SlideShare a Scribd company logo
1 of 9
Download to read offline
พระเจามหาชนสมมติกษัตริยองคแรกแหงชมพูทวีป
๒
พุทธประวัติอมตะ
๑. พระเจามหาชนสมมติกษัตริยองคแรกแหงชมพูทวีป
ในยุคตนกัป คือเมื่อโลกเกิดขึ้นมาใหม ๆ และมีมนุษยเกิดขึ้นมามากพอสมควรแลว
สังคมเริ่มเกิดปญหา ประชาชนจึงรวมใจกันเลือกบุคคลที่งดงามมีศักดิ์ใหญแตงตั้งให
เปนหัวหนา สําหรับปกครองบานเมือง เพื่อใหประชาชนมีความอบอุนใจปลอดภัยและสุขใจ
ยิ่ง พระบรมโพธิสัตวของเราทั้งหลาย จึงไดเสวยพระชาติเปนพระมหากษัตริยองคแรกแหง
ชมพูทวีป ที่มหาชนแตงตั้งทรงพระนามวา “พระเจามหาชนสมมติ” เรียกสั้น ๆ วา “พระเจา
มหาสมมติ” และมีกษัตริยสืบสันติวงศตอ ๆ มา เรียงลําดับดังนี้
๑. พระเจามหาสมมติ มีราชโอรสทรงพระนามวา โรชะ
๒. พระเจาโรชะ มีราชโอรสทรงพระนามวา วรโรชะ
๓. พระเจาวรโรชะ มีราชโอรสทรงพระนามวา กัลยาณะ
๔. พระเจากัลยาณะ มีราชโอรสทรงพระนามวา วรกัลยาณะ
๕. พระเจาวรกัลยาณะ มีราชโอรสทรงพระนามวา มันธาตุ
๖. พระเจามันธาตุ มีราชโอรสทรงพระนามวา วรมันธาตุ
๗. พระเจาวรมันธาตุ มีราชโอรสทรงพระนามวา อุโปสถะ
๘. พระเจาอุโปสถะ มีราชโอรสทรงพระนามวา วระ
๙. พระเจาวระ มีราชโอรสทรงพระนามวา อุปวระ
๑๐. พระเจาอุปวระ มีราชโอรสทรงพระนามวา มฆเทวะ
พระเจามฆเทวะ นับเปนกษัตริยองคที่ ๑๑ ที่สืบเนื่องมาจากกษัตริยองคแรกใน
ชมพูทวีป และตอจากพระเจามฆเทวะ ยังมีพระราชวงศานุวงศเสวยราชสมบัติสืบกษัตริย
ติดตอกันมาถึง ๘๔,๐๐๐ พระองค ตอจากนั้นก็มีพระเจาโอกกากราชครองราชสมบัติสืบ
ตอมาถึง ๓ รัชกาล คือ พระเจาโอกกากราชที่ ๑ พระเจาโอกกากราชที่ ๒ และพระเจาโอกกาก
ราชที่ ๓ (สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส, ปฐมสมโพธิกถา. ๒๕๓๙ : ๒)
ในสมัยพระเจาโอกกากราชที่ ๓ ซึ่งตอไปจะเรียกสั้น ๆ วา พระเจาโอกกากราช เทานั้น
ซึ่งเปนบรรพบุรุษของศากยวงศในยุคใกลเขามา คือประมาณกอนพุทธศักราช ๕๐๐ ปเศษ
หรือประมาณ ๓,๐๐๐ ป มาแลว
๓
พุทธประวัติอมตะ
๒. กรุงกบิลพัสดุและศากยวงศ
กอนพุทธศักราช ๕๐๐ ปเศษ หรือประมาณ ๓,๐๐๐ ปมาแลว มีเมืองเมืองหนึ่ง
ตั้งอยูทางตอนเหนือของชมพูทวีป หรือประเทศอินเดียในสมัยโบราณ ปจจุบันอยูในเขต
ประเทศเนปาล ชื่อวา แควนโกศล มีพระเจาโอกกากราช หรืออิกษวากุ ในวรรณคดีฮินดูสมัย
พระเวท แหงโคตมโคตร หรืออาทิตยโคตร เปนกษัตริยปกครอง (พุทธทาสภิกขุ, พุทธประวัติฉบับวิจารณ.
๒๕๓๕ : ๔๒-๕๔)
พระเจาโอกกากราชทรงมีพระมเหสี ๕ พระองค คือ พระนางหัตถา พระนางจิตตา
พระนางชันตุ พระนางชาลินี และพระนางวิสาขา ทรงยกพระนางหัตถาเชษฐภคินี (พี่สาว)
ของพระองคขึ้นเปนอัครมเหสี พระองคมีพระโอรสและพระธิดาที่เกิดจากพระนางหัตถา
อัครมเหสี รวม ๙ พระองค โดยมีพระโอรส ๔ พระองค และพระธิดา ๕ พระองค เรียงลําดับ
ดังนี้
๑. เจาหญิงปยา
๒. เจาชายโอกกากมุข
๓. เจาชายกรัณฑะ
๔. เจาชายหัตถินิกะ
๕. เจาชายสินิปุระ
๖. เจาหญิงสุปยา
๗. เจาหญิงอานันทา
๘. เจาหญิงวิชิตา
๙. เจาหญิงวิชิตาเสนา
ตอมาพระนางหัตถาอัครมเหสีผูเปนพระราชมารดาของพระโอรสธิดาทั้ง ๙ สิ้นพระชนม
พระเจาโอกกากราชจึงทรงมีพระมเหสีองคใหมที่เยาววัยอันทรงอุดมรูป และทรงตั้งใหเปน
อัครมเหสี พระนางมีพระราชโอรสองคหนึ่ง พระนามวา “ชันตุ” ซึ่งยังความโสมนัสใหเกิดขึ้น
แกพระเจาโอกกากราชเปนอยางยิ่ง ครั้นชันตุราชกุมารมีพระชนมได ๕ เดือน พระเจาโอกกาก
ราชทรงพลั้งพระโอษฐประทานพรกับพระมเหสีไปวา
เจาจะขออะไรใหแกพระโอรส เราก็จะใหทั้งนั้น
๔
พุทธประวัติอมตะ
พระนางไดโอกาสจึงทูลขอราชสมบัติใหแกพระโอรส พระเจาโอกกากราชทรงตก
พระทัยเพราะไมคิดวาจะขอมากมายถึงเพียงนี้จึงไมทรงยินยอม ครั้นเมื่อพระมเหสีทูลรบเรา
หลายครั้งเขา ทรงเกรงวาจะเสียสัตย เพราะธรรมดากษัตริยตรัสแลวไมคืนคํา จึงจําพระทัย
พระราชทานราชสมบัติใหแกพระราชโอรสพระองคใหมตามที่พระนางขอ (สมเด็จพระมหาสมณเจา
กรมพระปรมานุชิตชิโนรส, ปฐมสมโพธิกถา. ๒๕๓๙ : ๒-๓)
เมื่อพระเจาโอกกากราชทรงพระประสงคจะพระราชทานราชสมบัติใหแกพระโอรส
ของพระมเหสีผูที่ทรงรักใครโปรดปราน จึงทรงรับสั่งใหพระราชโอรสทั้ง ๔ ที่เกิดจาก
พระอัครมเหสีองคกอนไปสรางพระนครแหงใหม พระโอรสเหลานั้นรับพระราชดํารัสแลว
เสด็จออกจากพระราชอาณาเขตเพื่อหาทําเลสรางพระนคร โดยมีพระธิดาทั้ง ๕ พรอมทั้ง
ขาราชบริพาร ทหารทุกหมูเหลา และประชาชนติดตามไปดวยเปนจํานวนมาก (พระสุตตันตปฎก
ทีฆนิกาย สีลขันธวรรค อัมพัฏฐสูตร ประวัติตระกูลของอัมพัฏฐมาณพ ๙/๑๔๙/๑๐๐)
สมัยนั้น พระบรมโพธิสัตวของเราเกิดในสกุลพราหมณ ผูมั่งคั่งดวยโภคทรัพยและ
