SlideShare a Scribd company logo
1 of 23
Download to read offline
๔.๒ การจัดการเรียนรู้
และการจัดการชั้นเรียน
ด้านที่ ๔ การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
ปีการศึกษา
๒๕๖๔
๔.๒ การจัดการเรียนรู้และการจัดการชั้นเรียน
ตัวชี้วัดที่ ๑ ครูมีความรู้ความเข้าใจลึกซึ้งในวิชาที่สอนและจัดการเรียนการสอนอย่างมี
ประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัดที่ ๒ ครูให้เวลานักเรียนได้ฝึกปฏิบัติทางานเป็นกลุ่ม อภิปรายและนาเสนองานโดยใช้
เทคโนโลยีและการสื่อสารเพื่อการศึกษา
ตัวชี้วัดที่ ๓ ครูให้เวลานักเรียนได้คิด ตอบปัญหา แก้ไขปัญหา ได้สะท้อนความรู้ความเข้าใจ
ในวิชาที่เรียนและนาความรู้ไปใช้ในชีวิตประจาวัน
๔.๒ การจัดการเรียนรู้และการจัดการชั้นเรียน
ตัวชี้วัดที่ ๔ ครูกระตุ้นให้นักเรียนกระตือรือร้นที่จะพัฒนาวิธีการเรียนรู้ของตนเองและใส่ใจใฝ่
รู้
อดทนต่อการแสวงหาคาตอบ
ตัวชี้วัดที่ ๕ ครูจัดกิจกรรมที่สร้างปฏิสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน และปลูกฝังให้นักเรียนยอมรับ
ความแตกต่างของผู้อื่น
ตัวชี้วัดที่ ๖ ครูบูรณาการการเรียนรู้วิชาที่สอนกับภูมิปัญญาท้องถิ่นและกลุ่มสาระการเรียนรู้
อื่น เพื่อให้นักเรียนเรียนรู้เพิ่มเติมขึ้นแต่ใช้เวลาน้อยลง
๔.๒ การจัดการเรียนรู้และการจัดการชั้นเรียน
ตัวชี้วัดที่ ๗ ครูจัดสอนซ่อมเสริมให้แก่นักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียน เพิ่มศักยภาพ
นักเรียนที่มีความสามารถพิเศษ
ตัวชี้วัดที่ ๘ ครูจัดการชั้นเรียนที่ช่วยให้นักเรียนสนใจเรียน เห็นประโยชน์ของการเรียน
และตั้งใจเรียน
๔.๒ การจัดการเรียนรู้และการจัดการชั้นเรียน
ตัวชี้วัดที่ ๑ ครูมีความรู้ความเข้าใจลึกซึ้งในวิชาที่สอนและจัดการเรียนการสอนอย่างมีประสิทธิภาพ
ครูโรงเรียนปากเกร็ดทุกคน ได้มีการวางแผนและดาเนินการพัฒนาตนเองตามมาตรฐานของวิชาชีพ
อย่างต่อเนื่อง ได้รับการพัฒนาจากหน่วยงานต้นสังกัดและหน่วยงานอื่นเพื่อพัฒนาตนเอง อย่างน้อย ๒๐
ชั่วโมงต่อปี
๔.๒ การจัดการเรียนรู้และการจัดการชั้นเรียน
ตัวชี้วัดที่ ๑ ครูมีความรู้ความเข้าใจลึกซึ้งในวิชาที่สอนและจัดการเรียนการสอนอย่างมีประสิทธิภาพ
๑. สนับสนุนให้มีการจัดเตรียมสถานที่ สื่อ อุปกรณ์ในการจัดการเรียนการสอนให้มีสภาพที่พร้อมใช้
และเพียงพอสาหรับนักเรียนทุกคนในห้อง
๔.๒ การจัดการเรียนรู้และการจัดการชั้นเรียน
ตัวชี้วัดที่ ๑ ครูมีความรู้ความเข้าใจลึกซึ้งในวิชาที่สอนและจัดการเรียนการสอนอย่างมีประสิทธิภาพ
๒. ดาเนินการจัดการเรียนการสอนอย่างมีประสิทธิภาพ เป็นระบบ
ขั้นนำเข้ำสู่บทเรียน
• กระบวนการคิดและสติปัญญา ด้วยเกม การสร้างความสงสัยประหลาดใจ ทาให้
ผู้เรียนมีความกระตือรือร้น อยากค้นพบคาตอบ
ขั้นสอน
• จัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
• จัดการเรียนการสอนที่ให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการสอนแบบ Active Learning
• คานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคลและความต้องการของผู้เรียน
• จัดกิจกรรมการเรียนการสนที่น่าสนใจ ไม่ทาให้ผู้เรียนบื่อหน่าย
• สร้างบรรยากาศที่เหมาะแก่การเรียนรู้
