หลักสูตรรายวิชา 48. หลัก สูตรใดที่ถือว่าเก่าแก่ที่สุด หลักสูตรรายวิชา 49. หลัก สูตรใดที่ยึดปรัชญาแบบนิรันตรนิยมกับสารัตนิยม หลักสูตรรายวิชา 50. หลัก สูตรที่สอนแยกเป็นรายวิชา คือ หลักสูตรรายวิชา 51. correlatedcurriculum หมายถึง หลักสูตรสัมพันธ์วิชา 52. หลัก สูตรที่นาเนื้อหาวิชา 2-3 วิชาที่เกี่ยวข้องกันมาวางแผนการสอนร่วมกัน คือ หลักสูตรสัมพันธ์วิชา 53. broad fields curriculum หมายถึง หลักสูตรหมวดวิชา 54. หลัก สูตรใดที่นาเอาเนื้อหาวิชาที่เนื้อหา ศาสตร์ใกล้ชิดกัน มารวมในหมวดเดียวกัน หลักสูตรหมวดวิชา เช่น หมวดวิทยาศาสตร์ ประกอบด้วย เคมีฟิสิกส์ 55. activity or experiencecurriculum หมาย ถึง หลักสูตรกิจกรรมหรือประสบการณ์ 56. หลัก สูตรใดจัดตามแนวปรัชญาการศึกษาพิพัฒนนิยม คือ หลักสูตรกิจกรรมหรือ ประสบการณ์ 57. Progressivism คือ ปรัชญาการศึกษาพิพัฒนนิยม 58. หลัก สูตรกิจกรรมหรือประสบการณ์ เน้นด้านใด เน้นความสนใจของนักเรียน หรือประสบการณ์ของนักเรียน 59. วิธี การเรียนที่ให้นักเรียนกาหนดเนื้อหาตามความสนใจเอง เรียกว่า วิธีเรียนแบบโครงการ (project method) 60. competency-basedcurriculum หมายถึง หลักสูตรเกณฑ์ความสามารถ 61. หลัก สูตรที่เน้นพฤติกรรมที่นักเรียนสามารถทาให้มากกว่าเน้นเนื้อหา คือหลักสูตรใด หลักสูตรเกณฑ์ความสามารถ 62. Individualized curriculum หมาย ถึง หลักสูตรเอกัตภาพ 63. หลัก สูตรใดจัดตามแนวปรัชญาภาวะนิยม คือหลักสูตรเอกัตภาพ
  • 5. 64. Existentialism คือ ปรัชญาภาวะนิยม 65. หลัก สูตรที่เกิดจากนักเรียนและครูร่วมกันวางแผน จัดตามความสนใจ ความสามารถของตน คือหลักสูตรเอกัตภาพ 66. socialprocessandlife function curriculum หมาย ถึง หลักสูตรเพื่อชีวิตและสังคม 67. หลัก สูตรที่ยึดแนวปรัชญาปฏิรูปนิยม คือ หลักสูตรเพื่อชีวิตและสังคม 68. Reconstructionism คือ ปรัชญาปฏิรูปนิยม 69. หลัก สูตรเพื่อชีวิตและสังคมประกอบด้วย ด้านใหญ่ๆ คือ 1) ชีวิต ในสังคมและการดารงอยู่ของมนุษย์ 2) ปัญหาของชุมชน 3) การ ดาเนินการเพื่อปรับปรุงสภาพสังคม 70. Core curriculum หมายถึง หลักสูตรแกน 71. หลัก สูตรแกน คือ หลักสูตรที่กาหนดให้มีส่วนแกน เน้นการบูรณาการเนื้อหาวิชามาหลอมเข้าด้วย กัน 72. หลัก สูตรแกน มี 4 ลักษณะ คือ 1) หลักสูตรแกนแบบหมวดวิชา 2) หลักสูตรแกนแบบหลอมวิชา 3) หลักสูตรที่ใช้ปัญหาเป็นแกน 4) หลักสูตรที่ใช้ความสนใจของผู้เรียนเป็นแกน 73. หลัก สูตรแกนแบบหมวดวิชา คือ หลักสูตรที่กาหนดหมวดหนึ่งเป็นแกน แล้วเอาเนื้อหาจากหมวดอื่นมาสัมพันธ์กัน 74. หลัก สูตรแกนแบบหลอมวิชา คือ นาวิชาตั้งแต่ 2วิชามาหลอมเป็นวิชาเดียว โดยวิชาหนึ่งเป็นแกน 75. หลัก สูตรที่ใช้ปัญหาเป็นแกน คือ เลือกและกาหนดขอบเขตไว้ล่วงหน้า นาปัญหาที่เลือกมาเป็นแกนจัดเนื้อหาเรียน 76. หลัก สูตรที่ใช้ความสนใจของผู้เรียนเป็นแกน คือ กาหนดเรื่องที่ผู้เรียนสนใจ แล้วร่วมกันจัดทาหน่วยกิจกรรม 77. integrated curriculum หมายถึง หลักสูตรบูรณาการ 78. หลัก สูตรที่เน้นให้ผู้เรียนพัฒนาทุกด้าน คือ หลักสูตรบูรณาการ 79. กระบวน การบูรณาการมีลักษณะอย่างไรบ้าง มีลักษณะ 1) บูรณาการแบบผู้สอนคนเดียว 2) แบบคู่ขนาน 3) แบบสหวิทยาการ 4) แบบโครงการ 80. การ พัฒนาหลักสูตร ประกอบด้วยข้อมูลพื้นฐาน 2 ลักษณะ คือ ข้อมูลที่คงที่ ข้อมูลที่เป็นพลวัตร 81. ข้อมูล คงที่ (static) คือ ข้อมูลพื้นฐานทางปรัชญาการศึกษา และข้อมูลทางจิตวิทยา 82. ข้อมูล พลวัตร (dynamic) คือ ข้อมูลเกี่ยวกับสังคมผู้เรียน ความรู้ 83. ปรัชญา การศึกษามีคุณค่า 5 ประการ ประกอบด้วย 1) ช่วย ในการตั้งคาถามที่ลึกซึ้ง
  • 6. 2) ช่วย ให้เกิดความเข้าใจ 3) ช่วย ขจัดความไม่สอดคล้องต้องกัน 4) ช่วย ให้เห็นภาพรวม 5) ช่วย เสนอแนวคิดใหม่ 84. ปรัชญา มีความเกี่ยวข้องกับพื้นฐาน 3ประการ คือ ธรรมชาติของความจริง ธรรมชาติของความรู้ ธรรมชาติของคุณค่า 85. reality คือ ธรรมชาติของความจริง 86. knowledge คือ ธรรมชาติของความรู้ 87. values คือ ธรรมชาติของคุณค่า 88. การ ศึกษาธรรมชาติของความจริง เรียกว่า อภิปรัชญา (ontology) 89. การ ศึกษาธรรมชาติของความรู้ เรียกว่า ญาณวิทยา (epistemology) 90. การ ศึกษาธรรมชาติของคุณค่า เรียกว่า คุณวิทยา(axiology) 91. Essentialism หมายถึง สารัตนิยม 92. ผู้เผยแพร่ปรัชญาการศึกษาสารัตนิยม คือ แบคเลย์ (William Bagley) 93. สา รัตนิยม เกิดจากปรัชญาบริสุทธิ์ 2กลุ่ม คือ จิตนิยม กับ สัจนิยม 94. จิตนิยม คือ Idealism 95. สัจนิยม คือ Realism 96. ปรัชญา การศึกษาใดที่เน้นเนื้อหาวิชา ปรัชญาการศึกษาสารัตนิยม 97. สา รัตนิยม ใช้วิธีการสอนแบบใด แบบบรรยาย อภิปราย ให้ทาตามตัวอย่าง และวิธีอุปมาน 98. Perennialism คือ ปรัชญาการศึกษานิรันตรนิยม 99. ปรัชญา การศึกษาใดที่เน้นสอนเรื่องที่เป็นนิรันดร ไม่เปลี่ยนแปลง มุ่งพัฒนาคนให้เป็นคนสมบูรณ์ คือ ปรัชญาการศึกษานิรันตรนิยม 100. ปรัชญา การศึกษา มีวิธีการสอนแบบใด เน้นการสอนฝึกสติปัญญา ให้ท่องจา และถามตอบใช้เหตุผล 101. Progressivism คือ ปรัชญาการศึกษาพิพัฒนนิยม 102. ปรัชญา ใดพัฒนามาจากปรัชญาปฏิบัตินิยม คือ ปรัชญาการศึกษาพิพัฒนนิยม 103. ปรัชญา สาหรับสังคมประชาธิปไตย คือ พิพัฒนนิยม 104. ปรัชญา ใดที่เชื่อว่า ถ้าคุณภาพของกระบวนการดี คุณภาพของผลผลิตก็ดีด้วย คือ พิพัฒนนิยม 105. ปรัชญา การศึกษาใดยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง คือ พิพัฒนนิยม 106. ปรัชญา ที่เน้นว่า “คิดอย่างไร” มากกว่า “คิดอะไร” คือ พิพัฒนนิยม 107. Reconstructionism คือ ปรัชญาการศึกษาปฏิรูปนิยม 108. ปรัชญา การศึกษาปฏิรูปนิยม มีแนวคิดอย่างไร แนวคิดว่าการศึกษาควรจะช่วยปรับปรุง พัฒนา และปฏิรูปสังคม ตลอดจนช่วยแก้ปัญหาของสังคม 109. ปรัชญา การศึกษาใด เป็นหลักสูตรที่เน้นสังคม คือ ปฏิรูปนิยม 110. ปรัชญา การศึกษาที่สอนโดยวิธีการสอนแบบร่วมมือ (cooperativemethods) คือ ปฏิรูปนิยม 111. Existentialism คือ ปรัชญาการศึกษาภาวะนิยม