สมบัติตาง ๆ มีชื่อวา “กบิล” พิจารณาเห็นโทษในกามารมณ ๕ ไดแก การติดใจในรูป รส
กลิ่น เสียง สัมผัส จึงสละสมบัติออกบวชเปนฤษี สรางศาลาอยูในปาดงไมสัก ใกลสระบัว
เชิงเขาหิมพานต เมื่อทานเห็นพระราชกุมารทั้งหลายพรอมดวยบริวารเดินทางผานมา และ
ทราบเรื่องการหาทําเลสรางเมืองแลวก็มีความกรุณาปรารถนาจะอนุเคราะห จึงไดยกที่ที่ตน
พํานักอยูนั้นใหสรางเมือง เพราะเปนทําเลที่ดีเลิศ สวนกบิลดาบสก็จะไปสรางศาลาแหงใหม
อยูขางหนึ่งนอกพระนคร พระราชกุมารเหลานั้นจึงสถาปนาพระนครแลปราสาทราชนิเวศน
ลงในที่นั้นตามคําพระดาบส เสร็จแลวจึงขนานนามเมืองใหมนั้นวา “กบิลพัสดุ” แปลวา
นครอันเปนที่อยูของกบิลดาบสมากอน ซึ่งมั่งคั่งดวยโภคทรัพยและสมบัติตาง ๆ (สมเด็จพระมหา
สมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส, ปฐมสมโพธิกถา. ๒๕๓๙ : ๓-๔)
ตอมาพระเจาโอกกากราชตรัสถามหมูอํามาตยราชบริษัทวา
บัดนี้พวกกุมารอยูกันที่ไหน ?
พวกอํามาตยกราบทูลวา
ขอเดชะ มีราวปาไมสักใหญใกลสระบัว เชิงเขาหิมพานต บัดนี้ พระราชกุมารทั้งหลาย
อยู ณ ที่นั้น พระราชกุมารเหลานั้นทรงสมรสกันเองกับภคินี (พี่หญิง นองหญิง) ของพระองค
เอง เพราะเกรงวาพระชาติจะระคนปนกันกับสกุลอื่น
พระเจาโอกกากราชไดยินดังนั้นทรงเปลงอุทานวา
๕
พุทธประวัติอมตะ
พวกกุมารอาจหาญหนอ ! พวกกุมารสามารถยิ่งหนอ !
ดวยคําวา สักกะ แปลวา อาจ สามารถ ดวยพระวาจานี้ ไดถือเปนมงคลนิมิตของกษัตริย
นครกบิลพัสดุวา “ศากยะ” ดังนั้น กษัตริยวงศนี้จึงมีนามวา “ศากยวงศ” ดํารงขัตติยสกุล
สืบมา และเจริญดวยพระราชบุตรพระราชธิดาเปนอันมาก (พระสุตตันตปฎก ทีฆนิกาย สีลขันธวรรค
อัมพัฏฐสูตร ประวัติตระกูลของอัมพัฏฐมาณพ ๙/๑๔๙/๑๐๐)
๖
พุทธประวัติอมตะ
๓. กรุงเทวทหะและโกลิยวงศ
กษัตริยผูเปนตนวงศโกลิยะ แหงเทวทหะนคร คือ พระนางปยา กับ พระเจารามแหง
กรุงพาราณสี โดยมีตํานานความเปนมาของกรุงเทวทหะและโกลิยวงศ ดังนี้
เจาหญิงปยา เปนธิดาองคใหญของพระเจาโอกกากราช แหงแควนโกศล ไดติดตาม
พระอนุชา (นองชาย) และพระขนิษฐา (นองสาว) ไปสรางเมืองใหมชื่อเมือง “กบิลพัสดุ”
ซึ่งอยูไมไกลจากแควนโกศลเทาใดนัก เมื่อพระอนุชาและพระขนิษฐาทั้ง ๘ ตางจับคูสมรสกันเอง
เพื่อมิใหเชื้อสายระคนปนกันกับสกุลอื่น สวนเจาหญิงปยาซึ่งเปนพระเชษฐภคินี (พี่สาว
พระพี่นาง) ไดรับยกยองจากพระอนุชาและพระขนิษฐาใหตั้งอยูในฐานะพระมารดา ภายหลัง
เจาหญิงปยาประชวรดวยโรคเรื้อน คือโรคผิวหนังชนิดหนึ่งซึ่งติดตอได มีลักษณะเปนเม็ดผื่น
สุกแดงไปทั้งตัวเหมือนกับดอกทองกวาว พระพี่นางไมประสงคจะอยูในพระนคร พระอนุชา
จึงโปรดใหทหารออกไปสืบเสาะหาที่ปลอดภัยในปาใกลพระนครใหพระพี่นางไดประทับ โดย
ทรงรับภาระจัดเสบียงอาหารไปถวาย ในที่สุดก็ไดพบถํ้าแหงหนึ่งมีประตูเปดปดไดโดยสะดวก
พระพี่นางจึงไดเสด็จไปประทับยังถํ้านั้น
ในกลางดึกของคืนวันนั้น มีเสือโครงตัวหนึ่งมาตะกุยประตูถํ้าเพราะไดกลิ่นมนุษย
พระพี่นางตกพระทัยรองกรี๊ดสุดพระสุรเสียง เสือโครงตกใจจึงผละจากไป พอรุงเชาพระพี่นาง
ไดยินเสียงคนมาเคาะประตูถํ้า จึงรับสั่งถามวาเปนใคร ผูเคาะประตูตอบวาเปนคนเดินปาจะ
ขอเขาเยี่ยม เมื่อพระพี่นางทรงทราบวาพระองคคือพระเจารามแหงกรุงพาราณสี เปนกษัตริย
เชนเดียวกับพระนางและเคยเปนโรคเรื้อนที่พระนางกําลังเปนอยูเหมือนกัน จึงเปดประตูถํ้า
ออกรับ
พระเจารามกรุงพาราณสีทรงเลาความเปนมาของพระองควา เมื่อพระองคประชวร
ดวยพระโรคเรื้อน แลวเกิดความละอายประชาราษฎร ทั้งทรงเกรงจะเปนที่รังเกียจแกพระประยูร
ญาติและอํามาตยราชบริพาร จึงทรงมอบราชสมบัติใหพระโอรส แลวเสด็จออกประทับแรม
ในปาจนถึงปากระเบา (โกละ) แตลําพังพระองคเดียว โดยอาศัยอยูในโพรงกระเบาตนหนึ่ง
ซึ่งใหญโตมาก ดวยพระองคเคยประทับอยูในมหานคร มีขาราชบริพารมากมาย ครั้นมาอยูใน
ปาเชนนี้ มีแตความเงียบเหงาวังเวง จึงเกิดความเบื่อหนายในพระชนมชีพกับเปนพระโรคเรื้อน
ประกอบกัน จึงคิดปลงพระชนมของพระองคเอง ดวยการเสวยผลกระเบาซึ่งมีฤทธิ์เบื่อเมา
แตแทนที่จะสิ้นพระชนมผลกระเบากลับกลายเปนยารักษาโรคเรื้อน พระอาการประชวรของ
พระองคทุเลาลงเปนลําดับ จึงทรงยึดเอาผลกระเบาเปนโอสถบําบัดโรคเรื้อนเรื่อยมา
๗
พุทธประวัติอมตะ
เมื่อทรงพระกําลังแข็งแรงดีแลวจึงเสด็จเขาไปในปาลึก กระทั่งมาถึงบริเวณใกลถํ้า
ที่พระพี่นางคือเจาหญิงปยาประทับอยู ตกคํ่าพอดีจึงประทับแรมในเพิงผาที่ทรงเห็นวาปลอดภัย
และเมื่อเวลากลางดึกทรงไดยินเสียงรองของสตรี แตไมสามารถจะมาชวยเหลือไดในเวลานั้น
เพราะเกรงวาจะไมปลอดภัย รอจนสวางจึงเสด็จออกสืบหาตนเสียงกระทั่งถึงหนาถํ้า เห็น