• ใช้เทคนิคการสอนหลายรูปแบบโดยเน้นวิธีการสอนเกี่ยวกับสิ่งที่อยู่ไม่ไกลตัวผู้เรียนมากเกินไป
๔.๒ การจัดการเรียนรู้และการจัดการชั้นเรียน
ตัวชี้วัดที่ ๑ ครูมีความรู้ความเข้าใจลึกซึ้งในวิชาที่สอนและจัดการเรียนการสอนอย่างมีประสิทธิภาพ
๓. สรุปบทเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ
ขั้นนำเข้ำสู่บทเรียน • กระบวนการคิดและสติปัญญา ด้วยเกม การสร้างความสงสัยประหลาดใจ ทาให้
ผู้เรียนมีความกระตือรือร้น อยากค้นพบคาตอบ
ขั้นสอน
• จัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
• จัดการเรียนการสอนที่ให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการสอนแบบ Active Learning
• คานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคลและความต้องการของผู้เรียน
• จัดกิจกรรมการเรียนการสนที่น่าสนใจ ไม่ทาให้ผู้เรียนบื่อหน่าย
• สร้างบรรยากาศที่เหมาะแก่การเรียนรู้
• ใช้เทคนิคการสอนหลายรูปแบบโดยเน้นวิธีการสอนเกี่ยวกับสิ่งที่อยู่ไม่ไกลตัวผู้เรียนมากเกินไป
ขั้นสรุป • สรุปบทเรียนโดยการเชื่อมโยงความรู้/ประสบการณ์เดิมและความรู้/ประสบการณ์ใหม่
• สรุปบทเรียนเป็นความคิดรวบยอดที่มีความครอบคลัม ถูกต้องและชัดเจน
๔.๒ การจัดการเรียนรู้และการจัดการชั้นเรียน
ตัวชี้วัดที่ ๑ ครูมีความรู้ความเข้าใจลึกซึ้งในวิชาที่สอนและจัดการเรียนการสอนอย่างมีประสิทธิภาพ
๔. ประเมินผลอย่างมีประสิทธิภาพ
ขั้นนำเข้ำสู่บทเรียน • กระบวนการคิดและสติปัญญา ด้วยเกม การสร้างความสงสัย
ประหลาดใจ ทาให้ผู้เรียนมีความกระตือรือร้น อยากค้นพบคาตอบ
ขั้นสอน
• จัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
• จัดการเรียนการสอนที่ให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการสอนแบบ Active Learning
• คานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคลและความต้องการของผู้เรียน
• จัดกิจกรรมการเรียนการสนที่น่าสนใจ ไม่ทาให้ผู้เรียนบื่อหน่าย
• สร้างบรรยากาศที่เหมาะแก่การเรียนรู้
• ใช้เทคนิคการสอนหลายรูปแบบโดยเน้นวิธีการสอนเกี่ยวกับสิ่งที่อยู่ไม่ไกลตัวผู้เรียนมากเกินไป
ขั้นสรุป
• สรุปบทเรียนโดยการเชื่อมโยงความรู้/ประสบการณ์เดิมและความรู้/ประสบการณ์ใหม่
• สรุปบทเรียนเป็นความคิดรวบยอดที่มีความครอบคลุม ถูกต้องและชัดเจน
ประเมินผลอย่ำงมีประสิทธิภำพ
• ประเมินผลความก้าวหน้าของผู้เรียน
• ใช้วิธีการประเมิน เครื่องมือการประเมินที่หลากหลาย
เหมาะสม สอดคล้องกับสิ่งที่ต้องการประเมิน
๔.๒ การจัดการเรียนรู้และการจัดการชั้นเรียน
ตัวชี้วัดที่ ๑ ครูมีความรู้ความเข้าใจลึกซึ้งในวิชาที่สอนและจัดการเรียนการสอนอย่างมีประสิทธิภาพ
ผลจากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยรูปแบบที่เน้นนักเรียนเป็นสาคัญ ส่งผลต่อนักเรียนโรงเรียน
ปากเกร็ดอย่างชัดเจน ดังนี้
๑. นักเรียนได้เรียนรู้อย่างมีความสุข จัดกิจกรรมที่เกี่ยวกับการพัฒนาสมองที่ส่งผลต่อการเรียนรู้และ
พัฒนาการทางอารมณ์ของผู้เรียน เรียนรู้เรื่องที่ต้องการเรียนรู้ในบรรยากาศที่เป็นธรรมชาติ บรรยากาศของ
