SlideShare a Scribd company logo
1 of 40
Download to read offline
ผลการดาเนินงานและผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน
ประจาปีการศึกษา 2555
ตามคู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2555 มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี ได้
กาหนดตัวบ่งชี้และเป้าหมายการพัฒนาคุณภาพการให้บริการของสานักบริการวิชาการชุมชน ไว้จานวน 15 ตัวบ่งชี้
จาก 7 องค์ประกอบคุณภาพที่กาหนดโดย สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ซึ่งมีรายละเอียดของตัวบ่งชี้และ
เป้าหมายที่กาหนด ดังนี้
ลาดับที่

ตัวบ่งชี้ที่

ชื่อตัวบ่งชี้

องค์ประกอบที่ 1 : ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค์ และแผนดาเนินการ
1
1.1 กระบวนการพัฒนาแผน (สกอ.1.1)
องค์ประกอบที่ 2 : การเรียนการสอน
2
2.4 ระบบการพัฒนาคณาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุน
(สกอ.2.4 ก.พ.ร. 12)
องค์ประกอบที5 : การบริการทางวิชาการแก่สังคม
่
3
5.1 ระบบและกลไกการบริการทางวิชาการแก่สังคม (สกอ.5.1)
4
5.2 กระบวนการบริการทางวิชาการให้เกิดประโยชน์ต่อสังคม (สกอ.5.2)
5
5.2.1 การเรียนรู้และเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนหรือองค์กรภายนอก 9)
(สมศ.
องค์ประกอบที่ 7 : การบริหารและการจัดการ
6
7.1 ภาวะผู้นาของสภาสถาบันและผู้บริหารทุกระดับของมหาวิทยาลัย
(สกอ.7.1 ก.พ.ร. 9.1)
7
7.1.2 การปฏิบัติตามบทบาทหน้าที่ของผู้บริหารมหาวิทยาลัย (สมศ. 13)
8
7.2 การพัฒนาสถาบันสู่สถาบันเรียนรู้ (สกอ.7.2 ก.พ.ร. 12)
9
7.4 ระบบบริหารความเสี่ยง (สกอ. 7.4 ก.พ.ร. 9.2
)
องค์ประกอบที่ 8 : การเงินและงบประมาณ
10
8.1 ระบบและกลไกการเงินและงบประมาณ (สกอ.8.1)
11
8.1.1 ร้อยละของการเบิกจ่ายเงินงบประมาณตามแผน (ก.พ.ร.6)
12
8.1.3 ร้อยละของการเบิกจ่ายงบประมาณภาพรวม (ก.พ.ร.8)
องค์ประกอบที่ 9 : ระบบและกลไกประกันคุณภาพ
13
9.1 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน (สกอ.9.1 ก.พ.ร. 6)
องค์ประกอบที่ 10 การดาเนินงานเพื่อการบรรลุถึงอัตลักษณ์และเอกลักษณ์ของมหาวิทยาลัย
14
10.1 การดาเนินกิจกรรม / โครงการเพื่อเสริมสร้างคุณลักษณะบัณฑิตให้เป็นผู้ใฝ่รู้
, ใฝ่เรียน มีความรู้คู่คุณธรรมและรักษ์ท้องถิ่น (ตัวบ่งชี้อัตลักษณ์)
15
10.2 การดาเนินกิจกรรม /โครงการเพื่อให้มหาวิทยาลัยเป็นมหาวิทยาลัยแห่งการ
เรียนรู้ด้านรู้ด้านการประยุกต์ใช้เทคโนโลยี เพื่อพัฒนาทักษะวิชาชีพและ
บริการท้องถิ่น (ตัวบ่งชี้อัตลักษณ์)

เป้าหมายปี
2555
5 ข้อ
4 ข้อ
3 ข้อ
3 ข้อ
3 ข้อ
5 ข้อ
3.51
3 ข้อ
4 ข้อ
4 ข้อ
ร้อยละ 90
ร้อยละ 93
6 ข้อ
3 ข้อ
3 ข้อ
ผลการประเมินตนเอง
องค์ประกอบที่ 1 ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค์ และแผนดาเนินการ
ตัวบ่งชี้ที่ 1.1 : กระบวนการพัฒนาแผน
เกณฑ์การให้คะแนน :
คะแนน 1
คะแนน 2
คะแนน 3
คะแนน 4
คะแนน 5
มีการดาเนินการ มีการดาเนินการ มีการดาเนินการ มีการดาเนินการ มีการดาเนินการ
1 ข้อ
2 หรือ 3 ข้อ
4 หรือ 5 ข้อ
6 หรือ 7 ข้อ
8 ข้อ
ผลการดาเนินงาน
ในรอบปีการศึกษา 2555 สานักบริการวิชาการชุมชนได้ดาเนินการพัฒนาแผนกลยุทธ์ให้สอดคล้องกับ
มหาวิทยาลัยโดยคานึงถึง อัตลักษณ์และจุดเน้นของมหาวิทยาลัย หลักการอุดมศึกษา กรอบแผนอุดมศึกษา
ระยะยาว มาตรฐานการศึกษาของชาติ มาตรฐานการอุดมศึกษา มาตรฐานวิชาชีพที่เกี่ยวข้อง ยุทธศาสตร์ด้านต่างๆ
ของชาติรวมถึง ทิศทางการพัฒนาประเทศตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และการเปลี่ยนแปลงของ
กระแสโลก โดยได้ดาเนินการ โดยสรุป ดังนี้
ข้อ

1

เกณฑ์การประเมิน

ผลดาเนินงาน

หลักฐาน

มีการจัดทาแผน
กลยุทธ์ที่สอดคล้องกับ
นโยบายของสภา
มหาวิทยาลัย โดยการ
มีส่วนร่วมของบุคลากร
ในมหาวิทยาลัย และ
ได้รับความเห็นชอบ
จากสภามหาวิทยาลัย
โดยเป็นแผนที่เชื่อมโยง
กับปรัชญาหรือปณิธาน
และพระราชบัญญัติ
มหาวิทยาลัยราชภัฏ
ตลอดจนสอดคล้องกับ
จุดเน้นของกลุ่ม
มหาวิทยาลัย กรอบ
แผนอุดมศึกษาระยะ
ยาว 15 ปี ฉบับที่ 2
(พ.ศ.2551 – 2565)
และแผนพัฒนา
การศึกษา
ระดับอุดมศึกษา ฉบับ
ที่ 10 (พ.ศ.2551 –

สานักบริการวิชาการชุมชน ได้ดาเนินการแต่งตั้งคณะกรรมการ
จัดทาและทบทวนแผนยุทธศาสตร์ที่ 4000/2554 และได้
ดาเนินการทบทวนแผนยุทธศาสตร์ 5 ปี พ.ศ.2552 – 2556 มา
เป็นฉบับปรับปรุงปี 2555 โดยความร่วมมือของคณะกรรมการ
โดยวิเคราะห์ความเชื่อมโยงของประเด็นยุทธศาสตร์ของสานัก ฯ
กับยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยและกระทรวงศึกษาธิการ โดย
คณะกรรมการ ฯ และนาเสนอคณะกรรมการบริการวิชาการ
ชุมชน มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี

- คาสั่งแต่งตั้ง
คณะกรรมการ
ทบทวนและจัดทา
แผนยุทธศาสตร์ด้าน
การบริการวิชาการ
ชุมชนที่ 4000/2554
(1.1(1)/1)
- รายงานการประชุม
คณะกรรมการ
ทบทวนและจัดทา
แผนยุทธศาสตร์ด้าน
การบริการวิชาการ
ชุมชน (1.1(1)/2)
- คาสั่งแต่งตั้ง
คณะกรรมการบริการ
วิชาการชุมชนที่
4069/2554
(1.1(1)/3)
- รายงานการประชุม
คณะกรรมการบริการ
วิชาการชุมชนวันที่ 27
มีนาคม
ข้อ

เกณฑ์การประเมิน

ผลดาเนินงาน

2554)

หลักฐาน
2555(1.1(1)/4)
- แผนยุทธศาสตร์
สานักบริการวิชาการ
ชุมชน ปี 2554 –
2556 (1.1(1)/5)

มีการถ่ายทอดแผน
กลยุทธ์ระดับ
มหาวิทยาลัยไปสู่ทุก
หน่วยงานภายใน

ผู้อานวยการสานักบริการวิชาการชุมชน ได้ถ่ายทอดแผน
กลยุทธ์ สานัก ฯ พ.ศ.2552 – 2556 ในที่คณะกรรมการ
บุคลากร เพื่อเป็นแนวทางในการพิจารณาทาแผนปฏิบัติราชการ
ประจาปี 2555

- แผนยุทธศาสตร์
สานักบริการวิชาการ
ชุมชน ปี 2555-2556
(1.1(2)/1)
- รายงานการประชุม
บุคลากรสานักบริการ
วิชาการชุมชนครั้งที่ 5
/ 2555 เมื่อวันที่ 31
พฤษภาคม 2555
(1.1(2)/2)

3

มีกระบวนการแปลง
แผนกลยุทธ์เป็น
แผนปฏิบัติการ
ประจาปีครบ 4 พันธ
กิจ คือ ด้านการเรียน
การสอน การวิจัย การ
บริการทางวิชาการ
และการทานุบารุง
ศิลปะและวัฒนธรรม

คณะกรรมการและบุคลากรในสานัก ฯ ได้พิจารณาข้อมูลจาก
การวิเคราะห์ SWOT ของสานัก ฯ และร่วมกันวิเคราะห์เสนอ
กิจกรรม / โครงการให้สอดคล้อง 4 พันธกิจ คือ ด้านการเรียน
การสอน การวิจัย การบริการทางวิชาการ และการทานุบารุง
ศิลปะและวัฒนธรรม เพื่อแปลงเป็นแผนปฏิบัติราชการประจาปี
2555

- แผนยุทธศาสตร์
สานักบริการวิชาการ
ชุมชน พ.ศ.2555 2556 (1.1(3)/1)
- แผนปฏิบัติการ
ประจาปี 2555 สานัก
บริการวิชาการชุมชน
(1.1(3)/2)

4

มีตัวบ่งชี้ของแผนกล คณะกรรมการและบุคลากรในสานัก ฯ ได้ร่วมกันกาหนดตัวบ่งชี้
ยุทธ์ แผนปฏิบัติการ ของแผนปฏิบัติราชการประจาปี 2555 เพื่อวัดความสาเร็จของ
ประจา ปี และค่า
การดาเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการประจาปี 2555
เป้าหมายของแต่ละ
ตัวบ่งชี้ เพื่อวัด
ความสาเร็จของการ
ดาเนินงานตามแผนกล
ยุทธ์และแผนปฏิบัติ

- แผนปฏิบัติการ
ประจาปีงบประมาณ
พ.ศ.2555 สานัก
บริการวิชาการชุมชน
(1.1(4)/1)

2
ข้อ

เกณฑ์การประเมิน

ผลดาเนินงาน

หลักฐาน

- สานัก ฯ มีการจัดทาปฏิทินการดาเนินงานตามแผนปฏิบัติงาน
ทั้ง 4 พันธกิจ เพื่อใช้เป็นแนวทางการดาเนินงานตาม
แผนปฏิบัติงานในเวลาที่เหมาะสม และรายงานในรายงาน
ประจาปี 2555

- รายงานผลการ
ปฏิบัติการและสรุปผล
การเบิกจ่าย
งบประมาณตาม
แผนปฏิบัติการ
ประจาปีงบประมาณ
พ.ศ.2555 ของสานัก
บริการวิชาการชุมชน
(1.1(5)/1)

มีการติดตามผลการ - สานัก ฯ มีการติดตามและการรายงานผลรายไตรมาสและแจ้ง
ดาเนินงานตามตัวบ่งชี้ ผู้บริหารของมหาวิทยาลัย
ของแผนปฏิบัติการ
ประจาปี อย่างน้อยปี
ละ 2 ครั้ง และรายงาน
ผลต่อผู้บริหารเพื่อ
พิจารณา

- บันทึกการประชุม
ประจาบุคลากรสานัก
บริการวิชาการชุมชน
ครั้งที่ 1/2555 ลง
วันที่ 29 กุมภาพันธ์
2555 (1.1(6)/1)
- บันทึกการประชุม
บุคลากรสำนัก ฯ ครั้ง

การประจาปี
5

6

มีการดาเนินงานตาม
แผนปฏิบัติการ
ประจาปีครบ 4
พันธกิจ

ที่ 3/2555 วันที่ 20
เมษายน 2555
(1.1(6)/2)
7

8

มีการประเมินผลการ - สานัก ฯ ได้ดาเนินการรายงานผลการดาเนินงานตามตัวบ่งชี้
ดาเนินงานตามตัวบ่งชี้ ของแผนกลยุทธ์ รายไตรมาส ต่อสภาโดยกองนโยบายและแผน
ของแผนกลยุทธ์ อย่าง สานักงานอธิการบดีเป็นผู้รายงานในภาพรวม
น้อยปีละ 1 ครั้ง และ
รายงานผลต่อผู้บริหาร
และสภามหาวิทยาลัย
เพื่อพิจารณา

มีการนาผลการ
พิจารณา
ข้อคิดเห็น และ
ข้อเสนอแนะของ
สภาสถาบันไป
ปรับปรุงแผนกล
ยุทธ์และ

- รายงานการประชุม
บุคลากรสำนัก ฯ ครั้ง

ที่ 6/2555 วันที่ 27
ธันวาคม
2555(1.1(7)/1)
ข้อ

เกณฑ์การประเมิน

ผลดาเนินงาน

หลักฐาน

แผนปฏิบัติการ
ประจาปี
ผลการประเมินตนเอง :
จากผลการดาเนินงานข้างต้นเมื่อประเมินโดยใช้เกณฑ์มาตรฐานและอิงเกณฑ์การประเมินตัวบ่งชี้
ของ สกอ. ในรอบปีการศึกษา 2555 สานักบริการวิชาการชุมชน มีผลประเมินด้านการพัฒนาแผนกลยุทธ์ สรุปได้
ดังนี้
ตัวบ่งชี้
1.1 กระบวนการพัฒนาแผน

ชนิด
ตัวบ่งชี้

เกณฑ์
มาตรฐาน

เป้าหมาย
ปี 2555

ผลการ
ดาเนิน
งาน

การบรรลุ
เป้าหมาย

ค่า
คะแนน
ที่ได้

P

8 ข้อ

5 ข้อ

7 ข้อ

บรรลุ
เป้าหมาย

4

ข้อสรุปผลการประเมินตนเองตามองค์ประกอบที่ 1
จุดแข็ง/แนวทางเสริมจุดแข็ง
สานักบริการวิชาการชุมชน เป็นหน่วยงานหลักในการประสานงานด้านการบริการวิชาการชุมชนร่วมกับ
ศูนย์ต้นทุนภายในมหาวิทยาลัยและหน่วยภายนอก ซึ่งมีลักษณะเฉพาะทางานได้อย่างคล่องตัว รวมทั้งยังมี
เครือข่ายการทางานภายนอกที่เข้มแข็งและชัดเจน สามารถเชื่อมประสานงานได้ในเกือบทุกมิติของพันธกิจ
หลักมหาวิทยาลัย
แนวทางเสริมจุดแข็ง
ควรมีการจัดการความรู้จากการปฏิบัติงานให้เป็นหมวดหมู่ที่ชัดเจนและเผยแพร่ให้กับศูนย์ต้นทุนอื่นๆ
ทั้งภายในมหาวิทยาลัยและหน่วยงานภายนอกได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้วย ผ่านช่องทางต่างๆที่หลากหลาย
เช่น การจัดทาเป็นฐานข้อมูลออนไลท์ การทาเป็นหนังสือเล่มเล็ก เป็นต้น
จุดที่ควรพัฒนา/ข้อเสนอแนะในการปรับปรุง
การดาเนินงานบางโครงการ ไม่เป็นไปตามแผน เนื่องจากช่วงเวลาดาเนินงานซ้อนทับกับภาระงาน
เร่งด่วนที่มหาวิทยาลัยมอบหมาย และความไม่สะดวกของกลุ่มเป้าหมายในการร่วมดาเนินโครงการใน
ช่วงเวลานั้น นอกจากนี้ยังมีงานอื่นที่นอกเหนือจากภารกิจของหลักมหาวิทยาลัย ที่มหาวิทยาลัยมอบหมาย
เพิ่มเติม เช่น การทางานร่วมกับจังหวัดบางโครงการ การช่วยเหลืองานของภาคีเครือข่ายที่หลากหลาย
เป็นต้น
วิธีปฏิบัติที่ดี/นวัตกรรม
สร้างระบบการติดตามตรวจสอบ และประเมินผลการดาเนินงานตามตัวบ่งชี้และตัวชี้วัดให้ชัดเจนและจัด
อบรมบุคลากรที่รับผิดชอบให้มีความเข้าใจในขั้นตอนและวิธีการติดตามประเมินผลโครงการและรายงานผล
ของแต่ละแผนงาน/โครงการที่รับผิดชอบ ด้วยเพื่อนาองค์ความรู้ไปใช้ในการดาเนินงานและวางแผน
ปฏิบัติงานต่อไป ตลอดจนการพัฒนาศักยภาพบุคลากรในด้านอื่นๆด้วยเพื่อเตรียมความพร้อมต่อการ
เปลี่ยนแปลงทั้งจากปัจจัยภายในและปัจจัยภายนอกที่อาจะเกิดขึ้นได้ตลอดเวลา

องค์ประกอบที่ 2 การผลิตบัณฑิต
ตัวบ่งชี้ที่ 2.4 ระบบการพัฒนาคณาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุน
เกณฑ์การประเมิน :
คะแนน 1
มีการดาเนินการ
1 ข้อ

คะแนน 2
มีการดาเนินการ
2 ข้อ

คะแนน 3
มีการดาเนินการ
3 หรือ 4 ข้อ

คะแนน 4
มีการดาเนินการ
5 หรือ 6 ข้อ

คะแนน 5
มีการดาเนินการ
7 ข้อ

ผลการดาเนินงาน :
ในรอบปีการศึกษา 2555 มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี มีการดาเนินงานพัฒนาคณาจารย์และบุคลากร
สายสนับสนุน ตามเกณฑ์มาตรฐาน สกอ. ดังนี้
ข้อ

เกณฑ์การประเมิน

มีแผนการบริหารและการพัฒนาคณาจารย์ทั้งด้าน
1 วิชาการ เทคนิคการสอนและการวัดผลและมีแผนการ
บริหารและพัฒนาบุคลากรสายสนับสนุนที่มีการ
วิเคราะห์ข้อมูลเชิงประจักษ์

ผลดาเนินงาน
สานักบริการวิชาการชุมชน มี
แผนพัฒนาบุคลากรระยะยาว มี
แผนในการพัฒนาบุคลากรทั้ง
ทางด้านการเพิ่มคุณวุฒิการศึกษา
และการพัฒนาทักษะวิชาชีพของ
ตนเอง

มีการบริหารและการพัฒนาคณาจารย์และบุคลากรสาย - สานักบริการวิชาการชุมชน มี
สนับสนุนให้เป็นไปตามแผนที่กาหนด
การดาเนินงานตามแผนการ
พัฒนาคณาจารย์และบุคลากร
สายสนับสนุน ซึ่งในรอบปี
การศึกษา 2555 คณาจารย์ทั้ง 3
คน และพนักงานสายสนับสนุน
2
ทั้ง 3 คน ได้รับการพัฒนาตนเอง
ครบทุกคน

หลักฐาน
- แผนพัฒนาบุคลากร
สานักบริการวิชาการ
ชุมชน ปี
2555(2.4(1)/1)