  • 7. 112. ปรัชญา ใดเน้นตัวผู้เรียนรายบุคคล คือ ภาวะนิยม 113. individual child-centered คือ การศึกษาเน้นผู้เรียนรายบุคคล 114. ปรัชญา การศึกษาที่มุ่งส่งเสริมพัฒนาตนเอง อิสรภาพ การเลือก และความรับผิดชอบ คือ ภาวะนิยม 115. Buddhist Philosophy คือ ปรัชญาการศึกษาตามแนวพุทธปรัชญา 116. ปรัชญา การศึกษาตามแนวพุทธปัญญา หมายถึง ปรัชญาการศึกษาที่มีรากฐานความเชื่อ มากจากพุทธปรัชญา 117. จุด มุ่งหมายการศึกษาของพระพุทธศาสนา คือ ความหลุดพ้นจากทุกข์ 118. ธรรมชาติ ของมนุษย์ที่แท้จริง คือ ทุกข์ 119. จุด มุ่งหมายการศึกษาตามพุทธปรัชญาประกอบด้วย พัฒนาอกุศลมูลของนักเรียนให้ น้อยลง รวมกันในสังคมด้วยหลักธรรมสารานิยธรรม 6อปริหานิยธรรม 7 สัปปุริสธรรม 7 ให้ผู้เรียนรู้จักคิด ใช้เหตุผลและปัญหาแก้ปัญหา 120. ตาม พุทธปรัชญา ผู้สอนควรประกอบด้วยลักษณะใด ประกอบด้วย เป็นกัลยาณมิตร (เพื่อนดี) ตั้งใจให้ความรู้ มีลีลาการสอน คือ แจ่มแจ้ง จูงใจแกล้วกล้าร่าเริง สอนอย่างรู้จริงมีเหตุผล สอนให้ได้ผลจริงสาเร็จความมุ่งหมาย ปฏิบัติต่อศิษย์เหมือนทิศเบื้องขวา (ครู อาจารย์) 121. ตาม พุทธปรัชญา ผู้เรียนควรประกอบด้วยลักษณะใด ประกอบด้วย ปฏิบัติตนตามจักร 4 อิทธิบาท 4 คิดเองเป็น เป็นพหูสูต เคารพผู้ให้ความรู้ 122. สรุป ปรัชญาการศึกษายึดอะไรเป็นหลักในการจัดการศึกษา ยึดแนวความคิดความเชื่อ ค่านิยม หรืออุดมการณ์ 123. ปรัชญา ที่ประยุกต์มาจากปรัชญาทั่วไปหรือปรัชญาบริสุทธิ์ประกอบด้วย 1) ปรัชญา การศึกษาสารัตนิยม 2) ปรัชญาการศึกษานิรันตรนิยม 3) ปรัชญาการศึกษาพิพัฒนนิยม 4) ปรัชญาการศึกษาปฏิรูปนิยม 5) ปรัชญาการศึกษาภาวะนิยม 6) ปรัชญา การศึกษาตามแนวพุทธปรัชญา 124. การ จัดการศึกษาเป็นกระบวนการทางสังคม 4ประการ ประกอบด้วย 1) ใน ทางมานุษยวิทยา 2) ใน ทางเศรษฐศาสตร์ 3) ใน ทางรัฐศาสตร์การเมือง 4) ใน ทางสังคมวิทยา 125. กระบวน การถ่ายทอดวัฒนธรรม คือ กระบวนการทางสังคมด้านใด ทางมานุษยวิทยา 126. enculturation process คือ กระบวนการถ่ายทอดวัฒนธรรม 127. development processคือ กระบวนการพัฒนาสังคม 128. democratization processคือ กระบวนการประชาธิปไตย 129. socialization processคือ กระบวนการสังคมประกิตหรือการขัดเกลาทาง สังคม
  • 8. 130. กระบวน การพัฒนาสังคม คือ เศรษฐศาสตร์ 131. กระบวน การประชาธิปไตย คือ รัฐศาสตร์การเมือง 132. กระบวน การสังคมประกิตหรือขัดเกลาทางสังคม คือ สังคมวิทยา 133. การ จัดการศึกษามีบทบาทหลักในการพัฒนาสังคม กี่ประการ ประกอบด้วยอะไรบ้าง มี 5 ประการ ประกอบด้วย 1) การ ฝึกฝนอาชีพให้แก่เยาวชน 2) การ ถ่ายทอดวัฒนธรรมของสังคม 3) การ นาความก้าวหน้ามาสู่สังคม 4) การ สร้างความเป็นปึกแผ่นให้แก่ชาติ 5) การ ส่งเสริมพัฒนาการส่วนบุคคล 134. สิ่ง ที่ส่งผลต่อการศึกษาและสถาบันประกอบไปด้วย คือ การศึกษาสาหรับเด็กที่มีปัญหาเฉพาะ การแข่งขันจากสถาบันอื่น ความต้องการในอนาคต การเผชิญกั บแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลายและกระจัดกระจาย สภาพครอบครัวที่แตกต่างจากเดิม 135. สังคม แห่งการเรียนรู้ หมายถึง สังคมมีเทคโนโลยีระบบข่าวสารและความรู้ทุกด้าน 136. learning society คือ สังคมแห่งการเรียนรู้ 137. ความ รู้ที่ถือเป็นสินทรัพย์หรือขายได้ด้วย เรียกอีกชื่อว่า เศรษฐกิจฐาน ความรู้ 138. knowledge-basedeconomy คือ เศรษฐกิจฐานความรู้ 139. หลัก สูตรสาหรับคนรุ่นใหม่ควรมีลักษณะอย่างไร ควรมีลักษณะดังนี้ 1) ต้องแสวงหาความเข้าใจอย่างไม่หยุดยั้ง 2) ต้องเลือกเนื้อหาสาระการเรียนรู้ 3) ต้องมุ่งศึกษาเพื่ออนาคต ไม่ใช่เพื่ออดีต 4) กระตุ้นให้เกิดความคิด 5) การเรียนรู้ตลอดชีวิต 6) เทคโนโลยีกับแหล่งเรียนรู้ 140. หลัก สูตรสมัยใหม่ต้องครอบคลุมเนื้อหา ดังนี้ 1) ธรรมชาติ 2) วัฒนธรรม 3) การรู้จักตัวเอง 4) รู้จักผู้อื่น 141. พัฒนาการ ทางสังคมของครอบครัวยุคใหม่ จะมีลักษณะดังนี้ มีพ่อหรือแม่เพียงคนเดียวเพิ่มมากขึ้น แม่ทางานมากขึ้น ครอบครัวเล็กลง ความขัดแย้งใ นครอบครัว เด็กถูกทอดทิ้งและถูกทารุณกรรม พ่อหรือแม่แต่งงานใหม่เพิ่มขึ้น วัฒนธรรมเด็กกลุ่มวัยเดียว กันมีบทบาทมากขึ้น โทรทัศน์และสื่อมีบทบาทเพิ่มมากขึ้น 142. ภา วะโลกาภิวัตน์ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงด้านต่าง ๆ ประกอบด้วย กระแสเศรษฐกิจเสรีระบบทุนนิยม กระแสสังคมและการเมืองแบบเสรีประชาธิปไตย กระแ สวัฒนธรรม กระแสสิ่งแวดล้อม กระแสวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