การเอื้ออาทรและเป็นมิตร ตลอดจนแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย สามารถนาความรู้ไปใช้ในชีวิตจริงได้
๔.๒ การจัดการเรียนรู้และการจัดการชั้นเรียน
ตัวชี้วัดที่ ๑ ครูมีความรู้ความเข้าใจลึกซึ้งในวิชาที่สอนและจัดการเรียนการสอนอย่างมีประสิทธิภาพ
๒. นักเรียนได้เรียนรู้จากการได้คิดและลงมือปฏิบัติจริง หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งคือ “เรียนด้วยสมองและ
สองมือ” เป็นผลจากการจัดการเรียนรู้ให้ผู้เรียนได้คิด ไม่ว่าจะเกิดจากสถานการณ์หรือคาถามก็ตาม และได้ลง
มือปฏิบัติจริงซึ่งเป็นการฝึกทักษะที่สาคัญ คือ การแก้ปัญหา ความมีเหตุผล
๔.๒ การจัดการเรียนรู้และการจัดการชั้นเรียน
ตัวชี้วัดที่ ๑ ครูมีความรู้ความเข้าใจลึกซึ้งในวิชาที่สอนและจัดการเรียนการสอนอย่างมีประสิทธิภาพ
๓. นักเรียนได้เรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย และเรียนรู้ร่วมกับบุคคลอื่น เป้าหมายสาคัญด้าน
หนึ่งในการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญคือ ผู้เรียนแสวงหาความรู้ด้วยตนเองจากแหล่งเรียนรู้
ที่หลากหลายทั้งในและนอกโรงเรียน รวมถึงภูมิปัญญาท้องถิ่น ปราชญ์ชาวบ้าน สถานที่ต่างๆของชุมชน
๔.๒ การจัดการเรียนรู้และการจัดการชั้นเรียน
ตัวชี้วัดที่ ๑ ครูมีความรู้ความเข้าใจลึกซึ้งในวิชาที่สอนและจัดการเรียนการสอนอย่างมีประสิทธิภาพ
๔. นักเรียนได้เรียนรู้แบบองค์รวมหรือบูรณาการ เป็นการเรียนรู้ที่ผสมผสานสาระความรู้ด้านต่างๆ ได้
สัดส่วนกัน รวมทั้งปลูกฝังคุณธรรม ความดีงามและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในทุกรายวิชาที่จัดให้เรียนรู้
๔.๒ การจัดการเรียนรู้และการจัดการชั้นเรียน
ตัวชี้วัดที่ ๒ ครูให้เวลานักเรียนได้ฝึกปฏิบัติทางานเป็นกลุ่ม อภิปรายและนาเสนองานโดยใช้เทคโนโลยี
และการสื่อสารเพื่อการศึกษา
๑. การจัดการเรียนการสอนแบบโครงงานบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและบูรณาการ
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ อภิปราย และนาเสนอ
งานโดยประยุกต์ใช้เทคโนโลยีและการสื่อสารเพื่อการศึกษา
๔.๒ การจัดการเรียนรู้และการจัดการชั้นเรียน
ตัวชี้วัดที่ ๒ ครูให้เวลานักเรียนได้ฝึกปฏิบัติทางานเป็นกลุ่ม อภิปรายและนาเสนองานโดยใช้เทคโนโลยี
และการสื่อสารเพื่อการศึกษา
๒. การจัดกิจกรรมค่ายทักษะต่างๆ ในกลุ่มงานและสาระการเรียนรู้ เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีความรู้
ความเข้าใจทักษะ การปฏิบัติจริง
๔.๒ การจัดการเรียนรู้และการจัดการชั้นเรียน
ตัวชี้วัดที่ ๒ ครูให้เวลานักเรียนได้ฝึกปฏิบัติทางานเป็นกลุ่ม อภิปรายและนาเสนองานโดยใช้เทคโนโลยี
และการสื่อสารเพื่อการศึกษา
๓.กิจกรรมแข่งขันทักษะทางวิชาการ เช่น ประกวดโครงงาน การวาดภาพ การตอบปัญหา
เปิดสารานุกรม ประกวดเรียงความ ประกวดโต้วาที หนังสือเล่มเล็ก โครงงานสิ่งประดิษฐ์
๔.๒ การจัดการเรียนรู้และการจัดการชั้นเรียน
ตัวชี้วัดที่ ๒ ครูให้เวลานักเรียนได้ฝึกปฏิบัติทางานเป็นกลุ่ม อภิปรายและนาเสนองานโดยใช้เทคโนโลยี
และการสื่อสารเพื่อการศึกษา
๔. กิจกรรมนานักเรียนไปทัศนศึกษาแหล่งเรียนรู้นอกสถานที่
๔.๒ การจัดการเรียนรู้และการจัดการชั้นเรียน