- รายงานผลการดาเนิน
โครงการพัฒนาบุคลากร
โดยการศึกษาดูงานและ
พัฒนาบุคลากรประจาปี
2555 (2.4(2)/1)
- หนังสือเชิญเข้าร่วม
โครงการอบรมเพื่อ
พัฒนาศักยภาพ
บุคลากรต่าง ๆ ที่
เกี่ยวข้องในรอบปี
การศึกษา
2555(2.4(2)/2)

มีสวัสดิการเสริมสร้างสุขภาพที่ดี และสร้างขวัญและ - สานักบริการวิชาการชุมชน มี - หนังสือเชิญเรื่องอบรม
กาลังใจให้คณาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุน
การจัดสวัสดิการเสริมสร้าง
การดูแลสุขภาพของ
3
สามารถทางานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
สุขภาพที่ดี และการสร้างขวัญ พนักงานและการ
และกาลังใจให้คณาจารย์และ บริจาคโลหิต (2.4(3)/1)
บุคลากรสายสนับสนุนสามารถ - หนังสือเชิญร่วม
ทางานได้อย่างมีประสิทธิภาพ สังสรรค์งานเลี้ยงปีใหม่
เช่น โครงการตรวจสุขภาพ
และจัดแข่งขันกีฬาของ
ประจาปี โครงการแข่งขันกีฬา พนักงานใน
และงานฉลองปีใหม่ โครงการ มหาวิทยาลัย ฯ
ศึกษาดูงานนอกสถานที่
(2.4(3)/2)
ข้อ

เกณฑ์การประเมิน

ผลดาเนินงาน

หลักฐาน
- ภาพถ่ายงานเลี้ยงปี
ใหม่สานักบริการ
วิชาการชุมชน
(2.4 (3)/3)
- ประกาศการเลื่อนขั้น
เงินเดือนของพนักงาน
(2.4(3)/4)

มีระบบการติดตามให้คณาจารย์และบุคลากรสาย
สนับสนุนนาความรู้และทักษะที่ได้จากการพัฒนามาใช้
ในการจัดการเรียนการสอนและการวัดผลการเรียนรู้
ของนักศึกษา ตลอดจนการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้อง

- สานักบริการวิชาการชุมชน มี
ระบบการติดตามให้คณาจารย์
และบุคลากรสายสนับสนุนนา
ความรู้และทักษะที่ได้จากการ
พัฒนามาใช้ในการปฏิบัติงานที่
เกี่ยวข้องตามระบบการ
ปฏิบัติงาน โดยใช้แบบรายงานไป
ราชการที่แสดงถึงองค์ความรู้ที่ได้
จากการไปพัฒนาและ ประเด็นที่
จะนาไปประยุกต์ใช้ใน
กระบวนการทางาน

- สรุปรายงานผลการนา
ความรู้และทักษะที่
ได้รับจากการพัฒนา
ศักยภาพตนเองมาใช้ใน
การปฏิบัติงานตาม
ภารกิจหน้าที่ที่
รับผิดชอบและได้รับ
มอบหมายจาก
มหาวิทยาลัย(2.4(4)/1)

มีการให้ความรู้ด้านจรรยาบรรณอาจารย์และบุคลากร - สานักบริการวิชาการชุมน มีการ
สายสนับสนุน และดูแลควบคุมให้คณาจารย์และ ให้ความรู้ด้านจรรยาบรรณ
บุคลากรสายสนับสนุนถือปฏิบัติ
อาจารย์และบุคลากรสาย
สนับสนุน โดยใช้คู่มือ
จรรยาบรรณของมหาวิทยาลัย
และมีการดูแลควบคุมให้
5
คณาจารย์และบุคลากร ให้ถือ
ปฏิบัติตามจรรยาบรรณอย่าง
เคร่งครัด และในรอบปีการศึกษา
2555 ที่ผ่านมา สานักไม่มีข้อ
ร้องเรียนด้านจรรยาบรรณที่จะ
ทาให้เสื่อมเสีย

- ประมวลจริยธรรมและ
จรรยาบรรณ
ในสถาบันอุดมศึกษา
(ของมหาวิทยาลัยฯ)
(2.4(5)/1)

4

6 มีการประเมินผลความสาเร็จของแผนการบริหารและ
การพัฒนาคณาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุน

-

-

7 มีการนาผลการประเมินไปปรับปรุงแผนหรือปรับปรุง
การบริหารและการพัฒนาคณาจารย์และบุคลากรสาย

-

-
ข้อ

เกณฑ์การประเมิน

ผลดาเนินงาน

หลักฐาน

สนับสนุน
ผลการประเมินตนเอง :
จากผลการดาเนินงานข้างต้นเมื่อประเมินโดยใช้เกณฑ์มาตรฐาน และอิงเกณฑ์การประเมิน ตัวบ่งชี้ ของ
สกอ. ในรอบปีการศึกษา 255 5 สานักบริการวิชาการชุมชน มีผลการประเมินระบบการพัฒนาคณาจารย์และ
บุคลากรสายสนับสนุน สรุปได้ ดังนี้
ตัวบ่งชี้

ชนิด
ตัวบ่งชี้

เกณฑ์
มาตรฐาน

2.4 ระบบการพัฒนาคณาจารย์
และบุคลากรสายสนับสนุน

P

7 ข้อ

เป้าหมาย ผลการ การบรรลุ
ปี 2555 ดาเนินงาน เป้าหมาย
บรรลุ
4 ข้อ
5 ข้อ
เป้าหมาย

ค่าคะแนน
ที่ได้
4

ข้อสรุปผลการประเมินตนเองตามองค์ประกอบที่ 2
จุดแข็ง/แนวทางเสริมจุดแข็ง
บุคลากรมีจานวนไม่มากทาให้มีการพัฒนาศักยภาพของตนเองได้ทั่วถึงและครบถ้วน
แนวทางเสริมจุดแข็ง
การดึงศักยภาพของภาคีเครือข่ายเข้ามาร่วมทางานเพื่อให้ภารกิจของสานักบริการวิชาการได้บรรลุและ
สาเร็จตามนั้นเป็นสิ่งที่จาเป็นมากเพราะต้องประสานงานกับเครือข่ายภายนอกอย่างต่อเนื่อง
จุดที่ควรพัฒนา/ข้อเสนอแนะในการปรับปรุง
ควรมีการประเมินผลความสาเร็จของแผนพัฒนาบุคลากร เพื่อนาผลการประเมินไปปรับปรุงแผนในรอบปี
ต่อไป
วิธีปฏิบัติที่ดี/นวัตกรรม
การส่งเสริมและสนับสนุนให้ผู้บริหารและบุคลากรภายในสานัก ฯ เกิดการเรียนรู้และความเชี่ยวชาญในการ
ปฏิบัติงานโดยการสนับสนุนด้านการศึกษา(การศึกษาต่อ) และพัฒนาศักยภาพของบุคลากรให้มีความพร้อมใน
การปฏิบัติงานอย่างสม่าเสมอ

องค์ประกอบที่ 5 การบริการทางวิชาการแก่สังคม
ตัวบ่งชี้ที่ 5.1 ระบบและกลไกการบริการทางวิชาการแก่สังคม
เกณฑ์การประเมิน :
คะแนน 1
คะแนน 2
มีการดาเนินการ มีการดาเนินการ
1 ข้อ
2 ข้อ

คะแนน 3
มีการดาเนินการ
3 ข้อ

คะแนน 4
มีการดาเนินการ
4 ข้อ

คะแนน 5
มีการดาเนินการ
5 ข้อ

ผลการดาเนินงาน :
ในรอบปีการศึกษา 2555 สานักบริการวิชาการชุมชน ดาเนินงานด้านการบริการทางวิชาการแก่สังคมตาม
เกณฑ์มาตรฐาน สกอ. ดังนี้
ข้อ

เกณฑ์การประเมิน
มีระบบและกลไกการบริการทางวิชาการแก่
สังคม และดาเนินการตามระบบที่กาหนด

1

2 มีการบูรณาการงานบริการทางวิชาการแก่
สังคมกับการเรียนการสอน

ผลดาเนินงาน

หลักฐาน

มีคู่มือการบริการวิชาการชุมชน
ที่กาหนดแนวปฏิบัติ ในการ
ให้บริการวิชาการแก่สังคม
คาสั่งที่ 2719/2555 แต่งตั้ง
คณะกรรมการทบทวนแผน
ยุทธศาสตร์ การบริการวิชาการ
ชุมชน ลงวันที่ 27 พฤศจิกายน
2555 โดยมีการจัดทาคู่มือขอ
ทุกหน่วยงาน ให้ถือปฏิบัติตาม
คู่มือบริการวิชาการ

1.1 คู่มือการบริการวิชาการ
ชุมชน (5.1 (1)/1)
1.2 ระเบียบสภามหาวิทยาลัย
ราชภัฏอุบลราชธานีว่าด้วย
การให้บริการวิชาการชุมชน
พ.ศ. 2548 (5.1 (1)/2)
1.3 แผนงาน / โครงการ
สานักบริการวิชาการชุมชนปี
2555 (5.1 (1)/3)
1.4 สัญญาโครงการขับเคลื่อน
งานด้านเด็กและเยาวชนแบบ
บูรณาการระดับจังหวัด :
อุบลราชธานี ซึ่งได้รับการ
สนับสนุนงบประมาณจาก
สานักงานกองทุนสนับสนุน
การสร้างเสริมสุขภาพ(สสส.)
(5.1 (1)/4)
1.5 หนังสือเชิญเป็นวิทยากร
คาสั่ง และตารางสรุปการไป
เป็นวิทยากรของบุคลากร
สานักบริการวิชาการชุมชน
ในรอบปีการศึกษา 2555
(5.1(1)/5)

พบการบูรณาการวิชาการ กับ
รายวิชาพัฒนาอนามัยชุมชน
โดย ผศ.อรอนงค์ บุรีเลิศ และมี
โครงการบริการวิชาการชุมชน
คือ โครงการวัยใส ขามใหญ่ร่วม
ใจพัฒนาชุมชน ในวันที่ 21
พฤษภาคม 2556

2.1 รายงานความก้าวหน้าผล
การดาเนินงานโครงการ
ขับเคลื่อนงานด้านเด็กและ
เยาวชนแบบบูรณาการระดับ
จังหวัด : อุบลราชธานี
พร้อมทั้งภาพถ่ายกิจกรรม
(5.1 (2)/1)
2.2 มคอ.3 รายวิชาการ
พัฒนาอนามัยชุมชน
โดย ผศ.อรอนงค์ บุรีเลิศ
คณะสาธารณสุขศาสตร์
(5.1 (2)/3)
2.4 รายงานผลการวิจัยฉบับ
สมบูรณ์ เรื่อง การศึกษา
ศักยภาพและความต้องการ
ข้อ

เกณฑ์การประเมิน

ผลดาเนินงาน

หลักฐาน
ของชุมชนในการขับเคลื่อน
งานด้านเด็กและเยาวชนของ
เทศบาลตาบลขามใหญ่
จังหวัดอุบลราชธานี โดย
ผศ.อรอนงค์ บุรีเลิศและคณะ
คณะสาธารณสุขศาสตร์(5.1
(2)/4)

3 มีการบูรณาการงานบริการทางวิชาการแก่
สังคมกับการวิจัย

- รายงานผลการวิจัยฉบับ
สมบูรณ์ เรื่อง การศึกษา
ศักยภาพและความต้องการ
ของชุมชนในการขับเคลื่อน
งานด้านเด็กและเยาวชนของ
เทศบาลตาบลขามใหญ่
จังหวัดอุบลราชธานี โดย
ผศ.อรอนงค์ บุรีเลิศและคณะ
คณะสาธารณสุขศาสตร์
(5.1(3)/1)

มีการประเมินผลความสาเร็จของการบูรณาการ มีการประเมินความสาเร็จ โดย
งานบริการทางวิชาการแก่สังคมกับการเรียน มี KPI คือ ผู้วิจัย / นักศึกษา /
การสอนและการวิจัย
ชุมชน ซึ่งสามารถแก้ปัญหาของ
ชุมชนได้ กลุ่มละ 1 ประเด็น

4

พบรายงานวิจัย เรื่องการศึกษา
ศักยภาพด้านความต้องการของ
ชุมชนในการขับเคลื่อนงานด้าน
เด็กและเยาวชนของเทศบาล
ตาบลขามใหญ่ จังหวัด
อุบลราชธานี เช่น ผศ.อรอนงค์
บุรีเลิศ และมีโครงการบริการ
ชุมชน คือ โครงการวัยใส ขาม
ใหญ่ ร่วมใจพัฒนาชุมชน ใน
วันที่ 21 พฤษภาคม 2556

- รายงานผลการประเมินการ
ดาเนินโครงการวิจัยเรื่อง
การศึกษาศักยภาพและความ
ต้องการของชุมชนในการ
ขับเคลื่อนงานด้านเด็กและ
เยาวชนของเทศบาลตาบล
ขามใหญ่ จังหวัดอุบลราชธานี
โดย ผศ.อรอนงค์ บุรีเลิศ
และคณะ คณะสาธารณสุข
ศาสตร์ (5.1(4)/1)
- หนังสือขอบคุณสานักบริการ
วิชาการชุมชนและ
ผศ.อรอนงค์ บุรีเลิศ และ
คณะ จากเทศบาลตาบลขาม
ใหญ่ ที่ได้ดาเนินงาน
โครงการวิจัยเรื่อง การศึกษา
ศักยภาพและความต้องการ
ของชุมชนในการขับเคลื่อน
งานด้านเด็กและเยาวชนของ
เทศบาลตาบลขามใหญ่
จังหวัดอุบลราชธานี
ข้อ

เกณฑ์การประเมิน

ผลดาเนินงาน

หลักฐาน
(5.1(4)/2)

มีการนาผลการประเมินไปปรับปรุงการบูรณา มีการนาผลการประเมินไป
การงานบริการทางวิชาการแก่สังคมกับการ ปรับปรุงแผนในปีถัดไป ในการ
เรียนการสอนและการวิจัย
ดาเนินโครงการขับเคลื่อนงาน
ด้านเด็กและเยาวชนแบบบูรณา
การระดับจังหวัด ซึ่งมีรายงาน
การประชุม ในวันที่ 23
มกราคม 2556 วันที่ 18
กุมภาพันธ์ 2556 ฯลฯ

5

- หนังสือบันทึกข้อความ
รายงานความก้าวหน้า
โครงการขับเคลื่อนงานด้าน
เด็กและเยาวชนแบบบูรณา
การระดับจังหวัด :
อุบลราชธานี (5.1(5)/1)
- รายงานความก้าวหน้า
โครงการขับเคลื่อนงานด้าน
เด็กและเยาวชนแบบบูรณา
การระดับจังหวัด :
อุบลราชธานี (5.1(5)/2)
- วิสัยทัศน์และแผน
ยุทธศาสตร์ของอธิการบดี(ผศ.
ประชุม ผงผ่าน)(5.1(5)/3)
- แผนยุทธศาสตร์สานัก
บริการวิชาการชุมชน ปี
2554-2556 (5.1(5)/4)
- รายงานการประชุม
กรรมการสานักบริการวิชาการ
ชุมชน(5.1(5)/5)
- รายงานการประชุม
คณะทางานขับเคลื่อนงาน
ด้านเด็กและเยาวชนแบบ
บูรณาการระดับจังหวัด :
อุบลราชธานี(5.1(5)/6)

ผลการประเมินตนเอง :
จากผลการดาเนินงานข้างต้นเมื่อประเมินโดยใช้เกณฑ์มาตรฐาน และอิงเกณฑ์การประเมิน ตัวบ่งชี้ ของ
สกอ. ในรอบปีการศึกษา 2555 สานักบริการวิชาการชุมชน มีผลการประเมินสรุปได้ ดังนี้
ตัวบ่งชี้

ชนิด
ตัวบ่งชี้

เกณฑ์
มาตรฐาน

5.1 ระบบและกลไกการบริการ
ทางวิชาการแก่สังคม

P

5 ข้อ

เป้าหมาย ผลการ การบรรลุ
ปี 2555 ดาเนินงาน เป้าหมาย
บรรลุ
3 ข้อ
5 ข้อ
เป้าหมาย

ตัวบ่งชี้ที่ 5.2 : กระบวนการบริการทางวิชาการให้เกิดประโยชน์ต่อสังคม

ค่าคะแนน
ที่ได้
5
เกณฑ์การประเมิน :
คะแนน 1
มีการดาเนินการ
1 ข้อ

คะแนน 2
มีการดาเนินการ
2 ข้อ

คะแนน 3
มีการดาเนินการ
3 ข้อ

คะแนน 4
มีการดาเนินการ
4 ข้อ

คะแนน 5
มีการดาเนินการ
5 ข้อ

ผลการดาเนินงาน :
ในรอบปีการศึกษา 2555 สานักบริการวิชาการชุมชน ดาเนินงานด้านการบริการทางวิชาการแก่สังคมตาม
เกณฑ์มาตรฐาน สกอ. ดังนี้
ข้อ

1

เกณฑ์การประเมิน
มีการสารวจความต้องการของชุมชน
หรือภาครัฐ หรือภาคเอกชน หรือ
หน่วยงานวิชาชีพเพื่อประกอบการ
กาหนดทิศทางและการจัดทาแผนการ
บริการทางวิชาการตามจุดเน้นของ
สถาบัน

2 มีความร่วมมือด้านบริการทางวิชาการ
เพื่อการเรียนรู้และเสริมสร้างความ
เข้มแข็งของชุมชน หรือภาคเอกชน หรือ
ภาครัฐ หรือหน่วยงานวิชาชีพ

ผลดาเนินงาน

หลักฐาน

ได้ทาการสารวจความ
ต้องการของชุมชน องค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่นในพื้นที่
โดยใช้แบบสารวจข้อมูลตาม
ความจาเป็นพื้นฐานในการ
ดาเนินงานด้านเด็กและ
เยาวชนขององค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่น

1. คาสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสานัก
บริการวิชาการชุมชน (5.2(1)/1)
2. รายงานผลการประชุม
คณะกรรมการสานักบริการวิชาการ
ชุมชน วันที่ 14 ธันวาคมคม 2555
(5.2(1)/2)
3. แบบสารวจข้อมูลความต้องการและ
จาเป็นพื้นฐานในการดาเนินงานด้าน
เด็กและเยาวชนขององค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่น ในพื้นที่จังหวัด
อุบลราชธานี(5.2(1)/3)
- แผนยุทธศาสตร์สานักบริการวิชาการ
ชุมชนปี 2554-2556(5.2(1)/4)

สานักบริการวิชาการชุมชน
มีการลงนามนับทึกข้อตกลง
ความร่วมมือในการดาเนิน
โครงการ ถนนเด็กเดิน
จังหวัดอุบลราชธานี

- บันทึกความร่วมมือ
โครงการถนนเด็กเดินจังหวัด
อุบลราชธานี
(5.2(2)/1)

- ประกาศแต่งตั้งคณะทางาน
โครงการขับเคลื่อนงานด้านเด็กและ
เยาวชนฯ(5.2(2)/2)
- บันทึกการประชุมโครงการ
ขับเคลื่อนงานด้านเด็กและเยาวชนฯ
(5.2(2)/3)

- ภาพถ่ายกิจกรรมโครงการ
ขับเคลื่อนงานด้านเด็กและเยาวชนฯ
และโครงการถนนเด็กเดินจังหวัด
อุบลราชธานี(5.2(2)/4)
3 มีการประเมินประโยชน์หรือผลกระทบ

