SlideShare a Scribd company logo
1 of 20
Download to read offline
บทที่ 1
บทนํา
ชลชีววิทยา หรือชีววิทยาทางนํ้า (hydrobiology) เปนวิชาที่ศึกษาถึงความสัมพันธ
ของสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยูในแหลงนํ้าซึ่งแหลงนํ้าในที่นี่หมายรวมถึงนํ้าจืด(freshwater)นํ้ากรอย
(brackish water) และนํ้าเค็ม (sea water) ซึ่งจะเห็นวา ชีววิทยาทางนํ้าเปนวิชาที่มีขอบเขต
ในการศึกษากวางมาก ดังนั้น นักวิทยาศาสตรจึงแบงการศึกษาเนื้อหาออกเปน 2 สวน โดยแบง
ตามลักษณะของระดับความเค็มในแหลงนํ้าเชนในนํ้าเค็มจะทําการศึกษาในรายวิชาสมุทรศาสตร
(oceanography) ซึ่งเปนวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับทะเล มหาสมุทร และกระบวนการตาง ๆ ที่
เกิดขึ้น เชน สิ่งมีชีวิต ระบบการหมุนเวียนของสิ่งแวดลอม คลื่น และพื้นทองนํ้าของมหาสมุทร
ขณะที่ชลธีวิทยา (limnology) เปนการศึกษาเรื่องราวในลักษณะเชนเดียวกับสมุทรศาสตร
แตกระทําการศึกษาในแหลงนํ้าจืดที่เปนแหลงนํ้าผิวดินที่ไมใชทะเล (inland waters) ทั้ง
แหลงนํ้าไหล (lotic water หรือ running water) เชน หวย ลําธาร แมนํ้า และแหลงนํ้านิ่ง
(lentic water หรือ standing water) เชน หนอง บึง อางเก็บนํ้า ทะเลสาบนํ้าจืด ทะเลสาบ
นํ้าเค็ม และพื้นที่ชุมนํ้า
คําวา ชลธีวิทยา มีชื่อภาษาอังกฤษคือ limnology ซึ่งมาจากภาษากรีก เปนการ
ผสมกันระหวางคําวา limne ที่แปลวาแหลงนํ้าเล็ก ๆ หรือทะเลสาบ และ logy ที่แปลวา
2 | ชลธีวิทยา (LIMNOLOGY)
วิชา รวมความหมายไดวาเปนวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับแหลงนํ้าหรือทะเลสาบ โดยคําวาชลธีวิทยา
มีนักวิทยาศาสตรไดใหความหมายไวแตกตางกัน เชน
Forel (1841-1912) นักวิทยาศาสตรชาวสวิตเซอรแลนด ที่ถือวาเปนบิดาทาง
ชลธีวิทยา ใหความหมายของชลธีวิทยาวา การศึกษานํ้าในทะเลสาบ
Edgado Baldi (1899-1951) ไดอธิบายวา ชลธีวิทยา คือ วิทยาศาสตรที่เกี่ยวของ
กับวิธีการของสิ่งที่อยู และพลังงานที่จะเกิดการเปลี่ยนแปลงภายในทะเลสาบ
Winberg (1963) ใหความหมายของชลธีวิทยาวา การศึกษาถึงการเคลื่อนไหวของ
สิ่งมีชีวิตและไมมีชีวิตที่มีความสัมพันธกับแหลงนํ้า
Wetzel (2001) อธิบายคําวาชลธีวิทยาวา เปนการศึกษาถึงความสัมพันธระหวาง
โครงสรางและหนาที่ของสิ่งมีชีวิตในแหลงนํ้าจืดบนผิวดิน โดยไดรับผลมาจากการเปลี่ยนแปลง
สิ่งแวดลอมทั้งทางกายภาพ เคมี และชีวภาพ
สวง บุณยวณิชย (2534) นักวิทยาศาสตรของประเทศไทยไดใหความหมายของ
ชลธีวิทยาวา เปนวิชาที่ศึกษาถึงนํ้าจืดในแผนดิน ซึ่งมีอิทธิพลตอสิ่งที่มีชีวิตที่อยูอาศัย ซึ่งรวมถึง
กระแสนํ้าไหลและกระแสนํ้านิ่ง
โดยสรุป คําวาชลธีวิทยาจึงหมายถึง ศาสตรที่ศึกษาถึงแหลงนํ้าจืดบนผิวดิน ทั้ง
แหลงนํ้านิ่งและแหลงนํ้าไหล ที่มีอิทธิพลตอความสัมพันธระหวางโครงสรางและหนาที่ของ
สิ่งมีชีวิตที่ดํารงชีวิตในแหลงนํ้า
นํ้า
นํ้าเปนสิ่งสําคัญสําหรับการดํารงชีพของสิ่งมีชีวิตทุกชนิด ไมวาจะเปนพืชหรือสัตว
เนื่องจากนํ้าเปนสารประกอบที่มีคุณสมบัติเกี่ยวของกับกิจกรรมภายในรางกายของสิ่งมีชีวิต
เชน กระบวนการสรางอาหารโดยการสังเคราะหแสง (photosynthesis) ของพืช กระบวนการ
เมแทบอลิซึม (metabolism) และการขับถายของเสีย (excretion) ของสัตว นอกจากนี้ นํ้า
ยังเปนตัวกลางที่สําคัญตอการดํารงชีวิตของสัตวนํ้าโดยปริมาณนํ้าที่หมุนเวียนอยูในโลกทั้งหมด
ยากที่จะคาดคะเนไดเทาที่ไดมีการประเมินคาดวามีปริมาณ1,385,984,640ลูกบาศกกิโลเมตร
คิดเปนนํ้าทะเลประมาณรอยละ 97.54 ที่เหลืออีกรอยละ 2.46 แยกเปนนํ้าที่อยูในธารนํ้าแข็ง
และนํ้าแข็งขั้วโลกรอยละ 1.81 และเปนนํ้าใตดินรอยละ 0.63 สวนที่เหลือรอยละ 0.016
หรือประมาณ 22,000 ลูกบาศกกิโลเมตร ซึ่งไดแก นํ้าที่พบในแมนํ้า ลําธาร บึง และทะเลสาบ
บทที่ 1 บทนํา | 3
(ตารางที่ 1.1 และรูปที่ 1.1) ดังนั้น นํ้าจืดที่หมุนเวียนใชในระบบนิเวศทั่วไปจึงมีปริมาณ
นอยมาก เมื่อเปรียบเทียบกับปริมาณนํ้าทั้งหมดที่มีอยูในโลก และสวนสุดทายคือนํ้าใน
บรรยากาศมีประมาณรอยละ 0.001 (Braganza, 2007: 182)
ตารางที่ 1.1 ปริมาณนํ้าในอุทกภาค
มหาสมุทร
นํ้าแข็ง
นํ้าใตดิน
ทะเลสาบ ลําธาร และแมนํ้าแบงเปน
– นํ้าเค็ม
– นํ้าจืด
บรรยากาศ
รวมทั้งสิ้น
97.54
1.81
0.63
0.007
0.009
0.001
99.997
-
73.9
25.7
-
0.36
0.04
100.00
-
-
98.4
-
1.4
0.2
100.00
แหลงสะสม คารอยละ
ของนํ้าทั้งหมด
คารอยละ
ของนํ้าจืด
คารอยละของนํ้าจืด
ที่ไมเปนนํ้าแข็ง
ที่มา : Braganza, 2007, p. 182
รูปที่ 1.1 รอยละการใชประโยชนจากแหลงนํ้าจืด
ที่มา : Cunningham, Cunningham, & Saigo, 2007, p. 375
4 | ชลธีวิทยา (LIMNOLOGY)
ตารางที่ 1.2 เปรียบเทียบปริมาณนํ้าจืดในบริเวณพื้นที่ตาง ๆ ของโลก
ปริมาณนํ้าจืดทั้งอยูในรูปนํ้าแข็ง นํ้าใตดิน และนํ้าผิวดิน ที่อยูในบริเวณพื้นที่ตาง ๆ
ของโลกนั้นมีปริมาณที่แตกตางกันขึ้นอยูกับลักษณะภูมิอากาศและภูมิประเทศ (ตารางที่ 1.2)
จะเห็นไดวาแหลงนํ้าจืดแมมีปริมาณนอยแตมีความสําคัญยิ่งตอมนุษย ทั้งเปนแหลงอุปโภค
บริโภค แหลงทําการเกษตร และอุตสาหกรรม หรืออาจกลาวไดวานํ้าจืดเปนสวนหนึ่งของการ
ดําเนินชีวิตของมนุษย แตถามีปริมาณนํ้ามากเกินไป (เกิดอุทกภัย) หรือนอยเกินไป (เกิดความ
แหงแลง) ก็จะสงผลในดานลบตอมนุษยดวยเชนกัน นอกจากนี้ กิจกรรมของมนุษยในปจจุบัน
กอใหเกิดขยะและนํ้าทิ้งลงสูแหลงนํ้าจํานวนมาก สงผลทําใหคุณภาพนํ้าในแหลงนํ้าจืดลดลง
แหลงนํ้าเนาเสีย จนมนุษยไมสามารถนํามาใชประโยชนได ในอนาคตคาดการณวาความตองการ
นํ้าจืดของมนุษยจะมีแนวโนมสูงขึ้น ซึ่งอาจสงผลใหเกิดวิกฤติการขาดแคลนนํ้าจืดในโลกของ
เราได (รูปที่ 1.2)
ทวีปอเมริกาเหนือ
ทวีปอเมริกาใต
ทวีปยุโรป
ทวีปแอฟริกา
ทวีปเอเชีย
ทวีปออสเตรเลีย
ทวีปแอนตารกติกา (ขั้วโลกใต)
มหาสมุทรอารกติก (ขั้วโลกเหนือ)
90,000
900
18,216
0.2
60,984
180
30,109,800
2,600,000
27,003
ไมทราบแนชัด
2,529
31,776
30,622
221
-
-
4,300,000
3,000,000
1,600,000
5,500,000
7,800,000
1,200,000
-
-
ปริมาณนํ้า (ลูกบาศกกิโลเมตร)
นํ้าใตดินแหลงนํ้าผิวดินนํ้าแข็งและธารนํ้าแข็ง
ที่มา : Diop, M'mayi, & Lisbjerg, 2002, p. 7
บทที่ 1 บทนํา | 5
รูปที่ 1.2 แนวโนมวิกฤติการนํ้าจืดของโลกในอนาคต
ที่มา : Wetzel, 2001, p. 2
นํ้าที่ปรากฏอยูตามแหลงตางๆทั่วโลกเรานี้จะมีการถายเทหมุนเวียนกันตามธรรมชาติ
ซึ่งเราเรียกวา วัฏจักรของนํ้า (water cycle หรือ hydrologic cycle) ซึ่งวัฏจักรของนํ้า
จัดเปนหนึ่งในกระบวนการพื้นฐานที่มีในธรรมชาติ โดยความรอนจากแสงอาทิตยหรือจาก
ปจจัยอื่น ๆ จะทําใหนํ้าที่อยูในมหาสมุทร แมนํ้า ทะเลสาบ ดิน ระเหยสูอากาศกลายเปนไอ
(evaporation) กลไกนี้เกิดขึ้นเนื่องจากโมเลกุลของนํ้าซึ่งจะเคลื่อนยายอยูเสมอ ถาอุณหภูมิ
มากกวา -237.3 องศาเซลเซียส เมื่ออุณหภูมิเพิ่มขึ้นโมเลกุลของนํ้าจะเคลื่อนตัวทําใหสามารถ
หลุดลอยเขาสูบรรยากาศไดมากขึ้น นอกจากนี้ ไอนํ้าในโลกของเราอาจเกิดจากการคายนํ้าของ
พืช (transpiration) ไดอีกทางหนึ่งดวย
เมื่อไอนํ้าลอยตัวสูบรรยากาศจะเย็นตัวลง และเปลี่ยนสภาพจากไอนํ้ากลายเปน
ของเหลวหรือนํ้าแข็ง (condensation) ซึ่งกระบวนการเปลี่ยนสภาพของไอนํ้าเปนของเหลวนี้
เกิดจากการที่ไอนํ้าเคลื่อนตัวมาปะทะกันทําใหเพิ่มขนาดและนํ้าหนัก จนกระทั่งถูกแรงดึงดูด
ของโลกดึงใหตกลงสูพื้นดินในรูปของฝน สวนกระบวนการเปลี่ยนสภาพของไอนํ้าเปนของแข็ง
เกิดจากเมฆมีความเย็นจัดจนกระทั่งละอองนํ้าบางสวนแปลสภาพเปนเกล็ดนํ้าแข็งแตเนื่องจาก
ความดันอากาศรอบ ๆ ละอองนํ้ามีมากกวาบริเวณรอบ ๆ เกล็ดนํ้าแข็ง จึงทําใหเกิดแรงดัน
เอาละอองนํ้าเขามารวมตัวกับเกล็ดนํ้าแข็ง เมื่อละอองนํ้าที่เคลือบเกล็ดนํ้าแข็งมีการระเหยไป
ความรอนที่ถูกใชไปสงผลใหละอองนํ้าที่เคลือบบนเกล็ดนํ้าแข็งกลายเปนนํ้าแข็ง สงผลใหเกล็ด
นํ้าแข็งมีขนาดใหญมากขึ้น ปรากฏการณนี้จะเกิดขึ้นเรื่อย ๆ จนนํ้าแข็งมีนํ้าหนักมากพอที่
แรงดึงดูดของโลกดึงใหตกลงสูพื้นดินในรูปของหิมะ
6 | ชลธีวิทยา (LIMNOLOGY)
เมื่อนํ้าฝนหรือหิมะตกลงบนผิวโลกแลว เราจะพบวา นํ้าบางสวนจะซึมหายลงไป
ในดิน (infiltration) ซึ่งอาจจะถูกพืชดูดไปใชตอ ขณะที่บางสวนจะซึมหายลงไปจนถึงแหลงนํ้า
ใตดิน หรืออาจจะไหลลงสูลําธาร แมนํ้า หรือมหาสมุทร นอกจากนี้ นํ้าบางสวนจะระเหยกลาย
เปนไอกลับคืนสูสภาพอากาศอีกครั้งปริมาณการหมุนเวียนของนํ้านี้ไดมีผูคํานวณไววามีประมาณ
14,200ลูกบาศกกิโลเมตรตอปปริมาณนํ้าที่หมุนเวียนโดยสวนใหญจะเกิดขึ้นบริเวณมหาสมุทร
โดยหยาดนํ้าฟา(ฝนหิมะหรือลูกเห็บ)ที่มีอยูในมหาสมุทรมีปริมาณ385,000ลูกบาศกกิโลเมตร
ซึ่งมีมากกวาปริมาณนํ้าที่มีอยูเหนือแผนดินที่มีเพียง110,000ลูกบาศกกิโลเมตร(Cunningham,
Cunningham, & Saigo, 2007: 67) (รูปที่ 1.3) สําหรับฝนที่เกิดในประเทศไทย เกิดจาก
การพัดพาเอาไอนํ้าปริมาณมากจากทะเลและมหาสมุทรเขามาตามรองของลมมรสุมที่พัดผาน
แผนดินใหญ เมื่อไอนํ้ามาพบกับความเย็นของอากาศเหนือผิวดิน กับฝุนละอองที่ปนเปอนใน
อากาศ ทําใหเกิดฝนที่มีขนาด 0.02 นิ้ว ขึ้นไป และอาจมีขนาดใหญถึง 6.4 มิลลิเมตร (นาถลดา
สาลีนุกุล, 2544 : 35)
รูปที่ 1.3 วัฏจักรนํ้า
บทที่ 1 บทนํา | 7
แหลงนํ้าผิวดิน (surface water) เปนสวนหนึ่งของวัฏจักรนํ้า โดยเกิดจากหยาด
นํ้าฟาที่ตกลงมา และมีการสะสมตัวกันอยูบริเวณพื้นดิน ซึ่งหยาดนํ้าฟาที่ตกลงมาในระยะแรก
พบวานํ้ามักจะซึมลงไปในดินกอนจนกระทั่งดินอิ่มตัวแลวจึงมีนํ้าแชขังกลายเปนลุมนํ้า หรือ
แหลงนํ้า โดยนํ้าผิวดินภายในโลกของเราจะไหลจากที่สูงลงมาที่ตํ่า หรือจะไปรวมกันลงสู
มหาสมุทรนั่นเอง โดยนํ้าบางสวนอาจจะถูกกักชั่วคราวตามบึงหรือทะเลสาบ และนํ้าบางสวน
กลับกลายเปนไอกอนจะไหลกลับลงสูมหาสมุทร เราสามารถแบงประเภทของแหลงนํ้าผิวดิน