ตัวชี้วัดที่ ๓ ครูให้เวลานักเรียนได้คิด ตอบปัญหา แก้ไขปัญหา ได้สะท้อนความรู้ความเข้าใจในวิชาที่เรียน
และนาความรู้ไปใช้ในชีวิตประจาวัน
สนับสนุนให้นักเรียนได้คิด ตอบปัญหา แก้ไขปัญหา สะท้อนความรู้ความเข้าใจด้วยกิจกรรมการเรียน
การสอน ทักษะการใช้คาถาม (Problem Based Learning : PBL)
๔.๒ การจัดการเรียนรู้และการจัดการชั้นเรียน
ตัวชี้วัดที่ ๔ ครูกระตุ้นให้นักเรียนกระตือรือร้นที่จะพัฒนาวิธีการเรียนรู้ของตนเองและใส่ใจ ใฝ่รู้
อดทนต่อการแสวงหาคาตอบ
ครูมีการกระตุ้นให้นักเรียนกระตือรือร้นที่จะพัฒนาวิธีการเรียนรู้ของตนเองและใส่ใจ ใฝ่รู้
อดทนต่อการแสวงหาคาตอบ ด้วยเทคนิควิธีการสอนที่หลากหลาย ทาให้นักเรียนรู้สึกสนุกสนานและตอบสนอง
ตรงกับความต้องการของนักเรียน
๔.๒ การจัดการเรียนรู้และการจัดการชั้นเรียน
ตัวชี้วัดที่ ๕ ครูจัดกิจกรรมที่สร้างปฏิสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน และปลูกฝังให้นักเรียนยอมรับความแตกต่างของผู้อื่น
จัดกิจกรรมที่สร้างปฏิสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน ระหว่างครูกับนักเรียน และนักเรียนกับนักเรียน เปิดโอกาสให้
นักเรียนมีส่วนร่วมเพื่อแสดงความคิดเห็นในการกาหนดวิธีการเรียน ปลูกฝังให้นักเรียนยอมรับความคิดเห็นที่
แตกต่างของผู้อื่น
๔.๒ การจัดการเรียนรู้และการจัดการชั้นเรียน
ตัวชี้วัดที่ ๖ ครูบูรณาการการเรียนรู้วิชาที่สอนกับภูมิปัญญาท้องถิ่นและกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น
เพื่อให้นักเรียนเรียนรู้เพิ่มเติมขึ้นแต่ใช้เวลาน้อยลง
ครูบูรณาการการเรียนรู้วิชาที่สอนกับภูมิปัญญาท้องถิ่นและกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่นได้อย่างกลมกลืน
โดยใช้เวลาเรียนน้อยลงกว่าเดิม แต่นักเรียนสามารถเรียนรู้ได้มากขึ้น โดยการนาภูมิปัญญาท้องถิ่นมา
ประยุกต์ใช้หรือสอดแทรกในการเรียนการสอน มีการเชิญวิทยากร หรือบุคคลภายนอกที่มีความรู้
ความสามารถ ความเชี่ยวชาญในด้านต่างๆ มาให้ความรู้แก่นักเรียน เป็นประจาอย่างต่อเนื่อง
๔.๒ การจัดการเรียนรู้และการจัดการชั้นเรียน
ตัวชี้วัดที่ ๗ ครูจัดสอนซ่อมเสริมให้แก่นักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียน
เพิ่มศักยภาพนักเรียนที่มีความสามารถพิเศษ
ครูบูรณาการการเรียนรู้วิชาที่สอนกับภูมิปัญญาท้องถิ่นและกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่นได้อย่างกลมกลืน
โดยใช้เวลาเรียนน้อยลงกว่าเดิม แต่นักเรียนสามารถเรียนรู้ได้มากขึ้น โดยการนาภูมิปัญญาท้องถิ่นมา
ประยุกต์ใช้หรือสอดแทรกในการเรียนการสอน มีการเชิญวิทยากร หรือบุคคลภายนอกที่มีความรู้
ความสามารถ ความเชี่ยวชาญในด้านต่างๆ มาให้ความรู้แก่นักเรียน เป็นประจาอย่างต่อเนื่อง
๔.๒ การจัดการเรียนรู้และการจัดการชั้นเรียน
ตัวชี้วัดที่ ๘ ครูจัดการชั้นเรียนที่ช่วยให้นักเรียนสนใจเรียน เห็นประโยชน์ของการเรียน และตั้งใจเรียน
ครูจัดการชั้นเรียนด้วยการตอบสนองความต้องการของนักเรียน ส่งผลให้นักเรียนเรียนด้วยความสุข
เกิดความสนใจและกระตือรือร้นในการทากิจกรรมต่างๆ ใช้วิธีการสอนที่หลากหลาย มีการกระตุ้นให้นักเรียนใช้
ความคิดวิเคราะห์อยู่เสมอ