  • 9. 143. กระ แสโลกาภิวัตน์มีผลต่อการจัดการศึกษาหลายทาง ดังนี้ เด็กขาดที่พึ่งทางใจ การเลือกเส้นทางผิด ค่านิยมทางการศึกษา การขาดการอบรมทางศีลธรรมและค่านิยมที่ดี เด็กไม่มีกลไกกลั่นกรองข่าวสารข้อมูล ความเหลื่อมล้าทางสั งคมส่งผลต่อสัมฤทธิผลทางการศึกษา 144. พื้น ฐานหลักสูตรด้านเศรษฐกิจ ประกอบไปด้วย สภาวะเศรษฐกิจไทยในกระแสโลก การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจไทยในกระแสโลกาภิวัต น์และผลกระทบต่อการศึกษา 145. สภาวะ เศรษฐกิจไทยในกระแสโลก ประกอบด้วย ระบบเศรษฐกิจโลกมีความสลับซับซ้อนและ เชื่อมโยงประเทศต่าง ๆ ใกล้ชิดกันมากขึ้น แนวโน้มการพัฒนาสู่ “เศรษฐกิจ ยุคใหม่”ของสังคมโลกได้ก่อให้เกิด ความเหลื่อมล้าทางเทคโนโลยี การเปิดเสรีและการกีดกันการค้าเพื่อให้ได้เปรียบทางเศรษฐกิจ ปรากฏการณ์ อีกประการหนึ่งในบริบทเศรษฐกิจโลก คือระบบภูมิภาคนิยม เสถียรภาพทางเศรษฐกิจโลกยังมีความเปราะบางไม่เป็นระบบสากลที่มั่นคง แต่เปลี่ยนแปลงไปตามกระแสการเปลี่ยนแปลงของประเทศมหาอานาจทางเศรษฐกิจ 146. การ เปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจไทยในกระแสโลกาภิวัตน์และผลกระทบต่อการศึกษา ประกอบด้วย เศรษฐกิจโลกกับทักษะที่ต้องการ การจ้างงานในภาคการผลิตต่าง ๆ ความต้องการคนรุ่นใหม่ การศึกษาอบรมในบริบททางเศรษฐกิจยุคหลังอุตสาหกรรม 147. พื้น ฐานของหลักสูตรด้านการเมืองประกอบด้วย บทบาทของการศึกษาในการพัฒนาการ เมืองการปกครอง การศึกษากับการสร้างวัฒนธรรมทางการเมืองแบบมีส่วนร่วม 148. ทฤษฎี ที่เกี่ยวกับการพัฒนาหลักสูตร ประกอบด้วย จิตวิทยาการเรียนรู้พฤติกรรมนิยม (Behaviorist) จิตวิทยาการเรียนรู้ความรู้ความคิดนิยม (cognitivist) จิตวิทยา การเรียนรู้กลุ่มมนุษย์นิยม (humanist) 149. ทฤษฎี ใดอยู่ในกลุ่มพฤติกรรมนิยม ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสิค กับทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบปฏิบัติการ 150. classicalconditioning คือ ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสิค 151. operantconditioning คือ ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบปฏิบัติการ 152. ใคร ปูพื้นฐานทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสิค ไอวาน พาฟลอฟ (Ivan Paviov) 153. ทฤษฎี การวางเงื่อนไขแบบคลาสิค ประกอบด้วยแนวคิดของใครบ้าง 1) แนว คิดของเอดเวิร์คทอร์นไดค์ (Edward L. Thorndike) 2) แนว คิดของเอ็ดวิน กัททรี (Edwin R. Guthrie) 3) แนว คิดของแดเนียลฮัลล์ (DanielM.Hull) 154. ทอร์นได ค์ แบ่งกฎแห่งการเรียนรู้ไว้ 3 ประการ คือ กฎแห่งความพร้อม กฎแห่งการฝึกหัด กฎแห่งผล 155. law ofreadiness คือ กฎแห่งความพร้อม 156. law ofexerciseคือ กฎแห่งการฝึกหัด 157. law ofeffect คือ กฎแห่งผล
  • 10. 158. ความ เต็มใจที่เกิดจากทัศนคติที่ดี นาไปสู่ความพึงพอใจ อยู่ในกฎข้อใดของทอร์นไดค์ กฎแห่งความพร้อม 159. การ เชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนอง ซ้า ๆ บ่อย ทาให้เกิดเข้มแข็ง อยู่ในกฎข้อใดของทอร์นไดค์ กฎแห่งการ ฝึกหัด 160. ควร มีการให้รางวัลเพื่อเกิดผลที่น่าพอใจ อยู่ในกฎข้อใดของทอร์นไดค์ กฎแห่งผล 161. ทอร์นไดค์ กล่าวว่าการเรียนรู้จะคงที่หรือลดลงได้ ขึ้นอยู่กับสิ่งใด ขึ้นอยู่กับสิ่งเร้าและระดับความพึงพอใจ 162. ทฤษฎี การวางเงื่อนไขแบบคลาสิคของใครที่ เรียงลาดับส่วนประกอบอย่างสัมพันธ์กัน เริ่มจากสิ่งง่ายไปหายาก แนวคิด ของเอดเวิร์ด ทอร์นไดค์ 163. การ เรียนรู้เกิดจากสิ่งเร้าและการตอบสนองที่เกิดไปด้วยกันอย่างใกล้ชิด เป็นการวางเงื่อนไขแบบใด แบบติดกัน (ContinuousConditioning) 164. การ วางเงื่อนไขแบบติดกันเป็นแนวคิดใด แนวคิดของเอ็ดวิน กัททรี 165. แนว คิดของเอ็ดวิน กัททรี มีลักษณะอย่างไร สอนสิ่งใหม่ที่มีลักษณะคล้ายคลึง กับสถานการณ์เดิม ไม่เน้นการเสริมแรงจูงใจ การใช้รางวัลหรือการลงโทษ 166. คา กล่าวที่ว่า “พฤติกรรมจะเกิดระหว่างสิ่งเร้าและการตอบสนอง” คือแนวคิดใคร แนวคิดของแดเนียล ฮัลล์ (Daniel M.Hull) 167. แนว ความคิดของแดเนียล ถือว่าสิ่งใดก่อให้เกิดนิสัย คือ การเสริมแรง (reinforcement) 168. ทฤษฎี การวางเงื่อนไขแบบปฏิบัติการ ประกอบด้วยใครบ้าง มี บี เอฟ สกินเนอร์ (B.F.Skinner) 169. ใคร ที่กล่าวว่า “การให้การเสริมแรงหลังจากเลือกพฤติกรรมแล้ว จะทาให้พฤติกรรมนั้นเข็มแข็งและคงที่ สกินเนอร์ 170. ใคร มีการสอนด้วยบทเรียนโปรแกรม สกินเนอร์ 171. จิตวิทยา การเรียนรู้กลุ่มความรู้ความคิดนิยม ประกอบด้วยใครบ้าง ประกอบด้วย 1) แนว คิดของกลุ่มเกสตอล์ท(Gestalt) 2) แนว ความคิดของฌอง เพียเจท์ (Jean Piaget) 3) แนว ความคิดของเจโรม บรูเนอร์ (Jerome S. Bruner) 4) แนว ความคิดของจอห์นดิวอี้ (John Dewey) 5) แนว ความคิดของเบิร์ต กานเย่ (Robert M. Gagne) 6) แนว ความคิดของทฤษฎี Constructivist 7) แนว ความคิด“พหุปัญญา” ของโฮเวิร์ค การ์ดเนอร์ (Howard Gardner) 172. แนว คิดกลุ่มเกสตอล์ท (Gestalt) เกิดจากนักจิตวิทยาใครบ้าง 1) เวอร์ไธ เมอร์ (Wertheimer) 2) โค ห์เลอร์ (Kohler) 3) คอฟฟ์ กา (Koffka) 4) ลู วิน (Lewin)
