SlideShare a Scribd company logo
1 of 94
Download to read offline
1 
เรืองชัย จรุงศิรวัฒน์ 
นักวิเคราะห์นโยบายและแผนเชี่ยวชาญ 
ผู้เชี่ยวชาญประจาสานักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยขอนแก่น 
เทคนิคการเขียน คู่มือการปฏิบัติงาน 
เอกสารประกอบการอบรม ข้าราชการและพนักงาน สายสนับสนุนในมหาวิทยาลัย เพื่อทาแผลงานทางวิชาการในการกาหนดตาแหน่งให้สูงขึ้นเป็นระดับ ชานาญงาน ชานาญงานพิเศษ ชานาญการ ชานาญการพิเศษ และ เชี่ยวชาญ
2 
ประกาศ ก.พ.อ. เรื่อง มาตรฐานการกาหนดระดับตาแหน่งและการ แต่งตั้ง ขรก.พลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา ให้สูงขึ้น พ.ศ.2553(ลงวันที่ 22ธค. 53)
3 
ความก้าวหน้าในระดับตาแหน่ง ของสายสนับสนุน
4
5 
ผลงานทางวิชาการ 
คู่มือการปฏิบัติงานหลัก 
งานวิเคราะห์ 
งานวิจัย/วิจัยสถาบัน 
สิ่งประดิษฐ์ 
งานสร้างสรรค์ 
ศิลปะ ตกแต่ง ซ่อมบารุง
6
7
8
9
10 
คู่มือการปฏิบัติงาน 
หมายถึง เอกสารที่แต่ละหน่วยงานสร้างขึ้นมา เพื่อเป็นแนวทางในการปฏิบัติงานของหน่วยงานนั้น 
และใช้เป็นคู่มือสาหรับศึกษาการปฏิบัติงานของ บุคลากรในหน่วยงาน 
อีกทั้งยังสามารถปรับปรุงให้ สอดคล้องกับระเบียบ วิธี และเทคโนโลยีที่เปลี่ยน ไปในอนาคต
11 
• วัตถุประสงค์ 
• ขอบเขต 
• คาจากัดความ 
• โครงสรา้งของหน่วยงาน* 
• ความรับผิดชอบ 
• ขัน้ตอนการปฏิบัตงิาน 
• เอกสารการอา้งอิง 
• บรรณานุกรม* 
โครงสรา้งคู่มอืการปฏบิตังิาน 
ประกอบดว้ย 
ทมี่า : สนง.คณะกก.พัฒนาระบบราชการ(ก.พ.ร.) 
* วิทยากรเพมิ่ขนึ้เอง
12 
วัตถุประสงค์ของการจัดทา คู่มือปฏิบัติงาน 
•เพื่อให้การปฏิบัติงานเป็นมาตรฐานเดียวกัน 
•ผู้ปฏิบัติงานทราบว่าควรปฏิบัติงานอย่างไร เมื่อใดกับใคร 
•ผู้ปฏิบัติงานทราบและเข้าใจว่าควรทาอะไรก่อนและหลัง 
•เพื่อให้การปฏิบัติงานสอดคล้องกับนโยบาย วิสัยทัศน์ 
•ผู้บริหารสามารถคิดตามงานได้ทุกขั้นตอน 
•เป็นเครื่องมือในการฝึกอบรม 
•ใช้เป็นเอกสารอ้างอิงในการทางาน 
•บุคลากรสามารถทางานแทนกันได้ 
•ลดข้อผิดพลาดจากการทางานที่ไม่เป็นระบบ
13 
ลักษณะของคู่มือปฏิบัติงานที่ดี 
•ชัดเจน เข้าใจง่าย 
•เป็นประโยชน์ในการทางานและการฝึกอบรม 
•เหมาะสมกับหน่วยงานและผู้ใช้งานแต่ละกลุ่ม 
•มีความน่าสนใจ น่าติดตาม 
•มีความเป็นปัจจุบัน(Update)ไม่ล้าสมัย 
•มีตัวอย่างประกอบ
14 
เริ่มต้นเขียนคู่มือ ปฏิบัติงาน
15 
ไม่มีโครงสร้างและรูปแบบที่ชัดเจนเป็นมาตรฐาน สามารถเขียนได้หลายลักษณะตามรูปแบบของงาน 
คู่มือการปฏิบัติงานควรเขียนให้เข้าใจง่าย ยืดหยุ่น และรัดกุม ใช้คาศัพท์ให้เหมาะสมกับผู้ใช้งาน 
โครงสร้างและรูปแบบของ คู่มือการปฏิบัติงาน
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26 
คู่มือปฏิบัติงาน ของ ก.พ.ร. (มกราคม 2552)
27
28
29
30 
ระดับของคู่มือปฏิบัติการงาน 
คู่มือการปฏิบัติงาน เมื่อแบ่งตามการปฏิบัติงาน แบ่งได้ 3ระดับ ดังนี้..... 
1.Manual Book 
Manual Bookเป็นคู่มือการปฏิบัติงานที่นาเอากฎ ระเบียบ ข้อบังคับ มติหนังสือเวียน หรือ หนังสือตอบข้อ หารือที่เกี่ยวข้อง และนามารวบรวมไว้ ให้เป็นหมวดหมู่ แล้วจัดทาเป็นรูปเล่ม
31 
Cook Bookเป็นคู่มือการปฏิบัติงานสูงขึ้นมาอีกหนึ่ง ระดับ มีลักษณะเหมือน ระดับที่ 1 แต่ได้เพิ่มขั้นตอนและ วิธีการปฏิบัติงานเข้าไป 
2. Cook Book 
3. Tip Book 
Tip Bookเป็นคู่มือการปฏิบัติงานระดับสูงสุด ที่ ลักษณะเหมือนระดับ 1 ระดับ 2 แต่เพิ่มเทคนิควิธีการ, ประสบการณ์จากการปฏิบัติงานมานาน เข้าไป
32 
โครงร่างบทต่างๆใน คู่มือการปฏิบัติงาน* 
*จากประสบการณ์การเขียนเอกสารทางวิชาการ เพื่อขอกาหนดตาแหน่งให้สูงขึ้น
33 
บทต่างๆในคู่มือปฏิบัติงาน 
•บทที่ 1 บทนา 
•บทที่ 2โครงสร้าง และ หน้าที่ความรับผิดชอบ 
•บทที่ 3 หลักเกณฑ์วิธีการปฏิบัติงาน (กฎ ระเบียบ คาสั่ง ประกาศ ข้อบังคับ มติ เกณฑ์มาตรฐาน แนวคิด ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง) 
•บทที่ 4เทคนิคการปฏิบัติงาน/กรณีตัวอย่างศึกษา 
•บทที่ 5ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ 
•บรรณานุกรม 
•ภาคผนวก 
•ประวัติผู้เขียน
34 
•ความเป็นมาและความสาคัญ 
บทที่ 1บทนา 
•วัตถุประสงค์ 
•ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 
•ขอบเขตของคู่มือ 
•คาจากัดความเบื้องต้น 
•ข้อตกลงเบื้องต้น
35 
ผู้เขียนคู่มือการปฏิบัติงาน ต้องเขียนถึงความเป็นมา และความสาคัญของคู่มือการปฏิบัติงาน(เล่มที่ตนกาลัง เขียนอยู่นี้) 
1.1ความเป็นมาและ ความสาคัญ 
โดยเขียนถึงความเป็นมาของงานที่ได้ปฏิบัติ อยู่ มีความสาคัญอย่างไร มีความจาเป็นอย่างไรที่ต้องมี คู่มือการปฏิบัติงาน 
งานนี้เป็นงานหลัก หรืองานรองของ หน่วยงาน หรือ ของตาแหน่งที่ปฏิบัติ
36 
ผู้เขียนคู่มือการปฏิบัติงาน ต้องเขียนอธิบายชี้แจง ให้ผู้ศึกษา/ผู้ใช้คู่มือฯ ทราบถึงวัตถุประสงค์ในการ จัดทาคู่มือการปฏิบัติงานนี้ เช่น... 
1.2วัตถุประสงค์ของคู่มือ 
การทาคู่มือการปฏิบัติงานนี้ ทาขึ้นมาเพื่อให้มั่นใจว่า ได้มีการปฏิบัติตามกฎ ตามระเบียบ ตามข้อบังคับ ตาม หลักเกณฑ์ และวิธีการที่กาหนดไว้อย่างสม่าเสมอ 
มี ประสิทธิภาพ สอดคล้องกับนโยบาย และวัตถุประสงค์ ของหน่วยงาน/ของผู้ปฏิบัติงาน/ของผู้รับบริการ
37 
1.3 ประโยชนท์คี่าดว่าจะไดร้บั 
ผูเ้ขียนคู่มือการปฏิบัติงาน ตอ้งเขียนอธิบายชี้แจงใหผู้้ 
ศึกษา/ผูใ้ชคู้่มือฯ ไดท้ราบประโยชน์ในการจัดทาคมูื่อการ 
ปฏิบัติงานนี้อย่างไร เช่น...
38 
1.4ขอบเขตหรือข้อจากัด 
ผู้เขียนคู่มือการปฏิบัติงาน ต้องเขียนอธิบายชี้แจงให้ผู้ ศึกษา/ผู้ใช้คู่มือฯ คานึงถึงขอบเขตหรือข้อจากัดของคู่มือ การปฏิบัติงานนี้ 
ว่ามีความคลอบคลุม กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ หนังสือเวียน มติ หลักเกณฑ์ และ วิธีการ 
ครอบคลุมตั้งแต่ขั้นตอนใด ถึงขั้นตอนใด หน่วยงานใด กับใคร และเมื่อใด
39 
1.5คาจากัดความเบื้องต้น 
ผู้เขียนคู่มือการปฏิบัติงาน ต้องเขียนอธิบายชี้แจงให้ผู้ ศึกษา/ผู้ใช้คู่มือฯ ทราบถึงคาจากัดความต่างๆ ที่มีอยู่ใน คู่มือการปฏิบัติงานนี้ 
คาศัพท์เฉพาะที่มีในคู่มืออาจเป็นภาษาไทย หรือ ภาษาต่างประเทศ หรือ คาย่อ ก็ได้ เช่น...
