SlideShare a Scribd company logo
1 of 50
1
ภาคครัวเรือน
ภาคธุรกิจ
ตลาดผลผลิต
ตลาดปัจจัย
ปัจจัยการผลิต
สินค้าและบริการ
รายจ่ายในการซื้อสินค้าและบริการ
รายรับของธุรกิจ
ปัจจัยการผลิต
สินค้าและบริการ
ภาครัฐบาล
ตลาดการเงิน
เงินออม
เงินลงทุน
รายได้จากการขายปัจจัย
ภาษีจ่าย
ภาษีจ่าย
ภาคต่างประเทศ
ภาคต่างประเทศ
ส่งออกสินค้า
ส่งออกปัจจัย
ผลตอบแทนปัจจัย
ซื้อสินค้าและบริการ
เงินกู้ยืม
นาเข้าปัจจัย
นาเข้าสินค้า
การไหลเวียนของการดาเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจในปัจจุบัน
บทที่ 8 การภาษีอากร และการรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ
8.1 เหตุผลในการดาเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจของรัฐบาล
รัฐบาลมีหน้าที่ในการเก็บภาษี และนารายได้มาใช้จ่ายในการซื้อสินค้าและ
บริการ เพื่อให้บรรลุเป
้ าหมายของ
1. การปรับปรุงประสิทธิภาพของระบบเศรษฐกิจ
ระบบเศรษฐกิจเสรีนิยม---> กลไกราคา---> ผลกระทบทางลบ---->ล้มเหลวของกลไก
ราคา--->รัฐบาลเข้ามาแทรกแซง
2. การลดความไม่เท่าเทียมกันทางเศรษฐกิจ จากปัญหาช่องว่าง
ระหว่างคนรวยและคนจน
เก็บภาษีคนรวย---->มาช่วยคนจน การกระจายรายได้ ไม่กระจุกตัว
3. ก่อให้เกิดการขยายตัวทางเศรษฐกิจ โดยการใช้นโยบายเศรษฐศาสตร์
มหภาค (เป
้ าหมายเศรษฐศาสตร์มหภาค 1) การเจริญเติบโตทางเศณษฐกิจ
2) ระดับราคามีเสถียรภาพ 3) การจ้างงานเต็มที่ 4) การกระจายรายได้ ....)
4. การดาเนินนโยบายการค้าระหว่างประเทศ ( เป
้ าหมายฯ 5) ดุลยภาพในการ
ชาระเงินระหว่างประเทศ )
สาเหตุที่รัฐต้องเข้ามาแทรกแซงกลไกตลาด
การทางานของตลาดแข่งขันสมบูรณ์ ช่วยประกันได้ว่า
การใช้ทรัพยากรของสังคมเป็ นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และ
สวัสดิการของสังคมสูงสุดเสมอ(คือ ไม่มีคนใดในสังคมได้รับ
สวัสดิการเพิ่มขึ้น โดยไม่ทาให้คนอื่นแล้วลง ตามหลัก “พาเรโต”)
แต่ 1. การกระจายรายได้ของสังคมอาจไม่เป็ นไปตามที่
สังคมส่วนรวมต้องการ
2.ผู้ผลิตอาจไม่คานึงถึงต้นทุนภายนอก ที่อาจเกิดจากการ
ผลิตของตน เช่น การปล่อยน้าเสียลงสู่แม่น้าลาคลอง
3. กลไกตลาดมิได้ประกันว่าจะมีการผลิตสินค้าทั้งในปริมาณ
และประเภทที่เหมาะสมตามที่สังคมส่วนรวมต้องการ เพราะมีกาไร
เป็ นแรงจูงใจในการผลิต
ความล้มเหลวของตลาด
1. การผูกขาด เช่น สินค้าที่ต้องใช้ทุนสูง แต่สังคมต้องการ
2. การขาดข่าวสารที่สมบูรณ์ เช่น การติดฉลากอาหารและยา
3. สินค้าสาธารณะ เกิด ปัญหาตีตั๋วฟรี คือ ผู้บริโภคที่ต้องการบริโภค
สินค้าสาธารณะเหล่านี้ไม่ยอมเผยความต้องการของตน
เช่น การสร้างเขื่อน การต่อน้าประปาเข้าหมู่บ้าน
4. ผลภายนอก คือ การผลิตหรือบริโภคของตนมีผลกระทบต่อบุคคลอื่น
ผลประโยชน์ภายนอก เช่น การฉีดวัคซีน การศึกษาขั้นพื้นฐาน การ
คุมกาเนิด
5. ผลเสียหรือต้นทุนภายนอก เช่น การสูบบุหรี่ รถบรรทุกหนักเกิน
6. การไม่มีตลาดสาหรับสินค้าบางชนิด เช่น การประกันการว่างงาน
8.2 ความหมายของภาษีอากร และประเภทของภาษี
8.2.1 ความหมายของภาษีอากร
ภาษี (การบังคับเก็บ) คือ สิ่งที่รัฐบาลบังคับเก็บจากราษฏร
และนามาใช้เพื่อประโยชน์ของสังคมส่วนรวม โดยมิได้มีสิ่งตอบแทน
โดยตรงแก่ผู้เสียภาษี
8.2.2 ประเภทของภาษีอากร
(1) ภาษีทางตรง (Direct Tax) คือ ภาษีที่ผู้เสียเป็ นผู้รับภาระ
ของภาษีและไม่สามารถผลักภาระไปให้บุคคลอื่นได้ เช่น ภาษีเงินได้
บุคคลธรรมดา ภาษีเงินได้นิติบุคคล
(2) ภาษีทางอ้อม(Indirect Tax) คือ ภาษีที่ผู้เสียผลักภาระของ
ภาษีไปได้ทั้งหมด หรือส่วนใหญ่ เช่น ภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีสรรพสามิต
อัตราภาษี
มี 3 แบบ
1. แบบคงที่
2. แบบก้าวหน้า
3. แบบถอยหลัง
8.2.3 ประเภทของอัตราภาษี
ลักษณะของภาษีที่ดี ----> ความเป็นกลาง ----->มีผลกระทบต่อผู้เสียภาษีน้อย
(1) อัตราภาษีแบบก้าวหน้า คือ อัตราภาษีที่เพิ่มสูงขึ้น เมื่อฐาน
รายได้ของผู้เสียภาษีเพิ่มขึ้น เช่น ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ภาษีเงินได้
นิติบุคคล
ปัจจุบัน เงินได้สุทธิ 150,000 บาทแรก ยกเว้นภาษี
อัตราภาษี (แบบก้าวหน้า)ปีภาษี 2560 2561 2562
เงินได้สุทธิ ช่วงเงินได้สุทธิ อัตราภาษี(%) ภาษี ภาษีสะสม
เกิน 0 ถึง 150,000 150,000 ยกเว้น -
เกิน 150,000 ถึง 300,000 150,000 5 7,500 7,500
เกิน 300,000 ถึง 500,000 200,000 10 20,000 27,500