More Related Content

What's hot

หลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางหลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางsawitreesantawee
 
สรุปเนื้อหาวิชาการพัฒนาหลักสูตรก่อนสอบระหว่างภาค
สรุปเนื้อหาวิชาการพัฒนาหลักสูตรก่อนสอบระหว่างภาคสรุปเนื้อหาวิชาการพัฒนาหลักสูตรก่อนสอบระหว่างภาค
สรุปเนื้อหาวิชาการพัฒนาหลักสูตรก่อนสอบระหว่างภาคkruskru
 
การเลือกและจัดเนื้อหา
การเลือกและจัดเนื้อหาการเลือกและจัดเนื้อหา
การเลือกและจัดเนื้อหาSurapong Khamjai
 
องค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตรองค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตรSunisa199444
 
มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้Bhayubhong
 
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน๒๕๕๑
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน๒๕๕๑หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน๒๕๕๑
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน๒๕๕๑TooNz Chatpilai
 
หลักสูตรแกนกลาง 51
หลักสูตรแกนกลาง 51หลักสูตรแกนกลาง 51
หลักสูตรแกนกลาง 51Suwanan Nonsrikham
 
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่Apirak Potpipit
 
ข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตร
ข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตรข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตร
ข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตรFh Fatihah
 
หลักสูตรแกนกลาง 51
หลักสูตรแกนกลาง 51หลักสูตรแกนกลาง 51
หลักสูตรแกนกลาง 51Suwanan Nonsrikham
 
กระบวนการพัฒนาหลักสูตร
กระบวนการพัฒนาหลักสูตรกระบวนการพัฒนาหลักสูตร
กระบวนการพัฒนาหลักสูตรNoawanit Songkram
 
เกณฑ์สมศ.รอบ3
เกณฑ์สมศ.รอบ3เกณฑ์สมศ.รอบ3
เกณฑ์สมศ.รอบ3arsad20
 
เอกสารประกอบ เรื่อง การประเมินแฟ้มสะสมงาน
เอกสารประกอบ เรื่อง การประเมินแฟ้มสะสมงานเอกสารประกอบ เรื่อง การประเมินแฟ้มสะสมงาน
เอกสารประกอบ เรื่อง การประเมินแฟ้มสะสมงานDrWilaiporn Rittikoop
 
5การประเมินจากแฟ้มสะสมงาน(week5)
5การประเมินจากแฟ้มสะสมงาน(week5)5การประเมินจากแฟ้มสะสมงาน(week5)
5การประเมินจากแฟ้มสะสมงาน(week5)DrWilaiporn Rittikoop
 