ไดตามระดับความเค็มในนํ้า ไดแก นํ้าเค็ม นํ้ากรอย และนํ้าจืด โดยแหลงนํ้าจืดนั้นยังแบงออก
ไดตามลักษณะของกระแสนํ้าไดออกเปน 2 ชนิด คือ แหลงนํ้านิ่งและแหลงนํ้าไหล
นํ้าจากหยาดนํ้าฟาที่ตกลงมาสูพื้นผิวโลกเมื่อถูกกักเก็บในแหลงนํ้าผิวดินนํ้าบางสวน
จะไหลซึมลงสูใตดินกลายเปนนํ้าใตดินซึ่งแบงออกเปนนํ้าในดิน (soil water) และนํ้าบาดาล
(ground water) โดยนํ้าผิวดินที่ไหลซึมลงสูใตดินสวนแรกจะไหลซึมอยูตามชองวางระหวาง
เม็ดดิน เรียกวา นํ้าในดิน ซึ่งนํ้าในดินสามารถแบงออกไดเปน 4 ชนิด คือ
1) นํ้าที่เปนองคประกอบทางเคมี (chemical combined water) เปนความชื้น
ที่แทรกอยูในอนุภาคของเม็ดดิน และสามารถทําปฏิกิริยากับแรธาตุที่อยูในดินได นํ้าประเภทนี้
รากพืชไมสามารถดูดไปใชประโยชนไดเนื่องจากมีนอย และแรงยึดเกาะติดกับแรแข็งแรงมาก
2) นํ้าซึมหรือนํ้าอิสระ (gravitational water หรือ free water) คือนํ้าที่ซึมอยู
ระหวางเม็ดดิน แตไมไดอยูภายใตแรงดึงดูดของอนุภาคดินจึงมีอิสระที่จะไหลไปตามแรงดึงดูด
ของโลก รากพืชจึงดึงดูดไปใชประโยชนไดเพียงบางสวน และยังทําใหเกิดการชะพาธาตุอาหาร
พืชลงไปยังดินชั้นลาง
3) นํ้าเยื่อ (hygroscopic water) เปนนํ้าที่อนุภาคดินดูดจับเอาไวที่ผิวภายนอก
ในลักษณะที่เปนเยื่อบาง ๆ ดวยแรงที่สูงไมตํ่ากวา 31 บรรยากาศ นํ้าเยื่อเปนสวนที่รากพืช
ยังไมสามารถดูดไปใชประโยชนไดเชนกัน
4) นํ้าซับ (capillary water) เปนนํ้าที่อนุภาคดินดูดยืดไวที่ผิวภายนอกอยูถัด
จากนํ้าเยื่อ เปนนํ้าที่ซึมซับอยูตามผิวอนุภาคของเม็ดดิน บางครั้งจะซึมอยูเต็มชองวางของเม็ดดิน
โดยทั่วไปดินจะดูดยืดนํ้าสวนนี้ไวดวยแรงประมาณ 0.3-31 บรรยากาศ และแรงดึงดูดของโลก
ไมสามารถทําใหนํ้าสวนนี้เคลื่อนที่ลงไปได (Waugh, 2002: 267) โดยนํ้าซับเปนนํ้าที่
รากพืชสามารถนํามาใชในการเจริญเติบโตไดถานํ้าซับในดินมีปริมาณนอยจนถึงจุดหนึ่งจะสงผล
ใหพืชเหี่ยวเฉาอยางถาวร หรือเรียกวา จุดเหี่ยวถาวร (permanent wilting point)
8 | ชลธีวิทยา (LIMNOLOGY)
รูปที่ 1.4 คุณลักษณะของนํ้าในดิน
ขณะที่นํ้าบาดาล (ground water) คือนํ้าที่อยูบริเวณตํ่าลงมาจากนํ้าในดิน โดย
ระดับบนสุดของนํ้าบาดาลจะเปนระดับนํ้าใตดิน (water table) ซึ่งจะเปนพื้นผิว หรือแนว
ระดับนํ้าใตผิวดินที่อยูระหวางเขตอิ่มนํ้ากับเขตอิ่มอากาศ(บริเวณที่มีอากาศถายเทได)ณระดับ
นํ้าใตดินนี้แรงดันนํ้าในชั้นหินหรือในชั้นตะกอนจะเทากับแรงดันของบรรยากาศและในตําแหนง
ที่ลึกลงไปจากระดับนํ้าใตดิน แรงดันของนํ้าจะเพิ่มมากขึ้นเนื่องจากนํ้าหนักของนํ้าที่กดทับอยู
ระดับนํ้าใตดินนี้จะเปลี่ยนแปลงขึ้นลงไปตามฤดูกาล โดยในฤดูแลงระดับนํ้าใตดินจะอยูลึกกวา
ระดับปกติ ระดับนํ้าใตดินสวนใหญจะเอียงเทหรือวางตัวสอดคลองไปตามลักษณะภูมิประเทศ
และจะไปบรรจบกับระดับนํ้าในแมนํ้าหรือทะเลสาบ ซึ่งปกติแลวระดับนํ้าในแหลงนํ้าผิวดินจะ
มีคาเทากับระดับนํ้าใตดิน โดยปจจัยที่มีผลตอปริมาณนํ้าในแหลงนํ้าผิวดินมีหลายปจจัย เชน
ชนิดของหิน รอยแตก ริ้วขนาน (foliation) ชนิดของดิน ความสูงตํ่าของพื้นที่ ชนิด และ
ปริมาณพืช ปริมาณและความถี่ของหยาดนํ้าฟาที่ตกลงมา และสภาพภูมิอากาศที่มีผลตออัตรา
การระเหยของนํ้า
การใชประโยชนที่ดินของมนุษยบางอยางมีผลกระทบตอการระเหย นํ้าไหลลน
และอัตราการซึมลงดินของนํ้าในวัฏจักรนํ้า เชน กรณีการใชนํ้าระบายความรอนในโรงงาน
อุตสาหกรรม หรือการใชนํ้าสําหรับการเกษตร ทําใหอัตราการระเหยของนํ้าสูงขึ้น การระเหย
ของนํ้าอยางรวดเร็วนี้มีผลกระทบตอสภาพบรรยากาศหรือทําใหภูมิอากาศเปลี่ยนแปลงบริเวณ
เขตชุมชนเมืองซึ่งมีถนนและทางระบายนํ้าจํานวนมาก นํ้าที่ไหลบนสิ่งเหลานี้มีสวนทําให
ปริมาณนํ้าไหลลนเพิ่มมากขึ้น และสิ่งเหลานี้ยังกีดขวางการซึมลงดินของนํ้า หรือทําใหนํ้าซึมลง
บทที่ 1 บทนํา | 9
ใตดินไดนอยลง การซึมลงดินของนํ้ามีผลกระทบตอกิจกรรมการใชประโยชนจากนํ้าของมนุษย
อยางมาก เชน ความตองการใชนํ้าบาดาลของชุมชนเมืองมีปริมาณสูง แตการซึมลงไปทดแทน
ของนํ้าใตดินมีนอยลง ยอมทําใหความตองการใชนํ้ากับปริมาณนํ้าบาดาลที่มีอยูไมสมดุลกัน
อาจทําใหเกิดการขาดแคลนนํ้าได
แหลงนํ้านิ่ง
แหลงนํ้านิ่งเปนแหลงนํ้าปด (closed water body) ที่อาจมีทางติดตอกับแมนํ้า
ลําธาร หรือบริเวณที่มีนํ้าทวมถึง ซึ่งในแหลงนํ้านิ่งบางแหงอาจไดรับนํ้าจากนํ้าฝนแตเพียงอยาง
เดียวเทานั้น แตบางแหงก็สามารถไดรับนํ้าจากการไหลลงมาโดยลําธาร หรือจากการทวมของ
แมนํ้า แหลงนํ้านิ่งจะไมมีการขึ้นลงของนํ้าซึ่งนํ้าจะสามารถเคลื่อนที่ไดสวนใหญเกิดจากกระแสลม
จากการประเมินของ Lehnera, & Döll (2004: 1-22) พบวา แหลงนํ้านิ่งที่เปนหนอง บึง
พื้นที่ชุมนํ้าและทะเลสาบที่พบสวนใหญในโลกจะมีขนาดพื้นที่อยูระหวาง1-10ตารางกิโลเมตร
โดยมีจํานวนถึง 155,230 แหง กินพื้นที่รวม 412,900 ตารางกิโลเมตร แตเมื่อเปรียบเทียบ
กับขนาดพื้นที่รวมแลวจะพบวาทะเลสาบขนาดใหญที่มีพื้นที่มากกวา 100 ตารางกิโลเมตร
ที่มีจํานวนเพียง 1,452 แหง จะมีความจุนํ้าจํานวนมหาศาล เนื่องจากมีพื้นที่รวมถึง 1,573,400
ตารางกิโลเมตร จากพื้นที่รวมของทะเลสาบที่มีอยูในโลกทั้งหมด 2,428,100 ตารางกิโลเมตร
(รูปที่ 1.5) โดยแหลงนํ้านิ่งที่เปนนํ้าจืดที่มีขนาดใหญที่สุดในโลก ไดแก ทะเลสาบสุพีเรีย
(Superior) อยูระหวางประเทศสหรัฐอเมริกาและแคนาดา ขณะที่ทะเลสาบไบคาล (Baikal)
ของประเทศรัสเซีย เปนทะเลสาบนํ้าจืดที่ลึกที่สุดซึ่งมีปริมาณนํ้าถึงรอยละ 20 ของแหลงนํ้า
ผิวดินของโลก (Day, 2009: 80) ในทวีปเอเชียพบวา ทะเลสาบโตนเลสาบ (Tonle Sap) ใน
ประเทศกัมพูชาเปนทะเลสาบนํ้าจืดที่มีขนาดใหญที่สุดขณะที่ในประเทศไทยพบวาแหลงนํ้านิ่งที่
เปนนํ้าจืดที่มีขนาดใหญที่สุดไดแกบึงบอระเพ็ดที่ตั้งอยูในเขตจังหวัดนครสวรรคซึ่งแหลงนํ้านิ่ง
ที่มีขนาดรองลงมาไดแกทะเลสาบหนองหานในจังหวัดสกลนครและบึงละหานในจังหวัดชัยภูมิ
ตามลําดับ (ตารางที่ 1.3)
10 | ชลธีวิทยา (LIMNOLOGY)
รูปที่ 1.5 จํานวนทะเลสาบขนาดตาง ๆ ที่มีอยูในโลก
ที่มา : Lehnera & Döll, 2004, pp. 12, 15
ตารางที่ 1.3 แหลงนํ้านิ่งที่เปนนํ้าจืดขนาดใหญของโลก
ดัดแปลงจาก Manjunath, 2009, p. 22; Baran, 2005, p. 9; Netpae and Phalaraksh,
2009, p. 196
สุพีเรีย
ฮูรอน
มิชิแกน
เกรตแบร
เกรตสเลฟ
อิรี
ออนแทรีโอ
ตีตีกากา
แทนกันยีกา
มาลาวี
ไบคาล
ลาโดกา
โตนเลสาบ
บึงบอระเพ็ด
อเมริกาเหนือ
อเมริกาเหนือ
อเมริกาเหนือ
อเมริกาเหนือ
อเมริกาเหนือ
อเมริกาเหนือ
อเมริกาเหนือ
อเมริกาใต
แอฟริกา
แอฟริกา
ยุโรป
ยุโรป
เอเชีย
เอเชีย
สหรัฐอเมริกาและแคนาดา
สหรัฐอเมริกาและแคนาดา
สหรัฐอเมริกา
แคนาดา
แคนาดา
สหรัฐอเมริกาและแคนาดา
สหรัฐอเมริกาและแคนาดา
เปรูและโบลิเวีย
สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก
แทนซาเนีย แซมเบีย และบุรุนดี
มาลาวี แทนซาเนีย และโมซัมบิก
รัสเซีย
รัสเซีย
กัมพูชา
ไทย
82,414
59,600
58,016
31,790
27,200
25,745
19,529
8,372
32,900
29,604
31,500
17,891
15,800
212.38
405
229
281
396
617
64
244
284
1,470
695
1,741
230
10
5
ทะเลสาบ ทวีป ประเทศ พื้นที่
(ตารางกิโลเมตร)
ลึกสูงสุด
(เมตร)
บทที่ 1 บทนํา | 11
1. การเกิดของทะเลสาบและแหลงนํ้านิ่ง
ทะเลสาบและแหลงนํ้านิ่งในโลกของเรากําเนิดขึ้นมาไดมาจากหลายสาเหตุ ซึ่ง
สวนใหญเกี่ยวของกับปรากฏการณที่เกิดขึ้นทางธรณีวิทยา เราสามารถแบงสาเหตุการกําเนิด
ไดหลายสาเหตุดังตอไปนี้
1) ทะเลสาบที่เกิดขึ้นจากการเคลื่อนไหวของเปลือกโลก (tectonic basin)
ทะเลสาบชนิดนี้เกิดจากการที่เปลือกโลกสวนที่อยูใตโลกเกิดการโคงงอ กดกระแทก แตกหัก
เนื่องจากแผนดินไหว หรือการยุบตัวของผิวโลก ทําใหเกิดรอยเลื่อนหรือรอยเหลื่อม (faulting)
ในเวลาตอมาเมื่อมีนํ้าขังจะกอใหเกิดเปนทะเลสาบ (รูปที่ 1.6 ก.) โดยทะเลสาบที่มีตนกําเนิด
แบบนี้จะมีความลาดชันสูง และมีความลึกมาก เชน ทะเลสาบทาโฮ (Tahoe) ที่อยูในประเทศ
สหรัฐอเมริกา และทะเลสาบไบคาลของประเทศรัสเซีย (รูปที่ 1.6 ข.)
รูปที่ 1.6 ทะเลสาบที่เกิดขึ้นจากการเคลื่อนไหวของเปลือกโลก โดย
ก. ลักษณะการเกิดรอยเลื่อนที่กอใหเกิดทะเลสาบ
ข. ทะเลสาบไบคาล ประเทศรัสเซีย
ที่มา : Wetzel, 2001, p. 24; Dando, & Gritzner, 2007, p. 29
2) ทะเลสาบที่เกิดจากการระเบิดของปลองภูเขาไฟ (lakes formed by
volcanicactivity) เกิดไดจากการที่ลาวาจากภูเขาไฟไปกั้นทางนํ้าทําใหเกิดแหลงนํ้า(รูปที่1.7ก.)
หรืออาจเกิดจากบริเวณขอบปลองภูเขาไฟมีลักษณะเหมือนเปนเขื่อนกั้นนํ้า เมื่อฝนตกลงมาจึง
มีนํ้าขังเกิดเปนแหลงนํ้า (รูปที่ 1.7 ข.) ทะเลสาบที่มีตนกําเนิดแบบนี้จะไมมีทางไหลเขาของนํ้า
นํ้าที่มีในทะเลสาบ จะไดมาจากฝนตกหรือหิมะละลาย โดยทะเลสาบที่อยูในปลองของภูเขาไฟ
12 | ชลธีวิทยา (LIMNOLOGY)
รูปที่ 1.7 ทะเลสาบที่เกิดจากการระเบิดของปลองภูเขาไฟ โดย
ก. ทะเลสาบที่เกิดจากการกั้นทางนํ้าของลาวาภูเขาไฟ
ข. ทะเลสาบที่ตั้งอยูบนปลองภูเขาไฟ (ทะเลสาบเคลิมูตู ประเทศอินโดนีเซีย)
ที่มา : Wetzel, 2001, p. 25; Pirajno, 2009, p. 14
3) ทะเลสาบที่เกิดจากธารนํ้าแข็ง (lakes formed by glacial) เกิดจาก
การแตกหักและการละลายของธารนํ้าแข็งในยุคนํ้าแข็งสมัยไพลสโตซีน (pleistocene) สงผล
ใหธารนํ้าแข็งมีการเคลื่อนตัวโดยนํ้าที่ละลายจากธารนํ้าแข็งจะกลายเปนแองนํ้าหรือลําธาร
(รูปที่ 1.8 ก.) และเมื่อเกิดการละลายของธารนํ้าแข็งมากขึ้น นํ้าที่ละลายจะตกลงมาเปนนํ้าตก
พัดเอาเศษกรวดหินเคลื่อนไปกับกระแสนํ้ามารวมตัวกันเปนสันกั้นรองรับนํ้า (รูปที่ 1.8 ข.) และ
ทายที่สุดเมื่อนํ้าแข็งจากธารนํ้าแข็งละลายหมดก็จะกอเกิดทะเลสาบในที่สุด (รูปที่ 1.8 ค.) โดย
ทะเลสาบเกิดจากปฏิกิริยาของนํ้าแข็งสวนใหญมีลักษณะเปนกลุมทะเลสาบ(kettle)เปนทะเลสาบ