เกิน 500,000 ถึง 750,000 250,000 15 37,500 65,000
เกิน 750,000 ถึง 1,000,000 250,000 20 50,000 115,000
เกิน 1,000,000 ถึง 2,000,000 1,000,000 25 250,000 365,000
เกิน 2,000,000 ถึง 5,000,000 3,000,000 30 900,000 1,265,000
เกิน 5,000,000 ขึ้นไป 35
ตัวอย่าง การคานวณภาษี
เงินได้สุทธิจานวน 400,000.-บาท จะต้องชาระภาษีเท่าใด
150,000 ยกเว้น
(300,000- 150,000) = 150,000 5% 7,500
(400,000 – 300,000) = 100,000 10% 10,000
รวม 17,500
ทดสอบการคานวณภาษี
เงินได้สุทธิจานวน 140,000.-บาท
จะต้องชาระภาษีเท่าใด ?
เฉลย เงินได้สุทธิ 140,000.-
ยกเว้นภาษี
เงินได้สุทธิจานวน 700,000.-บาท
จะต้องชาระภาษีเท่าใด ?
เฉลย เงินได้สุทธิ 700,000
ช่วงเงินได้ อัตราภาษี ภาษี ภาษีสะสม
150,000 ยกเว้น -
300,000 - 150,000 150,000 x 5 7,500 7,500
500,000 - 300,000 200,000 x 10 20,000 27,500
(700,000 - 500,000) 200,000 x 15 30,000
57,500
เงินได้สุทธิจานวน 1,200,000.-บาท
จะต้องชาระภาษีเท่าใด ?
เฉลย เงินได้สุทธิ 1,200,000
ช่วงเงินได้ อัตราภาษี ภาษี ภาษีสะสม
150,000 ยกเว้น -
300,000 - 150,000 150,000 x 5 7,500 7,500
500,000 - 300,000 200,000 x 10 20,000 27,500
750,000 - 500,000 250,000 x 15 37,500 65,000
1,000,000 - 750,000 250,000 x 20 50,000 115,000
1,200,000 - 1,000,000 200,000 x 25 50,000
165,000
8.2.3 ประเภทของอัตราภาษี
(2) อัตราภาษีแบบสัดส่วน คือ อัตราภาษีที่อยู่คงที่ เมื่อรายได้ของผู้เสีย
ภาษีเปลี่ยนแปลงไป เช่น ภาษีธุรกิจเฉพาะในการซื้อขายที่ดิน ร้อยละ 3.3 ของ
ราคาประเมิน
(3) อัตราภาษีแบบถดถอย คือ อัตราภาษีที่ผู้เสียในอัตราลดลง เมื่อรายได้
เพิ่มขึ้น เช่น ภาษีสรรพสามิต
อั
ต
ราภาษี
(
)
(บาท)
0
อัตราภาษีแบบถดถอย
8.3 รายได้ของรัฐบาล
8.3.1 รายได้จากภาษี (tax revenue) คือ รายได้จากการเก็บภาษีของรัฐบาล แบ่งเป็น
(1) ภาษีจากฐานรายได้ ประกอบด้วย
(1.1) ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
(1.2) ภาษีเงินได้นิติบุคคล
(1.3) ภาษีปิโตรเลียม
(2) ภาษีจากฐานการบริโภค ประกอบด้วย
(2.1) ภาษีการค้า หรือภาษีขาย
(2.2) ภาษีมูลค่าเพิ่ม
(2.3) ภาษีธุรกิจเฉพาะ
(2.4) ภาษีสรรพสามิต
(3) ภาษีฐานการค้าระหว่างประเทศ
(4) ภาษีอื่นๆ เช่น ภาษีมรดก ภาษีรถยนต์
SME : ทุนจดทะเบียนไม่เกิน 5 ล้านบาท และรายได้ต่อปีไม่เกิน 30 ล้านบาท
ภาษีสรรพสามิต
1. sin tax
2. Luxury tax
3. Environment tax
4. Energy tax
8.3 รายได้ของรัฐบาล
8.3.2 รายได้ที่มิใช่ภาษี (non-tax revenue) คือ รายได้ของรัฐบาลในรูปแบบ
อื่นๆ แบ่งเป็น
(1) รายได้จากการประกอบธุรกิจของรัฐบาล ในรูปรัฐวิสาหกิจ หรือ
หน่วยงานอื่นๆ
(2) รายได้จากการกู้ยืมเงิน หรือการก่อหนี้สาธารณะจากสถาบันการเงินใน
ประเทศ หรือต่างประเทศ (งบประมาณขาดดุล)
(3) รายได้จากบริหารงาน เช่น ค่าธรรมเนียม ใบอนุญาต ค่าปรับ
(4) การบังคับกู้ยืมเงินจากประชาชน เช่น ค่าประกันต่างไฟฟ้า ประปา
(5) รายได้จากการขอรับความช่วยเหลือจากต่างประเทศ
8.4 หนี้สาธารณะ (Public Debt)
8.4.1 ความหมายของหนี้สาธารณะ
หนี้สาธารณะหรือหนี้ของภาครัฐบาล
หมายถึง การกู้ยืมเงินของรัฐบาลเพื่อใช้ในการพัฒนาประเทศ
กรณีที่รัฐบาลมีการใช้เงินมากกว่ารายได้
8.4.2 ประเภทของหนี้สาธารณะ
(1) หนี้ในประเทศของภาครัฐบาล หมายถึง ยอดหนี้คงค้างของรัฐบาล และ
รัฐวิสาหกิจที่กู้ยืมภายในประเทศในลักษณะต่างๆ
(1.1) หนี้ระยะสั้น ระยะเวลา <= 1 ปี
(1.2) หนี้ระยะปานกลาง ระยะเวลา 2-5 ปี
(1.3) หนี้ระยะยาว เกินกว่า 5 ปีขึ้นไป
8.4 หนี้สาธารณะ (Public Debt)
(2) หนี้ต่างประเทศ หมายถึง ยอดคงค้างหนี้สินส่วนที่ไม่ใช่ทุนเรือนหุ้น
ของผู้มีถิ่นฐานในประเทศก่อขึ้นกับผู้มีถิ่นฐานในต่างประเทศ
ทั้งหนี้สินที่มี ดอกเบี้ย/ไม่มีดอกเบี้ย โดยมีภาระผูกพันที่จะต้องชาระ
คืนเงินต้น โดยรวมหนี้สินทุกสกุลเงินและทุกประเภทของการกู้ยืมเงิน
(2.1) หนี้ต่างประเทศภาคเอกชน หมายถึง หนี้ต่างประเทศที่เอกชนก่อ
ขึ้นกับต่างประเทศ
(2.2) หนี้ต่างประเทศภาครัฐบาล หมายถึง หนี้ต่างประเทศที่รัฐบาลก่อ
ขึ้นกับต่างประเทศ
8.4.3 ผลกระทบของหนี้สาธารณะ
ผลดี คือ เกิดรายได้สาหรับนามาใช้จ่ายในประเทศ
ผลเสีย คือ เกิดการใช้จ่ายฟุ่ มเฟือย และเป็ นภาระหนี้ต่อ
ประชาชนรุ่นหลังๆ ได้