40 
1.6ข้อตกลงเบื้องต้น(ถ้ามี) 
ผู้เขียนคู่มือการปฏิบัติงาน ต้องเขียนอธิบายชี้แจงให้ ผู้ศึกษา/ผู้ใช้คู่มือฯ ทราบถึงข้อตกลงเบื้องต้น ที่มีอยู่ใน คู่มือการปฏิบัติงานนี้
41 
บทที่ 2โครงสร้าง และ หน้าที่ความ รับผิดชอบ 
•โครงสร้างหน่วยงาน 
•ภาระหน้าที่ของหน่วยงาน 
•บทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบของตาแหน่ง 
•ลักษณะงานที่ปฏิบัติ 
•ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
42 
2.1โครงสร้างของหน่วยงาน 
ผู้เขียนคู่มือการปฏิบัติงาน ต้องเขียนอธิบายชี้แจงให้ผู้ ศึกษา/ผู้ใช้คู่มือฯ ทราบถึงโครงสร้างของหน่วยงานที่มี อยู่ในคู่มือการปฏิบัติงานนี้ 
โดยเขียนแยกเป็นโครงสร้าง การบริหารของหน่วยงาน และโครงสร้างอัตรากาลังของ หน่วยงาน
43 
•โครงสร้างของงาน (Organization chart) 
•โครงสร้างการบริหารหน่วยงาน (Administration chart) 
•โครงสร้างการปฏิบัติงาน (Activity chart) 
ประกอบด้วย 
โครงสร้างของหน่วยงาน
44 
ลักษณะการแสดงจะเป็นชื่อของ หน่วยงาน 
เทศบาลเมือง ร้อยเอ็ด 
กอง บรรเทาสาธารณภัย 
กอง สถานธนานุเคราะห์ 
กอง สาธารณสุข 
โครงสร้างของงาน (Organization chart)
45 
ปลัดเทศบาลเมือง ร้อยเอ็ด 
ผู้อานวยการกอง บรรเทาสาธารณภัย 
ผู้อานวยการกอง สถานธนานุเคราะห์ 
ผู้อานวยการกอง สาธารณสุข 
โครงสร้างการบริหารหน่วยงาน (Administration chart) 
ลักษณะการแสดงจะเป็นชื่อของตาแหน่งทางการบริหาร
46 
นายแดง อยู่ดี 
ปลัดเทศบาลเมือง ร้อยเอ็ด 
นายดา อยู่ทน 
ผู้อานวยการกอง บรรเทาสาธารณภัย 
นายเขียว อยู่ยาว 
ผู้อานวยการกอง สถานธนานุเคราะห์ 
นายขาว อยู่ไม่นาน 
ผู้อานวยการกอง สาธารณสุข 
โครงสร้างการปฏิบัติงาน (Activity chart) 
ลักษณะการแสดงจะเป็นชื่อของผู้ครองตาแหน่ง
47 
2.2ภาระหน้าที่ของหน่วยงาน 
•ภาระหน้าที่หลักของงานโดยรวม 
•ภาระหน้าที่หลักของแต่ละหน่วยงาน 
ประกอบด้วย
48 
ผู้เขียนคู่มือการปฏิบัติงาน ต้องเขียนอธิบายชี้แจงให้ ผู้ศึกษา/ผู้ใช้คู่มือฯ ทราบถึงบทบาทหน้าที่ความ รับผิดชอบ 
ที่มีอยู่ในคู่มือการปฏิบัติงานนี้ โดยเขียนแยก เป็นหน้าที่ของหน่วยงาน และหน้าที่ความรับผิดชอบของ ตาแหน่งนั้นๆ เช่น...
49 
ตัวอย่างการเขียน บทบาทหน้าที่ของสานักทะเบียนฯ 
สานักทะเบียนฯ มีภารกิจและบทบาทหน้าที่ดังนี้ 
۞ การสนับสนุนการบริหารและดาเนินงานด้านวิชาการ การจัดการศึกษา และการจัด การเรียนการสอนของมหาวิทยาลัย 
۞ สนับสนุนการบริหารและดาเนินงานของฝ่ายวิชาการของมหาวิทยาลัย 
۞ การดาเนินงานเกี่ยวกับการขอเปิดหลักสูตรและรายวิชา และการจัดการสหกิจ ศึกษาของมหาวิทยาลัย 
۞ การจัดทาระเบียบ ประกาศ แนวปฏิบัติต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานด้ายวิชาการและ การจัดการศึกษาของมหาวิทยาลัย 
۞ การดาเนินงานด้านระบบทะเบียนและประมวลผลการศึกษาของมหาวิทยาลัย 
ฯลฯ
50 
การเขียนขั้นตอน การปฏิบัติงาน 
สามารถเขียนในรูปของ... 
•ข้อความทั้งหมด (Wording) 
•ตาราง (Table) 
•แผนภูมิจาลอง (Model) 
•ผังของการปฏิบัติงาน (Flow Chart)
51
52
53
54
55
56 
บทที่ 3หลักเกณฑ์วิธีการปฏิบัติงาน (กฎ ระเบียบ คาสั่ง ประกาศ ข้อบังคับ มติ เกณฑ์มาตรฐาน แนวคิด ทฤษฎี ฯลฯ) 
•กฎ ระเบียบ คาสั่ง ประกาศ 
•ข้อบังคับ มติ หนังสือเวียนที่เกี่ยวข้อง 
•เกณฑ์มาตรฐาน 
•แนวคิด ทฤษฎี ที่เกี่ยวข้อง 
•วิธีการคานวณ/วิธีการวิเคราะห์ ข้อมูล
57 
กฎ ระเบียบ คาสั่ง ประกาศ ข้อบังคับ มติ เกณฑ์มาตรฐาน แนวคิด ทฤษฎี ฯลฯ 
ผู้เขียนคู่มือการปฏิบัติงาน ต้องเขียนอธิบายชี้แจงให้ผู้ ศึกษา/ผู้ใช้คู่มือฯ ทราบถึง กฎ ระเบียบ คาสั่ง ข้อบังคับ มติ เกณฑ์มาตรฐาน แนวคิด ทฤษฎี 
ตลอดจนวิธีการใน การวิเคราะห์ ที่มีอยู่ในคู่มือการปฏิบัติงานนี้
58 
บทที่ 4เทคนิคการปฏิบัติงาน หรือ กรณีตัวอย่างศึกษา 
•เทคนิควิธีฯ 1/ กรณีศึกษา ........ 
•เทคนิควิธีฯ 2/ กรณีศึกษา ........ 
•เทคนิควิธีฯ 3/ กรณีศึกษา ........ 
•เทคนิควิธีฯ 4/ กรณีศึกษา ........ 
*การยกตัวอย่างให้ยกให้เห็น2ด้าน คือกรณีที่ “ถูก” หรือ”ทาได้”และ กรณีที่ “ผิด”หรือ “ทาไม่ได้”
59 
ตัวอย่าง ในการเขียนในบทที่ 4กรณีตัวอย่างศึกษา/ เทคนิควิธีการใช้คู่มือ
60
61
62
63
64 
คู่มือการปฏิบัติงาน 
เรื่อง... 
คู่มือการขอกาหนดตาแหน่ง ชานาญการ เชี่ยวชาญ เชี่ยวชาญพิเศษ 
(คู่มือการปฏิบัติงานของตาแหน่งบุคคล) 
การเขียนตัวอย่าง
65 
จาก...มาตรฐานกาหนดตาแหน่งของ ก.พ.อ. สายงานบริหารทั่วไปในการพิจารณาแต่งตั้ง ขรก. ให้ดารงตาแหน่งชานาญการ ชานาญการพิเศษ เชี่ยวชาญ และ เชี่ยวชาญพิเศษ 
ก.พ.อ.ได้กาหนดคุณสมบัติเฉาะสาหรับตาแหน่ง สาหรับตาแหน่งระดับปฏิบัติการ ให้มีคุณวุฒิอย่างหนึ่ง อย่างใด ดังต่อไปนี้ 
1) ได้รับปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบเท่าได้ ไม่ต่ากว่านี้ 
2) ได้รับปริญญาโทหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบเท่าได้ ไม่ต่ากว่านี้ 3) ได้รับปริญญาเอกหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบเท่าได้ ไม่ต่ากว่านี้
66 
และได้กาหนดคุณสมบัติเฉาะสาหรับตาแหน่ง สาหรับตาแหน่ง ระดับชานาญการ ดังนี้ 
1) มีคุณสมบัติเฉพาะตาแหน่งเจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป ระดับปฏิบัติการ และ 
2) เคยดารงตาแหน่งประเภทเชี่ยวชาญเฉพาะระดับปฏิบัติการ มาแล้วไม่น้อยกว่า 6ปี 
กาหนด 6ปี ให้ลดลงเป็น 4ปี สาหรับผู้ที่มีคุณสมบัติเฉพาะ สาหรับตาแหน่งเจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป ระดับปฏิบัติการ ข้อ 2กาหนด 6ปี ให้ลดลงเป็น 2ปี สาหรับผู้ที่มีคุณสมบัติเฉพาะ สาหรับตาแหน่งเจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป ระดับปฏิบัติการ ข้อ 3 
หรือตาแหน่งประเภทอื่นตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่ ก.พ.อ. กาหนดและ 3) ปฏิบัติงานด้านการบริหารงานทั่วไป หรืองานอื่นที่เกี่ยวข้องซึ่ง เหมาะสมกับหน้าที่ความรับผิดชอบและลักษณะงานที่ปฏิบัติ มาแล้วไม่น้อยกว่า 1ปี
67 
ตัวอย่างที่1 
นาย ก. เป็นตาแหน่ง จ.บริหารฯระดับปฏิบัติการ และได้ปฏิบัติ งานมาในตาแหน่งนี้เป็นเวลา 7ปี 