  • 11. 173. คา ว่า gestaltมาจากภาษาเยอรมัน หมายถึง แบบแผน (pattern)หรือเค้าโครงรูปร่าง (configuration) 174. แนว คิดใดที่มุ่งสอนภาพรวม หรือส่วนรวมทั้งหมดมากกว่า แนวคิดของกลุ่มเกสตอล์ท 175. กฎ แห่งการเรียนรู้ของเกสตอล์ มีกี่ประการ อะไรบ้าง มี 4 ประการ ประกอบด้วย 1) กฎ แห่งความคล้ายคลึง 2) กฎ แห่งความใกล้เคียง 3) กฎ แห่งความใกล้ชิด 4) กฎ แห่งความต่อเนื่องที่ดี 176. law ofsimilarity คือ กฎแห่งความคล้ายคลึง 177. law ofproximity คือ กฎแห่งความใกล้เคียง 178. law ofclosure คือ กฎแห่งความใกล้ชิด 179. law ofcontinuation คือ กฎแห่งความต่อเนื่องที่ดี 180. การ เรียนรู้ด้วยของที่คล้ายคลึงกัน คือ กฎของ law of similarity 181. เอา สิ่งที่อยู่ในพวกเดียวกันและสมัยเดียวกันใกล้เคียงกันในแง่เนื้อที่และเวลา คือ กฎ low of proximity 182. เนื้อที่ ที่รวมเป็นหน่วยเดียวกันทาให้รับรู้ดีกว่า คือ กฎ low of closure 183. สิ่ง เร้ามีความต่อเนื่องกัน ทิศทางเดียวกัน คือ กฎ low ofcontinuation 184. แนว คิดของฌอง เพียเจท์ เน้นขั้นตอนพัฒนาทางปัญญา ซึ่งมีกี่ขั้น อะไรบ้าง มี 4 ขั้น ประกอบด้วย 1) ขั้น ใช้อวัยวะและประสาทสัมผัส 2) ขั้น ก่อนปฏิบัติการ 3) ขั้น ปฏิบัติการที่เป็นรูปธรรม 4) ขั้น ปฏิบัติการที่เป็นทางการ 185. sensorymotor ขั้นใช้อวัยวะและประสาทสัมผัส 186. preoperational ขั้นก่อนปฏิบัติการ 187. concreteoperation ขั้นปฏิบัติการที่เป็นรูปธรรม 188. formal operation ขั้นปฏิบัติการที่เป็นทางการ 189. ขั้น ใช้อวัยวะและประสาทสัมผัส อายุเท่าไร อายุแรกเกิด ถึง 2 ขวบ 190. ขั้น ก่อนปฏิบัติการ อายุเท่าไร อายุ 2-7 ปี 191. ขั้น ปฏิบัติการที่เป็นรูปธรรม อายุเท่าไร อายุ7-11 ปี 192. ขั้น ปฏิบัติที่เป็นทางการ อายุเท่าไร อายุ 11-16ปี 193. ขั้น ใดที่จะสร้างการเรียนรู้จากประสบการณ์ตรง ขั้นอวัยวะและประสาทสัมผัส 194. ขั้น ใดที่พัฒนาทางภาษาและใช้สัญลักษณ์ ขั้นก่อนปฏิบัติการ 195. ขั้น ใดที่เริ่มจัดพวก จัดกลุ่ม เปรียบเทียบความเหมือน แตกต่าง ขั้นปฏิบัติที่เป็นรูปธรรม 196. ขั้น ใดพัฒนาวุฒิปัญญาเต็มที่ ขั้นปฏิบัติการที่เป็นทางการ (นามธรรม)
  • 12. 197. แนว ความคิดใดจัดหลักสูตรแบบเกลียว (spiral curriculum) คือ แนวคิดของเจโรม บรูเนอร์ 198. หลัก สูตรแบบเกลียวหมายถึง จัดโครงสร้างของวิชา จากพื้นฐานไปสู่สิ่งที่ซับซ้อนขึ้นเรื่อย ๆ 199. ความ งอกงามทางปัญญา หมายถึง การเพิ่มความสามารถในการสื่อสารระหว่างตนเองกับ ผู้อื่น 200. แนว คิดของจอห์น ดิวอี้ มีแนวคิดอย่างไร มีแนวคิดว่าการจัดหลักสูตรแบบเกลียวที่ต่อเนื่อง เนื้อหาวิชาสอดคล้องกับประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับสังคม 201. แนว คิดที่เชื่อว่า การเรียนรู้ของมนุษย์ มี 5 ด้าน คือ แนวคิดใคร ประกอบด้วยอะไรบ้าง แนวคิดของโรเบิร์ต กานเย่ (Robert M. Gagne) ประกอบด้วย 1) ด้าน สติปัญญา 2) ด้าน ความคิด 3) ด้าน คาพูด 4) ด้าน ทักษะ 5) ด้าน เจตคติ 202. วิธี การสอนของกานเย่มีกี่ขั้นตอน 9 ขั้นตอน 203. แนว คิดทฤษฎี Constructivist คือ ความรู้คือโครงสร้างทางปัญญาที่ สามารถแก้ปัญหาได้ 204. แนว คิด Constructivist ประกอบด้วย อะไรบ้าง มี 3 ขั้นตอน ประกอบด้วย 1) สร้าง ความขัดแย้งทางปัญญา 2) ดาเนิน กิจกรรมไตร่ตรอง 3) สรุปผลการสร้างโครงสร้างใหม่ทางปัญญา 205. การ เรียนการสอนตามลาดับขั้นพัฒนาการของผู้เรียน คือแนวคิดใด แนวคิด “พหุปัญญา” ของโฮเวิร์ต การ์ดเนอร์ (Howard Gardner) 206. พหุ ปัญญา คือ multiple intelligence หมายถึง การตระหนักถึงสติปัญญาด้านต่าง ๆ 207. สติ ปัญญาตามแนวคิดของ Gardner มีกี่ด้าน อะไรบ้าง มี 8 ด้าน ประกอบด้วย 1) ด้าน ดนตรี 2) ด้าน การเคลื่อนไหวร่างกายและกล้ามเนื้อ 3) ด้าน การใช้เหตุผลเชิงตรรกและคณิตศาสตร์ 4) ด้าน ภาษา 5) ด้าน มิติสัมพันธ์ 6) ด้าน การเข้ากับผู้อื่น 7) ด้าน การเข้าใจตนเอง 8) ด้าน ความเข้าใจในธรรมชาติ 208. จิตวิทยา การเรียนรู้กลุ่มมนุษยนิยม ประกอบด้วยแนวคิดใดบ้าง ประกอบด้วย 1) แนว คิดอับบราฮัม มาสโลว์ 2) แนว คิด คาร์ล โรเจอร์ส 209. แนว คิดใดเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง จัดการศึกษาระบบเปิด แนวคิดของมาสโลว์ (Abraham Maslow) 210. ความ ต้องการพื้นฐานตามแนวคิดของ Maslow ประกอบด้วย
  • 13. 1) ความต้องการทางร่างกาย 2) ความต้องการความปลอดภัยหรือความมั่นคง 3) ความต้องการความรักและความเป็นเจ้าของ 4) ความต้องการได้รับการยกย่องนับถือ 5) ความต้องการด้านสุนทรียภาพ 6) ความต้องการเข้าใจความเป็นจริงเกี่ยวกับตนเอง 211. แนว คิดใดจัดหลักสูตรตามแบบโรงเรียนซัมเมอร์ฮิลล์ (SummerHill) แนวคิดของเจอร์ส 212. โรง เรียนซัมเมอร์ฮิลล์สอนอย่างไร จัดหลักสูตรมีการยืดหยุ่น ไม่ตายตัว ผู้เรียนเรียนตามความถนัดความสนใจ 213. แนว คิดของโรเจอร์สเน้นด้านใด เน้นการสร้างบรรยากาศและสิ่งแวดล้อม 214. บรรยากาศ ที่ส่งเสริมการเรียนรู้ของโรเจอร์ส ประกอบด้วยอะไรบ้าง ประกอบด้วยความเป็นจริง การยอมรับและให้เกียรติผู้เรียน ความเข้าใจ 215. องค์ ประกอบด้านสติปัญญา เปรียบได้กับกลุ่มใด กลุ่มความรู้ความคิดนิยม 216. องค์ ประกอบการใช้กล้ามเนื้อปฏิบัติงาน เปรียบได้กับกลุ่มใด กลุ่มพฤติกรรม นิยม 217. องค์ ประกอบด้านอารมณ์ เปรียบได้กับกลุ่มใด กลุ่มมนุษยนิยม 218. ความ รู้ หรือ เนื้อหาวิชา ที่เกี่ยวข้องกับมนุษย์ มี 3 ประเภท ประกอบด้วยอะไรบ้าง 1) ธรรมชาติ วิทยา 2) มานุษย วิทยา 3) สังคม วิทยา 219. NaturalSciences คือ ธรรมชาติวิทยา 220. Anthropology คือ มานุษยวิทยา 221. SocialSciencesคือ สังคมวิทยา 222. ความ รู้เกี่ยวกับมนุษย์กับธรรมชาติ คือ ธรรมชาติวิทยา 223. ความ รู้เกี่ยวกับมนุษย์กับตนเอง คือ มานุษยวิทยา 224. ความ รู้เกี่ยวกับมนุษย์กับสังคม คือ สังคมวิทยา 225. ManandNatureคือ มนุษย์กับธรรมชาติ 226. ManandSelf คือ มนุษย์กับตนเอง 227. ManandSociety คือ มนุษย์กับสังคม 228. เนื้อหา ความรู้ คือ ความรู้ที่ดัดแปลงมาจากศาสตร์ (Disciplines) หรือ เนื้อหาสาระ ข้อมูล ทฤษฎีที่สาคัญและจาเป็นที่ผู้เรียนต้องเรียนเพื่อให้เกิดการเรียนรู้ 229. ทา บาแบ่งเนื้อหาความรู้เป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง 4 ประเภท ประกอบด้วย 1) เนื้อหาความรู้ที่เป็นข้อเท็จจริงและกระบวนการ 2) เนื้อหาความรู้ที่เป็นแนวคิดพื้นฐาน 3) เนื้อหาความรู้ที่เป็นมโนทัศน์ 4) เนื้อหาความรู้ที่เป็นระบบการคิด 230. thought systems คือ เนื้อหาความรู้ที่เป็นระบบการคิด