รอยเทามนุษยมากมายมีทั้งรอยเทาเสือใหม ๆ ดวย จึงตัดสินพระทัยเคาะประตูถํ้า จึงไดพบเจา
หญิงปยา
ทั้งสองพระองคไดสนทนาแลกเปลี่ยนสารทุกขสุกดิบในฐานะคนชั้นเดียวกันและมี
พระโรคเดียวกันดวยความเขาพระทัย พระเจารามกรุงพาราณสีไดปรุงพระโอสถดวยผลกระเบา
ถวายใหเจาหญิงปยาเสวย จนเจาหญิงทรงหายเปนปกติในเวลาตอมา ภายหลังทรงมีพระทัย
ปฏิพัทธตอกัน จึงทรงเสวยรมยดวยกันอยางผาสุก
จําเนียรกาลผานมา พระโอรสของพระเจารามกรุงพาราณสีทรงทราบขาวคราวของ
พระเจารามกรุงพาราณสีพระราชบิดา วาทรงหายจากประชวรแลว จึงพรอมดวยอํามาตยราช
บริพารไปอัญเชิญพระองคเสด็จกลับครองราชสมบัติดังเดิม แตพระเจารามกรุงพาราณสี
ไมสมัครพระทัย ดวยเกรงวาจักมีปญหาในภายหลัง หากพระสุณิสา (ลูกสะใภ) กับพระมเหสี
องคใหมของพระองคไมปรองดองกัน
พระโอรสของพระเจารามกรุงพาราณสีจึงถวายกําลังทหารพรอมดวยขาราชบริพาร
ทุกหมูเหลา ใหพระบิดาไปจัดสรางพระนครขึ้นใหมที่บริเวณตนกระเบาใหญ อันเปนที่พระองค
เคยไดอาศัย พระเจารามกรุงพาราณสีทรงตั้งชื่อเมืองใหมนี้วา “โกละ” โดยถือเอาชื่อตนกระเบา
(โกละ) เปนมงคลนาม (กรองแกว บูรณะกิจ และคณะ, พุทธบูชา. ๒๕๓๑ : ๒๖-๓๓)
ตอมาพระนางปยาทรงมีพระโอรสแฝดถึง ๑๖ ครั้ง รวมทั้งสิ้น ๓๒ พระองค พระเจา
รามกรุงพาราณสีจึงทรงเปลี่ยนชื่อเมืองใหมจากเดิมชื่อวา “นครโกละ” เปลี่ยนเปน “นครเทว
ทหะ” แปลวา นครที่เทวดาชี้ใหสราง สวนคําวา “โกละ” ไดนํามาใชเปนชื่อราชวงศเรียกวา
“โกลิยวงศ” แปลวา วงศของกษัตริยผูเกี่ยวของกับไมโกละ
๘
พุทธประวัติอมตะ
๔. ความสัมพันธระหวางศากยวงศและโกลิยวงศ
ศากยวงศ
ศากยวงศ ไดสืบเชื้อสายกันมาโดยลําดับ จนถึงสมัยพระเจาชัยเสน ซึ่งพระองคทรง
มีพระราชโอรส ๑ พระองค พระนามวา สีหนุ
พระเจาสีหนุทรงมีพระมเหสีพระนามวา กาญจนา ซึ่งเปน กนิษฐภคินี (นองสาว)
ของพระเจาอัญชนะแหงโกลิยวงศ กรุงเทวทหะ
พระเจาสีหนุและพระนางกาญจนา ทรงมีพระราชโอรส ๕ พระองค และพระราชธิดา
๒ พระองค รวม ๗ พระองค คือ
๑. เจาชายสุทโธทนะ
๒. เจาชายสุกโกทนะ
๓. เจาชายอมิโตทนะ
๔. เจาชายโธโตทนะ
๕. เจาชายฆนิโตทนะ
๖. เจาหญิงปมิตา
๗. เจาหญิงอมิตา
พระเจาสุทโธทนะ มีพระราชโอรส ๒ พระองค และพระราชธิดา ๑ พระองค รวม ๓
พระองค คือ
๑. เจาชายสิทธัตถะ (ประสูติแตพระนางเจามายาเทวี)
๒. เจาชายนันทะ (ประสูติแตพระนางเจาปชาบดีโคตมี)
๓. เจาหญิงรูปนันทา (ประสูติแตพระนางเจาปชาบดีโคตมี)
พระเจาสุกโกทนะซึ่งเปนพระราชกนิษฐภาดา (นองชาย) ของพระเจาสุทโธทนะ ทรง
มีพระมเหสีพระนามวา กีสาโคตมี ทรงมีพระราชโอรส ๑ พระองค ทรงนามวา เจาชายอานนท
พระเจาอมิโตทนะทรงมีพระมเหสี (ไมปรากฏพระนาม) มีพระราชโอรสและพระราชธิดา
รวม ๓ พระองค คือ ๑. เจาชายมหานามะ ๒. เจาชายอนุรุทธะ และ ๓. เจาหญิงโรหิณี
เจาชายสิทธัตถะทรงมีพระมเหสีพระนามวา เจาหญิงพิมพายโสธรา มีพระราชโอรส
๑ พระองค ทรงนามวา พระราหุล
๙
พุทธประวัติอมตะ
พระเจามหานามะทรงมีพระมเหสีพระนามวา เจาหญิงนาคมณฑา (บางแหงวา เปน
นางทาสี) มีพระราชธิดา ๑ พระองค ทรงนามวา พระวาสภขัตติยา
พระนางวาสภขัตติยาเปนพระอัครมเหสีของพระเจาปเสนทิโกศล มีพระราชโอรส ๑
พระองค ทรงนามวา พระวิฑูฑภะ (พระเทพวิสุทธิญาณ อุบล นันทโก, พุทธประวัติสังเขป และศาสนพิธีสังเขป.
๒๕๓๙ : ๗-๘)
โกลิยวงศ
โกลิยวงศ ไดสืบเชื้อสายมาโดยลําดับ จนถึงสมัยพระเจาอัญชนะ ซึ่งพระองคทรงมี
พระนางยโสธราพระบุตรีของพระเจาชัยเสนแหงศากยวงศ กรุงกบิลพัสดุ เปนพระมเหสี
พระเจาอัญชนะและพระนางยโสธรา ทรงมีพระราชโอรส ๒ พระองค และพระราชธิดา
๒ พระองค รวม ๔ พระองค คือ
๑. เจาชายสุปพุทธะ
๒. เจาชายทัณฑปาณี
๓. เจาหญิงมายา
๔. เจาหญิงปชาบดี (โคตมี)
พระเจาสุปพุทธะไดเจาหญิงอมิตาเปนพระมเหสี มีพระราชโอรสและพระราชธิดา
รวม ๒ พระองค คือ พระเทวทัต และพระนางยโสธรา (สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระยาวชิรญาณ
วโรรส, พุทธประวัติ เลม ๑ หลักสูตรนักธรรมและธรรมศึกษาชั้นตรี. ๒๕๓๘ : ๑๒-๑๙)
ทั้งศากยวงศและโกลิยวงศตางก็สืบเชื้อสายมาจากวงศเดียวกัน คือ โคตมโคตรและ
ยังคงมีความสัมพันธเกี่ยวเนื่องกันทางอาวาหมงคล (การแตงงานที่ฝายหญิงมาอยูบาน
ฝายชาย) และวิวาหมงคล (การแตงงานที่ฝายชายมาอยูบานฝายหญิง) โดยตลอด จนถึง
เจาชายสิทธัตถะ แหงศากยวงศ กรุงกบิลพัสดุ ไดเจาหญิงยโสธราหรือพิมพา (ภายหลัง
ออกบวชมีนามวา พระภัททกัจจานาหรือ ภัททา กัจจานา) แหงโกลิยวงศ กรุงเทวทหะ มาเปน
พระชายา ดังแผนภูมิแสดงความเกี่ยวเนื่องกันของพระราชวงศทั้งสอง ตั้งแตพระเจาโอกกาก
ราชเปนตนมา ดังนี้