8.4.4 ข้อกาหนดในการก่อหนี้ของรัฐบาล
(1) ส่วนราชการ(รัฐบาล) กู้ยืมจาก ตปท. ได้ไม่เกินร้อยละ 10 ของ
งบประมาณประจาปี
(2) การขอกู้ ต้องบรรจุไว้ในแผนการก่อหนี้ และอยู่ภายใต้เพดาน
เงินกู้ประจาปี
ภาระหนี้/รายได้เงินตรา ตปท. เกินกว่า 9% (2 แสนล้านบาท)
(3) ส่วนราชการ(รัฐบาล) กู้ยืมในประเทศ ได้ไม่เกิน 20% ของ
งบประมาณประจาปี และงบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม
8.5 รายจ่ายของรัฐบาล
8.5.1 ความหมายของรายจ่ายรัฐบาล
รายจ่ายรัฐบาล หรือรายจ่ายสาธารณะ คือ การใช้จ่ายของรัฐบาลในรูป
งบประมาณแผ่นดิน เพื่อให้เศรษฐกิจมีการเจริญเติบโต
การกระจายรายได้ และแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นในระบบเศรษฐกิจ
งบประมาณรายจ่ายประจาปี เริ่มต้นวันที่ 1 ตุลาคม และสิ้นสุดวันที่ 30
กันยายนของปีถัดไป
8.5.2 แนวทางการใช้จ่ายงบประมาณ
(1) รักษาระดับการบริหารงานของรัฐบาล** แยกตามลักษณะงาน เช่น
รายจ่ายในการบริหาร การรักษาความสงบภายใน การป้องกันประเทศ
(2) ใช้จ่ายเพื่อประโยชน์ทางเศรษฐกิจส่วนรวม ได้แก่ งบประมาณรายจ่าย
ในการลงทุน
(3) การใช้จ่ายเพื่อช่วยเหลือต่างประเทศ
https://news.trueid.net/detail/yLlxYJ7jgjkL
- กระทรวงคลังกู้เงินในวงเงินกู้ 1 ล้านล้านบาท ไปแล้ว 3.18 แ
บาท
(ตั้งเป้ าหมายจะกู้ในปี งบฯ 63 จานวน 6 แสนล้านบาท)
- ครม.อนุมัติให้กระทรวงการคลัง กู้เงินกรณีรายจ่ายสูงกว่าราย
ตามกรอบการบริหารหนี้สาธารณะที่
คณะกรรมการนโยบายการเงินการคลังของรัฐกาหนด
: สัดส่วนหนี้สาธารณะ/GDP ไม่เกินร้อยละ 60
กรอบความยั่งยืนทางการคลัง:
– หนี้สาธารณะ/GDP ไม่เกิน 60% (52.4%)
– ภาระหนี้ต่องบประมาณ ไม่เกิน 15%
– งบประมาณสมดุล (ขาดดุล)
– งบรายจ่ายลงทุน/ยอดรวมรายจ่าย ไม่น้อยกว่า
25% (20%)
33
8.6 นโยบายการคลัง และฐานะดุลการคลัง
8.6.1 ความหมายของนโยบายการคลัง
นโยบายการคลัง (fiscal policy) คือ เครื่องมือการใช้จ่ายและภาษีของรัฐบาล
เพื่อให้มีผลกระทบโดยตรงต่อผลผลิต การจ้างงานและระดับราคาในประเทศ โดย
ใช้เครื่องมือทางการคลัง
8.6.2 ฐานะดุลการคลังของไทย
ฐานะการคลัง คือ ตัวเลขที่แสดงถึงความเคลื่อนไหวทางการเงินของกิจกรรมรัฐบาล
(1) รายได้ของรัฐบาล
- รายได้ที่เป็นภาษี(ฐานภาษี รายได้, การบริโภค, การค้าระหว่างประเทศ และอื่นๆ )
- รายได้ที่มิใช่ภาษี
(2) รายจ่ายรัฐบาล เป็นรายจ่ายในงบประมาณของรัฐบาล
(3) ดุลเงินนอกงบประมาณ รวมการเปลี่ยนแปลงบัญชีเงินของส่วนราชการและ
ยอดสุทธิของกองทุนหมุนเวียน
(4) การชดเชยดุลเงินสด รวมในและต่างประเทศ ชดเชยการกู้เงินจาก ธปท. ฯ
8.7 เงินเฟ้อ และการแก้ไขปัญหา
8.7.1 ความหมายของเงินเฟ้อ
เงินเฟ้อ (inflation) คือ ภาวะที่ระดับราคาสินค้าและบริการเฉลี่ย
โดยทั่วไปในระบบเศรษฐกิจเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องกัน
8.7.2 ดัชนีที่ใช้ประเมินเงินเฟ้อ
(1) ดัชนีราคาผู้บริโภค (consumer price index : CPI) หรือดัชนีค่า
ครองชีพ คือ ดัชนีวัดการเพิ่มขึ้นของราคาสินค้าและบริการที่มีการซื้อขาย
โดยครัวเรือนในระบบเศรษฐกิจ
สานักดัชนีเศรษฐกิจการค้า กรมการค้าภายในกระทรวงพาณิชย์
 ดัชนีราคาผู้บริโภค เป็ นตัวชี้วัดการเปลี่ยนแปลงของราคา
สินค้าและบริการโดยเฉลี่ย
ที่ผู้บริโภคจ่ายไปสาหรับกลุ่มสินค้าและบริการที่กาหนด
หรือมีจาเพาะ เรียกว่า
“ตะกร้าสินค้า” อันประกอบไปด้วยสินค้าและบริการ
ทั้งหมด 7 หมวด
 ครัวเรือนผู้บริโภคที่ครอบคลุมในการคานวณดัชนี ได้แก่
ครัวเรือนในเขตเทศบาล
มีสมาชิกจานวน 1 – 5 คน มีรายได้ระหว่าง 10,000 –
60,000 บาท/เดือน
ในพื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล และภูมิภาค 4
ภาค รวมทั้งสิ้น 43 จังหวัด
(ภาคเหนือ 16.นครสวรรค์17.ตาก 18.แพร่ 19.เชียงใหม่ 20.เชียงราย 21.
อุตรดิตถ์22.พิษณุโลก 23.เพชรบูรณ์ 24.น่าน)
 คานวณดัชนีราคาผู้บริโภคทั่วไป จะเปรียบเทียบราคา
ตาราง 8.7 อัตราเงินเฟ้ อของไทยจากดัชนีราคาผู้บริโภค
อัตราเงินเฟ้อ = CPI ปีปัจจุบัน - CPI ปีที่ผ่านมา x 100
ต่อปี (ร้อยละ) CPI ปีที่ผ่านมา
การคานวณอัตราเงินเฟ้อในแต่ละปี หาได้จากการเปลี่ยนแปลงของ
ดัชนีราคาผู้บริโภคในปีปัจจุบันกับดัชนีราคาผู้บริโภคในปีที่ผ่านมา
CPI = ดัชนีราคาผู้บริโภคทั่วไป
8.7.2 ดัชนีที่ใช้ประเมินเงินเฟ้อ