เล็ก ๆ จํานวนมากอยูใกลกัน เชน ทะเลสาบสุพีเรีย ทะเลสาบมิชิแกน (Michigan) และ
ทะเลสาบฮูรอน (Huron) ทะเลสาบอิรี (Erie) และทะเลสาบออนแทรีโอ (Ontario) บริเวณ
รอยตอประเทศสหรัฐอเมริกาและแคนาดา
ที่ยังมีพลังจะพบวานํ้าในทะเลสาบจะมีสภาพเปนกรด เต็มไปดวยแกสภูเขาไฟ และมีสีเขียวเขม
ขณะที่ทะเลสาบที่ตั้งอยูในปลองภูเขาไฟที่เย็นตัวลง หรือภูเขาไฟที่ดับสนิทแลว นํ้าในทะเลสาบ
มักจะมีนํ้าที่ใส ถาไมมีการปนเปอนจากสภาวะแวดลอมภายนอก ตัวอยางของทะเลสาบที่มี
ตนกําเนิดแบบนี้เชนทะเลสาบเคลิมูตู(Kelimutu)ประเทศอินโดนีเซียและทะเลสาบพินาตูโบ
(Pinatubo) ฟลิปปนส
บทที่ 1 บทนํา | 13
รูปที่ 1.8 ทะเลสาบเกิดจากปฏิกิริยาของนํ้าแข็ง โดย
ก. การเคลื่อนตัวของธารนํ้าแข็ง
ข. การเกิดสันกั้นนํ้า
ค. การเกิดทะเลสาบ
ที่มา : Carlson, 2007, p. 5
4) ทะเลสาบที่เกิดจากการละลายของการกัดเซาะของพื้นที่ที่ละลายนํ้าได
(solution lakes) ในพื้นที่หินปูนที่มีนํ้าไหลผาน นํ้าจะเขาไปทําปฏิกิริยาทางเคมีทําใหหินปูน
ละลายเปนโพรงผุกรอน ละลายหินปูนออกมา เมื่อระยะเวลาผานไปจะเกิดการยุบตัวกลายเปน
แหลงนํ้าในที่สุด ทะเลสาบที่มีตนกําเนิดแบบนี้ในประเทศไทยสามารถพบได เชน หนองหาร
จังหวัดสกลนคร หนองหานกุมภวาป จังหวัดอุดรธานี และหนองบอ จังหวัดมหาสารคาม
ซึ่งเกิดจากการยุบตัวของแผนเปลือกโลก อันเนื่องมาจากการถูกชะลางของชั้นหินเกลือใตดิน
(NaCl) จนเกิดโพรงขนาดใหญ สงผลใหเกิดการพังทลายยุบตัวลงเปนหนองนํ้าในเวลาตอมา
(เพียงตา สาตรักษ และคณะ, 2547 : 49)
14 | ชลธีวิทยา (LIMNOLOGY)
รูปที่ 1.9 ทะเลสาบที่เกิดจากการละลายของการกัดเซาะของพื้นที่ที่ละลายนํ้าได
ก. การยุบตัวของพื้นดินเนื่องจากการละลายของชั้นหินปูนใตดิน
ข. การพังทลายของพื้นดินเนื่องจากชองวางใตดินรวมกับการละลายของชั้น
หินปูนใตดิน
ที่มา : Kasenow, 2001, pp. 45-46
5) ทะเลสาบที่เกิดจากลม (lakes formed by wind) ในพื้นที่บางแหงของ
ประเทศที่มีลมพัดแรงเชนประเทศนิวซีแลนดและออสเตรเลียเมื่อมีลมพัดทรายหรือตะกอนดิน
ออกไปจากบริเวณที่เคยมีอยูไปทับถมเปนเนินปดกั้นทางเดินจะสงผลใหเกิดเปนแหลงสะสมนํ้า
หรือทะเลสาบเนินทราย (dune lake) ขึ้นได โดยสวนใหญแหลงนํ้าประเภทนี้จะมีขนาดใหญ
แตระดับนํ้าภายในทะเลสาบจะตื้น และพบไดมากอยูตามแนวชายฝง โดยปริมาณนํ้าจากแหลง
นํ้าสวนใหญจะสูญเสียไปจากการระเหย ตัวอยางของแหลงนํ้าเกิดจากลม เชน ทะเลสาบคูลอง
(Coorong) ประเทศออสเตรเลีย (รูปที่ 1.10)
บทที่ 1 บทนํา | 15
รูปที่ 1.10 ทะเลสาบที่เกิดจากลม (ทะเลสาบคูลอง ประเทศออสเตรเลีย)
ที่มา : Prosser, 2011, pp. 129-130
6) ทะเลสาบที่เกิดจากแมนํ้า (lakes formed by rivers) ทะเลสาบที่มี
ตนกําเนิดแบบนี้เกิดบริเวณลํานํ้าของแมนํ้า ลําคลองที่ความคดเคี้ยวมาก หรือบริเวณที่ลํานํ้า
ขนาดเล็กที่เชื่อมตอกับลํานํ้าที่มีขนาดใหญกวา โดยการเกิดทะเลสาบเริ่มตนจากการที่ลําธาร
หรือแมนํ้าถูกกัดเซาะสงผลใหเกิดอนุภาคตาง ๆ แขวนลอยอยูในนํ้าจํานวนมาก เมื่อกระแสนํ้า
ของแหลงนํ้าเกิดชาลงจะทําใหสารแขวนลอยเหลานี้ตกตะกอน เปลี่ยนเสนทางนํ้าของลํานํ้าที่
โคงตวัด (meander) จากการไหลตามแนวโคงเดิมเปนตัดตรง ทําใหลํานํ้าโคงเดิมถูกตัดขาด
เกิดเปนบึง หรือทะเลสาบรูปแอก (oxbow lake) เชน บึงสีไฟ ในจังหวัดพิจิตร ที่เกิดจากการ
เปลี่ยนทางนํ้าของแมนํ้านาน
16 | ชลธีวิทยา (LIMNOLOGY)
รูปที่ 1.11 กระบวนการเกิดทะเลสาบรูปแอก (แมนํ้ามอนแทนา ประเทศสหรัฐอเมริกา)
ที่มา : Thompson & Turk, 2006, p. 269
7) ทะเลสาบที่เกิดจากแผนดินถลม(lakesformedbylandslides)จะเกิด
ขึ้นในบริเวณหุบเขาที่มีดินปนทรายมาก เมื่อฝนตกชุกทําใหมีการพังทลายของดินทรายและหิน
จากเนินเขามากั้นทางเดินนํ้า และกลายเปนแหลงนํ้าในที่สุด เชน ทะเลสาบซาเรซ (Sarez) ใน
ประเทศทาจิกิสถานเปนทะเลสาบที่เกิดจากแผนดินถลมเปนผลสืบเนื่องจากการเกิดแผนดินไหว
ครั้งใหญ สงผลใหเกิดเขื่อนดินธรรมชาติกั้นแมนํ้ามูรกาบ (Murgab) จนเกิดเปนทะเลสาบ
ในที่สุด (รูปที่ 1.12)
รูปที่ 1.12 ทะเลสาบที่เกิดจากแผนดินถลม (ทะเลสาบซาเรซ ประเทศทาจิกิสถาน)
ที่มา : Sassa et al., 2013, p. 194
ทะเลสาบ
ซาเรซ
ทะเลสาบซาเรซ
เขื่อนธรรมชาติ
แผนดินถลมแผนดินถลมแผนดินถลม
บทที่ 1 บทนํา | 17
8) แหลงนํ้าที่เกิดจากการกระแทกของลูกอุกกาบาต (lakes formed by
meteor impact) จะพบมากในภูมิภาคแถบอบอุน โดยเกิดจากการกระแทกของลูกอุกกาบาต
ทําใหเกิดการยุบตัวของแผนดิน และกลายเปนแหลงนํ้าในที่สุด เชน ทะเลสาบโบซัมทวี
(Bosumtwe) ประเทศกานาที่เปนทะเลสาบที่เกิดจากการชนของอุกกาบาตเมื่อประมาณ 1.07
ลานปกอน (รูปที่ 1.13 ก.) และทะเลสาบคาราคูล (Karakul) ประเทศทาจิกิสถานที่เกิดจาก
หลุมอุกกาบาตเมื่อประมาณ 25 ลานปที่แลว (รูปที่ 1.13 ข.)
9) ทะเลสาบที่เกิดจากตะกอนที่ทับถมกันตามชายฝง (lake developed
from shoreline action) เมื่อกระแสนํ้าพัดพาทรายมาตกตะกอนทับถมกันบริเวณปากอาวที่
ไมเสมอกันเปนเวลานาน ๆ ทําใหเหมือนเปนทํานบปดกั้นนํ้าในอาว และกลายเปนแหลงนํ้า
ในที่สุด (รูปที่ 1.14 ก.) ตัวอยางของทะเลสาบที่มีตนกําเนิดแบบนี้ เชน ทะเลสาบการริสัน
(Garrison)ของประเทศสหรัฐอเมริกาที่เกิดจากการที่กระแสนํ้าชายฝงทะเลโอเลกอน พัดทราย
มาที่ชายฝงจนเกิดเนินทรายกั้นบริเวณปากนํ้า (รูปที่ 1.14 ข.)
รูปที่ 1.13 ทะเลสาบที่เกิดจากการกระแทกของลูกอุกกาบาต โดย
ก. ทะเลสาบโบซัมทวี ประเทศกานา
ข. ทะเลสาบคาราคูล ประเทศทาจิกิสถาน
ที่มา : Schluter, 2008, p. 119 และ Nicholson, 2011, p. 1
18 | ชลธีวิทยา (LIMNOLOGY)
รูปที่ 1.14 ทะเลสาบที่เกิดจากตะกอนที่ทับถมกันตามชายฝง
ก. ลักษณะเนินทรายที่เกิดจากตะกอนทับถมตามชายฝง
ข. ทะเลสาบการริสัน ประเทศสหรัฐอเมริกา
ที่มา : Wetzel, 2001, p. 33 และ Bennett, 2008
10) ทะเลสาบที่เกิดจากสิ่งมีชีวิต (biogenic lakes) เชน บอนํ้าที่เกิดจาก
ตัวบีเวอรนํากิ่งไมและหินมาสรางที่อยูอาศัย และเก็บอาหารมาขวางกั้นทางเดินนํ้าทําใหเกิด
แหลงนํ้าในที่สุด (รูป 1.15 ก.) รวมทั้งการสรางเขื่อนและอางเก็บนํ้าของมนุษยทําใหพื้นที่
เหนือเขื่อนหรือในอางเก็บนํ้าเปนแหลงนํ้า เชน เขื่อนภูมิพล จังหวัดตาก (รูป 1.15 ข.) และ
เขื่อนอุบลรัตน จังหวัดขอนแกน นอกจากนี้ การสรางเครื่องมือในการเปลี่ยนทิศทางนํ้า และทํา
ประตูนํ้าของมนุษยก็สามารถทําใหเกิดแหลงนํ้าได เชน บึงบอระเพ็ด จังหวัดนครสวรรค ที่เกิด
จากการสรางประตูนํ้าผันนํ้ามาจากแมนํ้านานลงสูคลองบอระเพ็ด
11) ทะเลสาบที่ไมสามารถจําแนกสาเหตุการเกิดได (lake of unknown origin)
คือแหลงนํ้าที่ไมสามารถจําแนกสาเหตุการเกิดซึ่งนอกเหนือจาก 10 สาเหตุเบื้องตนได
บทที่ 1 บทนํา | 19
รูปที่ 1.15 แหลงนํ้าที่เกิดจากสิ่งมีชีวิต โดย
ก. เขื่อนที่เกิดจากตัวบีเวอร
ข. เขื่อนภูมิพล จังหวัดตาก
ที่มา : Miller, & Spoolman, 2011, p. 99
นอกจากนี้ ทะเลสาบหรือแหลงนํ้านิ่งในธรรมชาติหลายแหงในโลกสามารถเกิดขึ้น
ไดจากหลายสาเหตุรวมกัน ทั้งอาจเกิดจากสิ่งมีชีวิต รวมกับสาเหตุอื่น ๆ ที่ไมมีชีวิต เชน มนุษย
ใชเทคโนโลยีไปเรงปฏิกิริยาที่จะเกิดแหลงนํ้าโดยสาเหตุทางธรรมชาติใหเร็วขึ้น หรือทะเลสาบ
หรือแหลงนํ้านิ่งอาจเกิดจากสาเหตุที่ไมมีชีวิตรวมกันมากกวา 1 สาเหตุ เชน ทะเลสาบสงขลา
เปนทะเลสาบที่มีทั้งนํ้าจืด นํ้ากรอย และนํ้าเค็ม อยูในเขตจังหวัดพัทลุง จังหวัดสงขลา และ
จังหวัดนครศรีธรรมราช ทะเลสาบสงขลาเปนทะเลสาบที่มีสาเหตุการเกิดมาจาก 2 สาเหตุ โดย
สาเหตุแรกเกิดจากลมมรสุมพัดเอาทรายทะเลมาทับถมทําใหเกิดสันทราย และสาเหตุที่สองคือ
ดินตะกอนของคลองนางเรียมคลองปากประคลองลําปาคลองทาเดื่อคลองอูตะเภาและแมนํ้า
จากจังหวัดสตูลสงผลใหพื้นที่เปลี่ยนจากเกาะกลางนํ้ากลายเปนแหลมกั้นนํ้าในทะเลสาบเปนตน
2. นํ้าในแหลงนํ้านิ่ง
โดยทั่วไปแลวแหลงนํ้านิ่งจะมีลักษณะเปนแหลงนํ้าขังมีปริมาณนํ้าที่มากนอย
แตกตางกันไปในการศึกษาแหลงนํ้านิ่งจะสามารถแบงการศึกษาออกเปนบริเวณตางๆในแตละ
ระดับความลึกที่แสงสองผานลงไปในแหลงนํ้าเปนตัวจําแนก ซึ่งแบงไดออกเปน 4 ระดับ คือ
เขตชายฝง เขตกลางสระ เขตกนสระ และเขตพื้นทองนํ้า (รูปที่ 1.16)
20 | ชลธีวิทยา (LIMNOLOGY)
รูปที่ 1.16 ระดับนํ้าตาง ๆ ในแหลงนํ้านิ่ง
ที่มา : Cullen, 2009, p. 110
1) เขตชายฝง(littoralzone)เปนบริเวณที่มีนํ้าตื้นแสงสวางสามารถสองทะลุ
จนถึงพื้นดานลาง อุณหภูมิจะมีการเปลี่ยนแปลงขึ้น ๆ ลง ๆ รวมทั้งมีกระแสลมพัดเขาสูชายฝง
สงผลใหชายฝงเกิดการพังทลาย และมีตะกอนดิน ซากพืช ซากสัตวจํานวนมากทับถม เปนเขต
ที่มีสิ่งมีชีวิตอาศัยอยูมากโดยเฉพาะอยางยิ่งบริเวณนํ้าตื้นใกลขอบหรือริมทะเลสาบ ซึ่งพืชและ
สัตวที่พบจะแตกตางกันขึ้นอยูกับระดับความลึกของแหลงนํ้า
เขตชายฝงสามารถแบงยอยออกเปนอีก 2 เขต คือ
1.1) บริเวณที่อยูระหวางนํ้าขึ้นสูงสุดและนํ้าลงตํ่าสุด(eulittoralzone)
คือเขตที่ติดอยูกับชายฝง ประกอบดวยพืชและสัตวที่สามารถทนตอความแหงแลงไดดี เชน
สาหรายและหอยบางชนิดหรือเปนสัตวพวกที่สามารถขุดรูลงไปอยูในตะกอนที่ชื้นแฉะตลอดเวลา
เขตนี้จะเปนเขตที่มีการเปลี่ยนแปลงมาก ทั้งในเรื่องการเปลี่ยนแปลงตามฤดูกาล คลื่นลม และ
เปนเขตที่เกิดการกัดกรอน (erosion) ไดงายในบางพื้นที่ที่เปนกอนหิน สิ่งมีชีวิตที่จะอยูได
ตองสามารถเกาะกับกอนหินไดอยางหนาแนน หรือไมเชนนั้นก็ตองสามารถขุดรูเขาไปอาศัยใน
กอนหินได
1.2) เขตใตระดับนํ้าขึ้นนํ้าลง (sub littoral zone) เปนเขตที่อยูถัด
จากบริเวณที่อยูระหวางนํ้าขึ้นสูงสุดและนํ้าลงตํ่าสุดลงไป โดยแสงสามารถสองผานเขาถึงได
นอยกวาเมื่อเทียบกับเขตแรก ซึ่งเปนเขตของพืชที่มีราก (rooted vegetation) ในสวนลึกสุด
ของเขตนี้จะมีพืชพวกสาหรายไฟ (Chara sp.) ดีปลีนํ้า (Potamogeton sp.) และพืชชนิดอื่น