More Related Content

What's hot

พุทธประวัติ
พุทธประวัติพุทธประวัติ
พุทธประวัติgueste13f2b
 
Tri91 64+พระสุตตันตปิฎก+ขุททกนิกาย+ชาดก+เล่ม+๔+ภาค+๓
Tri91 64+พระสุตตันตปิฎก+ขุททกนิกาย+ชาดก+เล่ม+๔+ภาค+๓Tri91 64+พระสุตตันตปิฎก+ขุททกนิกาย+ชาดก+เล่ม+๔+ภาค+๓
Tri91 64+พระสุตตันตปิฎก+ขุททกนิกาย+ชาดก+เล่ม+๔+ภาค+๓Tongsamut vorasan
 
พุทธานุพุทธประวัติ
พุทธานุพุทธประวัติ พุทธานุพุทธประวัติ
พุทธานุพุทธประวัติ Onpa Akaradech
 
วิเคราะห์จินตภาพในนรกภูมิ
วิเคราะห์จินตภาพในนรกภูมิวิเคราะห์จินตภาพในนรกภูมิ
วิเคราะห์จินตภาพในนรกภูมิdektupluang
 
07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยาJulPcc CR
 

What's hot (14)

สมเด็จพระนารายณ์มหาราช
สมเด็จพระนารายณ์มหาราชสมเด็จพระนารายณ์มหาราช
สมเด็จพระนารายณ์มหาราช
 
สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
สมเด็จพระนเรศวรมหาราชสมเด็จพระนเรศวรมหาราช
สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
 
ใบความรู้ เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก
ใบความรู้ เรื่อง มหาเวสสันดรชาดกใบความรู้ เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก
ใบความรู้ เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก
 
พุทธประวัติ
พุทธประวัติพุทธประวัติ
พุทธประวัติ
 
006
006006
006
 
Tri91 64+พระสุตตันตปิฎก+ขุททกนิกาย+ชาดก+เล่ม+๔+ภาค+๓
Tri91 64+พระสุตตันตปิฎก+ขุททกนิกาย+ชาดก+เล่ม+๔+ภาค+๓Tri91 64+พระสุตตันตปิฎก+ขุททกนิกาย+ชาดก+เล่ม+๔+ภาค+๓
Tri91 64+พระสุตตันตปิฎก+ขุททกนิกาย+ชาดก+เล่ม+๔+ภาค+๓
 
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
 
-------------- --- 1
 -------------- --- 1 -------------- --- 1
-------------- --- 1
 
พุทธานุพุทธประวัติ
พุทธานุพุทธประวัติ พุทธานุพุทธประวัติ
พุทธานุพุทธประวัติ
 
วิเคราะห์จินตภาพในนรกภูมิ
วิเคราะห์จินตภาพในนรกภูมิวิเคราะห์จินตภาพในนรกภูมิ
วิเคราะห์จินตภาพในนรกภูมิ
 
เรื่องย่อ สามก๊ก
เรื่องย่อ   สามก๊กเรื่องย่อ   สามก๊ก
เรื่องย่อ สามก๊ก
 
07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา
 
1. กัณฑ์ที่ 1 ทศพร 19 พระคาถา
1. กัณฑ์ที่ 1 ทศพร 19 พระคาถา1. กัณฑ์ที่ 1 ทศพร 19 พระคาถา
1. กัณฑ์ที่ 1 ทศพร 19 พระคาถา
 
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
 

Viewers also liked

9789740333609
97897403336099789740333609
9789740333609CUPress
 
9789740330295
97897403302959789740330295
9789740330295CUPress
 
9789740333524
97897403335249789740333524
9789740333524CUPress
 
9789740333517
97897403335179789740333517
9789740333517CUPress
 
9789740328957
97897403289579789740328957
9789740328957CUPress
 
9789740333616
97897403336169789740333616
9789740333616CUPress
 
9789740333449
97897403334499789740333449
9789740333449CUPress
 
9789740333487
97897403334879789740333487
9789740333487CUPress
 
9789740333579
97897403335799789740333579
9789740333579CUPress
 
9789740333432
97897403334329789740333432
9789740333432CUPress
 
9789740333500
97897403335009789740333500
9789740333500CUPress
 
9789740333623
97897403336239789740333623
9789740333623CUPress
 
9789740333494
97897403334949789740333494
9789740333494CUPress
 

Viewers also liked (13)

9789740333609
97897403336099789740333609
9789740333609
 
9789740330295
97897403302959789740330295
9789740330295
 
9789740333524
97897403335249789740333524
9789740333524
 
9789740333517
97897403335179789740333517
9789740333517
 
9789740328957
97897403289579789740328957
9789740328957
 
9789740333616
97897403336169789740333616
9789740333616
 
9789740333449
97897403334499789740333449
9789740333449
 
9789740333487
97897403334879789740333487
9789740333487
 
9789740333579
97897403335799789740333579
9789740333579
 
9789740333432
97897403334329789740333432
9789740333432
 
9789740333500
97897403335009789740333500
9789740333500
 
9789740333623
97897403336239789740333623
9789740333623
 
9789740333494
97897403334949789740333494
9789740333494
 

Similar to 9789740333685

Conceptของสุโขทัย
ConceptของสุโขทัยConceptของสุโขทัย
Conceptของสุโขทัยsangworn
 
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
06 มหาโควินทจริยา มจร.pdf
06 มหาโควินทจริยา มจร.pdf06 มหาโควินทจริยา มจร.pdf
06 มหาโควินทจริยา มจร.pdfmaruay songtanin
 
9789740335887
97897403358879789740335887
9789740335887CUPress
 
๐๗. จันทกุมารชาดก.pdf
๐๗. จันทกุมารชาดก.pdf๐๗. จันทกุมารชาดก.pdf
๐๗. จันทกุมารชาดก.pdfmaruay songtanin
 