(2) ดัชนีราคาผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (GDP deflator)
คือ ดัชนีที่แสดงถึงการเพิ่มขึ้นของระดับราคาสินค้าและบริการเฉลี่ย
ทั้งหมดในระบบเศรษฐกิจ
(GDP= C (ดัชนีราคาผู้บริโภค)+ I + G+ X-M )
ดัชนีราคาผู้บริโภคแสดงการเพิ่มขึ้นของราคาสินค้าและบริการที่มีการซื้อขาย
โดยครัวเรือน
(3) ดัชนีราคาผู้ผลิต (producer price index : PPI)
คือ ดัชนีชี้วัดการเปลี่ยนแปลงของราคาสินค้าโดยเฉลี่ยที่ผู้ผลิตใน
ประเทศได้รับจากการขายสินค้า ณ แหล่งผลิตไม่รวมค่าขนส่งและภาษีมูลค่าเพิ่ม
อัตราเงินเฟ้อ = GDP def. ปีปัจจุบัน - GDP def. ปีที่ผ่านมา x 100
ต่อปี (ร้อยละ) GDP def. ปีที่ผ่านมา
8.7.3 ผลกระทบของเงินเฟ้อ
ผู้ได้รับประโยชน์ คือ ผู้ผลิต หรือพ่อค้า นักธุรกิจ รัฐบาลสามารถเก็บภาษีมูลค่าเพิ่ม
ได้เพิ่มขึ้น และลูกหนี้ได้เปรียบในการชาระหนี้
ผู้เสียประโยชน์ คือ ผู้ที่มีรายได้ประจา เนื่องจากมีรายได้แท้จริงลดลง
ผู้ฝากเงินได้รับดอกเบี้ยที่แท้จริงลดลง และเจ้าหนี้เสียเปรียบ เนื่องจากค่าของเงินลดลง
ในช่วงเงินเฟ้อ
8.7.4 สาเหตุการเกิดเงินเฟ้อ
(1) เงินเฟ้อจากแรงดึงของอุปสงค์ (demand-pull inflation)
เกิดจากปัจจัยที่กาหนดอุปสงค์มวลรวมเพิ่มสูงขึ้น
GDP = C + I + G+ X-M
(2) เงินเฟ้อจากแรงผลักของต้นทุน (cost push inflation)
เกิดจากต้นทุนการผลิตเพิ่มสูงขึ้น เช่น ค่าจ้าง ค่าเช่า อัตราดอกเบี้ย
ราคาน้ามัน ราคาวัตถุดิบจากต่างประเทศ
(3) ผลทางด้านจิตวิทยา มีข่าวว่าสินค้าจะขาดแคลน ซื้อตุน ระดับราคาจะเพิ่มขึ้น
ดั
ช
นี
ร
าคา
(ร้
อ
ยละ)
0
ผลิตภัณ ์มวลรวมที่แท้จริง (Real GDP)
0
ผลิตภัณ ์มวลรวมที่แท้จริง (Real GDP)
รูป ก. รูป ข.
E0
เส้นอุปสงค์ D0
เส้นอุปสงค์ D1
E1
เส้นอุปทาน
เส้นอุปสงค์
เส้นอุปทาน S0
เส้นอุปทาน S1
E0
E1
P0
P1 P1
P0
Y0
Y0
Y1
Y1
แสดงสาเหตุการเกิดเงินเฟ้อ
รูป ก. เงินเฟ้อจากแรงดึงของอุปสงค์ รูป ข. เงินเฟ้อจากแรงผลักของต้นทุน
8.7.4 วิธีการแก้ไขเงินเฟ
้ อ
(1) นโยบายการคลังแบบหดตัว/งบประมาณเกินดุล
โดยการลดรายจ่ายของรัฐบาล พร้อมกับการเพิ่มภาษี
VAT จาก 7% ----> 10%
(2) นโยบายการเงินแบบเข้มงวด/นโยบายการเงินแบบหดตัว
โดยการเพิ่มอัตราดอกเบี้ยให้สูงขึ้น ---> ต้นทุนเงินกู้สูง
----> กาลังซื้อลดลง
(3) นโยบายเพิ่มปริมาณการผลิตโดยภาครัฐบาล
ส่งเสริมให้มีการลงทุน ? ---> ลงทุนผลิตสินค้าเพิ่มมากขึ้น
(4) นโยบายอื่นๆ
เช่น การควบคุมราคาสินค้าที่จาเป็ น
จาหน่ายสินค้าในราคาพิเศษ
8.8 เงินฝืด และการว่างงาน
8.8.1 ความหมายของเงินฝืด
เงินฝืด (deflation) คือ ภาวะที่ระดับราคาสินค้าและบริการเฉลี่โดยทั่วไป
ในระบบเศรษฐกิจลดลงเกิดขึ้นในช่วงที่อุปสงค์มวลรวมมีไม่มากพอ ทาให้
ผู้ผลิตลดการผลิต เกิดปัญหาการว่างงาน
8.8.2 ผลกระทบของเงินฝืด
ผู้ได้เปรียบ คือ ผู้ที่มีรายได้แน่นอน รวมทั้งผู้ฝากเงิน หรือผู้ถือเงินกู้
ผู้เสียเปรียบ คือ ผู้ที่มีรายได้ไม่แน่นอน รวมทั้งลูกหนี้ที่มีภาระหนี้
8.8.3 ความหมายของการว่างงาน
(1) ผู้ที่มีงานทา = อายุ 15 ปี ขึ้นไป มีหน้าที่การงาน
(2) ผู้ว่างงาน = อายุ 15 ปี ขึ้นไป ไม่ได้ทางาน
(3) กาลังแรงงาน = อายุเกิน 15 ปี ขึ้นไป
 สำนักงำนสภำพัฒนำกำรเศรษฐกิจและสังคมแห่งชำติ (สศช.) ภำวะสังคมไทยไตรมำส 2 ปี
2563 มีผู้ว่ำงงำนรำว 750,000 แสนคน คิดเป็นอัตรำว่ำงงำนร้อยละ 1.95 เพิ่มขึ้นเป็น
เท่ำตัวจำกช่วงปกติ และเป็นอัตรำสูงสุดในรอบ 11 ปี นับตั้งแต่ไตรมำส 2 ปี 2552
 สำเหตุส่วนใหญ่เป็นผลจำกกำรที่สถำนประกอบกำรปิดกิจกำรในช่วงสถำนกำรณ์โควิด-19
หรือหมดสัญญำจ้ำงทั้งนี้ ส่งผลให้จำนวนผู้ว่ำงงำนสะสมในปัจจุบันอยู่ที่ประมำณ 2 ล้ำนกว่ำ
คน ในจำนวนนี้แบ่งเป็น
ผู้ว่ำงงำนที่อยู่ในระบบประกันสังคม 400,000 คน
ส่วนที่เหลืออีกรำว 1.7 ล้ำนคน แม้จะว่ำงงำน แต่ยังมีสถำนะของกำรจ้ำงงำนอยู่
เพียงแต่ไม่ได้รับเงินจำกนำยจ้ำง เนื่องจำกธุรกิจได้รับผลกระทบจำกโควิด-19 ทำให้ต้อง
หยุดกิจกำรหรือปิดตัวชั่วครำว ซึ่งเมื่อสถำนกำรณ์กลับมำคลี่คลำยได้ปกติแล้ว กลุ่มนี้จะมี
สถำนะกำรจ้ำงงำนกลับเข้ำมำตำมเดิม แต่คนกลุ่มนี้มีควำมเสี่ยงที่จะตกงำน หำกสถำนกำรณ์
เศรษฐกิจยังไม่ดีขึ้น และธุรกิจต้องปิดกิจกำรลง
 แรงงำนในกลุ่มอำชีพอิสระอีก 16 ล้ำนคน เนื่องจำกกลุ่มนี้มีควำมเสี่ยงจำกควำมผันผวนของ
เศรษฐกิจ หำกเศรษฐกิจไทยฟื้ นตัวได้เร็วโอกำสเสี่ยงของผู้ว่ำงงำนในอำชีพอิสระจะลดลง