  • 14. 231. Concepts คือ เนื้อความรู้ที่เป็นมโนทัศน์ 232. basic ideas คือ เนื้อหาความรู้ที่เป็นแนวคิดพื้นฐาน 233. facts andprocessesเนื้อหาความรู้ที่เป็นข้อเท็จจริงและ กระบวนการ 234. เนื้อหา ใดเป็นความรู้ขั้นต่าสุด ข้อมูลแสดงความจริงของธรรมชาติ facts and processes 235. เนื้อหา ใดที่เกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างของสองสิ่ง คือ basic ideas 236. เนื้อหา ใดที่เกี่ยวกับความเข้าใจโครงสร้างและส่วนประกอบย่อยเป็นรูปธรรมและนามธรรม คือ concepts 237. เนื้อหาใดที่เกี่ยวกับระบบการคิดรวบยอด thoughtsystems 238. ใคร เป็นผู้แบ่งประเภทเนื้อหาวิชา เป็น เนื้อหาวิชาทั่วไป เนื้อหาวิชาเฉพาะ เนื้อหาวิชาเชิงพรรณนา เนื้อหาวิชาเชิงค่านิยม คือ สมิท สแตนเ ลย์ และชอร์ส (Smith, Stanleyand Shores) 239. GeneralSubjectMatter คือ เนื้อหาวิชาทั่วไป 240. SpecializedSubjectMatter คือ เนื้อหาวิชาเฉพาะ 241. Descriptive SubjectMatter คือ เนื้อหาวิชาเชิงพรรณนา 242. Normative SubjectMatter คือ เนื้อหาวิชาเชิงค่านิยม 243. เนื้อหา วิชาที่ไม่เป็นทางการ แต่ต้องเรียน ไม่ว่าจะจากครอบครัวหรือสังคม พัฒนามาสอนในระบบโรงเรียน คือเนื้อหาวิชาแบบใด แบบทั่วไป General Subject Matter 244. เนื้อหา วิชาที่ต้องเชี่ยวชาญพิเศษ หรือเทคนิคพิเศษเพื่อการประกอบอาชีพ คือเนื้อหาวิชาแบบใด แบบเฉพาะ Specialized Subject Matter 245. เนื้อ วิชาที่เป็นข้อเท็จจริงและหลักการ เช่น คณิตศาสตร์ คือเนื้อหาแบบใด แบบเชิงพรรณนา DescriptiveSubjectMatter 246. เนื้อหา ที่เกี่ยวกับกฎ ระเบียบ กติกา ค่านิยม หรือเนื้อหาวิชาแบบใด แบบค่านิยม Normative Subject Matter 247. ธวัช ชัย ชัยจิรฉายากุล แบ่งเนื้อหาความรู้เป็น 3 ประเภทได้แก่ 1) เนื้อหาที่มีโครงสร้างแน่นอน 2) เนื้อหาที่มีโครงสร้างไม่แน่นอน 3) เนื้อหาที่เกี่ยวกับทักษพิสัย 248. เนื้อหา ที่มีโครงสร้างแน่นอน คือ เนื้อหาที่สอนตามลักษณะสาขาวิชา เน้นด้านพุทธพิสัยเป็นหลัก 249. เนื้อหา ที่มีโครงสร้างไม่แน่นอน คือ เนื้อหาที่สอนเน้นด้านจิตพิสัย ด้านอารมณ์ ความรู้สึก เจตคติ 250. เนื้อหา ที่เกี่ยวกับทักษพิสัย คือ สนองพฤติกรรมการเรียนรู้ที่ใช้อวัยวะ กลไกและส่วนต่าง ๆ ของร่างกายในการทางาน 251. curriculum content คือ เนื้อหาหลักสูตร 252. เนื้อหา หลักสูตรประกอบด้วย 1) เนื้อหาความรู้หรือเนื้อหาวิชา
  • 15. 2) ประสบการณ์ เรียนรู้ 3) กิจกรรม การเรียนรู้ 253. subjectmatter คือ เนื้อหาความรู้ หรือเนื้อหาวิชา 254. learning experienceคือ ประสบการณ์การเรียนรู้ 255. learning activities คือ กิจกรรมการเรียนรู้ 256. subjectmatter คือ เนื้อหาหลักสูตรที่สามารถตอบได้ว่าเรียน “อะไร” 257. learning experienceคือ การเรียนรู้จากการปฏิบัติในห้องเรียน นอกห้องเรียน ในโรงเรียน และสิ่งแวดล้อม 258. learning activities คือ เนื้อหาส่วนที่ผู้สอนจัดให้ 259. ไม่ว่าจะจัดเนื้อหาเป็นอย่างไรก็ตามสิ่งต้องคานึงถึง 3ประการ มีอะไรบ้าง มีขอบเขต ความต่อเนื่อง ความเป็นลาดับ และการบูรณาการ 260. scope ขอบเขต 261. continuity ความต่อเนื่อง 262. sequenceความเป็นลาดับ 263. integration การบูรณาการ 264. ขอบ เขต คือ การจัดความกว้าง และขอบเขตของความคิด หรือมโนทัศน์เนื้อหาในหลักสูตร 265. ความ ต่อเนื่อง คือ จัดเนื้อหาหลักสูตรจากระดับหนึ่งไปอีกระดับหนึ่ง จากเนื้อหาหนึ่งไปอีกเนื้อหาหนึ่งโดยไม่ขาดตอน 266. ความ เป็นลาดับ คือ การสอนจากพื้นฐานไปหาสิ่งที่ซับซ้อน จากรูปธรรมไปหานามธรรม 267. การ บูรณาการ คือ เนื้อหาวิชามีความสัมพันธ์กัน สามารถเชื่อมโยงความรู้ด้วยกันได้ 268. เกณฑ์ ในการเลือกเนื้อหาของหลักสูตร มีเกณฑ์ดังนี้ 1) ความเที่ยงตรงและความสาคัญของเนื้อหา 2) ความสมดุลระหว่างเนื้อหาที่เรียนทั้งเชิงกว้างและลึก 3) ความสอดคล้องของเนื้อหากับความต้องการและความสนใจของผู้เรียน 4) การ เน้นคุณภาพที่ยั่งยืนและสาระสาคัญของเนื้อหา 5) ความสัมพันธ์ระหว่างเนื้อหาหลักและเนื้อหาย่อยกับความคิดและมโนทัศน์ 6) ความสามารถในการเรียนรู้เนื้อหาได้ 7) ความเป็นไปได้ในการทาให้เนื้อหากระจ่างด้วยการใช้ข้อมูลจากความรู้ในสาขาอื่น 269. หลัก สูตรระดับชาติก่อน พ.ศ. ใช้ชื่อว่าอะไร “หลักสูตรแม่บท” 270. หลัก สูตรระดับชาติ ตั้งแต่พ.ศ. 2544 ใช้ชื่อว่า “หลักสูตรแกนกลาง” 271. การ พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษามี 3 ลักษณะ ประกอบด้วย สถานศึกษาปรับจากหลักสูตรระดับชาติ สถานศึกษาพัฒนาหลัก สูตรเองให้สอดคล้องกับหลักสูตรระดับชาติ สถานศึกษาพัฒนาหลักสูตรเองตามเกณฑ์มาตรฐาน 272. หลัก สูตรระดับก่อนประถมศึกษา ปัจจุบันใช้หลักสูตรใด ใช้หลักสูตรการศึกษา ปฐมวัย พุทธศักราช 2546