27 มูคปักขจริยา มจร.pdf
27 มูคปักขจริยา มจร.pdf27 มูคปักขจริยา มจร.pdf
27 มูคปักขจริยา มจร.pdfmaruay songtanin
 
๙ กษัตริย์แห่งพระบรมราชวงศ์จักรี
๙ กษัตริย์แห่งพระบรมราชวงศ์จักรี๙ กษัตริย์แห่งพระบรมราชวงศ์จักรี
๙ กษัตริย์แห่งพระบรมราชวงศ์จักรีSumintra Boonsri
 
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
06อาณาจักรสุโขทัย
06อาณาจักรสุโขทัย06อาณาจักรสุโขทัย
06อาณาจักรสุโขทัยJulPcc CR
 
06อาณาจักรสุโขทัย
06อาณาจักรสุโขทัย06อาณาจักรสุโขทัย
06อาณาจักรสุโขทัยJulPcc CR
 
บุคคลสำคัญในบางกอก.
บุคคลสำคัญในบางกอก.บุคคลสำคัญในบางกอก.
บุคคลสำคัญในบางกอก.Nathathai
 
บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7
บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7
บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7Nathathai
 
บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7.
บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7.บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7.
บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7.Nathathai
 

Similar to 9789740333685 (20)

Sukhothai
SukhothaiSukhothai
Sukhothai
 
Conceptของสุโขทัย
ConceptของสุโขทัยConceptของสุโขทัย
Conceptของสุโขทัย
 
พ่อขุนรามคำแหงมหาราช
พ่อขุนรามคำแหงมหาราชพ่อขุนรามคำแหงมหาราช
พ่อขุนรามคำแหงมหาราช
 
สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1
สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1
สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1
 
พระมหาธรรมราชาที่ 1
พระมหาธรรมราชาที่ 1พระมหาธรรมราชาที่ 1
พระมหาธรรมราชาที่ 1
 
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
 
06 มหาโควินทจริยา มจร.pdf
06 มหาโควินทจริยา มจร.pdf06 มหาโควินทจริยา มจร.pdf
06 มหาโควินทจริยา มจร.pdf
 
9789740335887
97897403358879789740335887
9789740335887
 
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
 
๐๗. จันทกุมารชาดก.pdf
๐๗. จันทกุมารชาดก.pdf๐๗. จันทกุมารชาดก.pdf
๐๗. จันทกุมารชาดก.pdf
 
27 มูคปักขจริยา มจร.pdf
27 มูคปักขจริยา มจร.pdf27 มูคปักขจริยา มจร.pdf
27 มูคปักขจริยา มจร.pdf
 
๙ กษัตริย์แห่งพระบรมราชวงศ์จักรี
๙ กษัตริย์แห่งพระบรมราชวงศ์จักรี๙ กษัตริย์แห่งพระบรมราชวงศ์จักรี
๙ กษัตริย์แห่งพระบรมราชวงศ์จักรี
 
พ่อขุนรามคำแหงมหาราช
พ่อขุนรามคำแหงมหาราชพ่อขุนรามคำแหงมหาราช
พ่อขุนรามคำแหงมหาราช
 
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
 
06อาณาจักรสุโขทัย
06อาณาจักรสุโขทัย06อาณาจักรสุโขทัย
06อาณาจักรสุโขทัย
 
06อาณาจักรสุโขทัย
06อาณาจักรสุโขทัย06อาณาจักรสุโขทัย
06อาณาจักรสุโขทัย
 
บุคคลสำคัญในบางกอก.
บุคคลสำคัญในบางกอก.บุคคลสำคัญในบางกอก.
บุคคลสำคัญในบางกอก.
 
บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7
บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7
บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7
 
บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7.
บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7.บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7.
บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7.
 
006
006006
006
 

More from CUPress

9789740337737
97897403377379789740337737
9789740337737CUPress
 
9789740337560
97897403375609789740337560
9789740337560CUPress
 
9789740337478
97897403374789789740337478
9789740337478CUPress
 
9789740337270
97897403372709789740337270
9789740337270CUPress
 
9789740337102
97897403371029789740337102
9789740337102CUPress
 
9789740337096
97897403370969789740337096
9789740337096CUPress
 
9789740337072
97897403370729789740337072
9789740337072CUPress
 
9789740337027
97897403370279789740337027
9789740337027CUPress
 
9789740336914
97897403369149789740336914
9789740336914CUPress
 
9789740336907
97897403369079789740336907
9789740336907CUPress
 
9789740336686
97897403366869789740336686
9789740336686CUPress
 
9789740336457
97897403364579789740336457
9789740336457CUPress
 
9789740336440
97897403364409789740336440
9789740336440CUPress
 
9789740336389
97897403363899789740336389
9789740336389CUPress
 
9789740336280
97897403362809789740336280
9789740336280CUPress
 
9789740336365
97897403363659789740336365
9789740336365CUPress
 
9789740336303
97897403363039789740336303
9789740336303CUPress
 
9789740336242
97897403362429789740336242
9789740336242CUPress
 
9789740336235
97897403362359789740336235
9789740336235CUPress
 
9789740336099
97897403360999789740336099
9789740336099CUPress
 

More from CUPress (20)