More Related Content

Similar to Tax 63 (20)

Economy ppt-05
Economy ppt-05Economy ppt-05
Economy ppt-05
 
Ch5
Ch5Ch5
Ch5
 
B11112008
B11112008B11112008
B11112008
 
Aec ประเทศเราจะได้รับประโยชน์อะไร
Aec ประเทศเราจะได้รับประโยชน์อะไรAec ประเทศเราจะได้รับประโยชน์อะไร
Aec ประเทศเราจะได้รับประโยชน์อะไร
 
Ru Fm Chapter02 Updated
Ru Fm Chapter02 UpdatedRu Fm Chapter02 Updated
Ru Fm Chapter02 Updated
 
เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ
 เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ
เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ
 
63
6363
63
 
บบที่10
บบที่10บบที่10
บบที่10
 
การบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้า
การบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้าการบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้า
การบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้า
 
ทดสอบการอัพโหลดครั้งที่3
ทดสอบการอัพโหลดครั้งที่3ทดสอบการอัพโหลดครั้งที่3
ทดสอบการอัพโหลดครั้งที่3
 
Tax structure
Tax structureTax structure
Tax structure
 
9789740336365
97897403363659789740336365
9789740336365
 
SCG Financial Presentation
SCG Financial PresentationSCG Financial Presentation
SCG Financial Presentation
 
Final
FinalFinal
Final
 
Final
FinalFinal
Final
 
Ch2
Ch2Ch2
Ch2
 
Business Games believe
Business Games believeBusiness Games believe
Business Games believe
 
Believe
BelieveBelieve
Believe
 
02 businessfinance v1
02 businessfinance v102 businessfinance v1
02 businessfinance v1
 
B T C1 M S Y.
B T C1  M S Y.B T C1  M S Y.
B T C1 M S Y.
 