สานักบริการวิชาการชุมชน ตัวอย่างรายงานผลการดาเนินงาน
ข้อ

เกณฑ์การประเมิน
ของการให้บริการทางวิชาการต่อสังคม

ผลดาเนินงาน

หลักฐาน

ได้ประเมินประโยชน์และ
ผลกระทบของการให้บริการ
วิชาการต่อสังคม
ประโยชน์ : องค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่นได้เข้าร่วม
โครงการ ได้สะท้อนภาพการ
ดาเนินงานในด้านเด็กและ
เยาวชนได้
ผลกระทบ : ทาให้ลดปัญหา
เด็กแว้นและการทะเลาะ
วิวาทลง และทาให้เด็กอยาก
ทากิจกรรมมากขึ้น

โครงการ เช่น
1. รายงานความก้าวหน้าโครงการ
ขับเคลื่อนงานด้านเด็กและเยาวชนฯ
(5.2(3)/1)
2. โครงการสร้างแกนนาเยาวชนคน
อาสา(5.2(3)/2)
3. โครงการเยาวชนวัยใส หัวใจจิต
อาสา พัฒนาสังคม (5.2(3)/3)
4. โครงการขยะแลกไข่ ลดรายจ่ายใน
ครัวเรือน (5.2(3)/4)
5. โครงการมัคคุเทศก์น้อย สานึกรักษ์
ท้องถิ่น (5.2(3)/5)
6. โครงการเยาวชนอาสาพัฒนาชุมชน
ตาบลโพธิ์ไทร (5.2(3)/6)
7. โครงการเยาวชนอาสาพัฒนาชุมชน
ตาบลโพธิ์ไทร (5.2(3)/7)
8.โครงการแข่งขันกีฬาพืนบ้านสาหรับ
้
เด็กและเยาวชน(5.2(3)/8)
9.โครงการปั้นปูนปั้นเด็ก(5.2(3)/9)
10. โครงการเพิ่มประสิทธิภาพสภาเด็ก
และเยาวชนตาบลหนองเหล่า
(5.2(3)/10)

มีการนาผลการประเมินในข้อ 3 ไป
มีการรายงานความก้าวหน้า
4 พัฒนาระบบและกลไก หรือกิจกรรมการ โครงการขับเคลื่อนงานด้าน
ให้บริการทางวิชาการ
เด็กและเยาวชนแบบบูรณา
การระดับจังหวัด
อุบลราชธานี โดยมีการจัด
ประชุมวันที่ 23 มกราคม
2556 วันที่ 18 กุมภาพันธ์
2556 ฯลฯ ตลอดการใช้
ระบบเครือญาติ ภูมิปัญญา
ท้องถิ่น จนเกิดเป็นศูนย์การ
เรียนรู้

- รายงานการประชุมสานักสานัก
บริการวิชาการชุมชนทุกเดือน
(5.2(4)/1)
- รายงานการประชุมคณะทางาน
โครงการขับเคลื่อนงานด้านเด็กและ
เยาวชนฯ (5.2(4)/2)
- แผนปฏิบัติงานโครงการขับเคลื่อน
งานด้านเด็กและเยาวชนฯ (5.2(4)/3)

5 มีการพัฒนาความรู้ที่ได้จากการให้บริการ
ทางวิชาการและถ่ายทอดความรู้สู่
บุคลากรภายในสถาบันและเผยแพร่สู่
สาธารณชน

- รวมสารประชาสัมพันธ์ ยางนาสาร
(5.2(5)/1)
- รวมสารประชาสัมพันธ์บัวตูม
(5.2(5)/2)
- รวมวารสารประชาสัมพันธ์บัวอุบล

สานักบริการวิชาการชุมชนมี
การพัฒนาองค์ความรู้ ที่ได้
จากการบริการวิชาการและ
ถ่ายทอดความรู้สู่บุคลากรนา
สานัก ฯ โดยเผยแพร่ 1
ข้อ

เกณฑ์การประเมิน

ผลดาเนินงาน

หลักฐาน

หนังสือเล่มเล็กสรุปบทเรียน
การทางานบริการวิชาการ
ชุมชนร่วมกับ อปท. และเว็บ
ไซด์
WWW.YOUTHUBON.COM
2. ประชาสัมพันธ์ ในจุลสาร
ยางนาสาร (สานักบริการ
วิชาการชุมชน ) บัวตูม ทั้ง
รายปักษ์

(5.2(5)/3)
-หนังสือเล่มเล็ก : สรุปบทเรียนการ
ทางานบริการวิชาการชุมชนร่วมกับ
อปท. (5.2(5)/4)
- เว็ปไซด์
WWW.YOUTHUBON.COM(5.2(5)/5)
- เว็ปไซด์ สานักบริการวิชาการชุมชน
(5.2(5)/6)

ผลการประเมินตนเอง :
จากผลการดาเนินงานข้างต้นเมื่อประเมินโดยใช้เกณฑ์มาตรฐาน และอิงเกณฑ์การประเมิน ตัวบ่งชี้ ของ
สกอ. ในรอบปีการศึกษา 2555 สานักบริการวิชาการชุมชน มีผลการประเมินสรุปได้ ดังนี้

ชนิด
ตัวบ่งชี้

ตัวบ่งชี้
5.2 กระบวนการบริการทาง
วิชาการให้เกิดประโยชน์ต่อ
สังคม

P

เกณฑ์
มาตรฐาน
5 ข้อ

เป้าหมาย
ปี 2555
3 ข้อ

ผลการ
ดาเนิน
งาน
5 ข้อ

การบรรลุ
เป้าหมาย
บรรลุ
เป้าหมาย

ค่า
คะแนน
ที่ได้
5

ตัวบ่งชี้ที่ 5.2.1 : การเรียนรู้และเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนหรือองค์กรภายนอก (สมศ. 9)
เกณฑ์การให้คะแนน
1
2
3
4
5
ปฏิบัติได้ 1 ข้อ ปฏิบัติได้ 2 ข้อ ปฏิบัติได้ 3 ข้อ ปฏิบัติได้ 4 ข้อ ปฏิบัติได้ 5 ข้อ
ผลการดาเนินงาน :
ในรอบปีการศึกษา 2555 สานักบริการวิชาการชุมชน มีผลการดาเนินงานตามเกณฑ์มาตรฐาน สมศ. ดังนี้
ข้อ
1

เกณฑ์การประเมิน

ผลดาเนินงาน

หลักฐาน

มีการดาเนินงานตามวงจรคุณภาพ (PDCA) โดย มีการดาเนินการตาม PDCA - ประกาศแต่งตั้งคณะทางาน
การมีส่วนร่วมของชุมชนหรือองค์กร
โครงการขับเคลื่อนงานด้าน
P นัดประชุม อบต. 25
เด็กและเยาวชนฯ(5.2.1(1)/1)
แห่ง เพื่อวางแผน
- รายงานผลการประชุม
ประสานงาน
D ดาเนินกิจกรรมตามแผน ร่วมกับ คณะทางานโครงการ
ขับเคลื่อนงานด้านเด็กและ
ข้อ

บรรลุเป้าหมายตามแผนไม่ต่ากว่าร้อยละ 80

ผลดาเนินงาน

หลักฐาน

C โดยการตรวจเยี่ยมเพื่อ
ประเมิน จากพฤติกรรมใน
การมีส่วนร่วมของชุมชน
A มีการนัดประชุมทุกกลุ่ม
เก็บข้อมูลเพื่อวิเคราะห์หา
แนวทางแก้ไขปัญหาการ
ดาเนินการและจัดทาเป็น
แผนในปีถัดไป
2

เกณฑ์การประเมิน

เยาวชนฯ(5.2.1(1)/2)
- แผนการดาเนินงานโครงการ
ขับเคลื่อนงานด้านเด็กและ
เยาวชนฯ (5.2.1(1)/3)

ได้มีการดาเนินการบรรลุ
เป้าหมาย

- รายงานความก้าวหน้าผล
การดาเนินโครงการขับเคลื่อน
งานด้านเด็กและเยาวชนฯ
(5.2.1 (2)/1)

ชุมชนหรือองค์กรมีผู้นาหรือสมาชิกที่มีการเรียนรู้ มีองค์กรแกนนาเยาวชนใน
และดาเนินกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง
รูปแบบสภาเด็กและเยาวชน
3
ในระดับ อปท. 20 แห่ง มี
คาสั่งแต่งตั้งสภาเด็กทั้ง 20
แห่ง และยังมีโครงการ
สนับสนุนการดาเนินงานของ
สภาเด็กและเยาวชน

- คาสั่งแต่งตั้งสภาเด็กและ
เยาวชนในระดับท้องถิ่น
(5.2.1 (3)/1)
- โครงการของ อปท.ที่ให้การ
สนับสนุนการดาเนินงานของ
สภาเด็กและเยาวชน (5.2.1
(3)/2)

ชุมชนหรือองค์กรสร้างกลไกที่มีการพัฒนาตนเอง องค์กรสภาเด็กและเยาวชน
อย่างต่อเนื่องและยั่งยืน โดยคงอัตลักษณ์และ ได้มีการขับเคลื่อนงานด้าน
วัฒนธรรมของชุมชนหรือองค์กร
เด็กและเยาวชน ฯ จะจัด
โครงการสร้างสรรค์เพื่อการ
พัฒนาศักยภาพแกนนาสภา
เด็กให้มีความเข้มแข็งและ
อย่างยั่งยืน

- ตัวอย่างโครงการของ อปท.
ที่ให้การสนับสนุนการ
ดาเนินงานของสภาเด็กและ
เยาวชน (5.2.1 (4)/1)
- โครงการสภาเด็กและ
เยาวชนระดับท้องถิ่น
(5.2.1 (4)/2) เช่น
1. โครงการสร้างแกนนา
เยาวชนคนอาสา
2. โครงการเยาวชนวัยใส
หัวใจจิตอาสา พัฒนาสังคม
3. โครงการขยะแลกไข่
ลดรายจ่ายในครัวเรือน
4. โครงการมัคคุเทศก์น้อย
สานึกรักษ์ท้องถิ่น
5. โครงการเยาวชนอาสา
พัฒนาชุมชน ตาบลโพธิ์ไทร
6. โครงการเยาวชนอาสา

4
ข้อ

เกณฑ์การประเมิน

ผลดาเนินงาน

หลักฐาน
พัฒนาชุมชน ตาบลโพธิ์ไทร
7.โครงการแข่งขันกีฬาพืนบ้าน
้
สาหรับเด็กและเยาวชน
8.โครงการปั้นปูนปั้นเด็ก
9. โครงการเพิ่มประสิทธิภาพ
สภาเด็กและเยาวชนตาบล
หนองเหล่า เป็นต้น

มีผลกระทบที่เกิดประโยชน์สร้างคุณค่าต่อสังคม เด็กและเยาวชน ถือว่าเป็น
หรือชุมชน/องค์กรมีความเข้มแข็ง
จุดเชื่อมโยงของสานักบริการ
วิชาการชุมชนร่วมภาคี
เครือข่ายต่าง ๆ ทั้งภายใน
และภายนอกอย่างชัดเจน
5
โดยได้รับการสนับสนุน
งบประมาณจาก สสส. อย่าง
ต่อเนื่องถึง 3 ปี ตลอดจนการ
หนุนเสริมให้ชุมชนและ
ท้องถิ่นเกิดความเข้มแข็ง
อย่างยั่งยืน

- แผนงาน/โครงการที่ อปท.
ให้การสนับสนุนการ
ดาเนินงานของสภาเด็กและ
เยาวชนอย่างต่อเนื่อง
(5.2.1 (5)/1)

ผลการประเมินตนเอง :
จากผลการดาเนินงานข้างต้นเมื่อประเมินโดยใช้เกณฑ์มาตรฐาน และอิงเกณฑ์การประเมิน ตัวบ่งชี้ ของ
สมศ. ในรอบปีการศึกษา 2555 สานักบริการวิชาการชุมชน มีผลการประเมินสรุปได้ ดังนี้
ตัวบ่งชี้
5.2.1 การเรียนรู้และเสริมสร้าง
ความเข้มแข็งของชุมชนหรือ
องค์กรภายนอก

ชนิด
ตัวบ่งชี้
P

เกณฑ์
มาตรฐาน
5 ข้อ

เป้าหมาย
ปี 2555
3 ข้อ

ผลการ
ดาเนิน
งาน
5 ข้อ

การบรรลุ
เป้าหมาย
บรรลุ
เป้าหมาย

ค่า
คะแนน
ที่ได้
5

ข้อสรุปผลการประเมินตนเองตามองค์ประกอบที่ 5
จุดแข็ง/แนวทางเสริมจุดแข็ง
1. มีโครงการในการบริการวิชาการจานวนมาก โดยเฉพาะโครงการขับเคลื่อนงานด้านเด็กและเยาวชนฯ ที่
ถือว่าเป็นจุดเด่นของสานักบริการวิชาการชุมชนและได้รับการสนับสนุนจากแหล่งทุนและหน่วยงานภายนอกที่
ชัดเจนและมีความต่อเนื่องถึง 3 ปี
2. มีกระบวนการทางานร่วมกับชุมชนท้องถิ่นอย่างต่อเนื่องโดยมีผลงานเป็นที่ประจักษ์ ทาให้แหล่งทุน
ภายนอกเข้ามาสนับสนุนการทางานเป็นจานวนมาก
แนวทางเสริมจุดแข็ง
1. ควรวิเคราะห์การบริการวิชาการแก่ชุมชนให้มีความสอดคล้องกับพันธกิจหรือกลยุทธ์หรือยุทธศาสตร์
ของมหาวิทยาลัยและของสานักบริการวิชาการชุมชนอย่างเป็นหมวดหมู่
2. ให้มีการจัดบริการวิชาการแก่ชุมชนให้กระจายครอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมายและในเชิงพื้นที่ด้วย
จุดที่ควรพัฒนา/ข้อเสนอแนะในการปรับปรุง
1. ควรมีประกาศมหาวิทยาลัย ให้ปฏิบัติตามคู่มือบริการวิชาการชุมชน
2. เรียงลาดับความต้องการจากมากไปหาน้อย
วิธีปฏิบัติที่ดี/นวัตกรรม
1. มีรูปแบบการทางานร่วมกับชุมชนและภาคีเครือข่ายภายนอกที่สามารถทาให้ชุมชนเกิดความเข้มแข็ง
อย่างเป็นรูปธรรมได้
2. มีการประสานเครือข่ายการทางานด้านบริการวิชาการชุมชนที่เข้มแข็งทั้งในระดับจังหวัดและในพื้นที่
3. มีหน่วยงานภายนอกให้งบประมาณสนับสนุนการดาเนินงานอย่างต่อเนื่อง เช่น สานักงานกองทุน
สนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ(สสส.) คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นต้น

องค์ประกอบที่ 7 การบริหารและการจัดการ
ตัวบ่งชี้ที่ 7.1 ภาวะผู้นาของสภามหาวิทยาลัยและผู้บริหารทุกระดับของมหาวิทยาลัย
เกณฑ์การประเมิน :
คะแนน 1
มีการดาเนินการ
1 ข้อ

คะแนน 2
มีการดาเนินการ
2 หรือ 3 ข้อ

คะแนน 3
มีการดาเนินการ
4 หรือ 5 ข้อ

คะแนน 4
มีการดาเนินการ
6 ข้อ

คะแนน 5
มีการดาเนินการ
7 ข้อ

ผลการดาเนินงาน :
ในรอบปีการศึกษา 2555 สานักบริการวิชาการชุมชน มีผลการดาเนินงานตามเกณฑ์มาตรฐาน สกอ. ดังนี้
ข้อ

เกณฑ์การประเมิน
ผู้บริหารสานักบริการวิชาการชุมชนปฏิบัติหน้าที่
ตามที่กฎหมายกาหนดครบถ้วนและมีการประเมิน
ตนเองตามหลักเกณฑ์ที่กาหนดล่วงหน้า

1

ผลดาเนินงาน

หลักฐาน

มีการบริหารจัดการการ
ดาเนินงานของสานัก
บริการวิชาการชุมชน
ตามข้อบังคับ โดยการ
แต่งตั้งคณะกรรมการ
บริการการวิชาการชุมชน
ที่ 2719/2555 ลงวันที่
27 พ.ย.2555
คณะกรรมการทบทวน
และจัดทาแผน
ยุทธศาสตร์ ที่
2717/2555 ลงวันที่ 27
พ.ย.2555 ทาหน้าที่
กาหนดนโยบาย
เสนอแนะให้คาปรึกษา
การดาเนินงานตลอดจน

1.1 บันทึกการประชุม
ประจาเดือนของสานักบริการ
วิชาการชุมชน (7.1(1)/1
1.2 รายงานผลการประเมิน
ผู้บริหารประจาปี จาก
สานักงานตรวจสอบภายใน
(7.1(1)/2)
ข้อ

เกณฑ์การประเมิน

ผลดาเนินงาน

หลักฐาน

พิจารณา แผนปฏิบัติ
ราชการ
ผู้บริหารมีวิสัยทัศน์ กาหนดทิศทางการดาเนินงาน
และสามารถถ่ายทอดไปยังบุคลากรทุกระดับ มี
ความสามารถในการวางแผนกลยุทธ์ มีการนาข้อมูล
2
สารสนเทศเป็นฐานในการปฏิบัติงานและพัฒนา
มหาวิทยาลัย

3

ผู้บริหารมีการกากับ ติดตามและประเมินผลการ
ดาเนินงานตามที่มอบหมาย รวมทั้งสามารถสื่อสาร
แผนและผลการดาเนินงานของมหาวิทยาลัยไปยัง
บุคลากรในมหาวิทยาลัย

ผู้อานวยการสานัก
บริการวิชาการชุมชน
กาหนดวิสัยทัศน์ แนว
ทางการดาเนินงานอย่าง
ชัดเจน ในการประชุม
ครั้งที่ 2/54 วันที่ 15
ก.พ.55 และได้ถ่ายทอด
นโยบาย วิสัยทัศน์ และ
แผนกลยุทธ์ให้แก่
บุคลากรทุกระดับได้
รับทราบในที่ประชุม ใน
วันที่ 27 มี.ค.55 วันที่
19 พ.ค.55 และวันที่ 27
ธ.ค.55

1. สรุปการจัดประชุมเพื่อ
จัดทาแผนยุทธศาสตร์ร่วมกัน
เพื่อกาหนดวิสัยทัศน์ / พันธ
กิจ / แผนกลยุทธ์ในการ
ทางานให้องค์กรมี
ประสิทธิภาพ (7.1 (2)/1)

ผู้อานวยการสานัก
3.1 สรุปรายงานการประชุม
บริการวิชาการชุมชน ได้ ทุกเดือน (7.1(3)/1)
มอบหมาย โดยติดตาม
จากที่ประชุม
กรรมการบริหารสานัก
ทุกครั้ง

4 ผู้บริหารสนับสนุนให้บุคลากรในมหาวิทยาลัยมีส่วน สนับสนุนให้บุคลากรใน
ร่วมในการบริหารจัดการ ให้อานาจในการตัดสินใจแก่ หน่วยงานได้มีส่วนร่วมใน
บุคลากรตามความเหมาะสม
การบริหารจัดการและให้
อานาจในการตัดสินใจ
ตามความเหมาะสม

4.1 ระเบียบวาระการประชุม
ประจาเดือนสานักบริการ
วิชาการชุมชน (7.1(4)/1)
4.2 สรุปโครงการพัฒนา
ศักยภาพศึกษาดูงานสานัก
บริการวิชาการชุมชน
ปี 2555 (7.1 (4)/2)