9789740337737
97897403377379789740337737
9789740337737
 
9789740337560
97897403375609789740337560
9789740337560
 
9789740337478
97897403374789789740337478
9789740337478
 
9789740337270
97897403372709789740337270
9789740337270
 
9789740337102
97897403371029789740337102
9789740337102
 
9789740337096
97897403370969789740337096
9789740337096
 
9789740337072
97897403370729789740337072
9789740337072
 
9789740337027
97897403370279789740337027
9789740337027
 
9789740336914
97897403369149789740336914
9789740336914
 
9789740336907
97897403369079789740336907
9789740336907
 
9789740336686
97897403366869789740336686
9789740336686
 
9789740336457
97897403364579789740336457
9789740336457
 
9789740336440
97897403364409789740336440
9789740336440
 
9789740336389
97897403363899789740336389
9789740336389
 
9789740336280
97897403362809789740336280
9789740336280
 
9789740336365
97897403363659789740336365
9789740336365
 
9789740336303
97897403363039789740336303
9789740336303
 
9789740336242
97897403362429789740336242
9789740336242
 
9789740336235
97897403362359789740336235
9789740336235
 
9789740336099
97897403360999789740336099
9789740336099
 

9789740333685

  • 2. ๒ พุทธประวัติอมตะ ๑. พระเจามหาชนสมมติกษัตริยองคแรกแหงชมพูทวีป ในยุคตนกัป คือเมื่อโลกเกิดขึ้นมาใหม ๆ และมีมนุษยเกิดขึ้นมามากพอสมควรแลว สังคมเริ่มเกิดปญหา ประชาชนจึงรวมใจกันเลือกบุคคลที่งดงามมีศักดิ์ใหญแตงตั้งให เปนหัวหนา สําหรับปกครองบานเมือง เพื่อใหประชาชนมีความอบอุนใจปลอดภัยและสุขใจ ยิ่ง พระบรมโพธิสัตวของเราทั้งหลาย จึงไดเสวยพระชาติเปนพระมหากษัตริยองคแรกแหง ชมพูทวีป ที่มหาชนแตงตั้งทรงพระนามวา “พระเจามหาชนสมมติ” เรียกสั้น ๆ วา “พระเจา มหาสมมติ” และมีกษัตริยสืบสันติวงศตอ ๆ มา เรียงลําดับดังนี้ ๑. พระเจามหาสมมติ มีราชโอรสทรงพระนามวา โรชะ ๒. พระเจาโรชะ มีราชโอรสทรงพระนามวา วรโรชะ ๓. พระเจาวรโรชะ มีราชโอรสทรงพระนามวา กัลยาณะ ๔. พระเจากัลยาณะ มีราชโอรสทรงพระนามวา วรกัลยาณะ ๕. พระเจาวรกัลยาณะ มีราชโอรสทรงพระนามวา มันธาตุ ๖. พระเจามันธาตุ มีราชโอรสทรงพระนามวา วรมันธาตุ ๗. พระเจาวรมันธาตุ มีราชโอรสทรงพระนามวา อุโปสถะ ๘. พระเจาอุโปสถะ มีราชโอรสทรงพระนามวา วระ ๙. พระเจาวระ มีราชโอรสทรงพระนามวา อุปวระ ๑๐. พระเจาอุปวระ มีราชโอรสทรงพระนามวา มฆเทวะ พระเจามฆเทวะ นับเปนกษัตริยองคที่ ๑๑ ที่สืบเนื่องมาจากกษัตริยองคแรกใน ชมพูทวีป และตอจากพระเจามฆเทวะ ยังมีพระราชวงศานุวงศเสวยราชสมบัติสืบกษัตริย ติดตอกันมาถึง ๘๔,๐๐๐ พระองค ตอจากนั้นก็มีพระเจาโอกกากราชครองราชสมบัติสืบ ตอมาถึง ๓ รัชกาล คือ พระเจาโอกกากราชที่ ๑ พระเจาโอกกากราชที่ ๒ และพระเจาโอกกาก ราชที่ ๓ (สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส, ปฐมสมโพธิกถา. ๒๕๓๙ : ๒) ในสมัยพระเจาโอกกากราชที่ ๓ ซึ่งตอไปจะเรียกสั้น ๆ วา พระเจาโอกกากราช เทานั้น ซึ่งเปนบรรพบุรุษของศากยวงศในยุคใกลเขามา คือประมาณกอนพุทธศักราช ๕๐๐ ปเศษ หรือประมาณ ๓,๐๐๐ ป มาแลว
  • 3. ๓ พุทธประวัติอมตะ ๒. กรุงกบิลพัสดุและศากยวงศ กอนพุทธศักราช ๕๐๐ ปเศษ หรือประมาณ ๓,๐๐๐ ปมาแลว มีเมืองเมืองหนึ่ง ตั้งอยูทางตอนเหนือของชมพูทวีป หรือประเทศอินเดียในสมัยโบราณ ปจจุบันอยูในเขต ประเทศเนปาล ชื่อวา แควนโกศล มีพระเจาโอกกากราช หรืออิกษวากุ ในวรรณคดีฮินดูสมัย พระเวท แหงโคตมโคตร หรืออาทิตยโคตร เปนกษัตริยปกครอง (พุทธทาสภิกขุ, พุทธประวัติฉบับวิจารณ. ๒๕๓๕ : ๔๒-๕๔) พระเจาโอกกากราชทรงมีพระมเหสี ๕ พระองค คือ พระนางหัตถา พระนางจิตตา พระนางชันตุ พระนางชาลินี และพระนางวิสาขา ทรงยกพระนางหัตถาเชษฐภคินี (พี่สาว) ของพระองคขึ้นเปนอัครมเหสี พระองคมีพระโอรสและพระธิดาที่เกิดจากพระนางหัตถา อัครมเหสี รวม ๙ พระองค โดยมีพระโอรส ๔ พระองค และพระธิดา ๕ พระองค เรียงลําดับ ดังนี้ ๑. เจาหญิงปยา ๒. เจาชายโอกกากมุข ๓. เจาชายกรัณฑะ ๔. เจาชายหัตถินิกะ ๕. เจาชายสินิปุระ ๖. เจาหญิงสุปยา ๗. เจาหญิงอานันทา ๘. เจาหญิงวิชิตา ๙. เจาหญิงวิชิตาเสนา ตอมาพระนางหัตถาอัครมเหสีผูเปนพระราชมารดาของพระโอรสธิดาทั้ง ๙ สิ้นพระชนม พระเจาโอกกากราชจึงทรงมีพระมเหสีองคใหมที่เยาววัยอันทรงอุดมรูป และทรงตั้งใหเปน อัครมเหสี พระนางมีพระราชโอรสองคหนึ่ง พระนามวา “ชันตุ” ซึ่งยังความโสมนัสใหเกิดขึ้น แกพระเจาโอกกากราชเปนอยางยิ่ง ครั้นชันตุราชกุมารมีพระชนมได ๕ เดือน พระเจาโอกกาก ราชทรงพลั้งพระโอษฐประทานพรกับพระมเหสีไปวา เจาจะขออะไรใหแกพระโอรส เราก็จะใหทั้งนั้น