Tax 63

  • 1. 1 ภาคครัวเรือน ภาคธุรกิจ ตลาดผลผลิต ตลาดปัจจัย ปัจจัยการผลิต สินค้าและบริการ รายจ่ายในการซื้อสินค้าและบริการ รายรับของธุรกิจ ปัจจัยการผลิต สินค้าและบริการ ภาครัฐบาล ตลาดการเงิน เงินออม เงินลงทุน รายได้จากการขายปัจจัย ภาษีจ่าย ภาษีจ่าย ภาคต่างประเทศ ภาคต่างประเทศ ส่งออกสินค้า ส่งออกปัจจัย ผลตอบแทนปัจจัย ซื้อสินค้าและบริการ เงินกู้ยืม นาเข้าปัจจัย นาเข้าสินค้า การไหลเวียนของการดาเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจในปัจจุบัน
  • 2. บทที่ 8 การภาษีอากร และการรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ 8.1 เหตุผลในการดาเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจของรัฐบาล รัฐบาลมีหน้าที่ในการเก็บภาษี และนารายได้มาใช้จ่ายในการซื้อสินค้าและ บริการ เพื่อให้บรรลุเป ้ าหมายของ 1. การปรับปรุงประสิทธิภาพของระบบเศรษฐกิจ ระบบเศรษฐกิจเสรีนิยม---> กลไกราคา---> ผลกระทบทางลบ---->ล้มเหลวของกลไก ราคา--->รัฐบาลเข้ามาแทรกแซง 2. การลดความไม่เท่าเทียมกันทางเศรษฐกิจ จากปัญหาช่องว่าง ระหว่างคนรวยและคนจน เก็บภาษีคนรวย---->มาช่วยคนจน การกระจายรายได้ ไม่กระจุกตัว 3. ก่อให้เกิดการขยายตัวทางเศรษฐกิจ โดยการใช้นโยบายเศรษฐศาสตร์ มหภาค (เป ้ าหมายเศรษฐศาสตร์มหภาค 1) การเจริญเติบโตทางเศณษฐกิจ 2) ระดับราคามีเสถียรภาพ 3) การจ้างงานเต็มที่ 4) การกระจายรายได้ ....) 4. การดาเนินนโยบายการค้าระหว่างประเทศ ( เป ้ าหมายฯ 5) ดุลยภาพในการ ชาระเงินระหว่างประเทศ )
  • 3.
  • 4. สาเหตุที่รัฐต้องเข้ามาแทรกแซงกลไกตลาด การทางานของตลาดแข่งขันสมบูรณ์ ช่วยประกันได้ว่า การใช้ทรัพยากรของสังคมเป็ นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และ สวัสดิการของสังคมสูงสุดเสมอ(คือ ไม่มีคนใดในสังคมได้รับ สวัสดิการเพิ่มขึ้น โดยไม่ทาให้คนอื่นแล้วลง ตามหลัก “พาเรโต”) แต่ 1. การกระจายรายได้ของสังคมอาจไม่เป็ นไปตามที่ สังคมส่วนรวมต้องการ 2.ผู้ผลิตอาจไม่คานึงถึงต้นทุนภายนอก ที่อาจเกิดจากการ ผลิตของตน เช่น การปล่อยน้าเสียลงสู่แม่น้าลาคลอง 3. กลไกตลาดมิได้ประกันว่าจะมีการผลิตสินค้าทั้งในปริมาณ และประเภทที่เหมาะสมตามที่สังคมส่วนรวมต้องการ เพราะมีกาไร เป็ นแรงจูงใจในการผลิต
  • 5. ความล้มเหลวของตลาด 1. การผูกขาด เช่น สินค้าที่ต้องใช้ทุนสูง แต่สังคมต้องการ 2. การขาดข่าวสารที่สมบูรณ์ เช่น การติดฉลากอาหารและยา 3. สินค้าสาธารณะ เกิด ปัญหาตีตั๋วฟรี คือ ผู้บริโภคที่ต้องการบริโภค สินค้าสาธารณะเหล่านี้ไม่ยอมเผยความต้องการของตน เช่น การสร้างเขื่อน การต่อน้าประปาเข้าหมู่บ้าน 4. ผลภายนอก คือ การผลิตหรือบริโภคของตนมีผลกระทบต่อบุคคลอื่น ผลประโยชน์ภายนอก เช่น การฉีดวัคซีน การศึกษาขั้นพื้นฐาน การ คุมกาเนิด 5. ผลเสียหรือต้นทุนภายนอก เช่น การสูบบุหรี่ รถบรรทุกหนักเกิน 6. การไม่มีตลาดสาหรับสินค้าบางชนิด เช่น การประกันการว่างงาน
  • 6. 8.2 ความหมายของภาษีอากร และประเภทของภาษี 8.2.1 ความหมายของภาษีอากร ภาษี (การบังคับเก็บ) คือ สิ่งที่รัฐบาลบังคับเก็บจากราษฏร และนามาใช้เพื่อประโยชน์ของสังคมส่วนรวม โดยมิได้มีสิ่งตอบแทน โดยตรงแก่ผู้เสียภาษี 8.2.2 ประเภทของภาษีอากร (1) ภาษีทางตรง (Direct Tax) คือ ภาษีที่ผู้เสียเป็ นผู้รับภาระ ของภาษีและไม่สามารถผลักภาระไปให้บุคคลอื่นได้ เช่น ภาษีเงินได้ บุคคลธรรมดา ภาษีเงินได้นิติบุคคล (2) ภาษีทางอ้อม(Indirect Tax) คือ ภาษีที่ผู้เสียผลักภาระของ ภาษีไปได้ทั้งหมด หรือส่วนใหญ่ เช่น ภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีสรรพสามิต
  • 7. อัตราภาษี มี 3 แบบ 1. แบบคงที่ 2. แบบก้าวหน้า 3. แบบถอยหลัง
  • 8. 8.2.3 ประเภทของอัตราภาษี ลักษณะของภาษีที่ดี ----> ความเป็นกลาง ----->มีผลกระทบต่อผู้เสียภาษีน้อย (1) อัตราภาษีแบบก้าวหน้า คือ อัตราภาษีที่เพิ่มสูงขึ้น เมื่อฐาน รายได้ของผู้เสียภาษีเพิ่มขึ้น เช่น ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ภาษีเงินได้ นิติบุคคล
  • 9.
  • 10. ปัจจุบัน เงินได้สุทธิ 150,000 บาทแรก ยกเว้นภาษี อัตราภาษี (แบบก้าวหน้า)ปีภาษี 2560 2561 2562 เงินได้สุทธิ ช่วงเงินได้สุทธิ อัตราภาษี(%) ภาษี ภาษีสะสม เกิน 0 ถึง 150,000 150,000 ยกเว้น - เกิน 150,000 ถึง 300,000 150,000 5 7,500 7,500 เกิน 300,000 ถึง 500,000 200,000 10 20,000 27,500 เกิน 500,000 ถึง 750,000 250,000 15 37,500 65,000 เกิน 750,000 ถึง 1,000,000 250,000 20 50,000 115,000 เกิน 1,000,000 ถึง 2,000,000 1,000,000 25 250,000 365,000 เกิน 2,000,000 ถึง 5,000,000 3,000,000 30 900,000 1,265,000 เกิน 5,000,000 ขึ้นไป 35
  • 11. ตัวอย่าง การคานวณภาษี เงินได้สุทธิจานวน 400,000.-บาท จะต้องชาระภาษีเท่าใด 150,000 ยกเว้น (300,000- 150,000) = 150,000 5% 7,500 (400,000 – 300,000) = 100,000 10% 10,000 รวม 17,500
  • 16. เฉลย เงินได้สุทธิ 700,000 ช่วงเงินได้ อัตราภาษี ภาษี ภาษีสะสม 150,000 ยกเว้น - 300,000 - 150,000 150,000 x 5 7,500 7,500 500,000 - 300,000 200,000 x 10 20,000 27,500 (700,000 - 500,000) 200,000 x 15 30,000 57,500
  • 18. เฉลย เงินได้สุทธิ 1,200,000 ช่วงเงินได้ อัตราภาษี ภาษี ภาษีสะสม 150,000 ยกเว้น - 300,000 - 150,000 150,000 x 5 7,500 7,500 500,000 - 300,000 200,000 x 10 20,000 27,500 750,000 - 500,000 250,000 x 15 37,500 65,000 1,000,000 - 750,000 250,000 x 20 50,000 115,000 1,200,000 - 1,000,000 200,000 x 25 50,000 165,000