More Related Content

What's hot

แบบทดสอบฮอร์โมน
แบบทดสอบฮอร์โมนแบบทดสอบฮอร์โมน
แบบทดสอบฮอร์โมนWichai Likitponrak
 
สรุประบบการย่อยอาหารและการหายใจระดับเซลล์
สรุประบบการย่อยอาหารและการหายใจระดับเซลล์สรุประบบการย่อยอาหารและการหายใจระดับเซลล์
สรุประบบการย่อยอาหารและการหายใจระดับเซลล์กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
ปริมาณทางฟิสิกส์และแรง (Presenttation)
ปริมาณทางฟิสิกส์และแรง (Presenttation)ปริมาณทางฟิสิกส์และแรง (Presenttation)
ปริมาณทางฟิสิกส์และแรง (Presenttation)Jiraporn Taweechaikarn
 
ข้อสอบ O net การงานฯ ม.3 ชุด 1
ข้อสอบ O net การงานฯ ม.3 ชุด 1ข้อสอบ O net การงานฯ ม.3 ชุด 1
ข้อสอบ O net การงานฯ ม.3 ชุด 1Manas Panjai
 
สรุปสมบัติของคลื่น
สรุปสมบัติของคลื่นสรุปสมบัติของคลื่น
สรุปสมบัติของคลื่นNeng Utcc
 
พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต - Behaviore
พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต - Behavioreพฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต - Behaviore
พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต - Behavioresupreechafkk
 
แบบทดสอบเซลล์
แบบทดสอบเซลล์แบบทดสอบเซลล์
แบบทดสอบเซลล์Wichai Likitponrak
 
จมูกลิ้นผิวหนัง
จมูกลิ้นผิวหนังจมูกลิ้นผิวหนัง
จมูกลิ้นผิวหนังWan Ngamwongwan
 
Lesson3 plantgrowth wichaitu62
Lesson3 plantgrowth wichaitu62Lesson3 plantgrowth wichaitu62
Lesson3 plantgrowth wichaitu62Wichai Likitponrak
 
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต 2559
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต   2559บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต   2559
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต 2559Pinutchaya Nakchumroon
 
เฉลยแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 19 ชีววิทยา
เฉลยแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 19 ชีววิทยาเฉลยแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 19 ชีววิทยา
เฉลยแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 19 ชีววิทยาbenzikq
 
ข้อสอบ+เฉลย วิชากลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ปลายภาค ปีการศึกษา 2563 เทอม 1
ข้อสอบ+เฉลย วิชากลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ปลายภาค ปีการศึกษา 2563 เทอม 1ข้อสอบ+เฉลย วิชากลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ปลายภาค ปีการศึกษา 2563 เทอม 1
ข้อสอบ+เฉลย วิชากลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ปลายภาค ปีการศึกษา 2563 เทอม 1AJ. Tor วิศวกรรมแหล่งนํา้
 
ความรู้พื้นฐานทางเคมี
 ความรู้พื้นฐานทางเคมี ความรู้พื้นฐานทางเคมี
ความรู้พื้นฐานทางเคมีnn ning
 

What's hot (20)

การเคลื่อนที่ของคน
การเคลื่อนที่ของคนการเคลื่อนที่ของคน
การเคลื่อนที่ของคน
 
แบบทดสอบฮอร์โมน
แบบทดสอบฮอร์โมนแบบทดสอบฮอร์โมน
แบบทดสอบฮอร์โมน
 
ชีวะ56
ชีวะ56ชีวะ56
ชีวะ56
 
fungi
fungifungi
fungi
 
สรุประบบการย่อยอาหารและการหายใจระดับเซลล์
สรุประบบการย่อยอาหารและการหายใจระดับเซลล์สรุประบบการย่อยอาหารและการหายใจระดับเซลล์
สรุประบบการย่อยอาหารและการหายใจระดับเซลล์
 
หู
หูหู
หู
 
ปริมาณทางฟิสิกส์และแรง (Presenttation)
ปริมาณทางฟิสิกส์และแรง (Presenttation)ปริมาณทางฟิสิกส์และแรง (Presenttation)
ปริมาณทางฟิสิกส์และแรง (Presenttation)
 
เอกภพ กาแล็กซี่ และระบบสุริยะ
เอกภพ กาแล็กซี่ และระบบสุริยะเอกภพ กาแล็กซี่ และระบบสุริยะ
เอกภพ กาแล็กซี่ และระบบสุริยะ
 
ข้อสอบ O net การงานฯ ม.3 ชุด 1
ข้อสอบ O net การงานฯ ม.3 ชุด 1ข้อสอบ O net การงานฯ ม.3 ชุด 1
ข้อสอบ O net การงานฯ ม.3 ชุด 1
 
สรุปสมบัติของคลื่น
สรุปสมบัติของคลื่นสรุปสมบัติของคลื่น
สรุปสมบัติของคลื่น
 
พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต - Behaviore
พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต - Behavioreพฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต - Behaviore
พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต - Behaviore
 
แบบทดสอบเซลล์
แบบทดสอบเซลล์แบบทดสอบเซลล์
แบบทดสอบเซลล์
 
Act2
Act2Act2
Act2
 
21 ใบความรู้ เรื่องแรงเสียดทาน
21 ใบความรู้  เรื่องแรงเสียดทาน21 ใบความรู้  เรื่องแรงเสียดทาน
21 ใบความรู้ เรื่องแรงเสียดทาน
 
จมูกลิ้นผิวหนัง
จมูกลิ้นผิวหนังจมูกลิ้นผิวหนัง
จมูกลิ้นผิวหนัง
 
Lesson3 plantgrowth wichaitu62
Lesson3 plantgrowth wichaitu62Lesson3 plantgrowth wichaitu62
Lesson3 plantgrowth wichaitu62
 
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต 2559
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต   2559บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต   2559
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต 2559
 
เฉลยแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 19 ชีววิทยา
เฉลยแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 19 ชีววิทยาเฉลยแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 19 ชีววิทยา
เฉลยแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 19 ชีววิทยา
 
ข้อสอบ+เฉลย วิชากลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ปลายภาค ปีการศึกษา 2563 เทอม 1
ข้อสอบ+เฉลย วิชากลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ปลายภาค ปีการศึกษา 2563 เทอม 1ข้อสอบ+เฉลย วิชากลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ปลายภาค ปีการศึกษา 2563 เทอม 1
ข้อสอบ+เฉลย วิชากลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics) ปลายภาค ปีการศึกษา 2563 เทอม 1
 
ความรู้พื้นฐานทางเคมี
 ความรู้พื้นฐานทางเคมี ความรู้พื้นฐานทางเคมี
ความรู้พื้นฐานทางเคมี
 

Viewers also liked

9789740335689
97897403356899789740335689
9789740335689CUPress
 
あいにきて IoT
あいにきて IoTあいにきて IoT
あいにきて IoTYuki Higuchi
 
2do boletin emancipacion de la mujer
2do boletin   emancipacion de la mujer2do boletin   emancipacion de la mujer
2do boletin emancipacion de la mujerColectivo chamampi
 
Walden3 twin slideshare 01
Walden3 twin slideshare 01Walden3 twin slideshare 01
Walden3 twin slideshare 01Avi Dey
 