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตร
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตรรูปแบบการพัฒนาหลักสูตร
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตรBigbic Thanyarat
 

What's hot (20)

หลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางหลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลาง
 
1
11
1
 
สรุปเนื้อหาวิชาการพัฒนาหลักสูตรก่อนสอบระหว่างภาค
สรุปเนื้อหาวิชาการพัฒนาหลักสูตรก่อนสอบระหว่างภาคสรุปเนื้อหาวิชาการพัฒนาหลักสูตรก่อนสอบระหว่างภาค
สรุปเนื้อหาวิชาการพัฒนาหลักสูตรก่อนสอบระหว่างภาค
 
การเลือกและจัดเนื้อหา
การเลือกและจัดเนื้อหาการเลือกและจัดเนื้อหา
การเลือกและจัดเนื้อหา
 
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 5
แผนบริหารการสอนประจำบทที่  5แผนบริหารการสอนประจำบทที่  5
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 5
 
องค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตรองค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตร
 
มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้
 
4 ตอน4 sar55
4 ตอน4 sar554 ตอน4 sar55
4 ตอน4 sar55
 
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน๒๕๕๑
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน๒๕๕๑หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน๒๕๕๑
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน๒๕๕๑
 
ชุดที่16
ชุดที่16ชุดที่16
ชุดที่16
 
หลักสูตรแกนกลาง 51
หลักสูตรแกนกลาง 51หลักสูตรแกนกลาง 51
หลักสูตรแกนกลาง 51
 
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
 
ข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตร
ข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตรข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตร
ข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตร
 
หลักสูตรแกนกลาง 51
หลักสูตรแกนกลาง 51หลักสูตรแกนกลาง 51
หลักสูตรแกนกลาง 51
 
กระบวนการพัฒนาหลักสูตร
กระบวนการพัฒนาหลักสูตรกระบวนการพัฒนาหลักสูตร
กระบวนการพัฒนาหลักสูตร
 
เกณฑ์สมศ.รอบ3
เกณฑ์สมศ.รอบ3เกณฑ์สมศ.รอบ3
เกณฑ์สมศ.รอบ3
 
เอกสารประกอบ เรื่อง การประเมินแฟ้มสะสมงาน
เอกสารประกอบ เรื่อง การประเมินแฟ้มสะสมงานเอกสารประกอบ เรื่อง การประเมินแฟ้มสะสมงาน
เอกสารประกอบ เรื่อง การประเมินแฟ้มสะสมงาน
 
T1
T1T1
T1
 
5การประเมินจากแฟ้มสะสมงาน(week5)
5การประเมินจากแฟ้มสะสมงาน(week5)5การประเมินจากแฟ้มสะสมงาน(week5)
5การประเมินจากแฟ้มสะสมงาน(week5)
 
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตร
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตรรูปแบบการพัฒนาหลักสูตร
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตร
 

Similar to ๔.๒ การจัดการเรียนรู้เเละการจัดการชั้นเรียน

การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา Chapter2
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา Chapter2การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา Chapter2
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา Chapter2เนตร นภา
 
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้นเครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้นLathika Phapchai
 
รายงานการประเมินตนเอง 2 54
รายงานการประเมินตนเอง 2 54รายงานการประเมินตนเอง 2 54
รายงานการประเมินตนเอง 2 54Jiraporn
 
รายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการ
รายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการรายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการ
รายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการkanidta vatanyoo
 
งานนำเสนอ1 การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีการศึกษา
งานนำเสนอ1  การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีการศึกษางานนำเสนอ1  การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีการศึกษา
งานนำเสนอ1 การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีการศึกษาAmu P Thaiying
 
R บทที่ 1
R บทที่  1R บทที่  1
R บทที่ 1khuwawa
 

Similar to ๔.๒ การจัดการเรียนรู้เเละการจัดการชั้นเรียน (20)

การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา Chapter2
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา Chapter2การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา Chapter2
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา Chapter2
 
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้นเครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
 
M4
M4M4
M4
 
รายงานการประเมินตนเอง 2 54
รายงานการประเมินตนเอง 2 54รายงานการประเมินตนเอง 2 54
รายงานการประเมินตนเอง 2 54
 