  • 19. 8.2.3 ประเภทของอัตราภาษี (2) อัตราภาษีแบบสัดส่วน คือ อัตราภาษีที่อยู่คงที่ เมื่อรายได้ของผู้เสีย ภาษีเปลี่ยนแปลงไป เช่น ภาษีธุรกิจเฉพาะในการซื้อขายที่ดิน ร้อยละ 3.3 ของ ราคาประเมิน (3) อัตราภาษีแบบถดถอย คือ อัตราภาษีที่ผู้เสียในอัตราลดลง เมื่อรายได้ เพิ่มขึ้น เช่น ภาษีสรรพสามิต อั ต ราภาษี ( ) (บาท) 0 อัตราภาษีแบบถดถอย
  • 20. 8.3 รายได้ของรัฐบาล 8.3.1 รายได้จากภาษี (tax revenue) คือ รายได้จากการเก็บภาษีของรัฐบาล แบ่งเป็น (1) ภาษีจากฐานรายได้ ประกอบด้วย (1.1) ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา (1.2) ภาษีเงินได้นิติบุคคล (1.3) ภาษีปิโตรเลียม (2) ภาษีจากฐานการบริโภค ประกอบด้วย (2.1) ภาษีการค้า หรือภาษีขาย (2.2) ภาษีมูลค่าเพิ่ม (2.3) ภาษีธุรกิจเฉพาะ (2.4) ภาษีสรรพสามิต (3) ภาษีฐานการค้าระหว่างประเทศ (4) ภาษีอื่นๆ เช่น ภาษีมรดก ภาษีรถยนต์
  • 21. SME : ทุนจดทะเบียนไม่เกิน 5 ล้านบาท และรายได้ต่อปีไม่เกิน 30 ล้านบาท
  • 22.
  • 23. ภาษีสรรพสามิต 1. sin tax 2. Luxury tax 3. Environment tax 4. Energy tax
  • 24. 8.3 รายได้ของรัฐบาล 8.3.2 รายได้ที่มิใช่ภาษี (non-tax revenue) คือ รายได้ของรัฐบาลในรูปแบบ อื่นๆ แบ่งเป็น (1) รายได้จากการประกอบธุรกิจของรัฐบาล ในรูปรัฐวิสาหกิจ หรือ หน่วยงานอื่นๆ (2) รายได้จากการกู้ยืมเงิน หรือการก่อหนี้สาธารณะจากสถาบันการเงินใน ประเทศ หรือต่างประเทศ (งบประมาณขาดดุล) (3) รายได้จากบริหารงาน เช่น ค่าธรรมเนียม ใบอนุญาต ค่าปรับ (4) การบังคับกู้ยืมเงินจากประชาชน เช่น ค่าประกันต่างไฟฟ้า ประปา (5) รายได้จากการขอรับความช่วยเหลือจากต่างประเทศ
  • 25. 8.4 หนี้สาธารณะ (Public Debt) 8.4.1 ความหมายของหนี้สาธารณะ หนี้สาธารณะหรือหนี้ของภาครัฐบาล หมายถึง การกู้ยืมเงินของรัฐบาลเพื่อใช้ในการพัฒนาประเทศ กรณีที่รัฐบาลมีการใช้เงินมากกว่ารายได้ 8.4.2 ประเภทของหนี้สาธารณะ (1) หนี้ในประเทศของภาครัฐบาล หมายถึง ยอดหนี้คงค้างของรัฐบาล และ รัฐวิสาหกิจที่กู้ยืมภายในประเทศในลักษณะต่างๆ (1.1) หนี้ระยะสั้น ระยะเวลา <= 1 ปี (1.2) หนี้ระยะปานกลาง ระยะเวลา 2-5 ปี (1.3) หนี้ระยะยาว เกินกว่า 5 ปีขึ้นไป
  • 26. 8.4 หนี้สาธารณะ (Public Debt) (2) หนี้ต่างประเทศ หมายถึง ยอดคงค้างหนี้สินส่วนที่ไม่ใช่ทุนเรือนหุ้น ของผู้มีถิ่นฐานในประเทศก่อขึ้นกับผู้มีถิ่นฐานในต่างประเทศ ทั้งหนี้สินที่มี ดอกเบี้ย/ไม่มีดอกเบี้ย โดยมีภาระผูกพันที่จะต้องชาระ คืนเงินต้น โดยรวมหนี้สินทุกสกุลเงินและทุกประเภทของการกู้ยืมเงิน (2.1) หนี้ต่างประเทศภาคเอกชน หมายถึง หนี้ต่างประเทศที่เอกชนก่อ ขึ้นกับต่างประเทศ (2.2) หนี้ต่างประเทศภาครัฐบาล หมายถึง หนี้ต่างประเทศที่รัฐบาลก่อ ขึ้นกับต่างประเทศ
  • 27. 8.4.3 ผลกระทบของหนี้สาธารณะ ผลดี คือ เกิดรายได้สาหรับนามาใช้จ่ายในประเทศ ผลเสีย คือ เกิดการใช้จ่ายฟุ่ มเฟือย และเป็ นภาระหนี้ต่อ ประชาชนรุ่นหลังๆ ได้ 8.4.4 ข้อกาหนดในการก่อหนี้ของรัฐบาล (1) ส่วนราชการ(รัฐบาล) กู้ยืมจาก ตปท. ได้ไม่เกินร้อยละ 10 ของ งบประมาณประจาปี (2) การขอกู้ ต้องบรรจุไว้ในแผนการก่อหนี้ และอยู่ภายใต้เพดาน เงินกู้ประจาปี ภาระหนี้/รายได้เงินตรา ตปท. เกินกว่า 9% (2 แสนล้านบาท) (3) ส่วนราชการ(รัฐบาล) กู้ยืมในประเทศ ได้ไม่เกิน 20% ของ งบประมาณประจาปี และงบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม
  • 28. 8.5 รายจ่ายของรัฐบาล 8.5.1 ความหมายของรายจ่ายรัฐบาล รายจ่ายรัฐบาล หรือรายจ่ายสาธารณะ คือ การใช้จ่ายของรัฐบาลในรูป งบประมาณแผ่นดิน เพื่อให้เศรษฐกิจมีการเจริญเติบโต การกระจายรายได้ และแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นในระบบเศรษฐกิจ งบประมาณรายจ่ายประจาปี เริ่มต้นวันที่ 1 ตุลาคม และสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายนของปีถัดไป 8.5.2 แนวทางการใช้จ่ายงบประมาณ (1) รักษาระดับการบริหารงานของรัฐบาล** แยกตามลักษณะงาน เช่น รายจ่ายในการบริหาร การรักษาความสงบภายใน การป้องกันประเทศ (2) ใช้จ่ายเพื่อประโยชน์ทางเศรษฐกิจส่วนรวม ได้แก่ งบประมาณรายจ่าย ในการลงทุน (3) การใช้จ่ายเพื่อช่วยเหลือต่างประเทศ
  • 29.
  • 31. - กระทรวงคลังกู้เงินในวงเงินกู้ 1 ล้านล้านบาท ไปแล้ว 3.18 แ บาท (ตั้งเป้ าหมายจะกู้ในปี งบฯ 63 จานวน 6 แสนล้านบาท) - ครม.อนุมัติให้กระทรวงการคลัง กู้เงินกรณีรายจ่ายสูงกว่าราย
  • 33. กรอบความยั่งยืนทางการคลัง: – หนี้สาธารณะ/GDP ไม่เกิน 60% (52.4%) – ภาระหนี้ต่องบประมาณ ไม่เกิน 15% – งบประมาณสมดุล (ขาดดุล) – งบรายจ่ายลงทุน/ยอดรวมรายจ่าย ไม่น้อยกว่า 25% (20%) 33
  • 34. 8.6 นโยบายการคลัง และฐานะดุลการคลัง 8.6.1 ความหมายของนโยบายการคลัง นโยบายการคลัง (fiscal policy) คือ เครื่องมือการใช้จ่ายและภาษีของรัฐบาล เพื่อให้มีผลกระทบโดยตรงต่อผลผลิต การจ้างงานและระดับราคาในประเทศ โดย ใช้เครื่องมือทางการคลัง 8.6.2 ฐานะดุลการคลังของไทย ฐานะการคลัง คือ ตัวเลขที่แสดงถึงความเคลื่อนไหวทางการเงินของกิจกรรมรัฐบาล (1) รายได้ของรัฐบาล - รายได้ที่เป็นภาษี(ฐานภาษี รายได้, การบริโภค, การค้าระหว่างประเทศ และอื่นๆ ) - รายได้ที่มิใช่ภาษี (2) รายจ่ายรัฐบาล เป็นรายจ่ายในงบประมาณของรัฐบาล (3) ดุลเงินนอกงบประมาณ รวมการเปลี่ยนแปลงบัญชีเงินของส่วนราชการและ ยอดสุทธิของกองทุนหมุนเวียน (4) การชดเชยดุลเงินสด รวมในและต่างประเทศ ชดเชยการกู้เงินจาก ธปท. ฯ
  • 35. 8.7 เงินเฟ้อ และการแก้ไขปัญหา 8.7.1 ความหมายของเงินเฟ้อ เงินเฟ้อ (inflation) คือ ภาวะที่ระดับราคาสินค้าและบริการเฉลี่ย โดยทั่วไปในระบบเศรษฐกิจเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องกัน 8.7.2 ดัชนีที่ใช้ประเมินเงินเฟ้อ (1) ดัชนีราคาผู้บริโภค (consumer price index : CPI) หรือดัชนีค่า ครองชีพ คือ ดัชนีวัดการเพิ่มขึ้นของราคาสินค้าและบริการที่มีการซื้อขาย โดยครัวเรือนในระบบเศรษฐกิจ สานักดัชนีเศรษฐกิจการค้า กรมการค้าภายในกระทรวงพาณิชย์