ผู้บริหารถ่ายทอดความรู้และส่งเสริมพัฒนาผู้ร่วมงาน ส่งเสริมพัฒนาผู้ร่วมงาน
เพื่อให้สามารถทางานบรรลุวัตถุประสงค์ของ
ในเรื่อง ความหมายและ
มหาวิทยาลัยเต็มตามศักยภาพ
ลักษณะการบริการที่ดี
และพื้นฐานสาคัญในการ
ให้บริการ ในวันที่ 11
เมษายน 2555

5.1 สรุปการประชุมแนว
ทางการขับเคลื่อนงานวิจัย
ท้องถิ่น 3 หน่วยงาน
(7.1(5)/1)
5.2 เอกสารบันทึกความ
ร่วมมือ (MOU) ร่วมกับ
เครือข่ายต่าง ๆ (7.1 (5)/2)
5.3 เครือข่ายภาครัฐและ

5
ข้อ

เกณฑ์การประเมิน

ผลดาเนินงาน

หลักฐาน
องค์กรชุมชน (7.1 (5)/3)

ผู้บริหารบริหารงานด้วยหลักธรรมาภิบาล โดย
คานึงถึงประโยชน์ของมหาวิทยาลัยและผู้มีส่วนได้
ส่วนเสีย

6

หลักประสิทธิผล
ประชุมหารือมอบหมาย
การทางาน และติดตาม
ผล โดยการประชุมทุก
เดือน ติดตามสอบถาม
ทบทวนในแต่ละโครงการ
ติดตามความก้าวหน้า ถ้า
ยังดาเนินการอยู่ก็จะต้อง
ดาเนินการให้แล้วเสร็จ
หลักประสิทธิภาพ
ประเมินผลโครงการที่
ดาเนินการสาเร็จแล้ว ว่า
เป็นไปตามวัตถุประสงค์
หรือไม่แล้ว ให้ทุกคนตาม
งานความก้าวหน้า โดย
สรุปเป็นรูปเล่มโครงการ
หลักการตอบสนอง
บริการให้ทุกคนสามารถ
ดาเนินการตามภารกิจได้
ตามระยะเวลาที่กาหนด
และร่วมกันแก้ไขปัญหา
อุปสรรค เป็นเป้าหมายที่
เป็นนักศึกษา / นักเรียน
ไม่สามารถเข้าร่วม
โครงการ
หลักภาระรับผิดชอบ
กากับดูแลการทางาน
ของบุคลากร ตามภาระ
งานที่กาหนดไว้ในกรอบ
ติดตามโดยสอบถามในที่
ประชุม รายงานผลเมื่อ
ดาเนินโครงการสาเร็จ
หลักความโปร่งใส
รายงานกิจกรรม การใช้
งบประมาณในที่ประชุม
ประจาเดือนทุกครั้งและ
ผู้บริหารถ่ายทอดภารกิจ

6.1 สรุปรายงานการประชุมที่
เกี่ยวข้องกับการใช้จ่าย
งบประมาณและการประชุม
ประจาเดือนทุกเดือน
(7.1(6)/1) รายงานการ
ประชุม
ข้อ

เกณฑ์การประเมิน

ผลดาเนินงาน

หลักฐาน

งานการประชุม
คณะกรรมการบริหารให้
บุคลากรรับทราบ
หลักการมีส่วนร่วม
เปิดโอกาสให้บุคลากรทุก
ระดับมีส่วนร่วมในการ
เลือกดาเนินในแต่ละ
กิจกรรมรีบทบทวน
ยุทธศาสตร์ / แผนปฏิบัติ
ภาระงาน
หลักกระจายอานาจ
มอบหมายให้รอง
รักษาการแทน กาหนด
และมอบอานาจในการ
บริหารแต่ละเรื่องให้รอง
โดยกาหนดบทบาท
หน้าที่ในการควบคุมดูแล
ติดตาม และแก้ไขปัญหา
งานในหน้าที่รับผิดชอบ
ตัวอิสระ
หลักนิติธรรม
บริหารตามเจตนารมณ์
ของระเบียบข้อบังคับ
ของมหาวิทยาลัย
หลักเสมอภาค
ทุกคนเท่าเทียมกัน
เหมือนครอบครัว
เดียวกัน
หลักมุ่งเน้นฉันทามติ
ให้เสียงส่วนใหญ่จากที่
ประชุมลงมติ ในทุกเรื่อง
ทุกด้าน
สภามหาวิทยาลัยประเมินผลการบริหารงานของ
7 มหาวิทยาลัยและผู้บริหารนาผลการประเมินไป
ปรับปรุงการบริหารงานอย่างเป็นรูปธรรม

- สภามหาวิทยาลัยได้ 7.1 รายงานการประเมินผล
ดาเนินการประเมินผล การปฏิบัติงานของสานัก และ
การปฏิบัติงานของ
ผอ.สานัก ฯ (7.1(7)/1)
สานักฯ และ ผอ.สานักฯ
ได้คะแนน 4.38
ผลการประเมินตนเอง :
จากผลการดาเนินงานข้างต้นเมื่อประเมินโดยใช้เกณฑ์มาตรฐาน และอิงเกณฑ์การประเมิน ตัวบ่งชี้ ของ
สกอ. ในรอบปีการศึกษา 2555 สานักบริการวิชาการชุมชน มีผลการประเมินสรุปได้ ดังนี้
ชนิด
ตัวบ่งชี้

ตัวบ่งชี้
7.1 ภาวะผู้นาของสภา
มหาวิทยาลัยและผู้บริหารทุก
ระดับของมหาวิทยาลัย

P

เกณฑ์
มาตรฐาน
7 ข้อ

เป้าหมาย
ปี 2555
5 ข้อ

ผลการ
ดาเนิน
งาน
7 ข้อ

การบรรลุ
เป้าหมาย
บรรลุ
เป้าหมาย

ค่า
คะแนน
ที่ได้
5

ตัวบ่งชี้ที่ 7.1.2 การปฏิบัติตามบทบาทหน้าที่ของผู้บริหารมหาวิทยาลัย(สมศ. 13
)
ผลการดาเนินงาน :
ในรอบปีการศึกษา 2555 สานักบริการวิชาการชุมชน มีผลการดาเนินงานตามเกณฑ์มาตรฐาน สมศ.
ดังนี้
การปฏิบัติตามบทบาทหน้าที่ของผู้บริหารสถาบัน โดยสภามหาวิทยาลัยได้ดาเนินการประเมินผลการ
ปฏิบัติงานของสานัก ฯ และผู้อานวยการสานัก ฯ ได้คะแนน 4.38
ผลการประเมินตนเอง :
จากผลการดาเนินงานข้างต้นเมื่อประเมินโดยใช้เกณฑ์มาตรฐาน และอิงเกณฑ์การประเมิน ตัวบ่งชี้ ของ
สมศ. ในรอบปีการศึกษา 2555 สานักบริการวิชาการชุมชน มีผลการประเมินสรุปได้ ดังนี้
หลักฐานอ้างอิง:
หมายเลขเอกสาร
7.1.2 (1) /1
7.1.2 (1) /2
7.1.2 (2) /1
7.1.2 (3) /1
7.1.2 (4) /1

ชื่อเอกสาร
แผนยุทธศาสตร์สานักบริการวิชาการชุมชนและแผ่นพับสานัก ฯ
ระเบียบวาระการประชุมประจาเดือน
ตารางมอบหมายภารกิจให้ดาเนินโครงการของสานักบริการวิชาการชุมชน
บันทึกข้อความและสรุปค่าใช้จ่ายเพื่อรายงานต่อมหาวิทยาลัย
แบบประเมินผู้บริหารและรายงานผลการประเมินตนเองของผู้บริหาร

ตัวบ่งชี้
7.1.2 การปฏิบัติตามบทบาท
หน้าที่ของผู้บริหาร
มหาวิทยาลัย

ชนิด
ตัวบ่งชี้
P

เกณฑ์
มาตรฐาน
5 คะแนน

ตัวบ่งชี้ที่ 7.2 การพัฒนามหาวิทยาลัยสู่สถาบันเรียนรู้

เป้าหมาย
ปี 2554
3.51

ผลการ
ดาเนิน
งาน
4.38

การบรรลุ
เป้าหมาย
บรรลุ
เป้าหมาย

ค่า
คะแนน
ที่ได้
4.38
เกณฑ์การประเมิน :
คะแนน 1
มีการดาเนินการ
1 ข้อ

คะแนน 2
มีการดาเนินการ
2 ข้อ

คะแนน 3
มีการดาเนินการ
3 ข้อ

คะแนน 4
มีการดาเนินการ
4 ข้อ

คะแนน 5
มีการดาเนินการ
5 ข้อ

ผลการดาเนินงาน :
ในรอบปีการศึกษา 2555 สานักบริการวิชาการชุมชน มีผลการดาเนินงานตามเกณฑ์มาตรฐาน สกอ.
ดังนี้
ข้อ

เกณฑ์การประเมิน

มีการกาหนดประเด็นความรู้และเป้าหมายของการ
จัดการความรู้ที่สอดคล้องกับแผนกลยุทธ์ของ
มหาวิทยาลัยอย่างน้อยครอบคลุมพันธกิจด้านการ
1 ผลิตบัณฑิตและด้านการวิจัย

ผลดาเนินงาน

หลักฐาน

สานักบริการวิชาการชุมชน
กาหนดประเด็นความด้าน
การผลิตบัณฑิต คือ ความรู้
ด้านประกันคุณภาพ
ประเด็นการวิจัย คือ บทบาท
ของมหาวิทยาลัยราชภัฏ
อุบลราชธานี ในการพัฒนา
ท้องถิ่นด้านเด็กและเยาวชน

1.1 แผนปฏิบัติราชการ
ประจาปีสานักบริการวิชาการ
ชุมชน พ.ศ.2556
(7.2 (1)/1)
1.2 โครงการจัดการความรู้
เรื่องงานประกันคุณภาพ
การศึกษา (7.2(1)/2)
1.3 เอกสารประกอบการ
ประชุมประจาเดือนของ
สานักบริการวิชาการชุมชน
(7.2 (1)/3)
1.4 เอกสารสรุปผลการ
ดาเนินโครงการจัดการความรู้
ด้านประกันคุณภาพ
การศึกษาสานักบริการ
วิชาการชุมชน (7.2(1)/4)
1.5 เอกสารสรุปผลการ
ดาเนินงานบทบาทของ
มหาวิทยาลัยราชภัฏ
อุบลราชธานีในการพัฒนา
ท้องถิ่นด้านเด็กและเยาวชน
(7.2(1)/5)

2 กาหนดบุคลากรกลุ่มเป้าหมายที่จะพัฒนาความรู้ สานักบริการวิชาการชุมชน
และทักษะด้านการผลิตบัณฑิตและด้านการวิจัย ได้กาหนดกลุ่มเป้าหมาย
อย่างชัดเจนตามประเด็นความรู้ที่กาหนดในข้อ 1 สาหรับประเด็นการผลิต
บัณฑิต คือ บุคลากรของ
สานัก ฯ จานวน 6 คน
กลุ่มเป้าหมาย สาหรับ
ประเด็นวิจัย คือ บทบาท

2.1 เอกสาร บันทึกความ
ร่วมมือ ( MOU) ด้านงาน
ประกันคุณภาพการศึกษา
ระหว่างมหาวิทยาลัยราชภัฏ
อุบลราชธานีและสานัก
บริการวิชาการชุมชนโดยมี
รายชื่อบุคลากรสานักบริการ
ข้อ

เกณฑ์การประเมิน

ผลดาเนินงาน

หลักฐาน

ของมหาวิทยาลัยราชภัฏ
อุบลราชธานี ในการพัฒนา
ท้องถิ่นด้านเด็กและเยาวชน
คือ องค์กรปกครองส่วน
ท้องถิ่นในจังหวัด
อุบลราชธานี จานวน 25
แห่ง

วิชาการชุมชนในช่องตาราง
ความรับผิดชอบของแต่ละตัว
บ่งชี้ (7.2 (2)/1)
2.2 หนังสือบันทึกข้อความ
มอบหมายภารกิจงานด้าน
ประกันคุณภาพการศึกษาทุก
ตัวบ่งชี้ (7.2 (2)/ 2)
- เอกสารสรุปผลการ
ดาเนินงาน (7.2(2)/3

มีการแบ่งปันและแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากความรู้
ทักษะของผู้มีประสบการณ์ตรง (tacit
knowledge) เพื่อค้นหาแนวปฏิบัติที่ดีตาม
3
ประเด็นความรู้ที่กาหนดในข้อ 1 และเผยแพร่ไปสู่
บุคลากรกลุ่มเป้าหมายที่กาหนด

ประเด็น การผลิตบัณฑิต
สานัก ฯ ได้เชิญผู้เชี่ยวชาญ
ด้านการประกันคุณภาพ คือ
คุณรังสรรค์ วงศ์สุข ผศ.
ประคอง บุญทน และคุณ
เสาวลักษณ์ ภูสมสาย เป็น
วิทยากรผู้เชี่ยวชาญ
ประเด็น การวิจัย สานัก ฯ
ให้ คุณเจษฎา ชะโกฏ เป็น
วิทยากร โดยทั้งสอบประเด็น
ได้ให้วิทยากรแชร์
ประสบการณ์จริง แบบ Tell
Story เพื่อให้กลุ่มเป้าหมาย
จับประเด็น แล้วนาประเด็น
เหล่านั้นมาถกปัญหาเพื่อหา
แนวปฏิบัติที่ดี

3.1หนังสือเชิญประชุม
โครงการจัดการความรู้
(7.2(3)/1)
3.2 สรุปผลการดาเนิน
โครงการจัดการความรู้ด้าน
งานประกันคุณภาพ
การศึกษา (7.2 (3)/2)
3.3 รายงานผลการประชุม
ร่วมกับหน่วยงานภายนอกที่มี
ประเด็นหารือด้านการ
ประกันคุณภาพการศึกษา
(7.2(3)/3)
- หนังสือเผยแพร่งานเอกสาร
(7.2(3)/3)

มีการรวบรวมความรู้ตามประเด็นความรู้ที่กาหนด
ในข้อ 1 ทั้งที่มีอยู่ในตัวบุคคลและแหล่งเรียนรู้อื่นๆ
ที่เป็นแนวปฏิบัติที่ดีมาพัฒนาและจัดเก็บอย่างเป็น
4 ระบบโดยเผยแพร่ออกมาเป็นลายลักษณ์อักษร
(explicit knowledge)

สานัก ฯ ได้รวบรวมองค์
ความรู้ที่ได้ในประเด็นการ
วิจัย ในบทบาทของ
มหาวิทยาลัยราชภัฏ
อุบลราชธานี ในการพัฒนา
ท้องถิ่นด้านเด็กและเยาวชน
สรุปเป็นเอกสาร (สมุดเล่ม
เล็ก) เพื่อเป็นแนวทางในการ
ปฏิบัติการและพัฒนางาน
ให้กับหน่วยงานและเผยแพร่
ให้กับหน่วยงานที่สนใจ

- เอกสารรายงานผลบทบาท
ของมหาวิทยาลัยราชภัฏ
อุบลราชธานีในการพัฒนา
ท้องถิ่นด้านเด็กและเยาวชน
(7.2(4)/1)

5 มีการนาความรู้ที่ได้จากการจัดการความรู้ในปี

สานัก ฯ ได้นาความรู้ที่ได้

- บันทึกข้อความส่งเอกสาร
ผลการดำเนินงานและผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน
ผลการดำเนินงานและผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน
ผลการดำเนินงานและผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน
ผลการดำเนินงานและผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน
ผลการดำเนินงานและผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน
ผลการดำเนินงานและผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน
ผลการดำเนินงานและผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน
ผลการดำเนินงานและผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน
ผลการดำเนินงานและผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน
ผลการดำเนินงานและผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน
ผลการดำเนินงานและผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน
ผลการดำเนินงานและผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน
ผลการดำเนินงานและผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน
ผลการดำเนินงานและผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน
ผลการดำเนินงานและผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน
ผลการดำเนินงานและผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน
ผลการดำเนินงานและผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน

More Related Content

What's hot

บันทึกการประเมินคุณภาพการปฏิบัติงาน ผอ กิจจา
บันทึกการประเมินคุณภาพการปฏิบัติงาน ผอ กิจจาบันทึกการประเมินคุณภาพการปฏิบัติงาน ผอ กิจจา
บันทึกการประเมินคุณภาพการปฏิบัติงาน ผอ กิจจาkrooprakarn
 
แผนการจัดโครงการและกิจกรรมพัฒนานิสิต ประจำปี 2561
แผนการจัดโครงการและกิจกรรมพัฒนานิสิต ประจำปี 2561แผนการจัดโครงการและกิจกรรมพัฒนานิสิต ประจำปี 2561
แผนการจัดโครงการและกิจกรรมพัฒนานิสิต ประจำปี 2561solarcell2
 
โครงการกองกิจการนิสิตมจร
โครงการกองกิจการนิสิตมจร โครงการกองกิจการนิสิตมจร
โครงการกองกิจการนิสิตมจร solarcell2
 
แผนโครงการพัฒนานิสิต 571
แผนโครงการพัฒนานิสิต 571แผนโครงการพัฒนานิสิต 571
แผนโครงการพัฒนานิสิต 571solarcell2
 
การประกันคุณภาพการศึกษา
การประกันคุณภาพการศึกษาการประกันคุณภาพการศึกษา
การประกันคุณภาพการศึกษาAonaon Krubpom
 
การศึกษาวิเคราะห์ระบบงานวิชาการในโรงเรียน
การศึกษาวิเคราะห์ระบบงานวิชาการในโรงเรียนการศึกษาวิเคราะห์ระบบงานวิชาการในโรงเรียน
การศึกษาวิเคราะห์ระบบงานวิชาการในโรงเรียนnokhongkhum
 
Swot1 ผลวิเคราะห์
Swot1 ผลวิเคราะห์Swot1 ผลวิเคราะห์
Swot1 ผลวิเคราะห์nang_phy29
 

What's hot (11)

บันทึกการประเมินคุณภาพการปฏิบัติงาน ผอ กิจจา
บันทึกการประเมินคุณภาพการปฏิบัติงาน ผอ กิจจาบันทึกการประเมินคุณภาพการปฏิบัติงาน ผอ กิจจา
บันทึกการประเมินคุณภาพการปฏิบัติงาน ผอ กิจจา
 
คู่มือวิชาการ
คู่มือวิชาการคู่มือวิชาการ
คู่มือวิชาการ
 
แผนการจัดโครงการและกิจกรรมพัฒนานิสิต ประจำปี 2561
แผนการจัดโครงการและกิจกรรมพัฒนานิสิต ประจำปี 2561แผนการจัดโครงการและกิจกรรมพัฒนานิสิต ประจำปี 2561
แผนการจัดโครงการและกิจกรรมพัฒนานิสิต ประจำปี 2561
 
classroom research submit
classroom research submitclassroom research submit
classroom research submit
 
โครงการกองกิจการนิสิตมจร
โครงการกองกิจการนิสิตมจร โครงการกองกิจการนิสิตมจร
โครงการกองกิจการนิสิตมจร
 
แผนโครงการพัฒนานิสิต 571
แผนโครงการพัฒนานิสิต 571แผนโครงการพัฒนานิสิต 571
แผนโครงการพัฒนานิสิต 571
 
การประกันคุณภาพการศึกษา
การประกันคุณภาพการศึกษาการประกันคุณภาพการศึกษา
การประกันคุณภาพการศึกษา
 
Teerapong12
Teerapong12Teerapong12
Teerapong12
 
แผนพัฒนา 61 ส่วนที่ 3 swot
แผนพัฒนา 61 ส่วนที่ 3 swotแผนพัฒนา 61 ส่วนที่ 3 swot
แผนพัฒนา 61 ส่วนที่ 3 swot
 