บทที่ 4 new
บทที่ 4 newบทที่ 4 new
บทที่ 4 new
 
บทที่ 4 new
บทที่ 4 newบทที่ 4 new
บทที่ 4 new
 
บทที่ 4 new
บทที่ 4 newบทที่ 4 new
บทที่ 4 new
 
รายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการ
รายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการรายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการ
รายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการ
 
บทที่ 4
บทที่ 4 บทที่ 4
บทที่ 4
 
บทที่ 4
บทที่ 4 บทที่ 4
บทที่ 4
 
Chapter 2
Chapter 2Chapter 2
Chapter 2
 
Chapter2
Chapter2Chapter2
Chapter2
 
Chapter
Chapter   Chapter
Chapter
 
Chapter 2#
Chapter 2#Chapter 2#
Chapter 2#
 
งานนำเสนอ1 การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีการศึกษา
งานนำเสนอ1  การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีการศึกษางานนำเสนอ1  การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีการศึกษา
งานนำเสนอ1 การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีการศึกษา
 
บทที่ 4 new
บทที่ 4 newบทที่ 4 new
บทที่ 4 new
 
บทที่ 4 new
บทที่ 4 newบทที่ 4 new
บทที่ 4 new
 
R บทที่ 1
R บทที่  1R บทที่  1
R บทที่ 1
 
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 4
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 4แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 4
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 4
 