  • 16. 273. หลัก สูตรระดับก่อนประถมศึกษา มีปรัชญาด้านใด เน้นปรัชญาในการพัฒนาเด็กแรกเกิดถึงอายุ 5 ปี 11เดือน 29 วัน 274. หลัก สูตรก่อนประถมศึกษา แบ่งได้เป็น หลักสูตรการศึกษาปฐมวัยสาหรับเด็กอายุ ต่ากว่า3 ปี หลักสูตรการศึกษาปฐมวัยสาหรับเด็กอายุ 3 –5 ปี 275. หลัก สูตรการศึกษาปฐมวัยสาหรับเด็กอายุต่ากว่า 3 ปี มีจุดมุ่งหมายเพื่อให้เด็กมีร่างกายเจริญเติบโตตามวัยและมีสุขภาพ ดี 276. หลัก สูตรการศึกษาปฐมวัยสาหรับเด็กอายุ 3 – 5 ปี มีจุดมุ่งหมายให้เด็กมีร่างกายแข็งแรงเจริญเติบโตตามวัยและสุขนิสัย ที่ดี 277. หลัก สูตรระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปัจจุบันใช้หลักสูตร ใด หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 278. หลัก สูตรแกนกลาง พ.ศ. 2551 มีองค์ประกอบใด 1) วิสัย ทัศน์ของหลักสูตร 2) หลักการของหลักสูตร 3) จุด มุ่งหมายของหลักสูตร 4) สมรรถนะ สาคัญของผู้เรียน 5) คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ 6) โครง สร้างของหลักสูตร 7) มาตรฐาน การเรียนรู้และตัวชี้วัด 8) โครง สร้างเวลาเรียน 279. หลัก การของหลักสูตร สรุปว่ามี การศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย 280. จุด มุ่งหมายของหลักสูตร สรุปว่า มีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมอันพึงประสงค์ 281. สมรรถนะ สาคัญของผู้เรียน 5 ประการ คือ 1) ความสามารถในการสื่อสาร 2) ความสามารถในการคิด 3) ความสามารถในการแก้ปัญหา 4) ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 5) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 282. คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ ประกอบด้วย รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์ มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มุ่งมั่นในการทางาน รักความเป็นไทย มีจิตสาธารณะ 283. โครง สร้างของหลักสูตร แบ่งเป็น 8 กลุ่มสาระ ดังนี้ 1) ภาษา ไทย 2) สุขศึกษา และพลศึกษา 3) คณิตศาสตร์ 4) ศิลปะ 5) วิทยา ศาสตร์ 6) การ งานอาชีพและเทคโนโลยี
  • 17. 7) สังคม ศึกษา 8) ศาสนา และวัฒนธรรม 9) ภาษา ต่างประเทศ 284. มาตรฐาน การเรียนรู้ คือ เป้ าหมายสาคัญของการพัฒนาผู้เรียน 285. ตัว ชี้วัด คือ เป้ าหมายในการพัฒนาผู้เรียน เป็นตัวเฉพาะเจาะจง สะท้อนถึงมาตรฐานการเรียนรู้ 286. โครง สร้างเวลาเรียน ระดับประถมศึกษา มีเวลาเรียนทั้งหมด 1,000 ชั่วโมง ระดับมัธยมศึกษา ตอนต้น รวม 1,200 ชั่วโมง ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย รวม 3,600 ชั่วโมง 287. แนว ทางการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 มีขั้นตอน ดังนี้ 1) ศึกษา และวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐาน 2) กาหนด วิสัยทัศน์ ภารกิจ เป้ าหมายและคุณลักษณะที่พึงประสงค์ 3) วิเคราะห์ ตัวชี้วัด 4) จัด ทาคาอธิบายรายวิชา จากผลการวิเคราะห์ตัวชี้วัด 5) จัด ทาโครงสร้างรายวิชา แบ่งเนื้อหาสาระเป็นชื่อหน่วยการเรียนรู้ และจานวนเวลาที่ใช้ในแต่ละหน่วยการเรียนรู้ 6) ออก แบบหน่วยการเรียนรู้และทาแผนการจัดการเรียนรู้ 288. วิสัย ทัศน์ หมายถึง เจตนารมณ์ อุดมการณ์ อนาคตที่พึงประสงค์ของสถานศึกษา 289. ภารกิจ หรือพันธกิจ วิธีดาเนินงานของสถานศึกษา เพื่อบรรลุวิสัยทัศน์และนาไปสู่การวางแผนปฏิบัติต่อไป 290. เป้า หมาย คือ แสดงคุณลักษณะของผู้ที่จบหลักสูตรสถานศึกษานั้น ๆ 291. คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ เน้นคุณลักษณะด้านคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมและคติ 292. หลัก สูตรระดับอุดมศึกษา ปัจจุบันดาเนินการตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับอุดม ศึกษา พ.ศ. 2548 293. เกณฑ์ มาตรฐานระดับอุดมศึกษา สรุปได้ดังนี้ 1) หลักสูตร 4ปี เรียนไม่น้อยกว่า 120หน่วยกิต 2) หลักสูตร 5ปี เรียนไม่น้อยกว่า 150 หน่วยกิต 3) เรียน ไม่น้อยกว่า 6ปี มีหน่วยกิตไม่น้อยกว่า 180หน่วยกิต 294. โครง สร้างหลักสูตรระดับอุดมศึกษา ประกอบด้วย 1) หมวด วิชาศึกษาทั่วไป ไม่น้อยกว่า 30หน่วยกิต 2) หมวด วิชาชีพเฉพาะ 2.1 ไม่ น้อยกว่า84 หน่วยกิต สาหรับหลักสูตร 4 ปี 2.2 ไม่ น้อยกว่า114 หน่วยกิต สาหรับหลักสูตร 5ปี 2.3 ไม่ น้อยกว่า144 หน่วยสาหรับ6 ปี หมวดวิชาเลือกเสรีไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต 295. การ คิดหน่วยกิตในระดับอุดมศึกษา คิดดังนี้ ภาคทฤษฎี 1หน่วยกิตใช้เวลาบรรยาย 1 ชั่วโมง ต่อสัปดาห์ ภาคปฏิบัติ 1 หน่วยกิตเวลาเรียน2-3ชั่วโมงต่อสัปดาห์ การฝึกงานหรือภาคสนาม 1 หน่วยกิตใช้เวลา3-6ชั่วโมงต่อสัปดาห์