นาย ก. มีคุณสมบัติเฉพาะตาแหน่งที่จะขอระดับชานาญการ หรือไม่ ? 
วิธีคานวณ 
จากคุณสมบัติเฉพาะตาแหน่งผู้ที่จะดารงระดับชานาญการต้องมี... 
1.มีคุณสมบัติเฉพาะตาแหน่งสาหรับ จ.บริหารฯ และ 
2.ดารงตาแหน่งระดับปฏิบัติการมาแล้วไม่น้อยกว่า 6ปี และ 
3.ปฏิบัติงานด้านการบริหารทั่วไปหรืองานอื่นที่เกี่ยวข้องซึ่ง เหมาะสมกับหน้าที่ความรับผิดชอบมาแล้วไม่น้อยกว่า 1ปี 
สรุป...นาย ก. มีคุณสมบัติ จึงมีสิทธิ์ขอชานาญการ
68 
ตัวอย่างที่2 
นาย ข. เป็นตาแหน่ง จ.บริหารฯและได้ปฏิบัติงานในระดับปฏิบัติ 
การมาเป็นเวลา 3ปี ต่อมาได้ใช้วุฒิป.โทในการปรับวุฒิและปฏิบัติ งานต่อมาอีก 2ปี 
นาย ข. มีคุณสมบัติเฉพาะตาแหน่งที่จะขอระดับชานาญการ หรือไม่ ? 
วิธีคานวณ 
จากคุณสมบัติเฉพาะตาแหน่งผู้ที่จะดารงระดับชานาญการต้องมี... 
1.มีคุณสมบัติเฉพาะตาแหน่งสาหรับ จ.บริหารฯ และ 
2.ดารงตาแหน่งระดับปฏิบัติการมาแล้วไม่น้อยกว่า 6ปี และ 
3.ปฏิบัติงานด้านการบริหารทั่วไปหรืองานอื่นที่เกี่ยวข้องซึ่ง เหมาะสมกับหน้าที่ความรับผิดชอบมาแล้วไม่น้อยกว่า 1ปี
69 
จากคุณสมบัติข้อ 2ต้องดารงตาแหน่งระดับปฏิบัติการมาแล้วไม่ น้อยกว่า 6ปี ให้ลดลงเป็น 4ปี สาหรับผู้ที่มีวุฒิ ป.โท กรณี นาย ข. คานวรระยะเวลาการดารงตาแหน่ง 2 วุฒิทาได้ดังนี้ 
ป.ตรี+ป.โท+ป.เอก= 1 
6 4 2 
3 +2+0 = 1 
6 4 2 
0.5+0.5+0 = 1 
1.00เท่ากับ1
70 
นาย ข. มีคุณสมบัติเฉพาะตาแหน่งผู้ที่จะดารงระดับชานาญ การในข้อที่ 1. คือการมีคุณสมบัติเฉพาะตาแหน่งสาหรับ จ.บริหารฯ และมีคุณสมบัติ ข้อที่ 2. คือดารงตาแหน่งระดับปฏิบัติการมาแล้ว ไม่น้อยกว่า 6ปี หรือปริญญาโท 4ปี และมีคุณสมบัติ ข้อที่3. ใน การปฏิบัติงานด้านการบริหารทั่วไปหรืองานอื่นที่เกี่ยวข้องซึ่งเหมาะ สมกับหน้าที่ความรับผิดชอบมาแล้วไม่น้อยกว่า 1ปี 
นาย ข. มีคุณสมบัติเฉพาะตาแหน่งผู้ที่จะดารงระดับชานาญ การครบทั้ง 3 ข้อ จึงมีสิทธิ์ขอชานาญการได้
71 
ตัวอย่างที่3 
นาย ค. เป็นตาแหน่ง จ.บริหารฯและได้ปฏิบัติงานในระดับปฏิบัติ 
การมาเป็นเวลา 3ปี ต่อมาได้ใช้วุฒิป.โทในการปรับวุฒิและปฏิบัติ งานต่อมาอีก 1ปี 8เดือน 
นาย ค. มีคุณสมบัติเฉพาะตาแหน่งที่จะขอระดับชานาญการ หรือไม่ ? 
วิธีคานวณ 
จากคุณสมบัติเฉพาะตาแหน่งผู้ที่จะดารงระดับชานาญการต้องมี... 
1.มีคุณสมบัติเฉพาะตาแหน่งสาหรับ จ.บริหารฯ และ 
2.ดารงตาแหน่งระดับปฏิบัติการมาแล้วไม่น้อยกว่า 6ปี และ 
3.ปฏิบัติงานด้านการบริหารทั่วไปหรืองานอื่นที่เกี่ยวข้องซึ่ง เหมาะสมกับหน้าที่ความรับผิดชอบมาแล้วไม่น้อยกว่า 1ปี
72 
จากคุณสมบัติข้อ 2ต้องดารงตาแหน่งระดับปฏิบัติการมาแล้วไม่ น้อยกว่า 6ปี ให้ลดลงเป็น 4ปี สาหรับผู้ที่มีวุฒิ ป.โท กรณี นาย ค. คานวรระยะเวลาการดารงตาแหน่ง 2 วุฒิทาได้ดังนี้ 
ป.ตรี+ป.โท+ป.เอก= 1 
6 4 2 
3 +(20)+0 = 1 
6 48 2 
0.5+0.42+0 = 1 
0.92น้อยกว่า1
73 
นาย ค. มีคุณสมบัติเฉพาะตาแหน่งผู้ที่จะดารงระดับชานาญ การไม่ครบ กล่าวคือมีข้อที่ 1. คือการมีคุณสมบัติเฉพาะตาแหน่ง สาหรับ จ.บริหารฯ แต่ไม่มีคุณสมบัติ ข้อที่ 2. คือดารงตาแหน่ง ระดับปฏิบัติการมาแล้วไม่น้อยกว่า 6ปี หรือปริญญาโท 4ปีและมี คุณสมบัติ ข้อที่ 3. ในการปฏิบัติงานด้านการบริหารทั่วไปหรืองาน อื่นที่เกี่ยวข้องซึ่งเหมาะสมกับหน้าที่ความรับผิดชอบมาแล้วไม่น้อย กว่า 1ปี 
นาย ค. จึงมีคุณสมบัติเฉพาะตาแหน่งผู้ที่จะดารงระดับ ชานาญการไม่ครบทั้ง 3 ข้อ จึงไม่มีสิทธิ์ขอชานาญการได้
74 
บทที่ 5ปัญหาอุปสรรคและ ข้อเสนอแนะ 
•ปัญหาและอุปสรรค 
•แนวทางแก้ไขในการปฏิบัติงาน 
•แนวทางพัฒนางานหรือปรุงงาน
75 
ในบทนี้ผู้เขียนควรนาเสนอปัญหา อุปสรรค และ 
การใช้คู่มือการปฏิบัติงานเพื่อให้ผู้ศึกษาค้นคว้า/ผู้นา 
คู่มือไปใช้ 
เล็งเห็นถึงปัญหา อุปสรรค การจัดทา การ 
นาไปใช้ และการแก้ไขคู่มือการปฏิบัติงาน เพื่อจะได้ 
ดาเนินการใช้คู่มืออย่างมีประสิทธิภาพ 
จากประสบการณ์ของผู้เขียนที่ปฏิบัติงานใน 
ด้านนี้มาเป็นเวลานาน ผู้เขียนควรที่จะเสนอแนวทาง 
การแก้ไขปัญหา ตลอดจนแนวทางการพัฒนางาน 
หรือปรับปรุงงาน และข้อเสนอแนะ
76 
เทคนิคการเขียนบทที่ 5 
การที่จะเขียนปัญหาในบทที่ 5นี้ให้ได้มากๆ ต้องเขียน/บอกถึงปัญหาตามขั้นตอนต่างๆ ของการ ปฏิบัติงานที่กล่าวไว้ในบทที่ 2หรือ 3ว่าในแต่ละ ขั้นตอน 
-มีปัญหาอะไร? และเมื่อพบปัญหาแล้ว 
-ได้แก้ไขปัญหาด้วยวิธีการอะไร? และ -ทาอย่างไร? 
-ผลเป็นอย่างไร?
77 
จากนั้นจึงทาการตั้ง “ปัญหา”หรือตั้ง “อุปสรรค”ขึ้นมาเอง แม้ปัญหาหรืออุปสรรคจะยัง ไม่เกิดขึ้นก็ตาม และเมื่อตั้งประเด็นปัญหา/อุปสรรคขึ้น มาแล้ว ก็ทาการตอบปัญหาหรือแก้ปัญหานั้นเอง เปรียบเสมือนเป็นหน้าม้า ที่เขียนปัญหา/อุปสรรค ขึ้นมาถามเอง แล้วก็เขียนตอบเอง 
หรือ ที่ชาวบ้านเรียกกันว่า “ชงเองกินเอง”
78
79
80 
การเขียนบรรณานุกรม 
โดยแยกบรรณานุกรมสิ่งพิมพ์ภาษาไทยและบรรณานุ 
กรมสิ่งพิมพ์ภาษาต่างประเทศ และแต่ละภาษานั้นให้เรียง 
ตามลาดับอักษร แบบพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตสถาน และ 
พจนานุกรมภาษาอังกฤษทั่วไป 
การจัดทาบรรณานุกรม ให้ยึดแนวทางตามคู่มือการ 
จัดทาปริญญาวิทยานิพนธ์ ของแต่ละมหาวิทยาลัย
81 
ภาคผนวก 
ภาคผนวก หมายถึงส่วนที่เกี่ยวข้องกับงานที่เขียน แต่ไม่ใช่ 
เนื้อหาของงาน เป็นส่วนที่นามาเพิ่มขึ้นในตอนท้าย เพื่อช่วย 
ให้ผู้ศึกษาค้นคว้าได้เข้าใจแจ่มแจ้งยิ่งขึ้น 
จะมีภาคผนวกหรือไม่ แล้วแต่ความจาเป็น ถ้าจะมีควรจัด 
ไว้ในหน้าต่อจากบรรณานุกรม
82 
ภาคผนวก(ต่อ) 
ในภาคนวก ของเอกสารทางวิชาการ เช่น งานวิจัย 
งานวิเคราะห์ งานเขียนคู่มือการปฏิบัติงาน ฯลฯ ส่วนใหญ่แล้ว 
มักจะประกอบไปด้วย... 
۰แบบสอบถาม 
۰แบบสัมภาษณ์ 
۰แบบเก็บข้อมูล 
۰รูปภาพ 
۰รายละเอียดการวิเคราะห์
83 
เทคนิคการเขียนคู่มือการ ปฏิบัติงานให้เข้าใจง่าย 
•การใช้ภาพถ่าย 
•การใช้ภาพการ์ตูน 
•การใช้แบบฟอร์มบันทึก 
•การใช้ Multi Media
84 
ตัวอย่างการใช้ภาพจริงอ้างอิง
85 
ตัวอย่างการใช้ภาพการ์ตูน
86
87
88 
ตัวอย่างการใช้แบบฟอร์ม
89
90 
ตัวอย่างการใช้ Multi Media
91
92
93
94 
มีปัญหา ปรึกษา 
ติดต่อ.... 
089-617-7878 
หรือ 
ruajar@kku.ac.th