Afl presentation
Afl presentationAfl presentation
Afl presentationannacb19
 
Science and Nature Portfolio
Science and Nature PortfolioScience and Nature Portfolio
Science and Nature Portfolioian cuming
 
Culinary Arts Institute - programme
Culinary Arts Institute - programmeCulinary Arts Institute - programme
Culinary Arts Institute - programmeHasmik Rostomyan
 
Techno-Freedom Seder Haggadah
Techno-Freedom Seder HaggadahTechno-Freedom Seder Haggadah
Techno-Freedom Seder Haggadahmartine
 
A fratura social da República Brasileira
A fratura social da República BrasileiraA fratura social da República Brasileira
A fratura social da República BrasileiraRicardo Rodrigues
 
Stemm new songwrite pingpong & skateboard strengthen k 12
Stemm new songwrite pingpong & skateboard  strengthen k 12Stemm new songwrite pingpong & skateboard  strengthen k 12
Stemm new songwrite pingpong & skateboard strengthen k 12Avi Dey
 
Sage Success Story - Enablis (Australia)
Sage Success Story - Enablis (Australia)Sage Success Story - Enablis (Australia)
Sage Success Story - Enablis (Australia)David Beard
 
Did you really want that data?
Did you really want that data?Did you really want that data?
Did you really want that data?Steve Loughran
 
Videoiden katsominen Suomessa Infograafi
Videoiden katsominen Suomessa InfograafiVideoiden katsominen Suomessa Infograafi
Videoiden katsominen Suomessa InfograafiPekka Tuominen
 

Viewers also liked (16)

9789740335689
97897403356899789740335689
9789740335689
 
あいにきて IoT
あいにきて IoTあいにきて IoT
あいにきて IoT
 
2do boletin emancipacion de la mujer
2do boletin   emancipacion de la mujer2do boletin   emancipacion de la mujer
2do boletin emancipacion de la mujer
 
Leanforms folder panterra
Leanforms folder panterraLeanforms folder panterra
Leanforms folder panterra
 
MSII service global
MSII service globalMSII service global
MSII service global
 
Walden3 twin slideshare 01
Walden3 twin slideshare 01Walden3 twin slideshare 01
Walden3 twin slideshare 01
 
Afl presentation
Afl presentationAfl presentation
Afl presentation
 
Science and Nature Portfolio
Science and Nature PortfolioScience and Nature Portfolio
Science and Nature Portfolio
 
Culinary Arts Institute - programme
Culinary Arts Institute - programmeCulinary Arts Institute - programme
Culinary Arts Institute - programme
 
PJD101 First Class
PJD101 First ClassPJD101 First Class
PJD101 First Class
 
Techno-Freedom Seder Haggadah
Techno-Freedom Seder HaggadahTechno-Freedom Seder Haggadah
Techno-Freedom Seder Haggadah
 
A fratura social da República Brasileira
A fratura social da República BrasileiraA fratura social da República Brasileira
A fratura social da República Brasileira
 
Stemm new songwrite pingpong & skateboard strengthen k 12
Stemm new songwrite pingpong & skateboard  strengthen k 12Stemm new songwrite pingpong & skateboard  strengthen k 12
Stemm new songwrite pingpong & skateboard strengthen k 12
 
Sage Success Story - Enablis (Australia)
Sage Success Story - Enablis (Australia)Sage Success Story - Enablis (Australia)
Sage Success Story - Enablis (Australia)
 
Did you really want that data?
Did you really want that data?Did you really want that data?
Did you really want that data?
 
Videoiden katsominen Suomessa Infograafi
Videoiden katsominen Suomessa InfograafiVideoiden katsominen Suomessa Infograafi
Videoiden katsominen Suomessa Infograafi
 

Similar to 9789740333616

ภูมิศาสตร์มอปลาย
ภูมิศาสตร์มอปลายภูมิศาสตร์มอปลาย
ภูมิศาสตร์มอปลายKroo Mngschool
 
ทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำJiraporn
 
โครงงาน แบงค์
โครงงาน แบงค์โครงงาน แบงค์
โครงงาน แบงค์Aungkana Na Na
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศJira Boonjira
 
Astronomy 03
Astronomy 03Astronomy 03
Astronomy 03Chay Kung
 
ตัวอย่างรายงานโครงงาน
ตัวอย่างรายงานโครงงานตัวอย่างรายงานโครงงาน
ตัวอย่างรายงานโครงงานThanawadee Prim
 

Similar to 9789740333616 (7)

อบรมภาวะโลกร้อน
อบรมภาวะโลกร้อน อบรมภาวะโลกร้อน
อบรมภาวะโลกร้อน
 
ภูมิศาสตร์มอปลาย
ภูมิศาสตร์มอปลายภูมิศาสตร์มอปลาย
ภูมิศาสตร์มอปลาย
 
ทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำ
 
โครงงาน แบงค์
โครงงาน แบงค์โครงงาน แบงค์
โครงงาน แบงค์
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
Astronomy 03
Astronomy 03Astronomy 03
Astronomy 03
 
ตัวอย่างรายงานโครงงาน
ตัวอย่างรายงานโครงงานตัวอย่างรายงานโครงงาน
ตัวอย่างรายงานโครงงาน
 

More from CUPress

9789740337737
97897403377379789740337737
9789740337737CUPress
 
9789740337560
97897403375609789740337560
9789740337560CUPress
 
9789740337478
97897403374789789740337478
9789740337478CUPress
 
9789740337270
97897403372709789740337270
9789740337270CUPress
 
9789740337102
97897403371029789740337102
9789740337102CUPress
 
9789740337096
97897403370969789740337096
9789740337096CUPress
 
9789740337072
97897403370729789740337072
9789740337072CUPress
 
9789740337027
97897403370279789740337027
9789740337027CUPress
 
9789740336914
97897403369149789740336914
9789740336914CUPress
 
9789740336907
97897403369079789740336907
9789740336907CUPress
 
9789740336686
97897403366869789740336686
9789740336686CUPress
 
9789740336457
97897403364579789740336457
9789740336457CUPress
 
9789740336440
97897403364409789740336440
9789740336440CUPress
 
9789740336389
97897403363899789740336389
9789740336389CUPress
 
9789740336280
97897403362809789740336280
9789740336280CUPress
 
9789740336365
97897403363659789740336365
9789740336365CUPress
 
9789740336303
97897403363039789740336303
9789740336303CUPress
 
9789740336242
97897403362429789740336242
9789740336242CUPress
 
9789740336235
97897403362359789740336235
9789740336235CUPress
 
9789740336099
97897403360999789740336099
9789740336099CUPress
 

More from CUPress (20)