  • 36.  ดัชนีราคาผู้บริโภค เป็ นตัวชี้วัดการเปลี่ยนแปลงของราคา สินค้าและบริการโดยเฉลี่ย ที่ผู้บริโภคจ่ายไปสาหรับกลุ่มสินค้าและบริการที่กาหนด หรือมีจาเพาะ เรียกว่า “ตะกร้าสินค้า” อันประกอบไปด้วยสินค้าและบริการ ทั้งหมด 7 หมวด  ครัวเรือนผู้บริโภคที่ครอบคลุมในการคานวณดัชนี ได้แก่ ครัวเรือนในเขตเทศบาล มีสมาชิกจานวน 1 – 5 คน มีรายได้ระหว่าง 10,000 – 60,000 บาท/เดือน ในพื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล และภูมิภาค 4 ภาค รวมทั้งสิ้น 43 จังหวัด (ภาคเหนือ 16.นครสวรรค์17.ตาก 18.แพร่ 19.เชียงใหม่ 20.เชียงราย 21. อุตรดิตถ์22.พิษณุโลก 23.เพชรบูรณ์ 24.น่าน)  คานวณดัชนีราคาผู้บริโภคทั่วไป จะเปรียบเทียบราคา
  • 37.
  • 38.
  • 39.
  • 40. ตาราง 8.7 อัตราเงินเฟ้ อของไทยจากดัชนีราคาผู้บริโภค อัตราเงินเฟ้อ = CPI ปีปัจจุบัน - CPI ปีที่ผ่านมา x 100 ต่อปี (ร้อยละ) CPI ปีที่ผ่านมา การคานวณอัตราเงินเฟ้อในแต่ละปี หาได้จากการเปลี่ยนแปลงของ ดัชนีราคาผู้บริโภคในปีปัจจุบันกับดัชนีราคาผู้บริโภคในปีที่ผ่านมา CPI = ดัชนีราคาผู้บริโภคทั่วไป
  • 41. 8.7.2 ดัชนีที่ใช้ประเมินเงินเฟ้อ (2) ดัชนีราคาผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (GDP deflator) คือ ดัชนีที่แสดงถึงการเพิ่มขึ้นของระดับราคาสินค้าและบริการเฉลี่ย ทั้งหมดในระบบเศรษฐกิจ (GDP= C (ดัชนีราคาผู้บริโภค)+ I + G+ X-M ) ดัชนีราคาผู้บริโภคแสดงการเพิ่มขึ้นของราคาสินค้าและบริการที่มีการซื้อขาย โดยครัวเรือน (3) ดัชนีราคาผู้ผลิต (producer price index : PPI) คือ ดัชนีชี้วัดการเปลี่ยนแปลงของราคาสินค้าโดยเฉลี่ยที่ผู้ผลิตใน ประเทศได้รับจากการขายสินค้า ณ แหล่งผลิตไม่รวมค่าขนส่งและภาษีมูลค่าเพิ่ม อัตราเงินเฟ้อ = GDP def. ปีปัจจุบัน - GDP def. ปีที่ผ่านมา x 100 ต่อปี (ร้อยละ) GDP def. ปีที่ผ่านมา
  • 42.
  • 43.
  • 44.
  • 45. 8.7.3 ผลกระทบของเงินเฟ้อ ผู้ได้รับประโยชน์ คือ ผู้ผลิต หรือพ่อค้า นักธุรกิจ รัฐบาลสามารถเก็บภาษีมูลค่าเพิ่ม ได้เพิ่มขึ้น และลูกหนี้ได้เปรียบในการชาระหนี้ ผู้เสียประโยชน์ คือ ผู้ที่มีรายได้ประจา เนื่องจากมีรายได้แท้จริงลดลง ผู้ฝากเงินได้รับดอกเบี้ยที่แท้จริงลดลง และเจ้าหนี้เสียเปรียบ เนื่องจากค่าของเงินลดลง ในช่วงเงินเฟ้อ 8.7.4 สาเหตุการเกิดเงินเฟ้อ (1) เงินเฟ้อจากแรงดึงของอุปสงค์ (demand-pull inflation) เกิดจากปัจจัยที่กาหนดอุปสงค์มวลรวมเพิ่มสูงขึ้น GDP = C + I + G+ X-M (2) เงินเฟ้อจากแรงผลักของต้นทุน (cost push inflation) เกิดจากต้นทุนการผลิตเพิ่มสูงขึ้น เช่น ค่าจ้าง ค่าเช่า อัตราดอกเบี้ย ราคาน้ามัน ราคาวัตถุดิบจากต่างประเทศ (3) ผลทางด้านจิตวิทยา มีข่าวว่าสินค้าจะขาดแคลน ซื้อตุน ระดับราคาจะเพิ่มขึ้น
  • 46.
  • 47. ดั ช นี ร าคา (ร้ อ ยละ) 0 ผลิตภัณ ์มวลรวมที่แท้จริง (Real GDP) 0 ผลิตภัณ ์มวลรวมที่แท้จริง (Real GDP) รูป ก. รูป ข. E0 เส้นอุปสงค์ D0 เส้นอุปสงค์ D1 E1 เส้นอุปทาน เส้นอุปสงค์ เส้นอุปทาน S0 เส้นอุปทาน S1 E0 E1 P0 P1 P1 P0 Y0 Y0 Y1 Y1 แสดงสาเหตุการเกิดเงินเฟ้อ รูป ก. เงินเฟ้อจากแรงดึงของอุปสงค์ รูป ข. เงินเฟ้อจากแรงผลักของต้นทุน
  • 48. 8.7.4 วิธีการแก้ไขเงินเฟ ้ อ (1) นโยบายการคลังแบบหดตัว/งบประมาณเกินดุล โดยการลดรายจ่ายของรัฐบาล พร้อมกับการเพิ่มภาษี VAT จาก 7% ----> 10% (2) นโยบายการเงินแบบเข้มงวด/นโยบายการเงินแบบหดตัว โดยการเพิ่มอัตราดอกเบี้ยให้สูงขึ้น ---> ต้นทุนเงินกู้สูง ----> กาลังซื้อลดลง (3) นโยบายเพิ่มปริมาณการผลิตโดยภาครัฐบาล ส่งเสริมให้มีการลงทุน ? ---> ลงทุนผลิตสินค้าเพิ่มมากขึ้น (4) นโยบายอื่นๆ เช่น การควบคุมราคาสินค้าที่จาเป็ น จาหน่ายสินค้าในราคาพิเศษ
  • 49. 8.8 เงินฝืด และการว่างงาน 8.8.1 ความหมายของเงินฝืด เงินฝืด (deflation) คือ ภาวะที่ระดับราคาสินค้าและบริการเฉลี่โดยทั่วไป ในระบบเศรษฐกิจลดลงเกิดขึ้นในช่วงที่อุปสงค์มวลรวมมีไม่มากพอ ทาให้ ผู้ผลิตลดการผลิต เกิดปัญหาการว่างงาน 8.8.2 ผลกระทบของเงินฝืด ผู้ได้เปรียบ คือ ผู้ที่มีรายได้แน่นอน รวมทั้งผู้ฝากเงิน หรือผู้ถือเงินกู้ ผู้เสียเปรียบ คือ ผู้ที่มีรายได้ไม่แน่นอน รวมทั้งลูกหนี้ที่มีภาระหนี้ 8.8.3 ความหมายของการว่างงาน (1) ผู้ที่มีงานทา = อายุ 15 ปี ขึ้นไป มีหน้าที่การงาน (2) ผู้ว่างงาน = อายุ 15 ปี ขึ้นไป ไม่ได้ทางาน (3) กาลังแรงงาน = อายุเกิน 15 ปี ขึ้นไป
  • 50.  สำนักงำนสภำพัฒนำกำรเศรษฐกิจและสังคมแห่งชำติ (สศช.) ภำวะสังคมไทยไตรมำส 2 ปี 2563 มีผู้ว่ำงงำนรำว 750,000 แสนคน คิดเป็นอัตรำว่ำงงำนร้อยละ 1.95 เพิ่มขึ้นเป็น เท่ำตัวจำกช่วงปกติ และเป็นอัตรำสูงสุดในรอบ 11 ปี นับตั้งแต่ไตรมำส 2 ปี 2552  สำเหตุส่วนใหญ่เป็นผลจำกกำรที่สถำนประกอบกำรปิดกิจกำรในช่วงสถำนกำรณ์โควิด-19 หรือหมดสัญญำจ้ำงทั้งนี้ ส่งผลให้จำนวนผู้ว่ำงงำนสะสมในปัจจุบันอยู่ที่ประมำณ 2 ล้ำนกว่ำ คน ในจำนวนนี้แบ่งเป็น ผู้ว่ำงงำนที่อยู่ในระบบประกันสังคม 400,000 คน ส่วนที่เหลืออีกรำว 1.7 ล้ำนคน แม้จะว่ำงงำน แต่ยังมีสถำนะของกำรจ้ำงงำนอยู่ เพียงแต่ไม่ได้รับเงินจำกนำยจ้ำง เนื่องจำกธุรกิจได้รับผลกระทบจำกโควิด-19 ทำให้ต้อง หยุดกิจกำรหรือปิดตัวชั่วครำว ซึ่งเมื่อสถำนกำรณ์กลับมำคลี่คลำยได้ปกติแล้ว กลุ่มนี้จะมี สถำนะกำรจ้ำงงำนกลับเข้ำมำตำมเดิม แต่คนกลุ่มนี้มีควำมเสี่ยงที่จะตกงำน หำกสถำนกำรณ์ เศรษฐกิจยังไม่ดีขึ้น และธุรกิจต้องปิดกิจกำรลง  แรงงำนในกลุ่มอำชีพอิสระอีก 16 ล้ำนคน เนื่องจำกกลุ่มนี้มีควำมเสี่ยงจำกควำมผันผวนของ เศรษฐกิจ หำกเศรษฐกิจไทยฟื้ นตัวได้เร็วโอกำสเสี่ยงของผู้ว่ำงงำนในอำชีพอิสระจะลดลง