  • 18. 296. หลัก สูตร หมายถึง ประสบการณ์การเรียนรู้ทั้งหมดที่ผู้รับผิดชอบจัดการศึกษา จัดให้แก่ผู้เรียน 297. การ จัดการเรียนรู้ หมายถึง การจัดกิจกรรมเพื่อช่วยให้ผู้เรียนรับ ประสบการณ์การเรียนรู้ ทั้งเนื้อหาวิชา ทักษะ กระบวนการ มีคุณธรรมและจริยธรรม 298. พัฒนา หลักสูตรมีขั้นตอนดังนี้ 1) วิเคราะห์ และรวบรวมข้อมูลพื้นฐาน 2) กาหนด หลักการและจุดมุ่งหมายของหลักสูตร 3) การ เลือกและจัดลาดับเนื้อหาและประสบการณ์เรียนรู้ 4) กาหนด แนวทางการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 5) การ ตรวจสอบคุณภาพหลักสูตรและการปรับแก้ก่อนนาไปใช้ 6) การ นาหลักสูตรไปใช้ 7) การ ประเมินหลักสูตร 8) การ ปรับปรุงแก้ไขหลักสูตร 299. การ จัดการเรียนรู้มี 4 ขั้นตอน คือ กาหนดจุดประสงค์การเรียนรู้ เลือกและจัดเนื้อหาประสบการณ์การเรียนรู้ จัดกิจกรรมการเรียนรู้ ประเมินผลการเรียนรู้ 300. ปัจจุบัน เราใช้กฎหมายใดของการศึกษา พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 301. การ จัดการศึกษาเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง เป็นแนวคิดปรัชญาการศึกษาใด ปรัชญาการศึกษาพิพัฒนนิยม 302. การ เรียนแบบเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง ครูมีบทบาทอย่างไร ครูมีบทบาทเป็น ผู้จัดการ หรือผู้อานวยความสะดวกในกระบวนการจัดการเรียนรู้ 303. Inductive Method คือ วิธีจัดการเรียนรู้แบบอุปนัย 304. วิธี จัดการเรียนรู้แบบอุปนัย มีขั้นตอนอย่างไร 1) ขั้นเตรียม 2) ขั้นสอน 3) ขั้นเปรียบเทียบและรวบรวม 4) ขั้นสรุป 5) ขั้นนาไปใช้ 305. Deductive Method คือ วิธีจัดการเรียนรู้แบบนิรนัย 306. วิธี จัดการเรียนรู้แบบนิรนัย มีขั้นตอนคือ 1) ขั้นอธิบายปัญหา 2) ขั้นอธิบายข้อสรุป 3) ขั้นตกลงใจ4) ขั้นพิสูจน์ 307. Demonstration Method คือ วิธีจัดการเรียนรู้แบบสาธิต 308. วิธี จัดการเรียนรู้แบบสาธิต มีขั้นตอน คือ 1) ขั้นนา 2) ขั้นแสดงการสาธิต 3) ขั้นสรุป 309. Role PlayingMethod คือ วิธีจัดการเรียนรู้แบบแสดงบทบาท 310. Simulation คือ วิธีจัดการเรียนรู้โดยใช้สถานการณ์จาลอง มีขั้นตอนดังนี้ 1) ขั้นเตรียม 2) ขั้นนาเสนอสถานการณ์จาลอง3) ขั้นกาหนดบทบาทในการแสดง 4) ขั้นแสดง 5) ขั้นอภิปราย สรุป และประเมินผล 311. PlayWayMethod คือ วิธีจัดการเรียนรู้แบบเล่นปนเรียน 312. TeamTeachingMethod คือ วิธีจัดการเรียนรู้เป็นทีม ใช้ครู 2คนขึ้นไป มี 3รูปแบบ คือ กลุ่มใหญ่ การจัดกิจกรรมกลุ่มย่อย การค้นคว้าและทางานอิสระ
  • 19. 313. Gagne คือ วิธีจัดการเรียนรู้ตามแนวกานเย่ มีขั้นตอนดังนี้ 1) สร้างความสนใจ 2) แจ้งจุดประสงค์ของบทเรียน 3) กระตุ้นให้ผู้เรียนระลึกถึงพื้นฐานความรู้ 4) เสนอบทเรียนใหม่โดยใช้สื่อกระตุ้น 5) ให้แนวการเรียนรู้ 6) ให้ผู้เรียนลงมือปฏิบัติ 7) ให้ข้อมูลป้ อนกลับ8) ประเมินผลหลังการปฏิบัติ 9) เพิ่มการจาและการถ่ายโอนการเรียนรู้ 314. Method ofInquiry คือ วิธีจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวน หรือแบบสืบเสาะความรู้ มีขั้นตอน คือ 1) ขั้นสังเกต2) ขั้นอธิบาย 3) ขั้นทานายหรือพยากรณ์ 4) ขั้นนาไปและสร้างสรรค์ 315. Problem-Solving Method คือ วิธีจัดการเรียนรู้แบบแก้ปัญหา มีขั้นตอนดังนี้ 1) กาหนดขอบเขตของปัญหา 2) ตั้งสมมุติฐาน 3) ทดลองและรวบรวมข้อมูล 4) วิเคราะห์ข้อมูล 5) สรุป 316. Group DiscussionMethod คือ วิธีจัดการเรียนรู้แบบอภิปรายกลุ่มย่อย มีขั้นตอนดังนี้ 1) ขั้นเตรียม 2) ขั้นอภิปรายตอนต้น 3) ขั้นอภิปรายตอนกลาง 4) ขั้นอภิปรายตอนสุดท้าย 5) ขั้นเสนอผลการอภิปรายต่อกลุ่มใหญ่ 317. ProjectMethod คือ วิธีจัดการเรียนรู้แบบโครงงาน มีขั้นตอนดังนี้ 1) กาหนดจุดมุ่งหมาย 2) วางแผนโดยผู้เรียนร่วมกัน 3) ดาเนินการ 4) ประเมินผล 318. Unit TeachingMethod คือ วิธีจัดการเรียนรู้แบบหน่วย มีขั้นตอนดังนี้ 1) ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน 2) ขั้นนักเรียนและครูวางแผนร่วมกัน 3) ขั้นลงมือทางาน 4) ขั้นเสนอผลกิจกรรม5) ขั้นประเมินผล 319. Learning Center คือ วิธีจัดการเรียนรู้แบบศูนย์การเรียน ศูนย์แต่ละศูนย์มีส่วนประกอบ 1) เนื้อหา 2) สื่อการสอน 3) บัตรคาสั่ง 320. Individualized Learning คือ วิธีจัดการเรียนรู้ตามเอกัตภาพ มีองค์ประกอบ 5 ส่วน 1) ผู้เรียน 2) สภาพแวดล้อมทางการเรียนรู้ 3) เนื้อหาความรู้ 4) สื่อการเรียนรู้ 5) เทคนิควิธีการเรียนรู้ 321. CIPPA Model คือ วิธีจัดการเรียนรู้แบบซิปปา 322. C มาจาก Construction of knowledge คือ สร้างความรู้ด้วยตนเอง 323. I มาจาก Interaction คือ ปฏิสัมพันธ์ทางสังคม 324. P มาจาก Physical participation คือ ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการปฏิบัติ 325. P มา จาก Processlearningคือ การเรียนรู้กระบวนการที่จาเป็นต่อการดารงชีวิต 326. A มาจาก Application คือ นาความรู้ไปประยุกต์ใช้ 327. CIPPA มีขั้นตอนดังนี้ 1) ทบทวนความรู้เดิม 2) แสวงหาความรู้ใหม่ 3) ทาความเข้าใจข้อมูลความรู้ใหม่ 4) แลกเปลี่ยนความรู้ความเข้าใจกลุ่ม 5) การสรุปและจัดระเบียบความรู้ 6) การปฏิบัติและหรือการแสดงความรู้และผลงาน 7) การประยุกต์ใช้ความรู้ 328. สรุป การเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง ประกอบด้วยวิธีการสอน ดังนี้ 1) วิธี การจัดการเรียนรู้แบบ อุปนัย 2) นิรนัย