9789740337737
97897403377379789740337737
9789740337737
 
9789740337560
97897403375609789740337560
9789740337560
 
9789740337478
97897403374789789740337478
9789740337478
 
9789740337270
97897403372709789740337270
9789740337270
 
9789740337102
97897403371029789740337102
9789740337102
 
9789740337096
97897403370969789740337096
9789740337096
 
9789740337072
97897403370729789740337072
9789740337072
 
9789740337027
97897403370279789740337027
9789740337027
 
9789740336914
97897403369149789740336914
9789740336914
 
9789740336907
97897403369079789740336907
9789740336907
 
9789740336686
97897403366869789740336686
9789740336686
 
9789740336457
97897403364579789740336457
9789740336457
 
9789740336440
97897403364409789740336440
9789740336440
 
9789740336389
97897403363899789740336389
9789740336389
 
9789740336280
97897403362809789740336280
9789740336280
 
9789740336365
97897403363659789740336365
9789740336365
 
9789740336303
97897403363039789740336303
9789740336303
 
9789740336242
97897403362429789740336242
9789740336242
 
9789740336235
97897403362359789740336235
9789740336235
 
9789740336099
97897403360999789740336099
9789740336099
 

9789740333616

  • 1. บทที่ 1 บทนํา ชลชีววิทยา หรือชีววิทยาทางนํ้า (hydrobiology) เปนวิชาที่ศึกษาถึงความสัมพันธ ของสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยูในแหลงนํ้าซึ่งแหลงนํ้าในที่นี่หมายรวมถึงนํ้าจืด(freshwater)นํ้ากรอย (brackish water) และนํ้าเค็ม (sea water) ซึ่งจะเห็นวา ชีววิทยาทางนํ้าเปนวิชาที่มีขอบเขต ในการศึกษากวางมาก ดังนั้น นักวิทยาศาสตรจึงแบงการศึกษาเนื้อหาออกเปน 2 สวน โดยแบง ตามลักษณะของระดับความเค็มในแหลงนํ้าเชนในนํ้าเค็มจะทําการศึกษาในรายวิชาสมุทรศาสตร (oceanography) ซึ่งเปนวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับทะเล มหาสมุทร และกระบวนการตาง ๆ ที่ เกิดขึ้น เชน สิ่งมีชีวิต ระบบการหมุนเวียนของสิ่งแวดลอม คลื่น และพื้นทองนํ้าของมหาสมุทร ขณะที่ชลธีวิทยา (limnology) เปนการศึกษาเรื่องราวในลักษณะเชนเดียวกับสมุทรศาสตร แตกระทําการศึกษาในแหลงนํ้าจืดที่เปนแหลงนํ้าผิวดินที่ไมใชทะเล (inland waters) ทั้ง แหลงนํ้าไหล (lotic water หรือ running water) เชน หวย ลําธาร แมนํ้า และแหลงนํ้านิ่ง (lentic water หรือ standing water) เชน หนอง บึง อางเก็บนํ้า ทะเลสาบนํ้าจืด ทะเลสาบ นํ้าเค็ม และพื้นที่ชุมนํ้า คําวา ชลธีวิทยา มีชื่อภาษาอังกฤษคือ limnology ซึ่งมาจากภาษากรีก เปนการ ผสมกันระหวางคําวา limne ที่แปลวาแหลงนํ้าเล็ก ๆ หรือทะเลสาบ และ logy ที่แปลวา
  • 2. 2 | ชลธีวิทยา (LIMNOLOGY) วิชา รวมความหมายไดวาเปนวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับแหลงนํ้าหรือทะเลสาบ โดยคําวาชลธีวิทยา มีนักวิทยาศาสตรไดใหความหมายไวแตกตางกัน เชน Forel (1841-1912) นักวิทยาศาสตรชาวสวิตเซอรแลนด ที่ถือวาเปนบิดาทาง ชลธีวิทยา ใหความหมายของชลธีวิทยาวา การศึกษานํ้าในทะเลสาบ Edgado Baldi (1899-1951) ไดอธิบายวา ชลธีวิทยา คือ วิทยาศาสตรที่เกี่ยวของ กับวิธีการของสิ่งที่อยู และพลังงานที่จะเกิดการเปลี่ยนแปลงภายในทะเลสาบ Winberg (1963) ใหความหมายของชลธีวิทยาวา การศึกษาถึงการเคลื่อนไหวของ สิ่งมีชีวิตและไมมีชีวิตที่มีความสัมพันธกับแหลงนํ้า Wetzel (2001) อธิบายคําวาชลธีวิทยาวา เปนการศึกษาถึงความสัมพันธระหวาง โครงสรางและหนาที่ของสิ่งมีชีวิตในแหลงนํ้าจืดบนผิวดิน โดยไดรับผลมาจากการเปลี่ยนแปลง สิ่งแวดลอมทั้งทางกายภาพ เคมี และชีวภาพ สวง บุณยวณิชย (2534) นักวิทยาศาสตรของประเทศไทยไดใหความหมายของ ชลธีวิทยาวา เปนวิชาที่ศึกษาถึงนํ้าจืดในแผนดิน ซึ่งมีอิทธิพลตอสิ่งที่มีชีวิตที่อยูอาศัย ซึ่งรวมถึง กระแสนํ้าไหลและกระแสนํ้านิ่ง โดยสรุป คําวาชลธีวิทยาจึงหมายถึง ศาสตรที่ศึกษาถึงแหลงนํ้าจืดบนผิวดิน ทั้ง แหลงนํ้านิ่งและแหลงนํ้าไหล ที่มีอิทธิพลตอความสัมพันธระหวางโครงสรางและหนาที่ของ สิ่งมีชีวิตที่ดํารงชีวิตในแหลงนํ้า นํ้า นํ้าเปนสิ่งสําคัญสําหรับการดํารงชีพของสิ่งมีชีวิตทุกชนิด ไมวาจะเปนพืชหรือสัตว เนื่องจากนํ้าเปนสารประกอบที่มีคุณสมบัติเกี่ยวของกับกิจกรรมภายในรางกายของสิ่งมีชีวิต เชน กระบวนการสรางอาหารโดยการสังเคราะหแสง (photosynthesis) ของพืช กระบวนการ เมแทบอลิซึม (metabolism) และการขับถายของเสีย (excretion) ของสัตว นอกจากนี้ นํ้า ยังเปนตัวกลางที่สําคัญตอการดํารงชีวิตของสัตวนํ้าโดยปริมาณนํ้าที่หมุนเวียนอยูในโลกทั้งหมด ยากที่จะคาดคะเนไดเทาที่ไดมีการประเมินคาดวามีปริมาณ1,385,984,640ลูกบาศกกิโลเมตร คิดเปนนํ้าทะเลประมาณรอยละ 97.54 ที่เหลืออีกรอยละ 2.46 แยกเปนนํ้าที่อยูในธารนํ้าแข็ง และนํ้าแข็งขั้วโลกรอยละ 1.81 และเปนนํ้าใตดินรอยละ 0.63 สวนที่เหลือรอยละ 0.016 หรือประมาณ 22,000 ลูกบาศกกิโลเมตร ซึ่งไดแก นํ้าที่พบในแมนํ้า ลําธาร บึง และทะเลสาบ
  • 3. บทที่ 1 บทนํา | 3 (ตารางที่ 1.1 และรูปที่ 1.1) ดังนั้น นํ้าจืดที่หมุนเวียนใชในระบบนิเวศทั่วไปจึงมีปริมาณ นอยมาก เมื่อเปรียบเทียบกับปริมาณนํ้าทั้งหมดที่มีอยูในโลก และสวนสุดทายคือนํ้าใน บรรยากาศมีประมาณรอยละ 0.001 (Braganza, 2007: 182) ตารางที่ 1.1 ปริมาณนํ้าในอุทกภาค มหาสมุทร นํ้าแข็ง นํ้าใตดิน ทะเลสาบ ลําธาร และแมนํ้าแบงเปน – นํ้าเค็ม – นํ้าจืด บรรยากาศ รวมทั้งสิ้น 97.54 1.81 0.63 0.007 0.009 0.001 99.997 - 73.9 25.7 - 0.36 0.04 100.00 - - 98.4 - 1.4 0.2 100.00 แหลงสะสม คารอยละ ของนํ้าทั้งหมด คารอยละ ของนํ้าจืด คารอยละของนํ้าจืด ที่ไมเปนนํ้าแข็ง ที่มา : Braganza, 2007, p. 182 รูปที่ 1.1 รอยละการใชประโยชนจากแหลงนํ้าจืด ที่มา : Cunningham, Cunningham, & Saigo, 2007, p. 375
  • 4. 4 | ชลธีวิทยา (LIMNOLOGY) ตารางที่ 1.2 เปรียบเทียบปริมาณนํ้าจืดในบริเวณพื้นที่ตาง ๆ ของโลก ปริมาณนํ้าจืดทั้งอยูในรูปนํ้าแข็ง นํ้าใตดิน และนํ้าผิวดิน ที่อยูในบริเวณพื้นที่ตาง ๆ ของโลกนั้นมีปริมาณที่แตกตางกันขึ้นอยูกับลักษณะภูมิอากาศและภูมิประเทศ (ตารางที่ 1.2) จะเห็นไดวาแหลงนํ้าจืดแมมีปริมาณนอยแตมีความสําคัญยิ่งตอมนุษย ทั้งเปนแหลงอุปโภค บริโภค แหลงทําการเกษตร และอุตสาหกรรม หรืออาจกลาวไดวานํ้าจืดเปนสวนหนึ่งของการ ดําเนินชีวิตของมนุษย แตถามีปริมาณนํ้ามากเกินไป (เกิดอุทกภัย) หรือนอยเกินไป (เกิดความ แหงแลง) ก็จะสงผลในดานลบตอมนุษยดวยเชนกัน นอกจากนี้ กิจกรรมของมนุษยในปจจุบัน กอใหเกิดขยะและนํ้าทิ้งลงสูแหลงนํ้าจํานวนมาก สงผลทําใหคุณภาพนํ้าในแหลงนํ้าจืดลดลง แหลงนํ้าเนาเสีย จนมนุษยไมสามารถนํามาใชประโยชนได ในอนาคตคาดการณวาความตองการ นํ้าจืดของมนุษยจะมีแนวโนมสูงขึ้น ซึ่งอาจสงผลใหเกิดวิกฤติการขาดแคลนนํ้าจืดในโลกของ เราได (รูปที่ 1.2) ทวีปอเมริกาเหนือ ทวีปอเมริกาใต ทวีปยุโรป ทวีปแอฟริกา ทวีปเอเชีย ทวีปออสเตรเลีย ทวีปแอนตารกติกา (ขั้วโลกใต) มหาสมุทรอารกติก (ขั้วโลกเหนือ) 90,000 900 18,216 0.2 60,984 180 30,109,800 2,600,000 27,003 ไมทราบแนชัด 2,529 31,776 30,622 221 - - 4,300,000 3,000,000 1,600,000 5,500,000 7,800,000 1,200,000 - - ปริมาณนํ้า (ลูกบาศกกิโลเมตร) นํ้าใตดินแหลงนํ้าผิวดินนํ้าแข็งและธารนํ้าแข็ง ที่มา : Diop, M'mayi, & Lisbjerg, 2002, p. 7
  • 5. บทที่ 1 บทนํา | 5 รูปที่ 1.2 แนวโนมวิกฤติการนํ้าจืดของโลกในอนาคต ที่มา : Wetzel, 2001, p. 2 นํ้าที่ปรากฏอยูตามแหลงตางๆทั่วโลกเรานี้จะมีการถายเทหมุนเวียนกันตามธรรมชาติ ซึ่งเราเรียกวา วัฏจักรของนํ้า (water cycle หรือ hydrologic cycle) ซึ่งวัฏจักรของนํ้า จัดเปนหนึ่งในกระบวนการพื้นฐานที่มีในธรรมชาติ โดยความรอนจากแสงอาทิตยหรือจาก ปจจัยอื่น ๆ จะทําใหนํ้าที่อยูในมหาสมุทร แมนํ้า ทะเลสาบ ดิน ระเหยสูอากาศกลายเปนไอ (evaporation) กลไกนี้เกิดขึ้นเนื่องจากโมเลกุลของนํ้าซึ่งจะเคลื่อนยายอยูเสมอ ถาอุณหภูมิ มากกวา -237.3 องศาเซลเซียส เมื่ออุณหภูมิเพิ่มขึ้นโมเลกุลของนํ้าจะเคลื่อนตัวทําใหสามารถ หลุดลอยเขาสูบรรยากาศไดมากขึ้น นอกจากนี้ ไอนํ้าในโลกของเราอาจเกิดจากการคายนํ้าของ พืช (transpiration) ไดอีกทางหนึ่งดวย เมื่อไอนํ้าลอยตัวสูบรรยากาศจะเย็นตัวลง และเปลี่ยนสภาพจากไอนํ้ากลายเปน ของเหลวหรือนํ้าแข็ง (condensation) ซึ่งกระบวนการเปลี่ยนสภาพของไอนํ้าเปนของเหลวนี้ เกิดจากการที่ไอนํ้าเคลื่อนตัวมาปะทะกันทําใหเพิ่มขนาดและนํ้าหนัก จนกระทั่งถูกแรงดึงดูด ของโลกดึงใหตกลงสูพื้นดินในรูปของฝน สวนกระบวนการเปลี่ยนสภาพของไอนํ้าเปนของแข็ง เกิดจากเมฆมีความเย็นจัดจนกระทั่งละอองนํ้าบางสวนแปลสภาพเปนเกล็ดนํ้าแข็งแตเนื่องจาก ความดันอากาศรอบ ๆ ละอองนํ้ามีมากกวาบริเวณรอบ ๆ เกล็ดนํ้าแข็ง จึงทําใหเกิดแรงดัน เอาละอองนํ้าเขามารวมตัวกับเกล็ดนํ้าแข็ง เมื่อละอองนํ้าที่เคลือบเกล็ดนํ้าแข็งมีการระเหยไป ความรอนที่ถูกใชไปสงผลใหละอองนํ้าที่เคลือบบนเกล็ดนํ้าแข็งกลายเปนนํ้าแข็ง สงผลใหเกล็ด นํ้าแข็งมีขนาดใหญมากขึ้น ปรากฏการณนี้จะเกิดขึ้นเรื่อย ๆ จนนํ้าแข็งมีนํ้าหนักมากพอที่ แรงดึงดูดของโลกดึงใหตกลงสูพื้นดินในรูปของหิมะ
  • 6. 6 | ชลธีวิทยา (LIMNOLOGY) เมื่อนํ้าฝนหรือหิมะตกลงบนผิวโลกแลว เราจะพบวา นํ้าบางสวนจะซึมหายลงไป ในดิน (infiltration) ซึ่งอาจจะถูกพืชดูดไปใชตอ ขณะที่บางสวนจะซึมหายลงไปจนถึงแหลงนํ้า ใตดิน หรืออาจจะไหลลงสูลําธาร แมนํ้า หรือมหาสมุทร นอกจากนี้ นํ้าบางสวนจะระเหยกลาย เปนไอกลับคืนสูสภาพอากาศอีกครั้งปริมาณการหมุนเวียนของนํ้านี้ไดมีผูคํานวณไววามีประมาณ 14,200ลูกบาศกกิโลเมตรตอปปริมาณนํ้าที่หมุนเวียนโดยสวนใหญจะเกิดขึ้นบริเวณมหาสมุทร โดยหยาดนํ้าฟา(ฝนหิมะหรือลูกเห็บ)ที่มีอยูในมหาสมุทรมีปริมาณ385,000ลูกบาศกกิโลเมตร ซึ่งมีมากกวาปริมาณนํ้าที่มีอยูเหนือแผนดินที่มีเพียง110,000ลูกบาศกกิโลเมตร(Cunningham, Cunningham, & Saigo, 2007: 67) (รูปที่ 1.3) สําหรับฝนที่เกิดในประเทศไทย เกิดจาก การพัดพาเอาไอนํ้าปริมาณมากจากทะเลและมหาสมุทรเขามาตามรองของลมมรสุมที่พัดผาน แผนดินใหญ เมื่อไอนํ้ามาพบกับความเย็นของอากาศเหนือผิวดิน กับฝุนละอองที่ปนเปอนใน อากาศ ทําใหเกิดฝนที่มีขนาด 0.02 นิ้ว ขึ้นไป และอาจมีขนาดใหญถึง 6.4 มิลลิเมตร (นาถลดา สาลีนุกุล, 2544 : 35) รูปที่ 1.3 วัฏจักรนํ้า