การศึกษาวิเคราะห์ระบบงานวิชาการในโรงเรียน
การศึกษาวิเคราะห์ระบบงานวิชาการในโรงเรียนการศึกษาวิเคราะห์ระบบงานวิชาการในโรงเรียน
การศึกษาวิเคราะห์ระบบงานวิชาการในโรงเรียน
 
Swot1 ผลวิเคราะห์
Swot1 ผลวิเคราะห์Swot1 ผลวิเคราะห์
Swot1 ผลวิเคราะห์
 

Similar to ผลการดำเนินงานและผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน

แนะนำแนวทาง
แนะนำแนวทางแนะนำแนวทาง
แนะนำแนวทางPratuan Kumjudpai
 
ตอนที่ 4 สรุปผลการพัฒนาและการนำไปจริง
ตอนที่ 4 สรุปผลการพัฒนาและการนำไปจริงตอนที่ 4 สรุปผลการพัฒนาและการนำไปจริง
ตอนที่ 4 สรุปผลการพัฒนาและการนำไปจริงwarijung2012
 
ภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำruathai
 
เกณฑ์ประเมิน
เกณฑ์ประเมินเกณฑ์ประเมิน
เกณฑ์ประเมินPochchara Tiamwong
 
คู่มือสอบ Nt 55
คู่มือสอบ Nt 55คู่มือสอบ Nt 55
คู่มือสอบ Nt 55Patchanida Yadawong
 
คู่มือ Nt
คู่มือ Ntคู่มือ Nt
คู่มือ NtNirut Uthatip
 
ตารางเปรียบเทียบ
ตารางเปรียบเทียบตารางเปรียบเทียบ
ตารางเปรียบเทียบNang Ka Nangnarak
 
680 1377-1-pb the development of servant leadership for international school ...
680 1377-1-pb the development of servant leadership for international school ...680 1377-1-pb the development of servant leadership for international school ...
680 1377-1-pb the development of servant leadership for international school ...Siriratbruce
 
จุดเน้นที่ 7 พัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในตามที่กำหนดในกฎกระทรวงอย่างครบถ้วน ...
จุดเน้นที่  7 พัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในตามที่กำหนดในกฎกระทรวงอย่างครบถ้วน   ...จุดเน้นที่  7 พัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในตามที่กำหนดในกฎกระทรวงอย่างครบถ้วน   ...
จุดเน้นที่ 7 พัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในตามที่กำหนดในกฎกระทรวงอย่างครบถ้วน ...โรงเรียนมหาธิคุณวิทยา
 
สรุปการสังเคราะห์ผลงานวิจัยปีงบประมาณ 2555 ปัญหางานประกันคุณภาพ สาขาสถาปัตยกรรม
สรุปการสังเคราะห์ผลงานวิจัยปีงบประมาณ 2555 ปัญหางานประกันคุณภาพ สาขาสถาปัตยกรรมสรุปการสังเคราะห์ผลงานวิจัยปีงบประมาณ 2555 ปัญหางานประกันคุณภาพ สาขาสถาปัตยกรรม
สรุปการสังเคราะห์ผลงานวิจัยปีงบประมาณ 2555 ปัญหางานประกันคุณภาพ สาขาสถาปัตยกรรมSitthiroj Lerdananpipat
 
หลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางหลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางsawitreesantawee
 
หลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางหลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางTooNz Chatpilai
 
รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา Mana Suksa
 
แนวทางการพัฒนา การวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึ...
แนวทางการพัฒนา การวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึ...แนวทางการพัฒนา การวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึ...
แนวทางการพัฒนา การวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึ...Totsaporn Inthanin
 

Similar to ผลการดำเนินงานและผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน (20)

7532
75327532
7532
 
แนะนำแนวทาง
แนะนำแนวทางแนะนำแนวทาง
แนะนำแนวทาง
 
ตอนที่ 4 สรุปผลการพัฒนาและการนำไปจริง
ตอนที่ 4 สรุปผลการพัฒนาและการนำไปจริงตอนที่ 4 สรุปผลการพัฒนาและการนำไปจริง
ตอนที่ 4 สรุปผลการพัฒนาและการนำไปจริง
 
ภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำ
 
เกณฑ์ประเมิน
เกณฑ์ประเมินเกณฑ์ประเมิน
เกณฑ์ประเมิน
 
คู่มือสอบ Nt 55
คู่มือสอบ Nt 55คู่มือสอบ Nt 55
คู่มือสอบ Nt 55
 
คู่มือ Nt
คู่มือ Ntคู่มือ Nt
คู่มือ Nt
 
คู่มือNt ป.3
คู่มือNt ป.3คู่มือNt ป.3
คู่มือNt ป.3
 
ตารางเปรียบเทียบ
ตารางเปรียบเทียบตารางเปรียบเทียบ
ตารางเปรียบเทียบ
 
680 1377-1-pb the development of servant leadership for international school ...
680 1377-1-pb the development of servant leadership for international school ...680 1377-1-pb the development of servant leadership for international school ...
680 1377-1-pb the development of servant leadership for international school ...
 
จุดเน้นที่ 7 พัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในตามที่กำหนดในกฎกระทรวงอย่างครบถ้วน ...
จุดเน้นที่  7 พัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในตามที่กำหนดในกฎกระทรวงอย่างครบถ้วน   ...จุดเน้นที่  7 พัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในตามที่กำหนดในกฎกระทรวงอย่างครบถ้วน   ...
จุดเน้นที่ 7 พัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในตามที่กำหนดในกฎกระทรวงอย่างครบถ้วน ...
 
17
1717
17
 
King Thailand
King Thailand King Thailand
King Thailand
 
สรุปการสังเคราะห์ผลงานวิจัยปีงบประมาณ 2555 ปัญหางานประกันคุณภาพ สาขาสถาปัตยกรรม
สรุปการสังเคราะห์ผลงานวิจัยปีงบประมาณ 2555 ปัญหางานประกันคุณภาพ สาขาสถาปัตยกรรมสรุปการสังเคราะห์ผลงานวิจัยปีงบประมาณ 2555 ปัญหางานประกันคุณภาพ สาขาสถาปัตยกรรม
สรุปการสังเคราะห์ผลงานวิจัยปีงบประมาณ 2555 ปัญหางานประกันคุณภาพ สาขาสถาปัตยกรรม
 
แผนการนิเทศภายใน 2564 ร่มเกล้า
แผนการนิเทศภายใน 2564 ร่มเกล้าแผนการนิเทศภายใน 2564 ร่มเกล้า
แผนการนิเทศภายใน 2564 ร่มเกล้า
 
แผนยุทธศาตร์การแนะแนว55
แผนยุทธศาตร์การแนะแนว55แผนยุทธศาตร์การแนะแนว55
แผนยุทธศาตร์การแนะแนว55
 
หลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางหลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลาง
 
หลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางหลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลาง
 
รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
 
แนวทางการพัฒนา การวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึ...
แนวทางการพัฒนา การวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึ...แนวทางการพัฒนา การวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึ...
แนวทางการพัฒนา การวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึ...
 

ผลการดำเนินงานและผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน

  • 1. ผลการดาเนินงานและผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจาปีการศึกษา 2555 ตามคู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2555 มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี ได้ กาหนดตัวบ่งชี้และเป้าหมายการพัฒนาคุณภาพการให้บริการของสานักบริการวิชาการชุมชน ไว้จานวน 15 ตัวบ่งชี้ จาก 7 องค์ประกอบคุณภาพที่กาหนดโดย สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ซึ่งมีรายละเอียดของตัวบ่งชี้และ เป้าหมายที่กาหนด ดังนี้ ลาดับที่ ตัวบ่งชี้ที่ ชื่อตัวบ่งชี้ องค์ประกอบที่ 1 : ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค์ และแผนดาเนินการ 1 1.1 กระบวนการพัฒนาแผน (สกอ.1.1) องค์ประกอบที่ 2 : การเรียนการสอน 2 2.4 ระบบการพัฒนาคณาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุน (สกอ.2.4 ก.พ.ร. 12) องค์ประกอบที5 : การบริการทางวิชาการแก่สังคม ่ 3 5.1 ระบบและกลไกการบริการทางวิชาการแก่สังคม (สกอ.5.1) 4 5.2 กระบวนการบริการทางวิชาการให้เกิดประโยชน์ต่อสังคม (สกอ.5.2) 5 5.2.1 การเรียนรู้และเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนหรือองค์กรภายนอก 9) (สมศ. องค์ประกอบที่ 7 : การบริหารและการจัดการ 6 7.1 ภาวะผู้นาของสภาสถาบันและผู้บริหารทุกระดับของมหาวิทยาลัย (สกอ.7.1 ก.พ.ร. 9.1) 7 7.1.2 การปฏิบัติตามบทบาทหน้าที่ของผู้บริหารมหาวิทยาลัย (สมศ. 13) 8 7.2 การพัฒนาสถาบันสู่สถาบันเรียนรู้ (สกอ.7.2 ก.พ.ร. 12) 9 7.4 ระบบบริหารความเสี่ยง (สกอ. 7.4 ก.พ.ร. 9.2 ) องค์ประกอบที่ 8 : การเงินและงบประมาณ 10 8.1 ระบบและกลไกการเงินและงบประมาณ (สกอ.8.1) 11 8.1.1 ร้อยละของการเบิกจ่ายเงินงบประมาณตามแผน (ก.พ.ร.6) 12 8.1.3 ร้อยละของการเบิกจ่ายงบประมาณภาพรวม (ก.พ.ร.8) องค์ประกอบที่ 9 : ระบบและกลไกประกันคุณภาพ 13 9.1 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน (สกอ.9.1 ก.พ.ร. 6) องค์ประกอบที่ 10 การดาเนินงานเพื่อการบรรลุถึงอัตลักษณ์และเอกลักษณ์ของมหาวิทยาลัย 14 10.1 การดาเนินกิจกรรม / โครงการเพื่อเสริมสร้างคุณลักษณะบัณฑิตให้เป็นผู้ใฝ่รู้ , ใฝ่เรียน มีความรู้คู่คุณธรรมและรักษ์ท้องถิ่น (ตัวบ่งชี้อัตลักษณ์) 15 10.2 การดาเนินกิจกรรม /โครงการเพื่อให้มหาวิทยาลัยเป็นมหาวิทยาลัยแห่งการ เรียนรู้ด้านรู้ด้านการประยุกต์ใช้เทคโนโลยี เพื่อพัฒนาทักษะวิชาชีพและ บริการท้องถิ่น (ตัวบ่งชี้อัตลักษณ์) เป้าหมายปี 2555 5 ข้อ 4 ข้อ 3 ข้อ 3 ข้อ 3 ข้อ 5 ข้อ 3.51 3 ข้อ 4 ข้อ 4 ข้อ ร้อยละ 90 ร้อยละ 93 6 ข้อ 3 ข้อ 3 ข้อ
  • 2. ผลการประเมินตนเอง องค์ประกอบที่ 1 ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค์ และแผนดาเนินการ ตัวบ่งชี้ที่ 1.1 : กระบวนการพัฒนาแผน เกณฑ์การให้คะแนน : คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 มีการดาเนินการ มีการดาเนินการ มีการดาเนินการ มีการดาเนินการ มีการดาเนินการ 1 ข้อ 2 หรือ 3 ข้อ 4 หรือ 5 ข้อ 6 หรือ 7 ข้อ 8 ข้อ ผลการดาเนินงาน ในรอบปีการศึกษา 2555 สานักบริการวิชาการชุมชนได้ดาเนินการพัฒนาแผนกลยุทธ์ให้สอดคล้องกับ มหาวิทยาลัยโดยคานึงถึง อัตลักษณ์และจุดเน้นของมหาวิทยาลัย หลักการอุดมศึกษา กรอบแผนอุดมศึกษา ระยะยาว มาตรฐานการศึกษาของชาติ มาตรฐานการอุดมศึกษา มาตรฐานวิชาชีพที่เกี่ยวข้อง ยุทธศาสตร์ด้านต่างๆ ของชาติรวมถึง ทิศทางการพัฒนาประเทศตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และการเปลี่ยนแปลงของ กระแสโลก โดยได้ดาเนินการ โดยสรุป ดังนี้ ข้อ 1 เกณฑ์การประเมิน ผลดาเนินงาน หลักฐาน มีการจัดทาแผน กลยุทธ์ที่สอดคล้องกับ นโยบายของสภา มหาวิทยาลัย โดยการ มีส่วนร่วมของบุคลากร ในมหาวิทยาลัย และ ได้รับความเห็นชอบ จากสภามหาวิทยาลัย โดยเป็นแผนที่เชื่อมโยง กับปรัชญาหรือปณิธาน และพระราชบัญญัติ มหาวิทยาลัยราชภัฏ ตลอดจนสอดคล้องกับ จุดเน้นของกลุ่ม มหาวิทยาลัย กรอบ แผนอุดมศึกษาระยะ ยาว 15 ปี ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2551 – 2565) และแผนพัฒนา การศึกษา ระดับอุดมศึกษา ฉบับ ที่ 10 (พ.ศ.2551 – สานักบริการวิชาการชุมชน ได้ดาเนินการแต่งตั้งคณะกรรมการ จัดทาและทบทวนแผนยุทธศาสตร์ที่ 4000/2554 และได้ ดาเนินการทบทวนแผนยุทธศาสตร์ 5 ปี พ.ศ.2552 – 2556 มา เป็นฉบับปรับปรุงปี 2555 โดยความร่วมมือของคณะกรรมการ โดยวิเคราะห์ความเชื่อมโยงของประเด็นยุทธศาสตร์ของสานัก ฯ กับยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยและกระทรวงศึกษาธิการ โดย คณะกรรมการ ฯ และนาเสนอคณะกรรมการบริการวิชาการ ชุมชน มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี - คาสั่งแต่งตั้ง คณะกรรมการ ทบทวนและจัดทา แผนยุทธศาสตร์ด้าน การบริการวิชาการ ชุมชนที่ 4000/2554 (1.1(1)/1) - รายงานการประชุม คณะกรรมการ ทบทวนและจัดทา แผนยุทธศาสตร์ด้าน การบริการวิชาการ ชุมชน (1.1(1)/2) - คาสั่งแต่งตั้ง คณะกรรมการบริการ วิชาการชุมชนที่ 4069/2554 (1.1(1)/3) - รายงานการประชุม คณะกรรมการบริการ วิชาการชุมชนวันที่ 27 มีนาคม
  • 3. ข้อ เกณฑ์การประเมิน ผลดาเนินงาน 2554) หลักฐาน 2555(1.1(1)/4) - แผนยุทธศาสตร์ สานักบริการวิชาการ ชุมชน ปี 2554 – 2556 (1.1(1)/5) มีการถ่ายทอดแผน กลยุทธ์ระดับ มหาวิทยาลัยไปสู่ทุก หน่วยงานภายใน ผู้อานวยการสานักบริการวิชาการชุมชน ได้ถ่ายทอดแผน กลยุทธ์ สานัก ฯ พ.ศ.2552 – 2556 ในที่คณะกรรมการ บุคลากร เพื่อเป็นแนวทางในการพิจารณาทาแผนปฏิบัติราชการ ประจาปี 2555 - แผนยุทธศาสตร์ สานักบริการวิชาการ ชุมชน ปี 2555-2556 (1.1(2)/1) - รายงานการประชุม บุคลากรสานักบริการ วิชาการชุมชนครั้งที่ 5 / 2555 เมื่อวันที่ 31 พฤษภาคม 2555 (1.1(2)/2) 3 มีกระบวนการแปลง แผนกลยุทธ์เป็น แผนปฏิบัติการ ประจาปีครบ 4 พันธ กิจ คือ ด้านการเรียน การสอน การวิจัย การ บริการทางวิชาการ และการทานุบารุง ศิลปะและวัฒนธรรม คณะกรรมการและบุคลากรในสานัก ฯ ได้พิจารณาข้อมูลจาก การวิเคราะห์ SWOT ของสานัก ฯ และร่วมกันวิเคราะห์เสนอ กิจกรรม / โครงการให้สอดคล้อง 4 พันธกิจ คือ ด้านการเรียน การสอน การวิจัย การบริการทางวิชาการ และการทานุบารุง ศิลปะและวัฒนธรรม เพื่อแปลงเป็นแผนปฏิบัติราชการประจาปี 2555 - แผนยุทธศาสตร์ สานักบริการวิชาการ ชุมชน พ.ศ.2555 2556 (1.1(3)/1) - แผนปฏิบัติการ ประจาปี 2555 สานัก บริการวิชาการชุมชน (1.1(3)/2) 4 มีตัวบ่งชี้ของแผนกล คณะกรรมการและบุคลากรในสานัก ฯ ได้ร่วมกันกาหนดตัวบ่งชี้ ยุทธ์ แผนปฏิบัติการ ของแผนปฏิบัติราชการประจาปี 2555 เพื่อวัดความสาเร็จของ ประจา ปี และค่า การดาเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการประจาปี 2555 เป้าหมายของแต่ละ ตัวบ่งชี้ เพื่อวัด ความสาเร็จของการ ดาเนินงานตามแผนกล ยุทธ์และแผนปฏิบัติ - แผนปฏิบัติการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2555 สานัก บริการวิชาการชุมชน (1.1(4)/1) 2
  • 4. ข้อ เกณฑ์การประเมิน ผลดาเนินงาน หลักฐาน - สานัก ฯ มีการจัดทาปฏิทินการดาเนินงานตามแผนปฏิบัติงาน ทั้ง 4 พันธกิจ เพื่อใช้เป็นแนวทางการดาเนินงานตาม แผนปฏิบัติงานในเวลาที่เหมาะสม และรายงานในรายงาน ประจาปี 2555 - รายงานผลการ ปฏิบัติการและสรุปผล การเบิกจ่าย งบประมาณตาม แผนปฏิบัติการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2555 ของสานัก บริการวิชาการชุมชน (1.1(5)/1) มีการติดตามผลการ - สานัก ฯ มีการติดตามและการรายงานผลรายไตรมาสและแจ้ง ดาเนินงานตามตัวบ่งชี้ ผู้บริหารของมหาวิทยาลัย ของแผนปฏิบัติการ ประจาปี อย่างน้อยปี ละ 2 ครั้ง และรายงาน ผลต่อผู้บริหารเพื่อ พิจารณา - บันทึกการประชุม ประจาบุคลากรสานัก บริการวิชาการชุมชน ครั้งที่ 1/2555 ลง วันที่ 29 กุมภาพันธ์ 2555 (1.1(6)/1) - บันทึกการประชุม บุคลากรสำนัก ฯ ครั้ง การประจาปี 5 6 มีการดาเนินงานตาม แผนปฏิบัติการ ประจาปีครบ 4 พันธกิจ ที่ 3/2555 วันที่ 20 เมษายน 2555 (1.1(6)/2) 7 8 มีการประเมินผลการ - สานัก ฯ ได้ดาเนินการรายงานผลการดาเนินงานตามตัวบ่งชี้ ดาเนินงานตามตัวบ่งชี้ ของแผนกลยุทธ์ รายไตรมาส ต่อสภาโดยกองนโยบายและแผน ของแผนกลยุทธ์ อย่าง สานักงานอธิการบดีเป็นผู้รายงานในภาพรวม น้อยปีละ 1 ครั้ง และ รายงานผลต่อผู้บริหาร และสภามหาวิทยาลัย เพื่อพิจารณา มีการนาผลการ พิจารณา ข้อคิดเห็น และ ข้อเสนอแนะของ สภาสถาบันไป ปรับปรุงแผนกล ยุทธ์และ - รายงานการประชุม บุคลากรสำนัก ฯ ครั้ง ที่ 6/2555 วันที่ 27 ธันวาคม 2555(1.1(7)/1)
  • 5. ข้อ เกณฑ์การประเมิน ผลดาเนินงาน หลักฐาน แผนปฏิบัติการ ประจาปี ผลการประเมินตนเอง : จากผลการดาเนินงานข้างต้นเมื่อประเมินโดยใช้เกณฑ์มาตรฐานและอิงเกณฑ์การประเมินตัวบ่งชี้ ของ สกอ. ในรอบปีการศึกษา 2555 สานักบริการวิชาการชุมชน มีผลประเมินด้านการพัฒนาแผนกลยุทธ์ สรุปได้ ดังนี้ ตัวบ่งชี้ 1.1 กระบวนการพัฒนาแผน ชนิด ตัวบ่งชี้ เกณฑ์ มาตรฐาน เป้าหมาย ปี 2555 ผลการ ดาเนิน งาน การบรรลุ เป้าหมาย ค่า คะแนน ที่ได้ P 8 ข้อ 5 ข้อ 7 ข้อ บรรลุ เป้าหมาย 4 ข้อสรุปผลการประเมินตนเองตามองค์ประกอบที่ 1 จุดแข็ง/แนวทางเสริมจุดแข็ง สานักบริการวิชาการชุมชน เป็นหน่วยงานหลักในการประสานงานด้านการบริการวิชาการชุมชนร่วมกับ ศูนย์ต้นทุนภายในมหาวิทยาลัยและหน่วยภายนอก ซึ่งมีลักษณะเฉพาะทางานได้อย่างคล่องตัว รวมทั้งยังมี เครือข่ายการทางานภายนอกที่เข้มแข็งและชัดเจน สามารถเชื่อมประสานงานได้ในเกือบทุกมิติของพันธกิจ หลักมหาวิทยาลัย แนวทางเสริมจุดแข็ง ควรมีการจัดการความรู้จากการปฏิบัติงานให้เป็นหมวดหมู่ที่ชัดเจนและเผยแพร่ให้กับศูนย์ต้นทุนอื่นๆ ทั้งภายในมหาวิทยาลัยและหน่วยงานภายนอกได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้วย ผ่านช่องทางต่างๆที่หลากหลาย เช่น การจัดทาเป็นฐานข้อมูลออนไลท์ การทาเป็นหนังสือเล่มเล็ก เป็นต้น จุดที่ควรพัฒนา/ข้อเสนอแนะในการปรับปรุง การดาเนินงานบางโครงการ ไม่เป็นไปตามแผน เนื่องจากช่วงเวลาดาเนินงานซ้อนทับกับภาระงาน เร่งด่วนที่มหาวิทยาลัยมอบหมาย และความไม่สะดวกของกลุ่มเป้าหมายในการร่วมดาเนินโครงการใน ช่วงเวลานั้น นอกจากนี้ยังมีงานอื่นที่นอกเหนือจากภารกิจของหลักมหาวิทยาลัย ที่มหาวิทยาลัยมอบหมาย เพิ่มเติม เช่น การทางานร่วมกับจังหวัดบางโครงการ การช่วยเหลืองานของภาคีเครือข่ายที่หลากหลาย เป็นต้น วิธีปฏิบัติที่ดี/นวัตกรรม สร้างระบบการติดตามตรวจสอบ และประเมินผลการดาเนินงานตามตัวบ่งชี้และตัวชี้วัดให้ชัดเจนและจัด อบรมบุคลากรที่รับผิดชอบให้มีความเข้าใจในขั้นตอนและวิธีการติดตามประเมินผลโครงการและรายงานผล ของแต่ละแผนงาน/โครงการที่รับผิดชอบ ด้วยเพื่อนาองค์ความรู้ไปใช้ในการดาเนินงานและวางแผน ปฏิบัติงานต่อไป ตลอดจนการพัฒนาศักยภาพบุคลากรในด้านอื่นๆด้วยเพื่อเตรียมความพร้อมต่อการ เปลี่ยนแปลงทั้งจากปัจจัยภายในและปัจจัยภายนอกที่อาจะเกิดขึ้นได้ตลอดเวลา องค์ประกอบที่ 2 การผลิตบัณฑิต
  • 6. ตัวบ่งชี้ที่ 2.4 ระบบการพัฒนาคณาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุน เกณฑ์การประเมิน : คะแนน 1 มีการดาเนินการ 1 ข้อ คะแนน 2 มีการดาเนินการ 2 ข้อ คะแนน 3 มีการดาเนินการ 3 หรือ 4 ข้อ คะแนน 4 มีการดาเนินการ 5 หรือ 6 ข้อ คะแนน 5 มีการดาเนินการ 7 ข้อ ผลการดาเนินงาน : ในรอบปีการศึกษา 2555 มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี มีการดาเนินงานพัฒนาคณาจารย์และบุคลากร สายสนับสนุน ตามเกณฑ์มาตรฐาน สกอ. ดังนี้ ข้อ เกณฑ์การประเมิน มีแผนการบริหารและการพัฒนาคณาจารย์ทั้งด้าน 1 วิชาการ เทคนิคการสอนและการวัดผลและมีแผนการ บริหารและพัฒนาบุคลากรสายสนับสนุนที่มีการ วิเคราะห์ข้อมูลเชิงประจักษ์ ผลดาเนินงาน สานักบริการวิชาการชุมชน มี แผนพัฒนาบุคลากรระยะยาว มี แผนในการพัฒนาบุคลากรทั้ง ทางด้านการเพิ่มคุณวุฒิการศึกษา และการพัฒนาทักษะวิชาชีพของ ตนเอง มีการบริหารและการพัฒนาคณาจารย์และบุคลากรสาย - สานักบริการวิชาการชุมชน มี สนับสนุนให้เป็นไปตามแผนที่กาหนด การดาเนินงานตามแผนการ พัฒนาคณาจารย์และบุคลากร สายสนับสนุน ซึ่งในรอบปี การศึกษา 2555 คณาจารย์ทั้ง 3 คน และพนักงานสายสนับสนุน 2 ทั้ง 3 คน ได้รับการพัฒนาตนเอง ครบทุกคน หลักฐาน - แผนพัฒนาบุคลากร สานักบริการวิชาการ ชุมชน ปี 2555(2.4(1)/1) - รายงานผลการดาเนิน โครงการพัฒนาบุคลากร โดยการศึกษาดูงานและ พัฒนาบุคลากรประจาปี 2555 (2.4(2)/1) - หนังสือเชิญเข้าร่วม โครงการอบรมเพื่อ พัฒนาศักยภาพ บุคลากรต่าง ๆ ที่ เกี่ยวข้องในรอบปี การศึกษา 2555(2.4(2)/2) มีสวัสดิการเสริมสร้างสุขภาพที่ดี และสร้างขวัญและ - สานักบริการวิชาการชุมชน มี - หนังสือเชิญเรื่องอบรม กาลังใจให้คณาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุน การจัดสวัสดิการเสริมสร้าง การดูแลสุขภาพของ 3 สามารถทางานได้อย่างมีประสิทธิภาพ สุขภาพที่ดี และการสร้างขวัญ พนักงานและการ และกาลังใจให้คณาจารย์และ บริจาคโลหิต (2.4(3)/1) บุคลากรสายสนับสนุนสามารถ - หนังสือเชิญร่วม ทางานได้อย่างมีประสิทธิภาพ สังสรรค์งานเลี้ยงปีใหม่ เช่น โครงการตรวจสุขภาพ และจัดแข่งขันกีฬาของ ประจาปี โครงการแข่งขันกีฬา พนักงานใน และงานฉลองปีใหม่ โครงการ มหาวิทยาลัย ฯ ศึกษาดูงานนอกสถานที่ (2.4(3)/2)
  • 7. ข้อ เกณฑ์การประเมิน ผลดาเนินงาน หลักฐาน - ภาพถ่ายงานเลี้ยงปี ใหม่สานักบริการ วิชาการชุมชน (2.4 (3)/3) - ประกาศการเลื่อนขั้น เงินเดือนของพนักงาน (2.4(3)/4) มีระบบการติดตามให้คณาจารย์และบุคลากรสาย สนับสนุนนาความรู้และทักษะที่ได้จากการพัฒนามาใช้ ในการจัดการเรียนการสอนและการวัดผลการเรียนรู้ ของนักศึกษา ตลอดจนการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้อง - สานักบริการวิชาการชุมชน มี ระบบการติดตามให้คณาจารย์ และบุคลากรสายสนับสนุนนา ความรู้และทักษะที่ได้จากการ พัฒนามาใช้ในการปฏิบัติงานที่ เกี่ยวข้องตามระบบการ ปฏิบัติงาน โดยใช้แบบรายงานไป ราชการที่แสดงถึงองค์ความรู้ที่ได้ จากการไปพัฒนาและ ประเด็นที่ จะนาไปประยุกต์ใช้ใน กระบวนการทางาน - สรุปรายงานผลการนา ความรู้และทักษะที่ ได้รับจากการพัฒนา ศักยภาพตนเองมาใช้ใน การปฏิบัติงานตาม ภารกิจหน้าที่ที่ รับผิดชอบและได้รับ มอบหมายจาก มหาวิทยาลัย(2.4(4)/1) มีการให้ความรู้ด้านจรรยาบรรณอาจารย์และบุคลากร - สานักบริการวิชาการชุมน มีการ สายสนับสนุน และดูแลควบคุมให้คณาจารย์และ ให้ความรู้ด้านจรรยาบรรณ บุคลากรสายสนับสนุนถือปฏิบัติ อาจารย์และบุคลากรสาย สนับสนุน โดยใช้คู่มือ จรรยาบรรณของมหาวิทยาลัย และมีการดูแลควบคุมให้ 5 คณาจารย์และบุคลากร ให้ถือ ปฏิบัติตามจรรยาบรรณอย่าง เคร่งครัด และในรอบปีการศึกษา 2555 ที่ผ่านมา สานักไม่มีข้อ ร้องเรียนด้านจรรยาบรรณที่จะ ทาให้เสื่อมเสีย - ประมวลจริยธรรมและ จรรยาบรรณ ในสถาบันอุดมศึกษา (ของมหาวิทยาลัยฯ) (2.4(5)/1) 4 6 มีการประเมินผลความสาเร็จของแผนการบริหารและ การพัฒนาคณาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุน - - 7 มีการนาผลการประเมินไปปรับปรุงแผนหรือปรับปรุง การบริหารและการพัฒนาคณาจารย์และบุคลากรสาย - -