  • 4. ๔ พุทธประวัติอมตะ พระนางไดโอกาสจึงทูลขอราชสมบัติใหแกพระโอรส พระเจาโอกกากราชทรงตก พระทัยเพราะไมคิดวาจะขอมากมายถึงเพียงนี้จึงไมทรงยินยอม ครั้นเมื่อพระมเหสีทูลรบเรา หลายครั้งเขา ทรงเกรงวาจะเสียสัตย เพราะธรรมดากษัตริยตรัสแลวไมคืนคํา จึงจําพระทัย พระราชทานราชสมบัติใหแกพระราชโอรสพระองคใหมตามที่พระนางขอ (สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส, ปฐมสมโพธิกถา. ๒๕๓๙ : ๒-๓) เมื่อพระเจาโอกกากราชทรงพระประสงคจะพระราชทานราชสมบัติใหแกพระโอรส ของพระมเหสีผูที่ทรงรักใครโปรดปราน จึงทรงรับสั่งใหพระราชโอรสทั้ง ๔ ที่เกิดจาก พระอัครมเหสีองคกอนไปสรางพระนครแหงใหม พระโอรสเหลานั้นรับพระราชดํารัสแลว เสด็จออกจากพระราชอาณาเขตเพื่อหาทําเลสรางพระนคร โดยมีพระธิดาทั้ง ๕ พรอมทั้ง ขาราชบริพาร ทหารทุกหมูเหลา และประชาชนติดตามไปดวยเปนจํานวนมาก (พระสุตตันตปฎก ทีฆนิกาย สีลขันธวรรค อัมพัฏฐสูตร ประวัติตระกูลของอัมพัฏฐมาณพ ๙/๑๔๙/๑๐๐) สมัยนั้น พระบรมโพธิสัตวของเราเกิดในสกุลพราหมณ ผูมั่งคั่งดวยโภคทรัพยและ สมบัติตาง ๆ มีชื่อวา “กบิล” พิจารณาเห็นโทษในกามารมณ ๕ ไดแก การติดใจในรูป รส กลิ่น เสียง สัมผัส จึงสละสมบัติออกบวชเปนฤษี สรางศาลาอยูในปาดงไมสัก ใกลสระบัว เชิงเขาหิมพานต เมื่อทานเห็นพระราชกุมารทั้งหลายพรอมดวยบริวารเดินทางผานมา และ ทราบเรื่องการหาทําเลสรางเมืองแลวก็มีความกรุณาปรารถนาจะอนุเคราะห จึงไดยกที่ที่ตน พํานักอยูนั้นใหสรางเมือง เพราะเปนทําเลที่ดีเลิศ สวนกบิลดาบสก็จะไปสรางศาลาแหงใหม อยูขางหนึ่งนอกพระนคร พระราชกุมารเหลานั้นจึงสถาปนาพระนครแลปราสาทราชนิเวศน ลงในที่นั้นตามคําพระดาบส เสร็จแลวจึงขนานนามเมืองใหมนั้นวา “กบิลพัสดุ” แปลวา นครอันเปนที่อยูของกบิลดาบสมากอน ซึ่งมั่งคั่งดวยโภคทรัพยและสมบัติตาง ๆ (สมเด็จพระมหา สมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส, ปฐมสมโพธิกถา. ๒๕๓๙ : ๓-๔) ตอมาพระเจาโอกกากราชตรัสถามหมูอํามาตยราชบริษัทวา บัดนี้พวกกุมารอยูกันที่ไหน ? พวกอํามาตยกราบทูลวา ขอเดชะ มีราวปาไมสักใหญใกลสระบัว เชิงเขาหิมพานต บัดนี้ พระราชกุมารทั้งหลาย อยู ณ ที่นั้น พระราชกุมารเหลานั้นทรงสมรสกันเองกับภคินี (พี่หญิง นองหญิง) ของพระองค เอง เพราะเกรงวาพระชาติจะระคนปนกันกับสกุลอื่น พระเจาโอกกากราชไดยินดังนั้นทรงเปลงอุทานวา
  • 5. ๕ พุทธประวัติอมตะ พวกกุมารอาจหาญหนอ ! พวกกุมารสามารถยิ่งหนอ ! ดวยคําวา สักกะ แปลวา อาจ สามารถ ดวยพระวาจานี้ ไดถือเปนมงคลนิมิตของกษัตริย นครกบิลพัสดุวา “ศากยะ” ดังนั้น กษัตริยวงศนี้จึงมีนามวา “ศากยวงศ” ดํารงขัตติยสกุล สืบมา และเจริญดวยพระราชบุตรพระราชธิดาเปนอันมาก (พระสุตตันตปฎก ทีฆนิกาย สีลขันธวรรค อัมพัฏฐสูตร ประวัติตระกูลของอัมพัฏฐมาณพ ๙/๑๔๙/๑๐๐)
  • 6. ๖ พุทธประวัติอมตะ ๓. กรุงเทวทหะและโกลิยวงศ กษัตริยผูเปนตนวงศโกลิยะ แหงเทวทหะนคร คือ พระนางปยา กับ พระเจารามแหง กรุงพาราณสี โดยมีตํานานความเปนมาของกรุงเทวทหะและโกลิยวงศ ดังนี้ เจาหญิงปยา เปนธิดาองคใหญของพระเจาโอกกากราช แหงแควนโกศล ไดติดตาม พระอนุชา (นองชาย) และพระขนิษฐา (นองสาว) ไปสรางเมืองใหมชื่อเมือง “กบิลพัสดุ” ซึ่งอยูไมไกลจากแควนโกศลเทาใดนัก เมื่อพระอนุชาและพระขนิษฐาทั้ง ๘ ตางจับคูสมรสกันเอง เพื่อมิใหเชื้อสายระคนปนกันกับสกุลอื่น สวนเจาหญิงปยาซึ่งเปนพระเชษฐภคินี (พี่สาว พระพี่นาง) ไดรับยกยองจากพระอนุชาและพระขนิษฐาใหตั้งอยูในฐานะพระมารดา ภายหลัง เจาหญิงปยาประชวรดวยโรคเรื้อน คือโรคผิวหนังชนิดหนึ่งซึ่งติดตอได มีลักษณะเปนเม็ดผื่น สุกแดงไปทั้งตัวเหมือนกับดอกทองกวาว พระพี่นางไมประสงคจะอยูในพระนคร พระอนุชา จึงโปรดใหทหารออกไปสืบเสาะหาที่ปลอดภัยในปาใกลพระนครใหพระพี่นางไดประทับ โดย ทรงรับภาระจัดเสบียงอาหารไปถวาย ในที่สุดก็ไดพบถํ้าแหงหนึ่งมีประตูเปดปดไดโดยสะดวก พระพี่นางจึงไดเสด็จไปประทับยังถํ้านั้น ในกลางดึกของคืนวันนั้น มีเสือโครงตัวหนึ่งมาตะกุยประตูถํ้าเพราะไดกลิ่นมนุษย พระพี่นางตกพระทัยรองกรี๊ดสุดพระสุรเสียง เสือโครงตกใจจึงผละจากไป พอรุงเชาพระพี่นาง ไดยินเสียงคนมาเคาะประตูถํ้า จึงรับสั่งถามวาเปนใคร ผูเคาะประตูตอบวาเปนคนเดินปาจะ ขอเขาเยี่ยม เมื่อพระพี่นางทรงทราบวาพระองคคือพระเจารามแหงกรุงพาราณสี เปนกษัตริย เชนเดียวกับพระนางและเคยเปนโรคเรื้อนที่พระนางกําลังเปนอยูเหมือนกัน จึงเปดประตูถํ้า ออกรับ พระเจารามกรุงพาราณสีทรงเลาความเปนมาของพระองควา เมื่อพระองคประชวร ดวยพระโรคเรื้อน แลวเกิดความละอายประชาราษฎร ทั้งทรงเกรงจะเปนที่รังเกียจแกพระประยูร ญาติและอํามาตยราชบริพาร จึงทรงมอบราชสมบัติใหพระโอรส แลวเสด็จออกประทับแรม ในปาจนถึงปากระเบา (โกละ) แตลําพังพระองคเดียว โดยอาศัยอยูในโพรงกระเบาตนหนึ่ง ซึ่งใหญโตมาก ดวยพระองคเคยประทับอยูในมหานคร มีขาราชบริพารมากมาย ครั้นมาอยูใน ปาเชนนี้ มีแตความเงียบเหงาวังเวง จึงเกิดความเบื่อหนายในพระชนมชีพกับเปนพระโรคเรื้อน ประกอบกัน จึงคิดปลงพระชนมของพระองคเอง ดวยการเสวยผลกระเบาซึ่งมีฤทธิ์เบื่อเมา แตแทนที่จะสิ้นพระชนมผลกระเบากลับกลายเปนยารักษาโรคเรื้อน พระอาการประชวรของ พระองคทุเลาลงเปนลําดับ จึงทรงยึดเอาผลกระเบาเปนโอสถบําบัดโรคเรื้อนเรื่อยมา