  • 7. บทที่ 1 บทนํา | 7 แหลงนํ้าผิวดิน (surface water) เปนสวนหนึ่งของวัฏจักรนํ้า โดยเกิดจากหยาด นํ้าฟาที่ตกลงมา และมีการสะสมตัวกันอยูบริเวณพื้นดิน ซึ่งหยาดนํ้าฟาที่ตกลงมาในระยะแรก พบวานํ้ามักจะซึมลงไปในดินกอนจนกระทั่งดินอิ่มตัวแลวจึงมีนํ้าแชขังกลายเปนลุมนํ้า หรือ แหลงนํ้า โดยนํ้าผิวดินภายในโลกของเราจะไหลจากที่สูงลงมาที่ตํ่า หรือจะไปรวมกันลงสู มหาสมุทรนั่นเอง โดยนํ้าบางสวนอาจจะถูกกักชั่วคราวตามบึงหรือทะเลสาบ และนํ้าบางสวน กลับกลายเปนไอกอนจะไหลกลับลงสูมหาสมุทร เราสามารถแบงประเภทของแหลงนํ้าผิวดิน ไดตามระดับความเค็มในนํ้า ไดแก นํ้าเค็ม นํ้ากรอย และนํ้าจืด โดยแหลงนํ้าจืดนั้นยังแบงออก ไดตามลักษณะของกระแสนํ้าไดออกเปน 2 ชนิด คือ แหลงนํ้านิ่งและแหลงนํ้าไหล นํ้าจากหยาดนํ้าฟาที่ตกลงมาสูพื้นผิวโลกเมื่อถูกกักเก็บในแหลงนํ้าผิวดินนํ้าบางสวน จะไหลซึมลงสูใตดินกลายเปนนํ้าใตดินซึ่งแบงออกเปนนํ้าในดิน (soil water) และนํ้าบาดาล (ground water) โดยนํ้าผิวดินที่ไหลซึมลงสูใตดินสวนแรกจะไหลซึมอยูตามชองวางระหวาง เม็ดดิน เรียกวา นํ้าในดิน ซึ่งนํ้าในดินสามารถแบงออกไดเปน 4 ชนิด คือ 1) นํ้าที่เปนองคประกอบทางเคมี (chemical combined water) เปนความชื้น ที่แทรกอยูในอนุภาคของเม็ดดิน และสามารถทําปฏิกิริยากับแรธาตุที่อยูในดินได นํ้าประเภทนี้ รากพืชไมสามารถดูดไปใชประโยชนไดเนื่องจากมีนอย และแรงยึดเกาะติดกับแรแข็งแรงมาก 2) นํ้าซึมหรือนํ้าอิสระ (gravitational water หรือ free water) คือนํ้าที่ซึมอยู ระหวางเม็ดดิน แตไมไดอยูภายใตแรงดึงดูดของอนุภาคดินจึงมีอิสระที่จะไหลไปตามแรงดึงดูด ของโลก รากพืชจึงดึงดูดไปใชประโยชนไดเพียงบางสวน และยังทําใหเกิดการชะพาธาตุอาหาร พืชลงไปยังดินชั้นลาง 3) นํ้าเยื่อ (hygroscopic water) เปนนํ้าที่อนุภาคดินดูดจับเอาไวที่ผิวภายนอก ในลักษณะที่เปนเยื่อบาง ๆ ดวยแรงที่สูงไมตํ่ากวา 31 บรรยากาศ นํ้าเยื่อเปนสวนที่รากพืช ยังไมสามารถดูดไปใชประโยชนไดเชนกัน 4) นํ้าซับ (capillary water) เปนนํ้าที่อนุภาคดินดูดยืดไวที่ผิวภายนอกอยูถัด จากนํ้าเยื่อ เปนนํ้าที่ซึมซับอยูตามผิวอนุภาคของเม็ดดิน บางครั้งจะซึมอยูเต็มชองวางของเม็ดดิน โดยทั่วไปดินจะดูดยืดนํ้าสวนนี้ไวดวยแรงประมาณ 0.3-31 บรรยากาศ และแรงดึงดูดของโลก ไมสามารถทําใหนํ้าสวนนี้เคลื่อนที่ลงไปได (Waugh, 2002: 267) โดยนํ้าซับเปนนํ้าที่ รากพืชสามารถนํามาใชในการเจริญเติบโตไดถานํ้าซับในดินมีปริมาณนอยจนถึงจุดหนึ่งจะสงผล ใหพืชเหี่ยวเฉาอยางถาวร หรือเรียกวา จุดเหี่ยวถาวร (permanent wilting point)
  • 8. 8 | ชลธีวิทยา (LIMNOLOGY) รูปที่ 1.4 คุณลักษณะของนํ้าในดิน ขณะที่นํ้าบาดาล (ground water) คือนํ้าที่อยูบริเวณตํ่าลงมาจากนํ้าในดิน โดย ระดับบนสุดของนํ้าบาดาลจะเปนระดับนํ้าใตดิน (water table) ซึ่งจะเปนพื้นผิว หรือแนว ระดับนํ้าใตผิวดินที่อยูระหวางเขตอิ่มนํ้ากับเขตอิ่มอากาศ(บริเวณที่มีอากาศถายเทได)ณระดับ นํ้าใตดินนี้แรงดันนํ้าในชั้นหินหรือในชั้นตะกอนจะเทากับแรงดันของบรรยากาศและในตําแหนง ที่ลึกลงไปจากระดับนํ้าใตดิน แรงดันของนํ้าจะเพิ่มมากขึ้นเนื่องจากนํ้าหนักของนํ้าที่กดทับอยู ระดับนํ้าใตดินนี้จะเปลี่ยนแปลงขึ้นลงไปตามฤดูกาล โดยในฤดูแลงระดับนํ้าใตดินจะอยูลึกกวา ระดับปกติ ระดับนํ้าใตดินสวนใหญจะเอียงเทหรือวางตัวสอดคลองไปตามลักษณะภูมิประเทศ และจะไปบรรจบกับระดับนํ้าในแมนํ้าหรือทะเลสาบ ซึ่งปกติแลวระดับนํ้าในแหลงนํ้าผิวดินจะ มีคาเทากับระดับนํ้าใตดิน โดยปจจัยที่มีผลตอปริมาณนํ้าในแหลงนํ้าผิวดินมีหลายปจจัย เชน ชนิดของหิน รอยแตก ริ้วขนาน (foliation) ชนิดของดิน ความสูงตํ่าของพื้นที่ ชนิด และ ปริมาณพืช ปริมาณและความถี่ของหยาดนํ้าฟาที่ตกลงมา และสภาพภูมิอากาศที่มีผลตออัตรา การระเหยของนํ้า การใชประโยชนที่ดินของมนุษยบางอยางมีผลกระทบตอการระเหย นํ้าไหลลน และอัตราการซึมลงดินของนํ้าในวัฏจักรนํ้า เชน กรณีการใชนํ้าระบายความรอนในโรงงาน อุตสาหกรรม หรือการใชนํ้าสําหรับการเกษตร ทําใหอัตราการระเหยของนํ้าสูงขึ้น การระเหย ของนํ้าอยางรวดเร็วนี้มีผลกระทบตอสภาพบรรยากาศหรือทําใหภูมิอากาศเปลี่ยนแปลงบริเวณ เขตชุมชนเมืองซึ่งมีถนนและทางระบายนํ้าจํานวนมาก นํ้าที่ไหลบนสิ่งเหลานี้มีสวนทําให ปริมาณนํ้าไหลลนเพิ่มมากขึ้น และสิ่งเหลานี้ยังกีดขวางการซึมลงดินของนํ้า หรือทําใหนํ้าซึมลง
  • 9. บทที่ 1 บทนํา | 9 ใตดินไดนอยลง การซึมลงดินของนํ้ามีผลกระทบตอกิจกรรมการใชประโยชนจากนํ้าของมนุษย อยางมาก เชน ความตองการใชนํ้าบาดาลของชุมชนเมืองมีปริมาณสูง แตการซึมลงไปทดแทน ของนํ้าใตดินมีนอยลง ยอมทําใหความตองการใชนํ้ากับปริมาณนํ้าบาดาลที่มีอยูไมสมดุลกัน อาจทําใหเกิดการขาดแคลนนํ้าได แหลงนํ้านิ่ง แหลงนํ้านิ่งเปนแหลงนํ้าปด (closed water body) ที่อาจมีทางติดตอกับแมนํ้า ลําธาร หรือบริเวณที่มีนํ้าทวมถึง ซึ่งในแหลงนํ้านิ่งบางแหงอาจไดรับนํ้าจากนํ้าฝนแตเพียงอยาง เดียวเทานั้น แตบางแหงก็สามารถไดรับนํ้าจากการไหลลงมาโดยลําธาร หรือจากการทวมของ แมนํ้า แหลงนํ้านิ่งจะไมมีการขึ้นลงของนํ้าซึ่งนํ้าจะสามารถเคลื่อนที่ไดสวนใหญเกิดจากกระแสลม จากการประเมินของ Lehnera, & Döll (2004: 1-22) พบวา แหลงนํ้านิ่งที่เปนหนอง บึง พื้นที่ชุมนํ้าและทะเลสาบที่พบสวนใหญในโลกจะมีขนาดพื้นที่อยูระหวาง1-10ตารางกิโลเมตร โดยมีจํานวนถึง 155,230 แหง กินพื้นที่รวม 412,900 ตารางกิโลเมตร แตเมื่อเปรียบเทียบ กับขนาดพื้นที่รวมแลวจะพบวาทะเลสาบขนาดใหญที่มีพื้นที่มากกวา 100 ตารางกิโลเมตร ที่มีจํานวนเพียง 1,452 แหง จะมีความจุนํ้าจํานวนมหาศาล เนื่องจากมีพื้นที่รวมถึง 1,573,400 ตารางกิโลเมตร จากพื้นที่รวมของทะเลสาบที่มีอยูในโลกทั้งหมด 2,428,100 ตารางกิโลเมตร (รูปที่ 1.5) โดยแหลงนํ้านิ่งที่เปนนํ้าจืดที่มีขนาดใหญที่สุดในโลก ไดแก ทะเลสาบสุพีเรีย (Superior) อยูระหวางประเทศสหรัฐอเมริกาและแคนาดา ขณะที่ทะเลสาบไบคาล (Baikal) ของประเทศรัสเซีย เปนทะเลสาบนํ้าจืดที่ลึกที่สุดซึ่งมีปริมาณนํ้าถึงรอยละ 20 ของแหลงนํ้า ผิวดินของโลก (Day, 2009: 80) ในทวีปเอเชียพบวา ทะเลสาบโตนเลสาบ (Tonle Sap) ใน ประเทศกัมพูชาเปนทะเลสาบนํ้าจืดที่มีขนาดใหญที่สุดขณะที่ในประเทศไทยพบวาแหลงนํ้านิ่งที่ เปนนํ้าจืดที่มีขนาดใหญที่สุดไดแกบึงบอระเพ็ดที่ตั้งอยูในเขตจังหวัดนครสวรรคซึ่งแหลงนํ้านิ่ง ที่มีขนาดรองลงมาไดแกทะเลสาบหนองหานในจังหวัดสกลนครและบึงละหานในจังหวัดชัยภูมิ ตามลําดับ (ตารางที่ 1.3)
  • 10. 10 | ชลธีวิทยา (LIMNOLOGY) รูปที่ 1.5 จํานวนทะเลสาบขนาดตาง ๆ ที่มีอยูในโลก ที่มา : Lehnera & Döll, 2004, pp. 12, 15 ตารางที่ 1.3 แหลงนํ้านิ่งที่เปนนํ้าจืดขนาดใหญของโลก ดัดแปลงจาก Manjunath, 2009, p. 22; Baran, 2005, p. 9; Netpae and Phalaraksh, 2009, p. 196 สุพีเรีย ฮูรอน มิชิแกน เกรตแบร เกรตสเลฟ อิรี ออนแทรีโอ ตีตีกากา แทนกันยีกา มาลาวี ไบคาล ลาโดกา โตนเลสาบ บึงบอระเพ็ด อเมริกาเหนือ อเมริกาเหนือ อเมริกาเหนือ อเมริกาเหนือ อเมริกาเหนือ อเมริกาเหนือ อเมริกาเหนือ อเมริกาใต แอฟริกา แอฟริกา ยุโรป ยุโรป เอเชีย เอเชีย สหรัฐอเมริกาและแคนาดา สหรัฐอเมริกาและแคนาดา สหรัฐอเมริกา แคนาดา แคนาดา สหรัฐอเมริกาและแคนาดา สหรัฐอเมริกาและแคนาดา เปรูและโบลิเวีย สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก แทนซาเนีย แซมเบีย และบุรุนดี มาลาวี แทนซาเนีย และโมซัมบิก รัสเซีย รัสเซีย กัมพูชา ไทย 82,414 59,600 58,016 31,790 27,200 25,745 19,529 8,372 32,900 29,604 31,500 17,891 15,800 212.38 405 229 281 396 617 64 244 284 1,470 695 1,741 230 10 5 ทะเลสาบ ทวีป ประเทศ พื้นที่ (ตารางกิโลเมตร) ลึกสูงสุด (เมตร)
  • 11. บทที่ 1 บทนํา | 11 1. การเกิดของทะเลสาบและแหลงนํ้านิ่ง ทะเลสาบและแหลงนํ้านิ่งในโลกของเรากําเนิดขึ้นมาไดมาจากหลายสาเหตุ ซึ่ง สวนใหญเกี่ยวของกับปรากฏการณที่เกิดขึ้นทางธรณีวิทยา เราสามารถแบงสาเหตุการกําเนิด ไดหลายสาเหตุดังตอไปนี้ 1) ทะเลสาบที่เกิดขึ้นจากการเคลื่อนไหวของเปลือกโลก (tectonic basin) ทะเลสาบชนิดนี้เกิดจากการที่เปลือกโลกสวนที่อยูใตโลกเกิดการโคงงอ กดกระแทก แตกหัก เนื่องจากแผนดินไหว หรือการยุบตัวของผิวโลก ทําใหเกิดรอยเลื่อนหรือรอยเหลื่อม (faulting) ในเวลาตอมาเมื่อมีนํ้าขังจะกอใหเกิดเปนทะเลสาบ (รูปที่ 1.6 ก.) โดยทะเลสาบที่มีตนกําเนิด แบบนี้จะมีความลาดชันสูง และมีความลึกมาก เชน ทะเลสาบทาโฮ (Tahoe) ที่อยูในประเทศ สหรัฐอเมริกา และทะเลสาบไบคาลของประเทศรัสเซีย (รูปที่ 1.6 ข.) รูปที่ 1.6 ทะเลสาบที่เกิดขึ้นจากการเคลื่อนไหวของเปลือกโลก โดย ก. ลักษณะการเกิดรอยเลื่อนที่กอใหเกิดทะเลสาบ ข. ทะเลสาบไบคาล ประเทศรัสเซีย ที่มา : Wetzel, 2001, p. 24; Dando, & Gritzner, 2007, p. 29 2) ทะเลสาบที่เกิดจากการระเบิดของปลองภูเขาไฟ (lakes formed by volcanicactivity) เกิดไดจากการที่ลาวาจากภูเขาไฟไปกั้นทางนํ้าทําใหเกิดแหลงนํ้า(รูปที่1.7ก.) หรืออาจเกิดจากบริเวณขอบปลองภูเขาไฟมีลักษณะเหมือนเปนเขื่อนกั้นนํ้า เมื่อฝนตกลงมาจึง มีนํ้าขังเกิดเปนแหลงนํ้า (รูปที่ 1.7 ข.) ทะเลสาบที่มีตนกําเนิดแบบนี้จะไมมีทางไหลเขาของนํ้า นํ้าที่มีในทะเลสาบ จะไดมาจากฝนตกหรือหิมะละลาย โดยทะเลสาบที่อยูในปลองของภูเขาไฟ