  • 20. 3) แสดง บทบาท 4) สถานการณ์ จาลอง 5) เล่น ปนเรียน 6) เรียน รู้เป็นทีม ตามแนวกานเย่ 7) แบบ สืบสวน 8) แบบ แก้ปัญหา 9) แบบ อภิปรายกลุ่มย่อย 10) แบบ โครงงาน 11) แบบ หน่วย 12) แบบ ศูนย์การเรียน 13) แบบ ตามเอกัตภาพ 14) แบบ ซิปปา 15) ผู้ เรียนนาตนเอง 16) ใช้ ปัญหาเป็นฐาน 17) แบบ แก้ปัญหา 18) ใช้ สมองเป็นฐาน 19) แบบ ร่วมมือ แบบบูรณาการ 329. Self-Directed learning คือ วิธีจัดการเรียนรู้ที่ผู้เรียนนาตนเอง 330. scientific method คือ วิธีจัดการเรียนรู้โดยวิธีการวิทยา ศาสตร์ 331. learning contractsคือ วิธีจัดการเรียนรู้โดยใช้สัญญาการเรียน รู้ 332. Problem-Basedlearning คือ วิธีจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน 333. problem solving คือ วิธีจัดการเรียนรู้แบบแก้ปัญหา 334. living casestudy คือ วิธีจัดการเรียนรู้โดยใช้การศึกษาราย กรณีตามสภาพจริง 335. directpracticeคือ วิธีจัดการเรียนรู้โดยการปฏิบัติบริบท จริง 336. Brain-Base learning คือ วิธีจัดการเรียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐาน 337. Cooperative Learningการเรียนรู้แบบร่วมมือ 338. STAD คือ Student Teams-AchievementDivisions หมาย ถึง ทุกคนทางานเป็นทีมและช่วยเหลือกัน 339. การ จัดการเรียนรู้เป็นทั้งศาสตร์และศิลป์ คาว่า ศาสตร์ หมายถึง ครูต้องมี เนื้อหาวิชา มีการวางแผน คาว่าศิลป์ หมายถึง สามารถดาเนินการจัดการเรียนรู้ได้อย่างราบรื่น 340. ใน การจัดสถานการณ์การเรียนรู้ ครูมี 2 บทบาท คือ จัดการและจัดกระทา 341. ประสิทธิภาพ (efficiency) หมายถึง การทาสิ่งใดสิ่งหนึ่งได้ถูกต้อง 342. ประสิทธิผล (effectiveness) หมายถึง การทาสิ่งที่ถูกต้อง 343. บท เรียนแบ่งเป็นประเภทใหญ่ๆ ได้2 ประเภท คือ 1) บทเรียนที่เป็นเนื้อหาความรู้ 2) บทเรียนที่เป็นทักษะ
  • 21. 344. ก่อน ที่ครูจะจัดทาแผนการเรียนรู้ ผู้สอนต้องศึกษาพระราชบัญญัติการศึกษาแห่ง ชาติ พ.ศ. 2542 345. ก่อน จัดทาแผนการเรียนรู้ผู้สอนต้องมีความรู้ในเรื่องต่อไปนี้คือ 1) มีความรู้เกี่ยวกับผู้เรียน 2) ความรู้ในด้านเนื้อหาวิชาที่จะดาเนินการสอน 3) มีความรู้ในด้านทฤษฎีการสอน 346. สิ่ง ที่ผู้สอนควรจัดทาและกาหนดแผนการเรียนรู้ใน 4ระดับ ดังต่อไปนี้ 1) แผนการเรียนรู้ระดับกระบวนวิชา 2) แผนการเรียนรู้ระดับหน่วย 3) แผนการเรียนรู้ในแต่ละสัปดาห์ 4) แผนการเรียนรู้รายคาบเวลา 347. แผน การเรียนรู้ระดับกระบวนวิชา (Course planning) คือ จัดแบบรายปี รายภาคเรียน 348. แผน การเรียนรู้ระดับหน่วย (Unit planning) คือ จัดเป็นหน่วยการเรียน กาหนดจากมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้ 349. แผน การเรียนรู้ในแต่ละสัปดาห์ (Weekly planning) คือ จัดกิจกรรมการเรียนรู้ 350. แผน การเรียนรู้รายคาบเวลา (DailyLessonplanning) คือ กาหนดการสอนในแต่ละคาบเวลา 351. ศึกษา หลักสูตรแกนกางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 ประกอบด้วย กลุ่มสาระ 8 กลุ่มสาระ 40สาระวิชา และ67 มาตรฐานการเรียนรู้ 352. การ จัดสภาพแวดล้อมในการเรียน มีองค์ประกอบ 4ด้านนี้ คือ 1) ผู้ สอน 2) การ จัดสภาพแวดล้อมของกิจกรรมการเรียนการสอน 3) การ จัดสภาพแวดล้อมของห้องเรียน 4) การ บริหารงานของโรงเรียน 353. ลักษณะ ของครูที่สอนในชั้นเรียนมี 4 ประเภท คือ 1) เข้มงวดในการสอน (Authoritarian) 2) มีความเป็นครู(Authoritative) 3) ตามใจนักเรียน (Laissez-faire) 4) ไม่เอาใจใส่การสอน (Indifferent) 354. จรรยาบรรณ ครู สานักเลขาธิการคุรุสภาพ 2539 แบ่งไว้ 9 ข้อ 355. สภาพ แวดล้อมในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ จัดได้ดังนี้ 1) สร้างความสนใจในการเรียนเมื่อเริ่มบทเรียน 2) ดาเนินการสอนให้เป็นที่น่าสนใจ 3) ดูแลและเอาใจใส่นักเรียนระหว่างการสอน 4) กระตุ้นความสนใจของนักเรียนเป็นระยะ ๆ 5) พยายามให้นักเรียนมีส่วนร่วม 6) กาหนดกิจกรรมการเรียนการสอนในบทเรียนให้พอดีความความสนใจของนักเรียน
  • 22. 356. แผน การศึกษาแห่งชาติ มีระยะกี่ปี พ.ศ. 2545-2559 357. แผน การศึกษาแห่งชาติ มีวัตถุประสงค์กี่ข้อ อะไรบ้าง 11 ข้อ ประกอบด้วยแบ่งได้ 3 ส่วนใหญ่ๆ คือ 1) วัตถุ ประสงค์ประการที่ 1 เป็นการพัฒนาคนอย่างรอบด้านและสมดุลเพื่อเป็นฐานหลักของการพัฒนา (มี 4 ข้อ) 2) วัตถุประสงค์ที่ 2 เพื่อสร้างสังคมไทยให้เป็นสังคมคุณธรรม ภูมิปัญญาและเป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ (มี 3 ข้อ) 3) วัตถุประสงค์ที่ 3 เป็นการพัฒนาสภาพแวดล้อมของสังคม เป็นฐานในการพัฒนาคนและนาไปสู่การสร้างสังคมคุณธรรมที่มีภูมิปัญญาและความ รู้ (4ข้อ) 358. หลัก สูตรและการจัดการเรียนรู้ในปัจจุบัน พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม 2545 กาหนดไว้ว่า มี 3รูปแบบ คือ การศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ การศึกษาตามอัธยาศัย 359. แนว คิดใหม่ในการพัฒนาหลักสูตร ควรมีรูปแบบ ดังนี้ 1) หลักสูตรที่เน้นความต้องการของโรงเรียน (School-based) 2) หลักสูตรหัวข้อเรื่อง(ThematicCurricula) 3) หลักสูตรที่เน้นผลสัมฤทธิ์ (Outcome-base Curriculum) 360. นวัต กรรมที่นามาใช้ในการจัดการเรียนการสอน ควรมีลักษณะดังนี้ 1) การจัดการเรียนแบบไม่มีระดับชั้น (Non-graded) 2) การจัดการเรียนเป็นรายบุคคล (Individualized Learning) 3) การจัดการเรียนแบบร่วมมือ (Cooperative Learning) 4) การจัดการเรียนแบบ Active Learning 5) การจัดการศึกษาทางไกล (Distance Learning) 6) การจัดการเรียนโดยใช้ e-learning 7) การจัดการเรียนรู้แบบผสมผสาน (Blended Learning) 361. นวัต กรรมและเทคโนโลยีที่ใช้ในกิจกรรมการเรียนรู้ ประกอบด้วย 1) เครื่องคอมพิวเตอร์ แบ่งเป็น 1.1 ใช้ในการสอน (Computer Assisted Instruction :CAI) 1.2 ช่วยในงานสอน (Computer Managed Instruction) 1.3 ใช้ในการเรียนคอมพิวเตอร์ 1.4 ใช้ในการบริหารงาน