More Related Content

What's hot

สารนิพนธ์02
สารนิพนธ์02สารนิพนธ์02
สารนิพนธ์02Wes Yod
 
การเขียนบทความวิจัย2559 1
การเขียนบทความวิจัย2559 1การเขียนบทความวิจัย2559 1
การเขียนบทความวิจัย2559 1Prachyanun Nilsook
 
การเขียนรายงานผลการวิจัย
การเขียนรายงานผลการวิจัยการเขียนรายงานผลการวิจัย
การเขียนรายงานผลการวิจัยPinNii Natthaya
 
แผนการสอนหลักสูตรระยะสั้น
แผนการสอนหลักสูตรระยะสั้นแผนการสอนหลักสูตรระยะสั้น
แผนการสอนหลักสูตรระยะสั้นComcmpoly
 
คุณวุฒินักวิเคราะห์นโยบายและแผน ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
คุณวุฒินักวิเคราะห์นโยบายและแผน ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นคุณวุฒินักวิเคราะห์นโยบายและแผน ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
คุณวุฒินักวิเคราะห์นโยบายและแผน ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นประพันธ์ เวารัมย์
 
การขอตำแหน่งทำงวิชาการ
การขอตำแหน่งทำงวิชาการการขอตำแหน่งทำงวิชาการ
การขอตำแหน่งทำงวิชาการKomkrit Choo
 
Km การตีพิมพ์บทความวิจัย cs mju 05 01-58 v2
Km การตีพิมพ์บทความวิจัย cs mju 05 01-58 v2Km การตีพิมพ์บทความวิจัย cs mju 05 01-58 v2
Km การตีพิมพ์บทความวิจัย cs mju 05 01-58 v2Phaspra Pramokchon
 
Slide บรรยายโครงการสัมมนา block course
Slide บรรยายโครงการสัมมนา block courseSlide บรรยายโครงการสัมมนา block course
Slide บรรยายโครงการสัมมนา block coursexcmmagic
 
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัยการวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัยsudaphud
 
427 416 ชั่วโมงที่ ˆ 1 20 มิ.ย. 54
427 416  ชั่วโมงที่ ˆ 1 20 มิ.ย. 54427 416  ชั่วโมงที่ ˆ 1 20 มิ.ย. 54
427 416 ชั่วโมงที่ ˆ 1 20 มิ.ย. 54Sani Satjachaliao
 

What's hot (14)

สารนิพนธ์02
สารนิพนธ์02สารนิพนธ์02
สารนิพนธ์02
 
การเขียนบทความวิจัย2559 1
การเขียนบทความวิจัย2559 1การเขียนบทความวิจัย2559 1
การเขียนบทความวิจัย2559 1
 
การเขียนรายงานผลการวิจัย
การเขียนรายงานผลการวิจัยการเขียนรายงานผลการวิจัย
การเขียนรายงานผลการวิจัย
 
แผนการสอนหลักสูตรระยะสั้น
แผนการสอนหลักสูตรระยะสั้นแผนการสอนหลักสูตรระยะสั้น
แผนการสอนหลักสูตรระยะสั้น
 
คุณวุฒินักวิเคราะห์นโยบายและแผน ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
คุณวุฒินักวิเคราะห์นโยบายและแผน ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นคุณวุฒินักวิเคราะห์นโยบายและแผน ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
คุณวุฒินักวิเคราะห์นโยบายและแผน ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
 
การขอตำแหน่งทำงวิชาการ
การขอตำแหน่งทำงวิชาการการขอตำแหน่งทำงวิชาการ
การขอตำแหน่งทำงวิชาการ
 
คู่มือการเขียนแผนการเรียนรู้ ศูนย์ส่งเสริม
คู่มือการเขียนแผนการเรียนรู้ ศูนย์ส่งเสริมคู่มือการเขียนแผนการเรียนรู้ ศูนย์ส่งเสริม
คู่มือการเขียนแผนการเรียนรู้ ศูนย์ส่งเสริม
 
2222
22222222
2222
 
Km การตีพิมพ์บทความวิจัย cs mju 05 01-58 v2
Km การตีพิมพ์บทความวิจัย cs mju 05 01-58 v2Km การตีพิมพ์บทความวิจัย cs mju 05 01-58 v2
Km การตีพิมพ์บทความวิจัย cs mju 05 01-58 v2
 
Km1
Km1Km1
Km1
 
งานนำเสนอรูปแบบวิจัย
งานนำเสนอรูปแบบวิจัยงานนำเสนอรูปแบบวิจัย
งานนำเสนอรูปแบบวิจัย
 