  • 8. ข้อ เกณฑ์การประเมิน ผลดาเนินงาน หลักฐาน สนับสนุน ผลการประเมินตนเอง : จากผลการดาเนินงานข้างต้นเมื่อประเมินโดยใช้เกณฑ์มาตรฐาน และอิงเกณฑ์การประเมิน ตัวบ่งชี้ ของ สกอ. ในรอบปีการศึกษา 255 5 สานักบริการวิชาการชุมชน มีผลการประเมินระบบการพัฒนาคณาจารย์และ บุคลากรสายสนับสนุน สรุปได้ ดังนี้ ตัวบ่งชี้ ชนิด ตัวบ่งชี้ เกณฑ์ มาตรฐาน 2.4 ระบบการพัฒนาคณาจารย์ และบุคลากรสายสนับสนุน P 7 ข้อ เป้าหมาย ผลการ การบรรลุ ปี 2555 ดาเนินงาน เป้าหมาย บรรลุ 4 ข้อ 5 ข้อ เป้าหมาย ค่าคะแนน ที่ได้ 4 ข้อสรุปผลการประเมินตนเองตามองค์ประกอบที่ 2 จุดแข็ง/แนวทางเสริมจุดแข็ง บุคลากรมีจานวนไม่มากทาให้มีการพัฒนาศักยภาพของตนเองได้ทั่วถึงและครบถ้วน แนวทางเสริมจุดแข็ง การดึงศักยภาพของภาคีเครือข่ายเข้ามาร่วมทางานเพื่อให้ภารกิจของสานักบริการวิชาการได้บรรลุและ สาเร็จตามนั้นเป็นสิ่งที่จาเป็นมากเพราะต้องประสานงานกับเครือข่ายภายนอกอย่างต่อเนื่อง จุดที่ควรพัฒนา/ข้อเสนอแนะในการปรับปรุง ควรมีการประเมินผลความสาเร็จของแผนพัฒนาบุคลากร เพื่อนาผลการประเมินไปปรับปรุงแผนในรอบปี ต่อไป วิธีปฏิบัติที่ดี/นวัตกรรม การส่งเสริมและสนับสนุนให้ผู้บริหารและบุคลากรภายในสานัก ฯ เกิดการเรียนรู้และความเชี่ยวชาญในการ ปฏิบัติงานโดยการสนับสนุนด้านการศึกษา(การศึกษาต่อ) และพัฒนาศักยภาพของบุคลากรให้มีความพร้อมใน การปฏิบัติงานอย่างสม่าเสมอ องค์ประกอบที่ 5 การบริการทางวิชาการแก่สังคม ตัวบ่งชี้ที่ 5.1 ระบบและกลไกการบริการทางวิชาการแก่สังคม เกณฑ์การประเมิน : คะแนน 1 คะแนน 2 มีการดาเนินการ มีการดาเนินการ 1 ข้อ 2 ข้อ คะแนน 3 มีการดาเนินการ 3 ข้อ คะแนน 4 มีการดาเนินการ 4 ข้อ คะแนน 5 มีการดาเนินการ 5 ข้อ ผลการดาเนินงาน : ในรอบปีการศึกษา 2555 สานักบริการวิชาการชุมชน ดาเนินงานด้านการบริการทางวิชาการแก่สังคมตาม เกณฑ์มาตรฐาน สกอ. ดังนี้
  • 9. ข้อ เกณฑ์การประเมิน มีระบบและกลไกการบริการทางวิชาการแก่ สังคม และดาเนินการตามระบบที่กาหนด 1 2 มีการบูรณาการงานบริการทางวิชาการแก่ สังคมกับการเรียนการสอน ผลดาเนินงาน หลักฐาน มีคู่มือการบริการวิชาการชุมชน ที่กาหนดแนวปฏิบัติ ในการ ให้บริการวิชาการแก่สังคม คาสั่งที่ 2719/2555 แต่งตั้ง คณะกรรมการทบทวนแผน ยุทธศาสตร์ การบริการวิชาการ ชุมชน ลงวันที่ 27 พฤศจิกายน 2555 โดยมีการจัดทาคู่มือขอ ทุกหน่วยงาน ให้ถือปฏิบัติตาม คู่มือบริการวิชาการ 1.1 คู่มือการบริการวิชาการ ชุมชน (5.1 (1)/1) 1.2 ระเบียบสภามหาวิทยาลัย ราชภัฏอุบลราชธานีว่าด้วย การให้บริการวิชาการชุมชน พ.ศ. 2548 (5.1 (1)/2) 1.3 แผนงาน / โครงการ สานักบริการวิชาการชุมชนปี 2555 (5.1 (1)/3) 1.4 สัญญาโครงการขับเคลื่อน งานด้านเด็กและเยาวชนแบบ บูรณาการระดับจังหวัด : อุบลราชธานี ซึ่งได้รับการ สนับสนุนงบประมาณจาก สานักงานกองทุนสนับสนุน การสร้างเสริมสุขภาพ(สสส.) (5.1 (1)/4) 1.5 หนังสือเชิญเป็นวิทยากร คาสั่ง และตารางสรุปการไป เป็นวิทยากรของบุคลากร สานักบริการวิชาการชุมชน ในรอบปีการศึกษา 2555 (5.1(1)/5) พบการบูรณาการวิชาการ กับ รายวิชาพัฒนาอนามัยชุมชน โดย ผศ.อรอนงค์ บุรีเลิศ และมี โครงการบริการวิชาการชุมชน คือ โครงการวัยใส ขามใหญ่ร่วม ใจพัฒนาชุมชน ในวันที่ 21 พฤษภาคม 2556 2.1 รายงานความก้าวหน้าผล การดาเนินงานโครงการ ขับเคลื่อนงานด้านเด็กและ เยาวชนแบบบูรณาการระดับ จังหวัด : อุบลราชธานี พร้อมทั้งภาพถ่ายกิจกรรม (5.1 (2)/1) 2.2 มคอ.3 รายวิชาการ พัฒนาอนามัยชุมชน โดย ผศ.อรอนงค์ บุรีเลิศ คณะสาธารณสุขศาสตร์ (5.1 (2)/3) 2.4 รายงานผลการวิจัยฉบับ สมบูรณ์ เรื่อง การศึกษา ศักยภาพและความต้องการ
  • 10. ข้อ เกณฑ์การประเมิน ผลดาเนินงาน หลักฐาน ของชุมชนในการขับเคลื่อน งานด้านเด็กและเยาวชนของ เทศบาลตาบลขามใหญ่ จังหวัดอุบลราชธานี โดย ผศ.อรอนงค์ บุรีเลิศและคณะ คณะสาธารณสุขศาสตร์(5.1 (2)/4) 3 มีการบูรณาการงานบริการทางวิชาการแก่ สังคมกับการวิจัย - รายงานผลการวิจัยฉบับ สมบูรณ์ เรื่อง การศึกษา ศักยภาพและความต้องการ ของชุมชนในการขับเคลื่อน งานด้านเด็กและเยาวชนของ เทศบาลตาบลขามใหญ่ จังหวัดอุบลราชธานี โดย ผศ.อรอนงค์ บุรีเลิศและคณะ คณะสาธารณสุขศาสตร์ (5.1(3)/1) มีการประเมินผลความสาเร็จของการบูรณาการ มีการประเมินความสาเร็จ โดย งานบริการทางวิชาการแก่สังคมกับการเรียน มี KPI คือ ผู้วิจัย / นักศึกษา / การสอนและการวิจัย ชุมชน ซึ่งสามารถแก้ปัญหาของ ชุมชนได้ กลุ่มละ 1 ประเด็น 4 พบรายงานวิจัย เรื่องการศึกษา ศักยภาพด้านความต้องการของ ชุมชนในการขับเคลื่อนงานด้าน เด็กและเยาวชนของเทศบาล ตาบลขามใหญ่ จังหวัด อุบลราชธานี เช่น ผศ.อรอนงค์ บุรีเลิศ และมีโครงการบริการ ชุมชน คือ โครงการวัยใส ขาม ใหญ่ ร่วมใจพัฒนาชุมชน ใน วันที่ 21 พฤษภาคม 2556 - รายงานผลการประเมินการ ดาเนินโครงการวิจัยเรื่อง การศึกษาศักยภาพและความ ต้องการของชุมชนในการ ขับเคลื่อนงานด้านเด็กและ เยาวชนของเทศบาลตาบล ขามใหญ่ จังหวัดอุบลราชธานี โดย ผศ.อรอนงค์ บุรีเลิศ และคณะ คณะสาธารณสุข ศาสตร์ (5.1(4)/1) - หนังสือขอบคุณสานักบริการ วิชาการชุมชนและ ผศ.อรอนงค์ บุรีเลิศ และ คณะ จากเทศบาลตาบลขาม ใหญ่ ที่ได้ดาเนินงาน โครงการวิจัยเรื่อง การศึกษา ศักยภาพและความต้องการ ของชุมชนในการขับเคลื่อน งานด้านเด็กและเยาวชนของ เทศบาลตาบลขามใหญ่ จังหวัดอุบลราชธานี
  • 11. ข้อ เกณฑ์การประเมิน ผลดาเนินงาน หลักฐาน (5.1(4)/2) มีการนาผลการประเมินไปปรับปรุงการบูรณา มีการนาผลการประเมินไป การงานบริการทางวิชาการแก่สังคมกับการ ปรับปรุงแผนในปีถัดไป ในการ เรียนการสอนและการวิจัย ดาเนินโครงการขับเคลื่อนงาน ด้านเด็กและเยาวชนแบบบูรณา การระดับจังหวัด ซึ่งมีรายงาน การประชุม ในวันที่ 23 มกราคม 2556 วันที่ 18 กุมภาพันธ์ 2556 ฯลฯ 5 - หนังสือบันทึกข้อความ รายงานความก้าวหน้า โครงการขับเคลื่อนงานด้าน เด็กและเยาวชนแบบบูรณา การระดับจังหวัด : อุบลราชธานี (5.1(5)/1) - รายงานความก้าวหน้า โครงการขับเคลื่อนงานด้าน เด็กและเยาวชนแบบบูรณา การระดับจังหวัด : อุบลราชธานี (5.1(5)/2) - วิสัยทัศน์และแผน ยุทธศาสตร์ของอธิการบดี(ผศ. ประชุม ผงผ่าน)(5.1(5)/3) - แผนยุทธศาสตร์สานัก บริการวิชาการชุมชน ปี 2554-2556 (5.1(5)/4) - รายงานการประชุม กรรมการสานักบริการวิชาการ ชุมชน(5.1(5)/5) - รายงานการประชุม คณะทางานขับเคลื่อนงาน ด้านเด็กและเยาวชนแบบ บูรณาการระดับจังหวัด : อุบลราชธานี(5.1(5)/6) ผลการประเมินตนเอง : จากผลการดาเนินงานข้างต้นเมื่อประเมินโดยใช้เกณฑ์มาตรฐาน และอิงเกณฑ์การประเมิน ตัวบ่งชี้ ของ สกอ. ในรอบปีการศึกษา 2555 สานักบริการวิชาการชุมชน มีผลการประเมินสรุปได้ ดังนี้ ตัวบ่งชี้ ชนิด ตัวบ่งชี้ เกณฑ์ มาตรฐาน 5.1 ระบบและกลไกการบริการ ทางวิชาการแก่สังคม P 5 ข้อ เป้าหมาย ผลการ การบรรลุ ปี 2555 ดาเนินงาน เป้าหมาย บรรลุ 3 ข้อ 5 ข้อ เป้าหมาย ตัวบ่งชี้ที่ 5.2 : กระบวนการบริการทางวิชาการให้เกิดประโยชน์ต่อสังคม ค่าคะแนน ที่ได้ 5
  • 12. เกณฑ์การประเมิน : คะแนน 1 มีการดาเนินการ 1 ข้อ คะแนน 2 มีการดาเนินการ 2 ข้อ คะแนน 3 มีการดาเนินการ 3 ข้อ คะแนน 4 มีการดาเนินการ 4 ข้อ คะแนน 5 มีการดาเนินการ 5 ข้อ ผลการดาเนินงาน : ในรอบปีการศึกษา 2555 สานักบริการวิชาการชุมชน ดาเนินงานด้านการบริการทางวิชาการแก่สังคมตาม เกณฑ์มาตรฐาน สกอ. ดังนี้ ข้อ 1 เกณฑ์การประเมิน มีการสารวจความต้องการของชุมชน หรือภาครัฐ หรือภาคเอกชน หรือ หน่วยงานวิชาชีพเพื่อประกอบการ กาหนดทิศทางและการจัดทาแผนการ บริการทางวิชาการตามจุดเน้นของ สถาบัน 2 มีความร่วมมือด้านบริการทางวิชาการ เพื่อการเรียนรู้และเสริมสร้างความ เข้มแข็งของชุมชน หรือภาคเอกชน หรือ ภาครัฐ หรือหน่วยงานวิชาชีพ ผลดาเนินงาน หลักฐาน ได้ทาการสารวจความ ต้องการของชุมชน องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นในพื้นที่ โดยใช้แบบสารวจข้อมูลตาม ความจาเป็นพื้นฐานในการ ดาเนินงานด้านเด็กและ เยาวชนขององค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น 1. คาสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสานัก บริการวิชาการชุมชน (5.2(1)/1) 2. รายงานผลการประชุม คณะกรรมการสานักบริการวิชาการ ชุมชน วันที่ 14 ธันวาคมคม 2555 (5.2(1)/2) 3. แบบสารวจข้อมูลความต้องการและ จาเป็นพื้นฐานในการดาเนินงานด้าน เด็กและเยาวชนขององค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น ในพื้นที่จังหวัด อุบลราชธานี(5.2(1)/3) - แผนยุทธศาสตร์สานักบริการวิชาการ ชุมชนปี 2554-2556(5.2(1)/4) สานักบริการวิชาการชุมชน มีการลงนามนับทึกข้อตกลง ความร่วมมือในการดาเนิน โครงการ ถนนเด็กเดิน จังหวัดอุบลราชธานี - บันทึกความร่วมมือ โครงการถนนเด็กเดินจังหวัด อุบลราชธานี (5.2(2)/1) - ประกาศแต่งตั้งคณะทางาน โครงการขับเคลื่อนงานด้านเด็กและ เยาวชนฯ(5.2(2)/2) - บันทึกการประชุมโครงการ ขับเคลื่อนงานด้านเด็กและเยาวชนฯ (5.2(2)/3) - ภาพถ่ายกิจกรรมโครงการ ขับเคลื่อนงานด้านเด็กและเยาวชนฯ และโครงการถนนเด็กเดินจังหวัด อุบลราชธานี(5.2(2)/4) 3 มีการประเมินประโยชน์หรือผลกระทบ สานักบริการวิชาการชุมชน ตัวอย่างรายงานผลการดาเนินงาน
  • 13. ข้อ เกณฑ์การประเมิน ของการให้บริการทางวิชาการต่อสังคม ผลดาเนินงาน หลักฐาน ได้ประเมินประโยชน์และ ผลกระทบของการให้บริการ วิชาการต่อสังคม ประโยชน์ : องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นได้เข้าร่วม โครงการ ได้สะท้อนภาพการ ดาเนินงานในด้านเด็กและ เยาวชนได้ ผลกระทบ : ทาให้ลดปัญหา เด็กแว้นและการทะเลาะ วิวาทลง และทาให้เด็กอยาก ทากิจกรรมมากขึ้น โครงการ เช่น 1. รายงานความก้าวหน้าโครงการ ขับเคลื่อนงานด้านเด็กและเยาวชนฯ (5.2(3)/1) 2. โครงการสร้างแกนนาเยาวชนคน อาสา(5.2(3)/2) 3. โครงการเยาวชนวัยใส หัวใจจิต อาสา พัฒนาสังคม (5.2(3)/3) 4. โครงการขยะแลกไข่ ลดรายจ่ายใน ครัวเรือน (5.2(3)/4) 5. โครงการมัคคุเทศก์น้อย สานึกรักษ์ ท้องถิ่น (5.2(3)/5) 6. โครงการเยาวชนอาสาพัฒนาชุมชน ตาบลโพธิ์ไทร (5.2(3)/6) 7. โครงการเยาวชนอาสาพัฒนาชุมชน ตาบลโพธิ์ไทร (5.2(3)/7) 8.โครงการแข่งขันกีฬาพืนบ้านสาหรับ ้ เด็กและเยาวชน(5.2(3)/8) 9.โครงการปั้นปูนปั้นเด็ก(5.2(3)/9) 10. โครงการเพิ่มประสิทธิภาพสภาเด็ก และเยาวชนตาบลหนองเหล่า (5.2(3)/10) มีการนาผลการประเมินในข้อ 3 ไป มีการรายงานความก้าวหน้า 4 พัฒนาระบบและกลไก หรือกิจกรรมการ โครงการขับเคลื่อนงานด้าน ให้บริการทางวิชาการ เด็กและเยาวชนแบบบูรณา การระดับจังหวัด อุบลราชธานี โดยมีการจัด ประชุมวันที่ 23 มกราคม 2556 วันที่ 18 กุมภาพันธ์ 2556 ฯลฯ ตลอดการใช้ ระบบเครือญาติ ภูมิปัญญา ท้องถิ่น จนเกิดเป็นศูนย์การ เรียนรู้ - รายงานการประชุมสานักสานัก บริการวิชาการชุมชนทุกเดือน (5.2(4)/1) - รายงานการประชุมคณะทางาน โครงการขับเคลื่อนงานด้านเด็กและ เยาวชนฯ (5.2(4)/2) - แผนปฏิบัติงานโครงการขับเคลื่อน งานด้านเด็กและเยาวชนฯ (5.2(4)/3) 5 มีการพัฒนาความรู้ที่ได้จากการให้บริการ ทางวิชาการและถ่ายทอดความรู้สู่ บุคลากรภายในสถาบันและเผยแพร่สู่ สาธารณชน - รวมสารประชาสัมพันธ์ ยางนาสาร (5.2(5)/1) - รวมสารประชาสัมพันธ์บัวตูม (5.2(5)/2) - รวมวารสารประชาสัมพันธ์บัวอุบล สานักบริการวิชาการชุมชนมี การพัฒนาองค์ความรู้ ที่ได้ จากการบริการวิชาการและ ถ่ายทอดความรู้สู่บุคลากรนา สานัก ฯ โดยเผยแพร่ 1
  • 14. ข้อ เกณฑ์การประเมิน ผลดาเนินงาน หลักฐาน หนังสือเล่มเล็กสรุปบทเรียน การทางานบริการวิชาการ ชุมชนร่วมกับ อปท. และเว็บ ไซด์ WWW.YOUTHUBON.COM 2. ประชาสัมพันธ์ ในจุลสาร ยางนาสาร (สานักบริการ วิชาการชุมชน ) บัวตูม ทั้ง รายปักษ์ (5.2(5)/3) -หนังสือเล่มเล็ก : สรุปบทเรียนการ ทางานบริการวิชาการชุมชนร่วมกับ อปท. (5.2(5)/4) - เว็ปไซด์ WWW.YOUTHUBON.COM(5.2(5)/5) - เว็ปไซด์ สานักบริการวิชาการชุมชน (5.2(5)/6) ผลการประเมินตนเอง : จากผลการดาเนินงานข้างต้นเมื่อประเมินโดยใช้เกณฑ์มาตรฐาน และอิงเกณฑ์การประเมิน ตัวบ่งชี้ ของ สกอ. ในรอบปีการศึกษา 2555 สานักบริการวิชาการชุมชน มีผลการประเมินสรุปได้ ดังนี้ ชนิด ตัวบ่งชี้ ตัวบ่งชี้ 5.2 กระบวนการบริการทาง วิชาการให้เกิดประโยชน์ต่อ สังคม P เกณฑ์ มาตรฐาน 5 ข้อ เป้าหมาย ปี 2555 3 ข้อ ผลการ ดาเนิน งาน 5 ข้อ การบรรลุ เป้าหมาย บรรลุ เป้าหมาย ค่า คะแนน ที่ได้ 5 ตัวบ่งชี้ที่ 5.2.1 : การเรียนรู้และเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนหรือองค์กรภายนอก (สมศ. 9) เกณฑ์การให้คะแนน 1 2 3 4 5 ปฏิบัติได้ 1 ข้อ ปฏิบัติได้ 2 ข้อ ปฏิบัติได้ 3 ข้อ ปฏิบัติได้ 4 ข้อ ปฏิบัติได้ 5 ข้อ ผลการดาเนินงาน : ในรอบปีการศึกษา 2555 สานักบริการวิชาการชุมชน มีผลการดาเนินงานตามเกณฑ์มาตรฐาน สมศ. ดังนี้ ข้อ 1 เกณฑ์การประเมิน ผลดาเนินงาน หลักฐาน มีการดาเนินงานตามวงจรคุณภาพ (PDCA) โดย มีการดาเนินการตาม PDCA - ประกาศแต่งตั้งคณะทางาน การมีส่วนร่วมของชุมชนหรือองค์กร โครงการขับเคลื่อนงานด้าน P นัดประชุม อบต. 25 เด็กและเยาวชนฯ(5.2.1(1)/1) แห่ง เพื่อวางแผน - รายงานผลการประชุม ประสานงาน D ดาเนินกิจกรรมตามแผน ร่วมกับ คณะทางานโครงการ ขับเคลื่อนงานด้านเด็กและ
  • 15. ข้อ บรรลุเป้าหมายตามแผนไม่ต่ากว่าร้อยละ 80 ผลดาเนินงาน หลักฐาน C โดยการตรวจเยี่ยมเพื่อ ประเมิน จากพฤติกรรมใน การมีส่วนร่วมของชุมชน A มีการนัดประชุมทุกกลุ่ม เก็บข้อมูลเพื่อวิเคราะห์หา แนวทางแก้ไขปัญหาการ ดาเนินการและจัดทาเป็น แผนในปีถัดไป 2 เกณฑ์การประเมิน เยาวชนฯ(5.2.1(1)/2) - แผนการดาเนินงานโครงการ ขับเคลื่อนงานด้านเด็กและ เยาวชนฯ (5.2.1(1)/3) ได้มีการดาเนินการบรรลุ เป้าหมาย - รายงานความก้าวหน้าผล การดาเนินโครงการขับเคลื่อน งานด้านเด็กและเยาวชนฯ (5.2.1 (2)/1) ชุมชนหรือองค์กรมีผู้นาหรือสมาชิกที่มีการเรียนรู้ มีองค์กรแกนนาเยาวชนใน และดาเนินกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง รูปแบบสภาเด็กและเยาวชน 3 ในระดับ อปท. 20 แห่ง มี คาสั่งแต่งตั้งสภาเด็กทั้ง 20 แห่ง และยังมีโครงการ สนับสนุนการดาเนินงานของ สภาเด็กและเยาวชน - คาสั่งแต่งตั้งสภาเด็กและ เยาวชนในระดับท้องถิ่น (5.2.1 (3)/1) - โครงการของ อปท.ที่ให้การ สนับสนุนการดาเนินงานของ สภาเด็กและเยาวชน (5.2.1 (3)/2) ชุมชนหรือองค์กรสร้างกลไกที่มีการพัฒนาตนเอง องค์กรสภาเด็กและเยาวชน อย่างต่อเนื่องและยั่งยืน โดยคงอัตลักษณ์และ ได้มีการขับเคลื่อนงานด้าน วัฒนธรรมของชุมชนหรือองค์กร เด็กและเยาวชน ฯ จะจัด โครงการสร้างสรรค์เพื่อการ พัฒนาศักยภาพแกนนาสภา เด็กให้มีความเข้มแข็งและ อย่างยั่งยืน - ตัวอย่างโครงการของ อปท. ที่ให้การสนับสนุนการ ดาเนินงานของสภาเด็กและ เยาวชน (5.2.1 (4)/1) - โครงการสภาเด็กและ เยาวชนระดับท้องถิ่น (5.2.1 (4)/2) เช่น 1. โครงการสร้างแกนนา เยาวชนคนอาสา 2. โครงการเยาวชนวัยใส หัวใจจิตอาสา พัฒนาสังคม 3. โครงการขยะแลกไข่ ลดรายจ่ายในครัวเรือน 4. โครงการมัคคุเทศก์น้อย สานึกรักษ์ท้องถิ่น 5. โครงการเยาวชนอาสา พัฒนาชุมชน ตาบลโพธิ์ไทร 6. โครงการเยาวชนอาสา 4