  • 12. 12 | ชลธีวิทยา (LIMNOLOGY) รูปที่ 1.7 ทะเลสาบที่เกิดจากการระเบิดของปลองภูเขาไฟ โดย ก. ทะเลสาบที่เกิดจากการกั้นทางนํ้าของลาวาภูเขาไฟ ข. ทะเลสาบที่ตั้งอยูบนปลองภูเขาไฟ (ทะเลสาบเคลิมูตู ประเทศอินโดนีเซีย) ที่มา : Wetzel, 2001, p. 25; Pirajno, 2009, p. 14 3) ทะเลสาบที่เกิดจากธารนํ้าแข็ง (lakes formed by glacial) เกิดจาก การแตกหักและการละลายของธารนํ้าแข็งในยุคนํ้าแข็งสมัยไพลสโตซีน (pleistocene) สงผล ใหธารนํ้าแข็งมีการเคลื่อนตัวโดยนํ้าที่ละลายจากธารนํ้าแข็งจะกลายเปนแองนํ้าหรือลําธาร (รูปที่ 1.8 ก.) และเมื่อเกิดการละลายของธารนํ้าแข็งมากขึ้น นํ้าที่ละลายจะตกลงมาเปนนํ้าตก พัดเอาเศษกรวดหินเคลื่อนไปกับกระแสนํ้ามารวมตัวกันเปนสันกั้นรองรับนํ้า (รูปที่ 1.8 ข.) และ ทายที่สุดเมื่อนํ้าแข็งจากธารนํ้าแข็งละลายหมดก็จะกอเกิดทะเลสาบในที่สุด (รูปที่ 1.8 ค.) โดย ทะเลสาบเกิดจากปฏิกิริยาของนํ้าแข็งสวนใหญมีลักษณะเปนกลุมทะเลสาบ(kettle)เปนทะเลสาบ เล็ก ๆ จํานวนมากอยูใกลกัน เชน ทะเลสาบสุพีเรีย ทะเลสาบมิชิแกน (Michigan) และ ทะเลสาบฮูรอน (Huron) ทะเลสาบอิรี (Erie) และทะเลสาบออนแทรีโอ (Ontario) บริเวณ รอยตอประเทศสหรัฐอเมริกาและแคนาดา ที่ยังมีพลังจะพบวานํ้าในทะเลสาบจะมีสภาพเปนกรด เต็มไปดวยแกสภูเขาไฟ และมีสีเขียวเขม ขณะที่ทะเลสาบที่ตั้งอยูในปลองภูเขาไฟที่เย็นตัวลง หรือภูเขาไฟที่ดับสนิทแลว นํ้าในทะเลสาบ มักจะมีนํ้าที่ใส ถาไมมีการปนเปอนจากสภาวะแวดลอมภายนอก ตัวอยางของทะเลสาบที่มี ตนกําเนิดแบบนี้เชนทะเลสาบเคลิมูตู(Kelimutu)ประเทศอินโดนีเซียและทะเลสาบพินาตูโบ (Pinatubo) ฟลิปปนส
  • 13. บทที่ 1 บทนํา | 13 รูปที่ 1.8 ทะเลสาบเกิดจากปฏิกิริยาของนํ้าแข็ง โดย ก. การเคลื่อนตัวของธารนํ้าแข็ง ข. การเกิดสันกั้นนํ้า ค. การเกิดทะเลสาบ ที่มา : Carlson, 2007, p. 5 4) ทะเลสาบที่เกิดจากการละลายของการกัดเซาะของพื้นที่ที่ละลายนํ้าได (solution lakes) ในพื้นที่หินปูนที่มีนํ้าไหลผาน นํ้าจะเขาไปทําปฏิกิริยาทางเคมีทําใหหินปูน ละลายเปนโพรงผุกรอน ละลายหินปูนออกมา เมื่อระยะเวลาผานไปจะเกิดการยุบตัวกลายเปน แหลงนํ้าในที่สุด ทะเลสาบที่มีตนกําเนิดแบบนี้ในประเทศไทยสามารถพบได เชน หนองหาร จังหวัดสกลนคร หนองหานกุมภวาป จังหวัดอุดรธานี และหนองบอ จังหวัดมหาสารคาม ซึ่งเกิดจากการยุบตัวของแผนเปลือกโลก อันเนื่องมาจากการถูกชะลางของชั้นหินเกลือใตดิน (NaCl) จนเกิดโพรงขนาดใหญ สงผลใหเกิดการพังทลายยุบตัวลงเปนหนองนํ้าในเวลาตอมา (เพียงตา สาตรักษ และคณะ, 2547 : 49)
  • 14. 14 | ชลธีวิทยา (LIMNOLOGY) รูปที่ 1.9 ทะเลสาบที่เกิดจากการละลายของการกัดเซาะของพื้นที่ที่ละลายนํ้าได ก. การยุบตัวของพื้นดินเนื่องจากการละลายของชั้นหินปูนใตดิน ข. การพังทลายของพื้นดินเนื่องจากชองวางใตดินรวมกับการละลายของชั้น หินปูนใตดิน ที่มา : Kasenow, 2001, pp. 45-46 5) ทะเลสาบที่เกิดจากลม (lakes formed by wind) ในพื้นที่บางแหงของ ประเทศที่มีลมพัดแรงเชนประเทศนิวซีแลนดและออสเตรเลียเมื่อมีลมพัดทรายหรือตะกอนดิน ออกไปจากบริเวณที่เคยมีอยูไปทับถมเปนเนินปดกั้นทางเดินจะสงผลใหเกิดเปนแหลงสะสมนํ้า หรือทะเลสาบเนินทราย (dune lake) ขึ้นได โดยสวนใหญแหลงนํ้าประเภทนี้จะมีขนาดใหญ แตระดับนํ้าภายในทะเลสาบจะตื้น และพบไดมากอยูตามแนวชายฝง โดยปริมาณนํ้าจากแหลง นํ้าสวนใหญจะสูญเสียไปจากการระเหย ตัวอยางของแหลงนํ้าเกิดจากลม เชน ทะเลสาบคูลอง (Coorong) ประเทศออสเตรเลีย (รูปที่ 1.10)
  • 15. บทที่ 1 บทนํา | 15 รูปที่ 1.10 ทะเลสาบที่เกิดจากลม (ทะเลสาบคูลอง ประเทศออสเตรเลีย) ที่มา : Prosser, 2011, pp. 129-130 6) ทะเลสาบที่เกิดจากแมนํ้า (lakes formed by rivers) ทะเลสาบที่มี ตนกําเนิดแบบนี้เกิดบริเวณลํานํ้าของแมนํ้า ลําคลองที่ความคดเคี้ยวมาก หรือบริเวณที่ลํานํ้า ขนาดเล็กที่เชื่อมตอกับลํานํ้าที่มีขนาดใหญกวา โดยการเกิดทะเลสาบเริ่มตนจากการที่ลําธาร หรือแมนํ้าถูกกัดเซาะสงผลใหเกิดอนุภาคตาง ๆ แขวนลอยอยูในนํ้าจํานวนมาก เมื่อกระแสนํ้า ของแหลงนํ้าเกิดชาลงจะทําใหสารแขวนลอยเหลานี้ตกตะกอน เปลี่ยนเสนทางนํ้าของลํานํ้าที่ โคงตวัด (meander) จากการไหลตามแนวโคงเดิมเปนตัดตรง ทําใหลํานํ้าโคงเดิมถูกตัดขาด เกิดเปนบึง หรือทะเลสาบรูปแอก (oxbow lake) เชน บึงสีไฟ ในจังหวัดพิจิตร ที่เกิดจากการ เปลี่ยนทางนํ้าของแมนํ้านาน
  • 16. 16 | ชลธีวิทยา (LIMNOLOGY) รูปที่ 1.11 กระบวนการเกิดทะเลสาบรูปแอก (แมนํ้ามอนแทนา ประเทศสหรัฐอเมริกา) ที่มา : Thompson & Turk, 2006, p. 269 7) ทะเลสาบที่เกิดจากแผนดินถลม(lakesformedbylandslides)จะเกิด ขึ้นในบริเวณหุบเขาที่มีดินปนทรายมาก เมื่อฝนตกชุกทําใหมีการพังทลายของดินทรายและหิน จากเนินเขามากั้นทางเดินนํ้า และกลายเปนแหลงนํ้าในที่สุด เชน ทะเลสาบซาเรซ (Sarez) ใน ประเทศทาจิกิสถานเปนทะเลสาบที่เกิดจากแผนดินถลมเปนผลสืบเนื่องจากการเกิดแผนดินไหว ครั้งใหญ สงผลใหเกิดเขื่อนดินธรรมชาติกั้นแมนํ้ามูรกาบ (Murgab) จนเกิดเปนทะเลสาบ ในที่สุด (รูปที่ 1.12) รูปที่ 1.12 ทะเลสาบที่เกิดจากแผนดินถลม (ทะเลสาบซาเรซ ประเทศทาจิกิสถาน) ที่มา : Sassa et al., 2013, p. 194 ทะเลสาบ ซาเรซ ทะเลสาบซาเรซ เขื่อนธรรมชาติ แผนดินถลมแผนดินถลมแผนดินถลม
  • 17. บทที่ 1 บทนํา | 17 8) แหลงนํ้าที่เกิดจากการกระแทกของลูกอุกกาบาต (lakes formed by meteor impact) จะพบมากในภูมิภาคแถบอบอุน โดยเกิดจากการกระแทกของลูกอุกกาบาต ทําใหเกิดการยุบตัวของแผนดิน และกลายเปนแหลงนํ้าในที่สุด เชน ทะเลสาบโบซัมทวี (Bosumtwe) ประเทศกานาที่เปนทะเลสาบที่เกิดจากการชนของอุกกาบาตเมื่อประมาณ 1.07 ลานปกอน (รูปที่ 1.13 ก.) และทะเลสาบคาราคูล (Karakul) ประเทศทาจิกิสถานที่เกิดจาก หลุมอุกกาบาตเมื่อประมาณ 25 ลานปที่แลว (รูปที่ 1.13 ข.) 9) ทะเลสาบที่เกิดจากตะกอนที่ทับถมกันตามชายฝง (lake developed from shoreline action) เมื่อกระแสนํ้าพัดพาทรายมาตกตะกอนทับถมกันบริเวณปากอาวที่ ไมเสมอกันเปนเวลานาน ๆ ทําใหเหมือนเปนทํานบปดกั้นนํ้าในอาว และกลายเปนแหลงนํ้า ในที่สุด (รูปที่ 1.14 ก.) ตัวอยางของทะเลสาบที่มีตนกําเนิดแบบนี้ เชน ทะเลสาบการริสัน (Garrison)ของประเทศสหรัฐอเมริกาที่เกิดจากการที่กระแสนํ้าชายฝงทะเลโอเลกอน พัดทราย มาที่ชายฝงจนเกิดเนินทรายกั้นบริเวณปากนํ้า (รูปที่ 1.14 ข.) รูปที่ 1.13 ทะเลสาบที่เกิดจากการกระแทกของลูกอุกกาบาต โดย ก. ทะเลสาบโบซัมทวี ประเทศกานา ข. ทะเลสาบคาราคูล ประเทศทาจิกิสถาน ที่มา : Schluter, 2008, p. 119 และ Nicholson, 2011, p. 1
  • 18. 18 | ชลธีวิทยา (LIMNOLOGY) รูปที่ 1.14 ทะเลสาบที่เกิดจากตะกอนที่ทับถมกันตามชายฝง ก. ลักษณะเนินทรายที่เกิดจากตะกอนทับถมตามชายฝง ข. ทะเลสาบการริสัน ประเทศสหรัฐอเมริกา ที่มา : Wetzel, 2001, p. 33 และ Bennett, 2008 10) ทะเลสาบที่เกิดจากสิ่งมีชีวิต (biogenic lakes) เชน บอนํ้าที่เกิดจาก ตัวบีเวอรนํากิ่งไมและหินมาสรางที่อยูอาศัย และเก็บอาหารมาขวางกั้นทางเดินนํ้าทําใหเกิด แหลงนํ้าในที่สุด (รูป 1.15 ก.) รวมทั้งการสรางเขื่อนและอางเก็บนํ้าของมนุษยทําใหพื้นที่ เหนือเขื่อนหรือในอางเก็บนํ้าเปนแหลงนํ้า เชน เขื่อนภูมิพล จังหวัดตาก (รูป 1.15 ข.) และ เขื่อนอุบลรัตน จังหวัดขอนแกน นอกจากนี้ การสรางเครื่องมือในการเปลี่ยนทิศทางนํ้า และทํา ประตูนํ้าของมนุษยก็สามารถทําใหเกิดแหลงนํ้าได เชน บึงบอระเพ็ด จังหวัดนครสวรรค ที่เกิด จากการสรางประตูนํ้าผันนํ้ามาจากแมนํ้านานลงสูคลองบอระเพ็ด 11) ทะเลสาบที่ไมสามารถจําแนกสาเหตุการเกิดได (lake of unknown origin) คือแหลงนํ้าที่ไมสามารถจําแนกสาเหตุการเกิดซึ่งนอกเหนือจาก 10 สาเหตุเบื้องตนได
  • 19. บทที่ 1 บทนํา | 19 รูปที่ 1.15 แหลงนํ้าที่เกิดจากสิ่งมีชีวิต โดย ก. เขื่อนที่เกิดจากตัวบีเวอร ข. เขื่อนภูมิพล จังหวัดตาก ที่มา : Miller, & Spoolman, 2011, p. 99 นอกจากนี้ ทะเลสาบหรือแหลงนํ้านิ่งในธรรมชาติหลายแหงในโลกสามารถเกิดขึ้น ไดจากหลายสาเหตุรวมกัน ทั้งอาจเกิดจากสิ่งมีชีวิต รวมกับสาเหตุอื่น ๆ ที่ไมมีชีวิต เชน มนุษย ใชเทคโนโลยีไปเรงปฏิกิริยาที่จะเกิดแหลงนํ้าโดยสาเหตุทางธรรมชาติใหเร็วขึ้น หรือทะเลสาบ หรือแหลงนํ้านิ่งอาจเกิดจากสาเหตุที่ไมมีชีวิตรวมกันมากกวา 1 สาเหตุ เชน ทะเลสาบสงขลา เปนทะเลสาบที่มีทั้งนํ้าจืด นํ้ากรอย และนํ้าเค็ม อยูในเขตจังหวัดพัทลุง จังหวัดสงขลา และ จังหวัดนครศรีธรรมราช ทะเลสาบสงขลาเปนทะเลสาบที่มีสาเหตุการเกิดมาจาก 2 สาเหตุ โดย สาเหตุแรกเกิดจากลมมรสุมพัดเอาทรายทะเลมาทับถมทําใหเกิดสันทราย และสาเหตุที่สองคือ ดินตะกอนของคลองนางเรียมคลองปากประคลองลําปาคลองทาเดื่อคลองอูตะเภาและแมนํ้า จากจังหวัดสตูลสงผลใหพื้นที่เปลี่ยนจากเกาะกลางนํ้ากลายเปนแหลมกั้นนํ้าในทะเลสาบเปนตน 2. นํ้าในแหลงนํ้านิ่ง โดยทั่วไปแลวแหลงนํ้านิ่งจะมีลักษณะเปนแหลงนํ้าขังมีปริมาณนํ้าที่มากนอย แตกตางกันไปในการศึกษาแหลงนํ้านิ่งจะสามารถแบงการศึกษาออกเปนบริเวณตางๆในแตละ ระดับความลึกที่แสงสองผานลงไปในแหลงนํ้าเปนตัวจําแนก ซึ่งแบงไดออกเปน 4 ระดับ คือ เขตชายฝง เขตกลางสระ เขตกนสระ และเขตพื้นทองนํ้า (รูปที่ 1.16)
  • 20. 20 | ชลธีวิทยา (LIMNOLOGY) รูปที่ 1.16 ระดับนํ้าตาง ๆ ในแหลงนํ้านิ่ง ที่มา : Cullen, 2009, p. 110 1) เขตชายฝง(littoralzone)เปนบริเวณที่มีนํ้าตื้นแสงสวางสามารถสองทะลุ จนถึงพื้นดานลาง อุณหภูมิจะมีการเปลี่ยนแปลงขึ้น ๆ ลง ๆ รวมทั้งมีกระแสลมพัดเขาสูชายฝง สงผลใหชายฝงเกิดการพังทลาย และมีตะกอนดิน ซากพืช ซากสัตวจํานวนมากทับถม เปนเขต ที่มีสิ่งมีชีวิตอาศัยอยูมากโดยเฉพาะอยางยิ่งบริเวณนํ้าตื้นใกลขอบหรือริมทะเลสาบ ซึ่งพืชและ สัตวที่พบจะแตกตางกันขึ้นอยูกับระดับความลึกของแหลงนํ้า เขตชายฝงสามารถแบงยอยออกเปนอีก 2 เขต คือ 1.1) บริเวณที่อยูระหวางนํ้าขึ้นสูงสุดและนํ้าลงตํ่าสุด(eulittoralzone) คือเขตที่ติดอยูกับชายฝง ประกอบดวยพืชและสัตวที่สามารถทนตอความแหงแลงไดดี เชน สาหรายและหอยบางชนิดหรือเปนสัตวพวกที่สามารถขุดรูลงไปอยูในตะกอนที่ชื้นแฉะตลอดเวลา เขตนี้จะเปนเขตที่มีการเปลี่ยนแปลงมาก ทั้งในเรื่องการเปลี่ยนแปลงตามฤดูกาล คลื่นลม และ เปนเขตที่เกิดการกัดกรอน (erosion) ไดงายในบางพื้นที่ที่เปนกอนหิน สิ่งมีชีวิตที่จะอยูได ตองสามารถเกาะกับกอนหินไดอยางหนาแนน หรือไมเชนนั้นก็ตองสามารถขุดรูเขาไปอาศัยใน กอนหินได 1.2) เขตใตระดับนํ้าขึ้นนํ้าลง (sub littoral zone) เปนเขตที่อยูถัด จากบริเวณที่อยูระหวางนํ้าขึ้นสูงสุดและนํ้าลงตํ่าสุดลงไป โดยแสงสามารถสองผานเขาถึงได นอยกวาเมื่อเทียบกับเขตแรก ซึ่งเปนเขตของพืชที่มีราก (rooted vegetation) ในสวนลึกสุด ของเขตนี้จะมีพืชพวกสาหรายไฟ (Chara sp.) ดีปลีนํ้า (Potamogeton sp.) และพืชชนิดอื่น