Slide บรรยายโครงการสัมมนา block course
Slide บรรยายโครงการสัมมนา block courseSlide บรรยายโครงการสัมมนา block course
Slide บรรยายโครงการสัมมนา block course
 
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัยการวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
 
427 416 ชั่วโมงที่ ˆ 1 20 มิ.ย. 54
427 416  ชั่วโมงที่ ˆ 1 20 มิ.ย. 54427 416  ชั่วโมงที่ ˆ 1 20 มิ.ย. 54
427 416 ชั่วโมงที่ ˆ 1 20 มิ.ย. 54
 

Similar to เทคนิคการเขียนคู่มือการปฏิบัติงาน

Khon Kaen University TQF Process 2011
Khon Kaen University TQF Process 2011Khon Kaen University TQF Process 2011
Khon Kaen University TQF Process 2011Denpong Soodphakdee
 
หลักสูตร51สู่ห้องเรียน
หลักสูตร51สู่ห้องเรียนหลักสูตร51สู่ห้องเรียน
หลักสูตร51สู่ห้องเรียนPitima Boonprasit
 
การทำโครงงาน 5 ขั้น
การทำโครงงาน 5 ขั้นการทำโครงงาน 5 ขั้น
การทำโครงงาน 5 ขั้นPongtong Kannacham
 
วิจัยชั้นเรียน ดอยเต่า
วิจัยชั้นเรียน ดอยเต่าวิจัยชั้นเรียน ดอยเต่า
วิจัยชั้นเรียน ดอยเต่าNDuangkaew
 
การวิจัยชั้นเรียนอาชีวศึกษา
การวิจัยชั้นเรียนอาชีวศึกษาการวิจัยชั้นเรียนอาชีวศึกษา
การวิจัยชั้นเรียนอาชีวศึกษาPrachyanun Nilsook
 
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐานการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐานkruthai40
 
ประเมินหลักสูตร
ประเมินหลักสูตรประเมินหลักสูตร
ประเมินหลักสูตรpaween
 
ตัวอย่างการทำslide
ตัวอย่างการทำslideตัวอย่างการทำslide
ตัวอย่างการทำsliderubtumproject.com
 
การเขียนรายงานการวิจัย1
การเขียนรายงานการวิจัย1การเขียนรายงานการวิจัย1
การเขียนรายงานการวิจัย1Prachyanun Nilsook
 
รายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการ
รายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการรายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการ
รายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการkanidta vatanyoo
 

Similar to เทคนิคการเขียนคู่มือการปฏิบัติงาน (20)

06.pdf
06.pdf06.pdf
06.pdf
 
Introduction bizcomproject1
Introduction bizcomproject1Introduction bizcomproject1
Introduction bizcomproject1
 
369511
369511369511
369511
 
Khon Kaen University TQF Process 2011
Khon Kaen University TQF Process 2011Khon Kaen University TQF Process 2011
Khon Kaen University TQF Process 2011
 
หลักสูตร51สู่ห้องเรียน
หลักสูตร51สู่ห้องเรียนหลักสูตร51สู่ห้องเรียน
หลักสูตร51สู่ห้องเรียน
 
31.111+ข้..
31.111+ข้..31.111+ข้..
31.111+ข้..
 
31.111+ข้..
31.111+ข้..31.111+ข้..
31.111+ข้..
 
classroom research submit
classroom research submitclassroom research submit
classroom research submit
 
การทำโครงงาน 5 ขั้น
การทำโครงงาน 5 ขั้นการทำโครงงาน 5 ขั้น
การทำโครงงาน 5 ขั้น
 
โครงงานภาษาไทย
โครงงานภาษาไทยโครงงานภาษาไทย
โครงงานภาษาไทย
 
วิจัยชั้นเรียน ดอยเต่า
วิจัยชั้นเรียน ดอยเต่าวิจัยชั้นเรียน ดอยเต่า
วิจัยชั้นเรียน ดอยเต่า
 
การวิจัยชั้นเรียนอาชีวศึกษา
การวิจัยชั้นเรียนอาชีวศึกษาการวิจัยชั้นเรียนอาชีวศึกษา
การวิจัยชั้นเรียนอาชีวศึกษา
 
การจัดทำเอกสาร มคอ 3 - 7
การจัดทำเอกสาร มคอ 3 - 7การจัดทำเอกสาร มคอ 3 - 7
การจัดทำเอกสาร มคอ 3 - 7
 
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐานการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
 
ประเมินหลักสูตร
ประเมินหลักสูตรประเมินหลักสูตร
ประเมินหลักสูตร
 
Surapol3
Surapol3Surapol3
Surapol3
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
ตัวอย่างการทำslide
ตัวอย่างการทำslideตัวอย่างการทำslide
ตัวอย่างการทำslide
 
การเขียนรายงานการวิจัย1
การเขียนรายงานการวิจัย1การเขียนรายงานการวิจัย1
การเขียนรายงานการวิจัย1
 
รายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการ
รายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการรายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการ
รายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการ
 