  • 16. ข้อ เกณฑ์การประเมิน ผลดาเนินงาน หลักฐาน พัฒนาชุมชน ตาบลโพธิ์ไทร 7.โครงการแข่งขันกีฬาพืนบ้าน ้ สาหรับเด็กและเยาวชน 8.โครงการปั้นปูนปั้นเด็ก 9. โครงการเพิ่มประสิทธิภาพ สภาเด็กและเยาวชนตาบล หนองเหล่า เป็นต้น มีผลกระทบที่เกิดประโยชน์สร้างคุณค่าต่อสังคม เด็กและเยาวชน ถือว่าเป็น หรือชุมชน/องค์กรมีความเข้มแข็ง จุดเชื่อมโยงของสานักบริการ วิชาการชุมชนร่วมภาคี เครือข่ายต่าง ๆ ทั้งภายใน และภายนอกอย่างชัดเจน 5 โดยได้รับการสนับสนุน งบประมาณจาก สสส. อย่าง ต่อเนื่องถึง 3 ปี ตลอดจนการ หนุนเสริมให้ชุมชนและ ท้องถิ่นเกิดความเข้มแข็ง อย่างยั่งยืน - แผนงาน/โครงการที่ อปท. ให้การสนับสนุนการ ดาเนินงานของสภาเด็กและ เยาวชนอย่างต่อเนื่อง (5.2.1 (5)/1) ผลการประเมินตนเอง : จากผลการดาเนินงานข้างต้นเมื่อประเมินโดยใช้เกณฑ์มาตรฐาน และอิงเกณฑ์การประเมิน ตัวบ่งชี้ ของ สมศ. ในรอบปีการศึกษา 2555 สานักบริการวิชาการชุมชน มีผลการประเมินสรุปได้ ดังนี้ ตัวบ่งชี้ 5.2.1 การเรียนรู้และเสริมสร้าง ความเข้มแข็งของชุมชนหรือ องค์กรภายนอก ชนิด ตัวบ่งชี้ P เกณฑ์ มาตรฐาน 5 ข้อ เป้าหมาย ปี 2555 3 ข้อ ผลการ ดาเนิน งาน 5 ข้อ การบรรลุ เป้าหมาย บรรลุ เป้าหมาย ค่า คะแนน ที่ได้ 5 ข้อสรุปผลการประเมินตนเองตามองค์ประกอบที่ 5 จุดแข็ง/แนวทางเสริมจุดแข็ง 1. มีโครงการในการบริการวิชาการจานวนมาก โดยเฉพาะโครงการขับเคลื่อนงานด้านเด็กและเยาวชนฯ ที่ ถือว่าเป็นจุดเด่นของสานักบริการวิชาการชุมชนและได้รับการสนับสนุนจากแหล่งทุนและหน่วยงานภายนอกที่ ชัดเจนและมีความต่อเนื่องถึง 3 ปี 2. มีกระบวนการทางานร่วมกับชุมชนท้องถิ่นอย่างต่อเนื่องโดยมีผลงานเป็นที่ประจักษ์ ทาให้แหล่งทุน ภายนอกเข้ามาสนับสนุนการทางานเป็นจานวนมาก แนวทางเสริมจุดแข็ง 1. ควรวิเคราะห์การบริการวิชาการแก่ชุมชนให้มีความสอดคล้องกับพันธกิจหรือกลยุทธ์หรือยุทธศาสตร์
  • 17. ของมหาวิทยาลัยและของสานักบริการวิชาการชุมชนอย่างเป็นหมวดหมู่ 2. ให้มีการจัดบริการวิชาการแก่ชุมชนให้กระจายครอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมายและในเชิงพื้นที่ด้วย จุดที่ควรพัฒนา/ข้อเสนอแนะในการปรับปรุง 1. ควรมีประกาศมหาวิทยาลัย ให้ปฏิบัติตามคู่มือบริการวิชาการชุมชน 2. เรียงลาดับความต้องการจากมากไปหาน้อย วิธีปฏิบัติที่ดี/นวัตกรรม 1. มีรูปแบบการทางานร่วมกับชุมชนและภาคีเครือข่ายภายนอกที่สามารถทาให้ชุมชนเกิดความเข้มแข็ง อย่างเป็นรูปธรรมได้ 2. มีการประสานเครือข่ายการทางานด้านบริการวิชาการชุมชนที่เข้มแข็งทั้งในระดับจังหวัดและในพื้นที่ 3. มีหน่วยงานภายนอกให้งบประมาณสนับสนุนการดาเนินงานอย่างต่อเนื่อง เช่น สานักงานกองทุน สนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ(สสส.) คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นต้น องค์ประกอบที่ 7 การบริหารและการจัดการ ตัวบ่งชี้ที่ 7.1 ภาวะผู้นาของสภามหาวิทยาลัยและผู้บริหารทุกระดับของมหาวิทยาลัย เกณฑ์การประเมิน : คะแนน 1 มีการดาเนินการ 1 ข้อ คะแนน 2 มีการดาเนินการ 2 หรือ 3 ข้อ คะแนน 3 มีการดาเนินการ 4 หรือ 5 ข้อ คะแนน 4 มีการดาเนินการ 6 ข้อ คะแนน 5 มีการดาเนินการ 7 ข้อ ผลการดาเนินงาน : ในรอบปีการศึกษา 2555 สานักบริการวิชาการชุมชน มีผลการดาเนินงานตามเกณฑ์มาตรฐาน สกอ. ดังนี้ ข้อ เกณฑ์การประเมิน ผู้บริหารสานักบริการวิชาการชุมชนปฏิบัติหน้าที่ ตามที่กฎหมายกาหนดครบถ้วนและมีการประเมิน ตนเองตามหลักเกณฑ์ที่กาหนดล่วงหน้า 1 ผลดาเนินงาน หลักฐาน มีการบริหารจัดการการ ดาเนินงานของสานัก บริการวิชาการชุมชน ตามข้อบังคับ โดยการ แต่งตั้งคณะกรรมการ บริการการวิชาการชุมชน ที่ 2719/2555 ลงวันที่ 27 พ.ย.2555 คณะกรรมการทบทวน และจัดทาแผน ยุทธศาสตร์ ที่ 2717/2555 ลงวันที่ 27 พ.ย.2555 ทาหน้าที่ กาหนดนโยบาย เสนอแนะให้คาปรึกษา การดาเนินงานตลอดจน 1.1 บันทึกการประชุม ประจาเดือนของสานักบริการ วิชาการชุมชน (7.1(1)/1 1.2 รายงานผลการประเมิน ผู้บริหารประจาปี จาก สานักงานตรวจสอบภายใน (7.1(1)/2)
  • 18. ข้อ เกณฑ์การประเมิน ผลดาเนินงาน หลักฐาน พิจารณา แผนปฏิบัติ ราชการ ผู้บริหารมีวิสัยทัศน์ กาหนดทิศทางการดาเนินงาน และสามารถถ่ายทอดไปยังบุคลากรทุกระดับ มี ความสามารถในการวางแผนกลยุทธ์ มีการนาข้อมูล 2 สารสนเทศเป็นฐานในการปฏิบัติงานและพัฒนา มหาวิทยาลัย 3 ผู้บริหารมีการกากับ ติดตามและประเมินผลการ ดาเนินงานตามที่มอบหมาย รวมทั้งสามารถสื่อสาร แผนและผลการดาเนินงานของมหาวิทยาลัยไปยัง บุคลากรในมหาวิทยาลัย ผู้อานวยการสานัก บริการวิชาการชุมชน กาหนดวิสัยทัศน์ แนว ทางการดาเนินงานอย่าง ชัดเจน ในการประชุม ครั้งที่ 2/54 วันที่ 15 ก.พ.55 และได้ถ่ายทอด นโยบาย วิสัยทัศน์ และ แผนกลยุทธ์ให้แก่ บุคลากรทุกระดับได้ รับทราบในที่ประชุม ใน วันที่ 27 มี.ค.55 วันที่ 19 พ.ค.55 และวันที่ 27 ธ.ค.55 1. สรุปการจัดประชุมเพื่อ จัดทาแผนยุทธศาสตร์ร่วมกัน เพื่อกาหนดวิสัยทัศน์ / พันธ กิจ / แผนกลยุทธ์ในการ ทางานให้องค์กรมี ประสิทธิภาพ (7.1 (2)/1) ผู้อานวยการสานัก 3.1 สรุปรายงานการประชุม บริการวิชาการชุมชน ได้ ทุกเดือน (7.1(3)/1) มอบหมาย โดยติดตาม จากที่ประชุม กรรมการบริหารสานัก ทุกครั้ง 4 ผู้บริหารสนับสนุนให้บุคลากรในมหาวิทยาลัยมีส่วน สนับสนุนให้บุคลากรใน ร่วมในการบริหารจัดการ ให้อานาจในการตัดสินใจแก่ หน่วยงานได้มีส่วนร่วมใน บุคลากรตามความเหมาะสม การบริหารจัดการและให้ อานาจในการตัดสินใจ ตามความเหมาะสม 4.1 ระเบียบวาระการประชุม ประจาเดือนสานักบริการ วิชาการชุมชน (7.1(4)/1) 4.2 สรุปโครงการพัฒนา ศักยภาพศึกษาดูงานสานัก บริการวิชาการชุมชน ปี 2555 (7.1 (4)/2) ผู้บริหารถ่ายทอดความรู้และส่งเสริมพัฒนาผู้ร่วมงาน ส่งเสริมพัฒนาผู้ร่วมงาน เพื่อให้สามารถทางานบรรลุวัตถุประสงค์ของ ในเรื่อง ความหมายและ มหาวิทยาลัยเต็มตามศักยภาพ ลักษณะการบริการที่ดี และพื้นฐานสาคัญในการ ให้บริการ ในวันที่ 11 เมษายน 2555 5.1 สรุปการประชุมแนว ทางการขับเคลื่อนงานวิจัย ท้องถิ่น 3 หน่วยงาน (7.1(5)/1) 5.2 เอกสารบันทึกความ ร่วมมือ (MOU) ร่วมกับ เครือข่ายต่าง ๆ (7.1 (5)/2) 5.3 เครือข่ายภาครัฐและ 5
  • 19. ข้อ เกณฑ์การประเมิน ผลดาเนินงาน หลักฐาน องค์กรชุมชน (7.1 (5)/3) ผู้บริหารบริหารงานด้วยหลักธรรมาภิบาล โดย คานึงถึงประโยชน์ของมหาวิทยาลัยและผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย 6 หลักประสิทธิผล ประชุมหารือมอบหมาย การทางาน และติดตาม ผล โดยการประชุมทุก เดือน ติดตามสอบถาม ทบทวนในแต่ละโครงการ ติดตามความก้าวหน้า ถ้า ยังดาเนินการอยู่ก็จะต้อง ดาเนินการให้แล้วเสร็จ หลักประสิทธิภาพ ประเมินผลโครงการที่ ดาเนินการสาเร็จแล้ว ว่า เป็นไปตามวัตถุประสงค์ หรือไม่แล้ว ให้ทุกคนตาม งานความก้าวหน้า โดย สรุปเป็นรูปเล่มโครงการ หลักการตอบสนอง บริการให้ทุกคนสามารถ ดาเนินการตามภารกิจได้ ตามระยะเวลาที่กาหนด และร่วมกันแก้ไขปัญหา อุปสรรค เป็นเป้าหมายที่ เป็นนักศึกษา / นักเรียน ไม่สามารถเข้าร่วม โครงการ หลักภาระรับผิดชอบ กากับดูแลการทางาน ของบุคลากร ตามภาระ งานที่กาหนดไว้ในกรอบ ติดตามโดยสอบถามในที่ ประชุม รายงานผลเมื่อ ดาเนินโครงการสาเร็จ หลักความโปร่งใส รายงานกิจกรรม การใช้ งบประมาณในที่ประชุม ประจาเดือนทุกครั้งและ ผู้บริหารถ่ายทอดภารกิจ 6.1 สรุปรายงานการประชุมที่ เกี่ยวข้องกับการใช้จ่าย งบประมาณและการประชุม ประจาเดือนทุกเดือน (7.1(6)/1) รายงานการ ประชุม
  • 20. ข้อ เกณฑ์การประเมิน ผลดาเนินงาน หลักฐาน งานการประชุม คณะกรรมการบริหารให้ บุคลากรรับทราบ หลักการมีส่วนร่วม เปิดโอกาสให้บุคลากรทุก ระดับมีส่วนร่วมในการ เลือกดาเนินในแต่ละ กิจกรรมรีบทบทวน ยุทธศาสตร์ / แผนปฏิบัติ ภาระงาน หลักกระจายอานาจ มอบหมายให้รอง รักษาการแทน กาหนด และมอบอานาจในการ บริหารแต่ละเรื่องให้รอง โดยกาหนดบทบาท หน้าที่ในการควบคุมดูแล ติดตาม และแก้ไขปัญหา งานในหน้าที่รับผิดชอบ ตัวอิสระ หลักนิติธรรม บริหารตามเจตนารมณ์ ของระเบียบข้อบังคับ ของมหาวิทยาลัย หลักเสมอภาค ทุกคนเท่าเทียมกัน เหมือนครอบครัว เดียวกัน หลักมุ่งเน้นฉันทามติ ให้เสียงส่วนใหญ่จากที่ ประชุมลงมติ ในทุกเรื่อง ทุกด้าน สภามหาวิทยาลัยประเมินผลการบริหารงานของ 7 มหาวิทยาลัยและผู้บริหารนาผลการประเมินไป ปรับปรุงการบริหารงานอย่างเป็นรูปธรรม - สภามหาวิทยาลัยได้ 7.1 รายงานการประเมินผล ดาเนินการประเมินผล การปฏิบัติงานของสานัก และ การปฏิบัติงานของ ผอ.สานัก ฯ (7.1(7)/1) สานักฯ และ ผอ.สานักฯ ได้คะแนน 4.38
  • 21. ผลการประเมินตนเอง : จากผลการดาเนินงานข้างต้นเมื่อประเมินโดยใช้เกณฑ์มาตรฐาน และอิงเกณฑ์การประเมิน ตัวบ่งชี้ ของ สกอ. ในรอบปีการศึกษา 2555 สานักบริการวิชาการชุมชน มีผลการประเมินสรุปได้ ดังนี้ ชนิด ตัวบ่งชี้ ตัวบ่งชี้ 7.1 ภาวะผู้นาของสภา มหาวิทยาลัยและผู้บริหารทุก ระดับของมหาวิทยาลัย P เกณฑ์ มาตรฐาน 7 ข้อ เป้าหมาย ปี 2555 5 ข้อ ผลการ ดาเนิน งาน 7 ข้อ การบรรลุ เป้าหมาย บรรลุ เป้าหมาย ค่า คะแนน ที่ได้ 5 ตัวบ่งชี้ที่ 7.1.2 การปฏิบัติตามบทบาทหน้าที่ของผู้บริหารมหาวิทยาลัย(สมศ. 13 ) ผลการดาเนินงาน : ในรอบปีการศึกษา 2555 สานักบริการวิชาการชุมชน มีผลการดาเนินงานตามเกณฑ์มาตรฐาน สมศ. ดังนี้ การปฏิบัติตามบทบาทหน้าที่ของผู้บริหารสถาบัน โดยสภามหาวิทยาลัยได้ดาเนินการประเมินผลการ ปฏิบัติงานของสานัก ฯ และผู้อานวยการสานัก ฯ ได้คะแนน 4.38 ผลการประเมินตนเอง : จากผลการดาเนินงานข้างต้นเมื่อประเมินโดยใช้เกณฑ์มาตรฐาน และอิงเกณฑ์การประเมิน ตัวบ่งชี้ ของ สมศ. ในรอบปีการศึกษา 2555 สานักบริการวิชาการชุมชน มีผลการประเมินสรุปได้ ดังนี้ หลักฐานอ้างอิง: หมายเลขเอกสาร 7.1.2 (1) /1 7.1.2 (1) /2 7.1.2 (2) /1 7.1.2 (3) /1 7.1.2 (4) /1 ชื่อเอกสาร แผนยุทธศาสตร์สานักบริการวิชาการชุมชนและแผ่นพับสานัก ฯ ระเบียบวาระการประชุมประจาเดือน ตารางมอบหมายภารกิจให้ดาเนินโครงการของสานักบริการวิชาการชุมชน บันทึกข้อความและสรุปค่าใช้จ่ายเพื่อรายงานต่อมหาวิทยาลัย แบบประเมินผู้บริหารและรายงานผลการประเมินตนเองของผู้บริหาร ตัวบ่งชี้ 7.1.2 การปฏิบัติตามบทบาท หน้าที่ของผู้บริหาร มหาวิทยาลัย ชนิด ตัวบ่งชี้ P เกณฑ์ มาตรฐาน 5 คะแนน ตัวบ่งชี้ที่ 7.2 การพัฒนามหาวิทยาลัยสู่สถาบันเรียนรู้ เป้าหมาย ปี 2554 3.51 ผลการ ดาเนิน งาน 4.38 การบรรลุ เป้าหมาย บรรลุ เป้าหมาย ค่า คะแนน ที่ได้ 4.38
  • 22. เกณฑ์การประเมิน : คะแนน 1 มีการดาเนินการ 1 ข้อ คะแนน 2 มีการดาเนินการ 2 ข้อ คะแนน 3 มีการดาเนินการ 3 ข้อ คะแนน 4 มีการดาเนินการ 4 ข้อ คะแนน 5 มีการดาเนินการ 5 ข้อ ผลการดาเนินงาน : ในรอบปีการศึกษา 2555 สานักบริการวิชาการชุมชน มีผลการดาเนินงานตามเกณฑ์มาตรฐาน สกอ. ดังนี้ ข้อ เกณฑ์การประเมิน มีการกาหนดประเด็นความรู้และเป้าหมายของการ จัดการความรู้ที่สอดคล้องกับแผนกลยุทธ์ของ มหาวิทยาลัยอย่างน้อยครอบคลุมพันธกิจด้านการ 1 ผลิตบัณฑิตและด้านการวิจัย ผลดาเนินงาน หลักฐาน สานักบริการวิชาการชุมชน กาหนดประเด็นความด้าน การผลิตบัณฑิต คือ ความรู้ ด้านประกันคุณภาพ ประเด็นการวิจัย คือ บทบาท ของมหาวิทยาลัยราชภัฏ อุบลราชธานี ในการพัฒนา ท้องถิ่นด้านเด็กและเยาวชน 1.1 แผนปฏิบัติราชการ ประจาปีสานักบริการวิชาการ ชุมชน พ.ศ.2556 (7.2 (1)/1) 1.2 โครงการจัดการความรู้ เรื่องงานประกันคุณภาพ การศึกษา (7.2(1)/2) 1.3 เอกสารประกอบการ ประชุมประจาเดือนของ สานักบริการวิชาการชุมชน (7.2 (1)/3) 1.4 เอกสารสรุปผลการ ดาเนินโครงการจัดการความรู้ ด้านประกันคุณภาพ การศึกษาสานักบริการ วิชาการชุมชน (7.2(1)/4) 1.5 เอกสารสรุปผลการ ดาเนินงานบทบาทของ มหาวิทยาลัยราชภัฏ อุบลราชธานีในการพัฒนา ท้องถิ่นด้านเด็กและเยาวชน (7.2(1)/5) 2 กาหนดบุคลากรกลุ่มเป้าหมายที่จะพัฒนาความรู้ สานักบริการวิชาการชุมชน และทักษะด้านการผลิตบัณฑิตและด้านการวิจัย ได้กาหนดกลุ่มเป้าหมาย อย่างชัดเจนตามประเด็นความรู้ที่กาหนดในข้อ 1 สาหรับประเด็นการผลิต บัณฑิต คือ บุคลากรของ สานัก ฯ จานวน 6 คน กลุ่มเป้าหมาย สาหรับ ประเด็นวิจัย คือ บทบาท 2.1 เอกสาร บันทึกความ ร่วมมือ ( MOU) ด้านงาน ประกันคุณภาพการศึกษา ระหว่างมหาวิทยาลัยราชภัฏ อุบลราชธานีและสานัก บริการวิชาการชุมชนโดยมี รายชื่อบุคลากรสานักบริการ
  • 23. ข้อ เกณฑ์การประเมิน ผลดาเนินงาน หลักฐาน ของมหาวิทยาลัยราชภัฏ อุบลราชธานี ในการพัฒนา ท้องถิ่นด้านเด็กและเยาวชน คือ องค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่นในจังหวัด อุบลราชธานี จานวน 25 แห่ง วิชาการชุมชนในช่องตาราง ความรับผิดชอบของแต่ละตัว บ่งชี้ (7.2 (2)/1) 2.2 หนังสือบันทึกข้อความ มอบหมายภารกิจงานด้าน ประกันคุณภาพการศึกษาทุก ตัวบ่งชี้ (7.2 (2)/ 2) - เอกสารสรุปผลการ ดาเนินงาน (7.2(2)/3 มีการแบ่งปันและแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากความรู้ ทักษะของผู้มีประสบการณ์ตรง (tacit knowledge) เพื่อค้นหาแนวปฏิบัติที่ดีตาม 3 ประเด็นความรู้ที่กาหนดในข้อ 1 และเผยแพร่ไปสู่ บุคลากรกลุ่มเป้าหมายที่กาหนด ประเด็น การผลิตบัณฑิต สานัก ฯ ได้เชิญผู้เชี่ยวชาญ ด้านการประกันคุณภาพ คือ คุณรังสรรค์ วงศ์สุข ผศ. ประคอง บุญทน และคุณ เสาวลักษณ์ ภูสมสาย เป็น วิทยากรผู้เชี่ยวชาญ ประเด็น การวิจัย สานัก ฯ ให้ คุณเจษฎา ชะโกฏ เป็น วิทยากร โดยทั้งสอบประเด็น ได้ให้วิทยากรแชร์ ประสบการณ์จริง แบบ Tell Story เพื่อให้กลุ่มเป้าหมาย จับประเด็น แล้วนาประเด็น เหล่านั้นมาถกปัญหาเพื่อหา แนวปฏิบัติที่ดี 3.1หนังสือเชิญประชุม โครงการจัดการความรู้ (7.2(3)/1) 3.2 สรุปผลการดาเนิน โครงการจัดการความรู้ด้าน งานประกันคุณภาพ การศึกษา (7.2 (3)/2) 3.3 รายงานผลการประชุม ร่วมกับหน่วยงานภายนอกที่มี ประเด็นหารือด้านการ ประกันคุณภาพการศึกษา (7.2(3)/3) - หนังสือเผยแพร่งานเอกสาร (7.2(3)/3) มีการรวบรวมความรู้ตามประเด็นความรู้ที่กาหนด ในข้อ 1 ทั้งที่มีอยู่ในตัวบุคคลและแหล่งเรียนรู้อื่นๆ ที่เป็นแนวปฏิบัติที่ดีมาพัฒนาและจัดเก็บอย่างเป็น 4 ระบบโดยเผยแพร่ออกมาเป็นลายลักษณ์อักษร (explicit knowledge) สานัก ฯ ได้รวบรวมองค์ ความรู้ที่ได้ในประเด็นการ วิจัย ในบทบาทของ มหาวิทยาลัยราชภัฏ อุบลราชธานี ในการพัฒนา ท้องถิ่นด้านเด็กและเยาวชน สรุปเป็นเอกสาร (สมุดเล่ม เล็ก) เพื่อเป็นแนวทางในการ ปฏิบัติการและพัฒนางาน ให้กับหน่วยงานและเผยแพร่ ให้กับหน่วยงานที่สนใจ - เอกสารรายงานผลบทบาท ของมหาวิทยาลัยราชภัฏ อุบลราชธานีในการพัฒนา ท้องถิ่นด้านเด็กและเยาวชน (7.2(4)/1) 5 มีการนาความรู้ที่ได้จากการจัดการความรู้ในปี สานัก ฯ ได้นาความรู้ที่ได้ - บันทึกข้อความส่งเอกสาร