  • 7. ๗ พุทธประวัติอมตะ เมื่อทรงพระกําลังแข็งแรงดีแลวจึงเสด็จเขาไปในปาลึก กระทั่งมาถึงบริเวณใกลถํ้า ที่พระพี่นางคือเจาหญิงปยาประทับอยู ตกคํ่าพอดีจึงประทับแรมในเพิงผาที่ทรงเห็นวาปลอดภัย และเมื่อเวลากลางดึกทรงไดยินเสียงรองของสตรี แตไมสามารถจะมาชวยเหลือไดในเวลานั้น เพราะเกรงวาจะไมปลอดภัย รอจนสวางจึงเสด็จออกสืบหาตนเสียงกระทั่งถึงหนาถํ้า เห็น รอยเทามนุษยมากมายมีทั้งรอยเทาเสือใหม ๆ ดวย จึงตัดสินพระทัยเคาะประตูถํ้า จึงไดพบเจา หญิงปยา ทั้งสองพระองคไดสนทนาแลกเปลี่ยนสารทุกขสุกดิบในฐานะคนชั้นเดียวกันและมี พระโรคเดียวกันดวยความเขาพระทัย พระเจารามกรุงพาราณสีไดปรุงพระโอสถดวยผลกระเบา ถวายใหเจาหญิงปยาเสวย จนเจาหญิงทรงหายเปนปกติในเวลาตอมา ภายหลังทรงมีพระทัย ปฏิพัทธตอกัน จึงทรงเสวยรมยดวยกันอยางผาสุก จําเนียรกาลผานมา พระโอรสของพระเจารามกรุงพาราณสีทรงทราบขาวคราวของ พระเจารามกรุงพาราณสีพระราชบิดา วาทรงหายจากประชวรแลว จึงพรอมดวยอํามาตยราช บริพารไปอัญเชิญพระองคเสด็จกลับครองราชสมบัติดังเดิม แตพระเจารามกรุงพาราณสี ไมสมัครพระทัย ดวยเกรงวาจักมีปญหาในภายหลัง หากพระสุณิสา (ลูกสะใภ) กับพระมเหสี องคใหมของพระองคไมปรองดองกัน พระโอรสของพระเจารามกรุงพาราณสีจึงถวายกําลังทหารพรอมดวยขาราชบริพาร ทุกหมูเหลา ใหพระบิดาไปจัดสรางพระนครขึ้นใหมที่บริเวณตนกระเบาใหญ อันเปนที่พระองค เคยไดอาศัย พระเจารามกรุงพาราณสีทรงตั้งชื่อเมืองใหมนี้วา “โกละ” โดยถือเอาชื่อตนกระเบา (โกละ) เปนมงคลนาม (กรองแกว บูรณะกิจ และคณะ, พุทธบูชา. ๒๕๓๑ : ๒๖-๓๓) ตอมาพระนางปยาทรงมีพระโอรสแฝดถึง ๑๖ ครั้ง รวมทั้งสิ้น ๓๒ พระองค พระเจา รามกรุงพาราณสีจึงทรงเปลี่ยนชื่อเมืองใหมจากเดิมชื่อวา “นครโกละ” เปลี่ยนเปน “นครเทว ทหะ” แปลวา นครที่เทวดาชี้ใหสราง สวนคําวา “โกละ” ไดนํามาใชเปนชื่อราชวงศเรียกวา “โกลิยวงศ” แปลวา วงศของกษัตริยผูเกี่ยวของกับไมโกละ
  • 8. ๘ พุทธประวัติอมตะ ๔. ความสัมพันธระหวางศากยวงศและโกลิยวงศ ศากยวงศ ศากยวงศ ไดสืบเชื้อสายกันมาโดยลําดับ จนถึงสมัยพระเจาชัยเสน ซึ่งพระองคทรง มีพระราชโอรส ๑ พระองค พระนามวา สีหนุ พระเจาสีหนุทรงมีพระมเหสีพระนามวา กาญจนา ซึ่งเปน กนิษฐภคินี (นองสาว) ของพระเจาอัญชนะแหงโกลิยวงศ กรุงเทวทหะ พระเจาสีหนุและพระนางกาญจนา ทรงมีพระราชโอรส ๕ พระองค และพระราชธิดา ๒ พระองค รวม ๗ พระองค คือ ๑. เจาชายสุทโธทนะ ๒. เจาชายสุกโกทนะ ๓. เจาชายอมิโตทนะ ๔. เจาชายโธโตทนะ ๕. เจาชายฆนิโตทนะ ๖. เจาหญิงปมิตา ๗. เจาหญิงอมิตา พระเจาสุทโธทนะ มีพระราชโอรส ๒ พระองค และพระราชธิดา ๑ พระองค รวม ๓ พระองค คือ ๑. เจาชายสิทธัตถะ (ประสูติแตพระนางเจามายาเทวี) ๒. เจาชายนันทะ (ประสูติแตพระนางเจาปชาบดีโคตมี) ๓. เจาหญิงรูปนันทา (ประสูติแตพระนางเจาปชาบดีโคตมี) พระเจาสุกโกทนะซึ่งเปนพระราชกนิษฐภาดา (นองชาย) ของพระเจาสุทโธทนะ ทรง มีพระมเหสีพระนามวา กีสาโคตมี ทรงมีพระราชโอรส ๑ พระองค ทรงนามวา เจาชายอานนท พระเจาอมิโตทนะทรงมีพระมเหสี (ไมปรากฏพระนาม) มีพระราชโอรสและพระราชธิดา รวม ๓ พระองค คือ ๑. เจาชายมหานามะ ๒. เจาชายอนุรุทธะ และ ๓. เจาหญิงโรหิณี เจาชายสิทธัตถะทรงมีพระมเหสีพระนามวา เจาหญิงพิมพายโสธรา มีพระราชโอรส ๑ พระองค ทรงนามวา พระราหุล
  • 9. ๙ พุทธประวัติอมตะ พระเจามหานามะทรงมีพระมเหสีพระนามวา เจาหญิงนาคมณฑา (บางแหงวา เปน นางทาสี) มีพระราชธิดา ๑ พระองค ทรงนามวา พระวาสภขัตติยา พระนางวาสภขัตติยาเปนพระอัครมเหสีของพระเจาปเสนทิโกศล มีพระราชโอรส ๑ พระองค ทรงนามวา พระวิฑูฑภะ (พระเทพวิสุทธิญาณ อุบล นันทโก, พุทธประวัติสังเขป และศาสนพิธีสังเขป. ๒๕๓๙ : ๗-๘) โกลิยวงศ โกลิยวงศ ไดสืบเชื้อสายมาโดยลําดับ จนถึงสมัยพระเจาอัญชนะ ซึ่งพระองคทรงมี พระนางยโสธราพระบุตรีของพระเจาชัยเสนแหงศากยวงศ กรุงกบิลพัสดุ เปนพระมเหสี พระเจาอัญชนะและพระนางยโสธรา ทรงมีพระราชโอรส ๒ พระองค และพระราชธิดา ๒ พระองค รวม ๔ พระองค คือ ๑. เจาชายสุปพุทธะ ๒. เจาชายทัณฑปาณี ๓. เจาหญิงมายา ๔. เจาหญิงปชาบดี (โคตมี) พระเจาสุปพุทธะไดเจาหญิงอมิตาเปนพระมเหสี มีพระราชโอรสและพระราชธิดา รวม ๒ พระองค คือ พระเทวทัต และพระนางยโสธรา (สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระยาวชิรญาณ วโรรส, พุทธประวัติ เลม ๑ หลักสูตรนักธรรมและธรรมศึกษาชั้นตรี. ๒๕๓๘ : ๑๒-๑๙) ทั้งศากยวงศและโกลิยวงศตางก็สืบเชื้อสายมาจากวงศเดียวกัน คือ โคตมโคตรและ ยังคงมีความสัมพันธเกี่ยวเนื่องกันทางอาวาหมงคล (การแตงงานที่ฝายหญิงมาอยูบาน ฝายชาย) และวิวาหมงคล (การแตงงานที่ฝายชายมาอยูบานฝายหญิง) โดยตลอด จนถึง เจาชายสิทธัตถะ แหงศากยวงศ กรุงกบิลพัสดุ ไดเจาหญิงยโสธราหรือพิมพา (ภายหลัง ออกบวชมีนามวา พระภัททกัจจานาหรือ ภัททา กัจจานา) แหงโกลิยวงศ กรุงเทวทหะ มาเปน พระชายา ดังแผนภูมิแสดงความเกี่ยวเนื่องกันของพระราชวงศทั้งสอง ตั้งแตพระเจาโอกกาก ราชเปนตนมา ดังนี้