เทคนิคการเขียนคู่มือการปฏิบัติงาน

  • 1. 1 เรืองชัย จรุงศิรวัฒน์ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนเชี่ยวชาญ ผู้เชี่ยวชาญประจาสานักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยขอนแก่น เทคนิคการเขียน คู่มือการปฏิบัติงาน เอกสารประกอบการอบรม ข้าราชการและพนักงาน สายสนับสนุนในมหาวิทยาลัย เพื่อทาแผลงานทางวิชาการในการกาหนดตาแหน่งให้สูงขึ้นเป็นระดับ ชานาญงาน ชานาญงานพิเศษ ชานาญการ ชานาญการพิเศษ และ เชี่ยวชาญ
  • 2. 2 ประกาศ ก.พ.อ. เรื่อง มาตรฐานการกาหนดระดับตาแหน่งและการ แต่งตั้ง ขรก.พลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา ให้สูงขึ้น พ.ศ.2553(ลงวันที่ 22ธค. 53)
  • 4. 4
  • 5. 5 ผลงานทางวิชาการ คู่มือการปฏิบัติงานหลัก งานวิเคราะห์ งานวิจัย/วิจัยสถาบัน สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ ศิลปะ ตกแต่ง ซ่อมบารุง
  • 6. 6
  • 7. 7
  • 8. 8
  • 9. 9
  • 10. 10 คู่มือการปฏิบัติงาน หมายถึง เอกสารที่แต่ละหน่วยงานสร้างขึ้นมา เพื่อเป็นแนวทางในการปฏิบัติงานของหน่วยงานนั้น และใช้เป็นคู่มือสาหรับศึกษาการปฏิบัติงานของ บุคลากรในหน่วยงาน อีกทั้งยังสามารถปรับปรุงให้ สอดคล้องกับระเบียบ วิธี และเทคโนโลยีที่เปลี่ยน ไปในอนาคต
  • 11. 11 • วัตถุประสงค์ • ขอบเขต • คาจากัดความ • โครงสรา้งของหน่วยงาน* • ความรับผิดชอบ • ขัน้ตอนการปฏิบัตงิาน • เอกสารการอา้งอิง • บรรณานุกรม* โครงสรา้งคู่มอืการปฏบิตังิาน ประกอบดว้ย ทมี่า : สนง.คณะกก.พัฒนาระบบราชการ(ก.พ.ร.) * วิทยากรเพมิ่ขนึ้เอง
  • 12. 12 วัตถุประสงค์ของการจัดทา คู่มือปฏิบัติงาน •เพื่อให้การปฏิบัติงานเป็นมาตรฐานเดียวกัน •ผู้ปฏิบัติงานทราบว่าควรปฏิบัติงานอย่างไร เมื่อใดกับใคร •ผู้ปฏิบัติงานทราบและเข้าใจว่าควรทาอะไรก่อนและหลัง •เพื่อให้การปฏิบัติงานสอดคล้องกับนโยบาย วิสัยทัศน์ •ผู้บริหารสามารถคิดตามงานได้ทุกขั้นตอน •เป็นเครื่องมือในการฝึกอบรม •ใช้เป็นเอกสารอ้างอิงในการทางาน •บุคลากรสามารถทางานแทนกันได้ •ลดข้อผิดพลาดจากการทางานที่ไม่เป็นระบบ
  • 13. 13 ลักษณะของคู่มือปฏิบัติงานที่ดี •ชัดเจน เข้าใจง่าย •เป็นประโยชน์ในการทางานและการฝึกอบรม •เหมาะสมกับหน่วยงานและผู้ใช้งานแต่ละกลุ่ม •มีความน่าสนใจ น่าติดตาม •มีความเป็นปัจจุบัน(Update)ไม่ล้าสมัย •มีตัวอย่างประกอบ
  • 15. 15 ไม่มีโครงสร้างและรูปแบบที่ชัดเจนเป็นมาตรฐาน สามารถเขียนได้หลายลักษณะตามรูปแบบของงาน คู่มือการปฏิบัติงานควรเขียนให้เข้าใจง่าย ยืดหยุ่น และรัดกุม ใช้คาศัพท์ให้เหมาะสมกับผู้ใช้งาน โครงสร้างและรูปแบบของ คู่มือการปฏิบัติงาน
  • 16. 16
  • 17. 17
  • 18. 18
  • 19. 19
  • 20. 20
  • 21. 21
  • 22. 22
  • 23. 23
  • 24. 24
  • 25. 25
  • 26. 26 คู่มือปฏิบัติงาน ของ ก.พ.ร. (มกราคม 2552)
  • 27. 27
  • 28. 28
  • 29. 29
  • 30. 30 ระดับของคู่มือปฏิบัติการงาน คู่มือการปฏิบัติงาน เมื่อแบ่งตามการปฏิบัติงาน แบ่งได้ 3ระดับ ดังนี้..... 1.Manual Book Manual Bookเป็นคู่มือการปฏิบัติงานที่นาเอากฎ ระเบียบ ข้อบังคับ มติหนังสือเวียน หรือ หนังสือตอบข้อ หารือที่เกี่ยวข้อง และนามารวบรวมไว้ ให้เป็นหมวดหมู่ แล้วจัดทาเป็นรูปเล่ม
  • 31. 31 Cook Bookเป็นคู่มือการปฏิบัติงานสูงขึ้นมาอีกหนึ่ง ระดับ มีลักษณะเหมือน ระดับที่ 1 แต่ได้เพิ่มขั้นตอนและ วิธีการปฏิบัติงานเข้าไป 2. Cook Book 3. Tip Book Tip Bookเป็นคู่มือการปฏิบัติงานระดับสูงสุด ที่ ลักษณะเหมือนระดับ 1 ระดับ 2 แต่เพิ่มเทคนิควิธีการ, ประสบการณ์จากการปฏิบัติงานมานาน เข้าไป
  • 32. 32 โครงร่างบทต่างๆใน คู่มือการปฏิบัติงาน* *จากประสบการณ์การเขียนเอกสารทางวิชาการ เพื่อขอกาหนดตาแหน่งให้สูงขึ้น
  • 33. 33 บทต่างๆในคู่มือปฏิบัติงาน •บทที่ 1 บทนา •บทที่ 2โครงสร้าง และ หน้าที่ความรับผิดชอบ •บทที่ 3 หลักเกณฑ์วิธีการปฏิบัติงาน (กฎ ระเบียบ คาสั่ง ประกาศ ข้อบังคับ มติ เกณฑ์มาตรฐาน แนวคิด ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง) •บทที่ 4เทคนิคการปฏิบัติงาน/กรณีตัวอย่างศึกษา •บทที่ 5ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ •บรรณานุกรม •ภาคผนวก •ประวัติผู้เขียน
  • 34. 34 •ความเป็นมาและความสาคัญ บทที่ 1บทนา •วัตถุประสงค์ •ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ •ขอบเขตของคู่มือ •คาจากัดความเบื้องต้น •ข้อตกลงเบื้องต้น
  • 35. 35 ผู้เขียนคู่มือการปฏิบัติงาน ต้องเขียนถึงความเป็นมา และความสาคัญของคู่มือการปฏิบัติงาน(เล่มที่ตนกาลัง เขียนอยู่นี้) 1.1ความเป็นมาและ ความสาคัญ โดยเขียนถึงความเป็นมาของงานที่ได้ปฏิบัติ อยู่ มีความสาคัญอย่างไร มีความจาเป็นอย่างไรที่ต้องมี คู่มือการปฏิบัติงาน งานนี้เป็นงานหลัก หรืองานรองของ หน่วยงาน หรือ ของตาแหน่งที่ปฏิบัติ
  • 36. 36 ผู้เขียนคู่มือการปฏิบัติงาน ต้องเขียนอธิบายชี้แจง ให้ผู้ศึกษา/ผู้ใช้คู่มือฯ ทราบถึงวัตถุประสงค์ในการ จัดทาคู่มือการปฏิบัติงานนี้ เช่น... 1.2วัตถุประสงค์ของคู่มือ การทาคู่มือการปฏิบัติงานนี้ ทาขึ้นมาเพื่อให้มั่นใจว่า ได้มีการปฏิบัติตามกฎ ตามระเบียบ ตามข้อบังคับ ตาม หลักเกณฑ์ และวิธีการที่กาหนดไว้อย่างสม่าเสมอ มี ประสิทธิภาพ สอดคล้องกับนโยบาย และวัตถุประสงค์ ของหน่วยงาน/ของผู้ปฏิบัติงาน/ของผู้รับบริการ
  • 37. 37 1.3 ประโยชนท์คี่าดว่าจะไดร้บั ผูเ้ขียนคู่มือการปฏิบัติงาน ตอ้งเขียนอธิบายชี้แจงใหผู้้ ศึกษา/ผูใ้ชคู้่มือฯ ไดท้ราบประโยชน์ในการจัดทาคมูื่อการ ปฏิบัติงานนี้อย่างไร เช่น...
  • 38. 38 1.4ขอบเขตหรือข้อจากัด ผู้เขียนคู่มือการปฏิบัติงาน ต้องเขียนอธิบายชี้แจงให้ผู้ ศึกษา/ผู้ใช้คู่มือฯ คานึงถึงขอบเขตหรือข้อจากัดของคู่มือ การปฏิบัติงานนี้ ว่ามีความคลอบคลุม กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ หนังสือเวียน มติ หลักเกณฑ์ และ วิธีการ ครอบคลุมตั้งแต่ขั้นตอนใด ถึงขั้นตอนใด หน่วยงานใด กับใคร และเมื่อใด
  • 39. 39 1.5คาจากัดความเบื้องต้น ผู้เขียนคู่มือการปฏิบัติงาน ต้องเขียนอธิบายชี้แจงให้ผู้ ศึกษา/ผู้ใช้คู่มือฯ ทราบถึงคาจากัดความต่างๆ ที่มีอยู่ใน คู่มือการปฏิบัติงานนี้ คาศัพท์เฉพาะที่มีในคู่มืออาจเป็นภาษาไทย หรือ ภาษาต่างประเทศ หรือ คาย่อ ก็ได้ เช่น...
  • 40. 40 1.6ข้อตกลงเบื้องต้น(ถ้ามี) ผู้เขียนคู่มือการปฏิบัติงาน ต้องเขียนอธิบายชี้แจงให้ ผู้ศึกษา/ผู้ใช้คู่มือฯ ทราบถึงข้อตกลงเบื้องต้น ที่มีอยู่ใน คู่มือการปฏิบัติงานนี้
  • 41. 41 บทที่ 2โครงสร้าง และ หน้าที่ความ รับผิดชอบ •โครงสร้างหน่วยงาน •ภาระหน้าที่ของหน่วยงาน •บทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบของตาแหน่ง •ลักษณะงานที่ปฏิบัติ •ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
  • 42. 42 2.1โครงสร้างของหน่วยงาน ผู้เขียนคู่มือการปฏิบัติงาน ต้องเขียนอธิบายชี้แจงให้ผู้ ศึกษา/ผู้ใช้คู่มือฯ ทราบถึงโครงสร้างของหน่วยงานที่มี อยู่ในคู่มือการปฏิบัติงานนี้ โดยเขียนแยกเป็นโครงสร้าง การบริหารของหน่วยงาน และโครงสร้างอัตรากาลังของ หน่วยงาน
  • 43. 43 •โครงสร้างของงาน (Organization chart) •โครงสร้างการบริหารหน่วยงาน (Administration chart) •โครงสร้างการปฏิบัติงาน (Activity chart) ประกอบด้วย โครงสร้างของหน่วยงาน
  • 44. 44 ลักษณะการแสดงจะเป็นชื่อของ หน่วยงาน เทศบาลเมือง ร้อยเอ็ด กอง บรรเทาสาธารณภัย กอง สถานธนานุเคราะห์ กอง สาธารณสุข โครงสร้างของงาน (Organization chart)
  • 45. 45 ปลัดเทศบาลเมือง ร้อยเอ็ด ผู้อานวยการกอง บรรเทาสาธารณภัย ผู้อานวยการกอง สถานธนานุเคราะห์ ผู้อานวยการกอง สาธารณสุข โครงสร้างการบริหารหน่วยงาน (Administration chart) ลักษณะการแสดงจะเป็นชื่อของตาแหน่งทางการบริหาร
  • 46. 46 นายแดง อยู่ดี ปลัดเทศบาลเมือง ร้อยเอ็ด นายดา อยู่ทน ผู้อานวยการกอง บรรเทาสาธารณภัย นายเขียว อยู่ยาว ผู้อานวยการกอง สถานธนานุเคราะห์ นายขาว อยู่ไม่นาน ผู้อานวยการกอง สาธารณสุข โครงสร้างการปฏิบัติงาน (Activity chart) ลักษณะการแสดงจะเป็นชื่อของผู้ครองตาแหน่ง
  • 47. 47 2.2ภาระหน้าที่ของหน่วยงาน •ภาระหน้าที่หลักของงานโดยรวม •ภาระหน้าที่หลักของแต่ละหน่วยงาน ประกอบด้วย
  • 48. 48 ผู้เขียนคู่มือการปฏิบัติงาน ต้องเขียนอธิบายชี้แจงให้ ผู้ศึกษา/ผู้ใช้คู่มือฯ ทราบถึงบทบาทหน้าที่ความ รับผิดชอบ ที่มีอยู่ในคู่มือการปฏิบัติงานนี้ โดยเขียนแยก เป็นหน้าที่ของหน่วยงาน และหน้าที่ความรับผิดชอบของ ตาแหน่งนั้นๆ เช่น...
  • 49. 49 ตัวอย่างการเขียน บทบาทหน้าที่ของสานักทะเบียนฯ สานักทะเบียนฯ มีภารกิจและบทบาทหน้าที่ดังนี้ ۞ การสนับสนุนการบริหารและดาเนินงานด้านวิชาการ การจัดการศึกษา และการจัด การเรียนการสอนของมหาวิทยาลัย ۞ สนับสนุนการบริหารและดาเนินงานของฝ่ายวิชาการของมหาวิทยาลัย ۞ การดาเนินงานเกี่ยวกับการขอเปิดหลักสูตรและรายวิชา และการจัดการสหกิจ ศึกษาของมหาวิทยาลัย ۞ การจัดทาระเบียบ ประกาศ แนวปฏิบัติต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานด้ายวิชาการและ การจัดการศึกษาของมหาวิทยาลัย ۞ การดาเนินงานด้านระบบทะเบียนและประมวลผลการศึกษาของมหาวิทยาลัย ฯลฯ
  • 50. 50 การเขียนขั้นตอน การปฏิบัติงาน สามารถเขียนในรูปของ... •ข้อความทั้งหมด (Wording) •ตาราง (Table) •แผนภูมิจาลอง (Model) •ผังของการปฏิบัติงาน (Flow Chart)
  • 51. 51
  • 52. 52
  • 53. 53
  • 54. 54
  • 55. 55
  • 56. 56 บทที่ 3หลักเกณฑ์วิธีการปฏิบัติงาน (กฎ ระเบียบ คาสั่ง ประกาศ ข้อบังคับ มติ เกณฑ์มาตรฐาน แนวคิด ทฤษฎี ฯลฯ) •กฎ ระเบียบ คาสั่ง ประกาศ •ข้อบังคับ มติ หนังสือเวียนที่เกี่ยวข้อง •เกณฑ์มาตรฐาน •แนวคิด ทฤษฎี ที่เกี่ยวข้อง •วิธีการคานวณ/วิธีการวิเคราะห์ ข้อมูล
  • 57. 57 กฎ ระเบียบ คาสั่ง ประกาศ ข้อบังคับ มติ เกณฑ์มาตรฐาน แนวคิด ทฤษฎี ฯลฯ ผู้เขียนคู่มือการปฏิบัติงาน ต้องเขียนอธิบายชี้แจงให้ผู้ ศึกษา/ผู้ใช้คู่มือฯ ทราบถึง กฎ ระเบียบ คาสั่ง ข้อบังคับ มติ เกณฑ์มาตรฐาน แนวคิด ทฤษฎี ตลอดจนวิธีการใน การวิเคราะห์ ที่มีอยู่ในคู่มือการปฏิบัติงานนี้
  • 58. 58 บทที่ 4เทคนิคการปฏิบัติงาน หรือ กรณีตัวอย่างศึกษา •เทคนิควิธีฯ 1/ กรณีศึกษา ........ •เทคนิควิธีฯ 2/ กรณีศึกษา ........ •เทคนิควิธีฯ 3/ กรณีศึกษา ........ •เทคนิควิธีฯ 4/ กรณีศึกษา ........ *การยกตัวอย่างให้ยกให้เห็น2ด้าน คือกรณีที่ “ถูก” หรือ”ทาได้”และ กรณีที่ “ผิด”หรือ “ทาไม่ได้”
  • 59. 59 ตัวอย่าง ในการเขียนในบทที่ 4กรณีตัวอย่างศึกษา/ เทคนิควิธีการใช้คู่มือ
  • 60. 60
  • 61. 61
  • 62. 62
  • 63. 63
  • 64. 64 คู่มือการปฏิบัติงาน เรื่อง... คู่มือการขอกาหนดตาแหน่ง ชานาญการ เชี่ยวชาญ เชี่ยวชาญพิเศษ (คู่มือการปฏิบัติงานของตาแหน่งบุคคล) การเขียนตัวอย่าง
  • 65. 65 จาก...มาตรฐานกาหนดตาแหน่งของ ก.พ.อ. สายงานบริหารทั่วไปในการพิจารณาแต่งตั้ง ขรก. ให้ดารงตาแหน่งชานาญการ ชานาญการพิเศษ เชี่ยวชาญ และ เชี่ยวชาญพิเศษ ก.พ.อ.ได้กาหนดคุณสมบัติเฉาะสาหรับตาแหน่ง สาหรับตาแหน่งระดับปฏิบัติการ ให้มีคุณวุฒิอย่างหนึ่ง อย่างใด ดังต่อไปนี้ 1) ได้รับปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบเท่าได้ ไม่ต่ากว่านี้ 2) ได้รับปริญญาโทหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบเท่าได้ ไม่ต่ากว่านี้ 3) ได้รับปริญญาเอกหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบเท่าได้ ไม่ต่ากว่านี้
  • 66. 66 และได้กาหนดคุณสมบัติเฉาะสาหรับตาแหน่ง สาหรับตาแหน่ง ระดับชานาญการ ดังนี้ 1) มีคุณสมบัติเฉพาะตาแหน่งเจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป ระดับปฏิบัติการ และ 2) เคยดารงตาแหน่งประเภทเชี่ยวชาญเฉพาะระดับปฏิบัติการ มาแล้วไม่น้อยกว่า 6ปี กาหนด 6ปี ให้ลดลงเป็น 4ปี สาหรับผู้ที่มีคุณสมบัติเฉพาะ สาหรับตาแหน่งเจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป ระดับปฏิบัติการ ข้อ 2กาหนด 6ปี ให้ลดลงเป็น 2ปี สาหรับผู้ที่มีคุณสมบัติเฉพาะ สาหรับตาแหน่งเจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป ระดับปฏิบัติการ ข้อ 3 หรือตาแหน่งประเภทอื่นตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่ ก.พ.อ. กาหนดและ 3) ปฏิบัติงานด้านการบริหารงานทั่วไป หรืองานอื่นที่เกี่ยวข้องซึ่ง เหมาะสมกับหน้าที่ความรับผิดชอบและลักษณะงานที่ปฏิบัติ มาแล้วไม่น้อยกว่า 1ปี
  • 67. 67 ตัวอย่างที่1 นาย ก. เป็นตาแหน่ง จ.บริหารฯระดับปฏิบัติการ และได้ปฏิบัติ งานมาในตาแหน่งนี้เป็นเวลา 7ปี นาย ก. มีคุณสมบัติเฉพาะตาแหน่งที่จะขอระดับชานาญการ หรือไม่ ? วิธีคานวณ จากคุณสมบัติเฉพาะตาแหน่งผู้ที่จะดารงระดับชานาญการต้องมี... 1.มีคุณสมบัติเฉพาะตาแหน่งสาหรับ จ.บริหารฯ และ 2.ดารงตาแหน่งระดับปฏิบัติการมาแล้วไม่น้อยกว่า 6ปี และ 3.ปฏิบัติงานด้านการบริหารทั่วไปหรืองานอื่นที่เกี่ยวข้องซึ่ง เหมาะสมกับหน้าที่ความรับผิดชอบมาแล้วไม่น้อยกว่า 1ปี สรุป...นาย ก. มีคุณสมบัติ จึงมีสิทธิ์ขอชานาญการ
  • 68. 68 ตัวอย่างที่2 นาย ข. เป็นตาแหน่ง จ.บริหารฯและได้ปฏิบัติงานในระดับปฏิบัติ การมาเป็นเวลา 3ปี ต่อมาได้ใช้วุฒิป.โทในการปรับวุฒิและปฏิบัติ งานต่อมาอีก 2ปี นาย ข. มีคุณสมบัติเฉพาะตาแหน่งที่จะขอระดับชานาญการ หรือไม่ ? วิธีคานวณ จากคุณสมบัติเฉพาะตาแหน่งผู้ที่จะดารงระดับชานาญการต้องมี... 1.มีคุณสมบัติเฉพาะตาแหน่งสาหรับ จ.บริหารฯ และ 2.ดารงตาแหน่งระดับปฏิบัติการมาแล้วไม่น้อยกว่า 6ปี และ 3.ปฏิบัติงานด้านการบริหารทั่วไปหรืองานอื่นที่เกี่ยวข้องซึ่ง เหมาะสมกับหน้าที่ความรับผิดชอบมาแล้วไม่น้อยกว่า 1ปี
  • 69. 69 จากคุณสมบัติข้อ 2ต้องดารงตาแหน่งระดับปฏิบัติการมาแล้วไม่ น้อยกว่า 6ปี ให้ลดลงเป็น 4ปี สาหรับผู้ที่มีวุฒิ ป.โท กรณี นาย ข. คานวรระยะเวลาการดารงตาแหน่ง 2 วุฒิทาได้ดังนี้ ป.ตรี+ป.โท+ป.เอก= 1 6 4 2 3 +2+0 = 1 6 4 2 0.5+0.5+0 = 1 1.00เท่ากับ1
  • 70. 70 นาย ข. มีคุณสมบัติเฉพาะตาแหน่งผู้ที่จะดารงระดับชานาญ การในข้อที่ 1. คือการมีคุณสมบัติเฉพาะตาแหน่งสาหรับ จ.บริหารฯ และมีคุณสมบัติ ข้อที่ 2. คือดารงตาแหน่งระดับปฏิบัติการมาแล้ว ไม่น้อยกว่า 6ปี หรือปริญญาโท 4ปี และมีคุณสมบัติ ข้อที่3. ใน การปฏิบัติงานด้านการบริหารทั่วไปหรืองานอื่นที่เกี่ยวข้องซึ่งเหมาะ สมกับหน้าที่ความรับผิดชอบมาแล้วไม่น้อยกว่า 1ปี นาย ข. มีคุณสมบัติเฉพาะตาแหน่งผู้ที่จะดารงระดับชานาญ การครบทั้ง 3 ข้อ จึงมีสิทธิ์ขอชานาญการได้
  • 71. 71 ตัวอย่างที่3 นาย ค. เป็นตาแหน่ง จ.บริหารฯและได้ปฏิบัติงานในระดับปฏิบัติ การมาเป็นเวลา 3ปี ต่อมาได้ใช้วุฒิป.โทในการปรับวุฒิและปฏิบัติ งานต่อมาอีก 1ปี 8เดือน นาย ค. มีคุณสมบัติเฉพาะตาแหน่งที่จะขอระดับชานาญการ หรือไม่ ? วิธีคานวณ จากคุณสมบัติเฉพาะตาแหน่งผู้ที่จะดารงระดับชานาญการต้องมี... 1.มีคุณสมบัติเฉพาะตาแหน่งสาหรับ จ.บริหารฯ และ 2.ดารงตาแหน่งระดับปฏิบัติการมาแล้วไม่น้อยกว่า 6ปี และ 3.ปฏิบัติงานด้านการบริหารทั่วไปหรืองานอื่นที่เกี่ยวข้องซึ่ง เหมาะสมกับหน้าที่ความรับผิดชอบมาแล้วไม่น้อยกว่า 1ปี
  • 72. 72 จากคุณสมบัติข้อ 2ต้องดารงตาแหน่งระดับปฏิบัติการมาแล้วไม่ น้อยกว่า 6ปี ให้ลดลงเป็น 4ปี สาหรับผู้ที่มีวุฒิ ป.โท กรณี นาย ค. คานวรระยะเวลาการดารงตาแหน่ง 2 วุฒิทาได้ดังนี้ ป.ตรี+ป.โท+ป.เอก= 1 6 4 2 3 +(20)+0 = 1 6 48 2 0.5+0.42+0 = 1 0.92น้อยกว่า1
  • 73. 73 นาย ค. มีคุณสมบัติเฉพาะตาแหน่งผู้ที่จะดารงระดับชานาญ การไม่ครบ กล่าวคือมีข้อที่ 1. คือการมีคุณสมบัติเฉพาะตาแหน่ง สาหรับ จ.บริหารฯ แต่ไม่มีคุณสมบัติ ข้อที่ 2. คือดารงตาแหน่ง ระดับปฏิบัติการมาแล้วไม่น้อยกว่า 6ปี หรือปริญญาโท 4ปีและมี คุณสมบัติ ข้อที่ 3. ในการปฏิบัติงานด้านการบริหารทั่วไปหรืองาน อื่นที่เกี่ยวข้องซึ่งเหมาะสมกับหน้าที่ความรับผิดชอบมาแล้วไม่น้อย กว่า 1ปี นาย ค. จึงมีคุณสมบัติเฉพาะตาแหน่งผู้ที่จะดารงระดับ ชานาญการไม่ครบทั้ง 3 ข้อ จึงไม่มีสิทธิ์ขอชานาญการได้
  • 74. 74 บทที่ 5ปัญหาอุปสรรคและ ข้อเสนอแนะ •ปัญหาและอุปสรรค •แนวทางแก้ไขในการปฏิบัติงาน •แนวทางพัฒนางานหรือปรุงงาน
  • 75. 75 ในบทนี้ผู้เขียนควรนาเสนอปัญหา อุปสรรค และ การใช้คู่มือการปฏิบัติงานเพื่อให้ผู้ศึกษาค้นคว้า/ผู้นา คู่มือไปใช้ เล็งเห็นถึงปัญหา อุปสรรค การจัดทา การ นาไปใช้ และการแก้ไขคู่มือการปฏิบัติงาน เพื่อจะได้ ดาเนินการใช้คู่มืออย่างมีประสิทธิภาพ จากประสบการณ์ของผู้เขียนที่ปฏิบัติงานใน ด้านนี้มาเป็นเวลานาน ผู้เขียนควรที่จะเสนอแนวทาง การแก้ไขปัญหา ตลอดจนแนวทางการพัฒนางาน หรือปรับปรุงงาน และข้อเสนอแนะ
  • 76. 76 เทคนิคการเขียนบทที่ 5 การที่จะเขียนปัญหาในบทที่ 5นี้ให้ได้มากๆ ต้องเขียน/บอกถึงปัญหาตามขั้นตอนต่างๆ ของการ ปฏิบัติงานที่กล่าวไว้ในบทที่ 2หรือ 3ว่าในแต่ละ ขั้นตอน -มีปัญหาอะไร? และเมื่อพบปัญหาแล้ว -ได้แก้ไขปัญหาด้วยวิธีการอะไร? และ -ทาอย่างไร? -ผลเป็นอย่างไร?
  • 77. 77 จากนั้นจึงทาการตั้ง “ปัญหา”หรือตั้ง “อุปสรรค”ขึ้นมาเอง แม้ปัญหาหรืออุปสรรคจะยัง ไม่เกิดขึ้นก็ตาม และเมื่อตั้งประเด็นปัญหา/อุปสรรคขึ้น มาแล้ว ก็ทาการตอบปัญหาหรือแก้ปัญหานั้นเอง เปรียบเสมือนเป็นหน้าม้า ที่เขียนปัญหา/อุปสรรค ขึ้นมาถามเอง แล้วก็เขียนตอบเอง หรือ ที่ชาวบ้านเรียกกันว่า “ชงเองกินเอง”
  • 78. 78
  • 79. 79
  • 80. 80 การเขียนบรรณานุกรม โดยแยกบรรณานุกรมสิ่งพิมพ์ภาษาไทยและบรรณานุ กรมสิ่งพิมพ์ภาษาต่างประเทศ และแต่ละภาษานั้นให้เรียง ตามลาดับอักษร แบบพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตสถาน และ พจนานุกรมภาษาอังกฤษทั่วไป การจัดทาบรรณานุกรม ให้ยึดแนวทางตามคู่มือการ จัดทาปริญญาวิทยานิพนธ์ ของแต่ละมหาวิทยาลัย
  • 81. 81 ภาคผนวก ภาคผนวก หมายถึงส่วนที่เกี่ยวข้องกับงานที่เขียน แต่ไม่ใช่ เนื้อหาของงาน เป็นส่วนที่นามาเพิ่มขึ้นในตอนท้าย เพื่อช่วย ให้ผู้ศึกษาค้นคว้าได้เข้าใจแจ่มแจ้งยิ่งขึ้น จะมีภาคผนวกหรือไม่ แล้วแต่ความจาเป็น ถ้าจะมีควรจัด ไว้ในหน้าต่อจากบรรณานุกรม
  • 82. 82 ภาคผนวก(ต่อ) ในภาคนวก ของเอกสารทางวิชาการ เช่น งานวิจัย งานวิเคราะห์ งานเขียนคู่มือการปฏิบัติงาน ฯลฯ ส่วนใหญ่แล้ว มักจะประกอบไปด้วย... ۰แบบสอบถาม ۰แบบสัมภาษณ์ ۰แบบเก็บข้อมูล ۰รูปภาพ ۰รายละเอียดการวิเคราะห์
  • 83. 83 เทคนิคการเขียนคู่มือการ ปฏิบัติงานให้เข้าใจง่าย •การใช้ภาพถ่าย •การใช้ภาพการ์ตูน •การใช้แบบฟอร์มบันทึก •การใช้ Multi Media
  • 86. 86
  • 87. 87
  • 89. 89
  • 91. 91
  • 92. 92
  • 93. 93
  • 94. 94 มีปัญหา ปรึกษา ติดต่อ.... 089-617-7878 หรือ ruajar@kku.ac.th