006
006006
006
 

๔.๒ การจัดการเรียนรู้เเละการจัดการชั้นเรียน

  • 1. ๔.๒ การจัดการเรียนรู้ และการจัดการชั้นเรียน ด้านที่ ๔ การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ปีการศึกษา ๒๕๖๔
  • 2. ๔.๒ การจัดการเรียนรู้และการจัดการชั้นเรียน ตัวชี้วัดที่ ๑ ครูมีความรู้ความเข้าใจลึกซึ้งในวิชาที่สอนและจัดการเรียนการสอนอย่างมี ประสิทธิภาพ ตัวชี้วัดที่ ๒ ครูให้เวลานักเรียนได้ฝึกปฏิบัติทางานเป็นกลุ่ม อภิปรายและนาเสนองานโดยใช้ เทคโนโลยีและการสื่อสารเพื่อการศึกษา ตัวชี้วัดที่ ๓ ครูให้เวลานักเรียนได้คิด ตอบปัญหา แก้ไขปัญหา ได้สะท้อนความรู้ความเข้าใจ ในวิชาที่เรียนและนาความรู้ไปใช้ในชีวิตประจาวัน
  • 3. ๔.๒ การจัดการเรียนรู้และการจัดการชั้นเรียน ตัวชี้วัดที่ ๔ ครูกระตุ้นให้นักเรียนกระตือรือร้นที่จะพัฒนาวิธีการเรียนรู้ของตนเองและใส่ใจใฝ่ รู้ อดทนต่อการแสวงหาคาตอบ ตัวชี้วัดที่ ๕ ครูจัดกิจกรรมที่สร้างปฏิสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน และปลูกฝังให้นักเรียนยอมรับ ความแตกต่างของผู้อื่น ตัวชี้วัดที่ ๖ ครูบูรณาการการเรียนรู้วิชาที่สอนกับภูมิปัญญาท้องถิ่นและกลุ่มสาระการเรียนรู้ อื่น เพื่อให้นักเรียนเรียนรู้เพิ่มเติมขึ้นแต่ใช้เวลาน้อยลง
  • 4. ๔.๒ การจัดการเรียนรู้และการจัดการชั้นเรียน ตัวชี้วัดที่ ๗ ครูจัดสอนซ่อมเสริมให้แก่นักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียน เพิ่มศักยภาพ นักเรียนที่มีความสามารถพิเศษ ตัวชี้วัดที่ ๘ ครูจัดการชั้นเรียนที่ช่วยให้นักเรียนสนใจเรียน เห็นประโยชน์ของการเรียน และตั้งใจเรียน
  • 5. ๔.๒ การจัดการเรียนรู้และการจัดการชั้นเรียน ตัวชี้วัดที่ ๑ ครูมีความรู้ความเข้าใจลึกซึ้งในวิชาที่สอนและจัดการเรียนการสอนอย่างมีประสิทธิภาพ ครูโรงเรียนปากเกร็ดทุกคน ได้มีการวางแผนและดาเนินการพัฒนาตนเองตามมาตรฐานของวิชาชีพ อย่างต่อเนื่อง ได้รับการพัฒนาจากหน่วยงานต้นสังกัดและหน่วยงานอื่นเพื่อพัฒนาตนเอง อย่างน้อย ๒๐ ชั่วโมงต่อปี
  • 6. ๔.๒ การจัดการเรียนรู้และการจัดการชั้นเรียน ตัวชี้วัดที่ ๑ ครูมีความรู้ความเข้าใจลึกซึ้งในวิชาที่สอนและจัดการเรียนการสอนอย่างมีประสิทธิภาพ ๑. สนับสนุนให้มีการจัดเตรียมสถานที่ สื่อ อุปกรณ์ในการจัดการเรียนการสอนให้มีสภาพที่พร้อมใช้ และเพียงพอสาหรับนักเรียนทุกคนในห้อง
  • 7. ๔.๒ การจัดการเรียนรู้และการจัดการชั้นเรียน ตัวชี้วัดที่ ๑ ครูมีความรู้ความเข้าใจลึกซึ้งในวิชาที่สอนและจัดการเรียนการสอนอย่างมีประสิทธิภาพ ๒. ดาเนินการจัดการเรียนการสอนอย่างมีประสิทธิภาพ เป็นระบบ ขั้นนำเข้ำสู่บทเรียน • กระบวนการคิดและสติปัญญา ด้วยเกม การสร้างความสงสัยประหลาดใจ ทาให้ ผู้เรียนมีความกระตือรือร้น อยากค้นพบคาตอบ ขั้นสอน • จัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ • จัดการเรียนการสอนที่ให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการสอนแบบ Active Learning • คานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคลและความต้องการของผู้เรียน • จัดกิจกรรมการเรียนการสนที่น่าสนใจ ไม่ทาให้ผู้เรียนบื่อหน่าย • สร้างบรรยากาศที่เหมาะแก่การเรียนรู้ • ใช้เทคนิคการสอนหลายรูปแบบโดยเน้นวิธีการสอนเกี่ยวกับสิ่งที่อยู่ไม่ไกลตัวผู้เรียนมากเกินไป
  • 8. ๔.๒ การจัดการเรียนรู้และการจัดการชั้นเรียน ตัวชี้วัดที่ ๑ ครูมีความรู้ความเข้าใจลึกซึ้งในวิชาที่สอนและจัดการเรียนการสอนอย่างมีประสิทธิภาพ ๓. สรุปบทเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ ขั้นนำเข้ำสู่บทเรียน • กระบวนการคิดและสติปัญญา ด้วยเกม การสร้างความสงสัยประหลาดใจ ทาให้ ผู้เรียนมีความกระตือรือร้น อยากค้นพบคาตอบ ขั้นสอน • จัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ • จัดการเรียนการสอนที่ให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการสอนแบบ Active Learning • คานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคลและความต้องการของผู้เรียน • จัดกิจกรรมการเรียนการสนที่น่าสนใจ ไม่ทาให้ผู้เรียนบื่อหน่าย • สร้างบรรยากาศที่เหมาะแก่การเรียนรู้ • ใช้เทคนิคการสอนหลายรูปแบบโดยเน้นวิธีการสอนเกี่ยวกับสิ่งที่อยู่ไม่ไกลตัวผู้เรียนมากเกินไป ขั้นสรุป • สรุปบทเรียนโดยการเชื่อมโยงความรู้/ประสบการณ์เดิมและความรู้/ประสบการณ์ใหม่ • สรุปบทเรียนเป็นความคิดรวบยอดที่มีความครอบคลัม ถูกต้องและชัดเจน
  • 9. ๔.๒ การจัดการเรียนรู้และการจัดการชั้นเรียน ตัวชี้วัดที่ ๑ ครูมีความรู้ความเข้าใจลึกซึ้งในวิชาที่สอนและจัดการเรียนการสอนอย่างมีประสิทธิภาพ ๔. ประเมินผลอย่างมีประสิทธิภาพ ขั้นนำเข้ำสู่บทเรียน • กระบวนการคิดและสติปัญญา ด้วยเกม การสร้างความสงสัย ประหลาดใจ ทาให้ผู้เรียนมีความกระตือรือร้น อยากค้นพบคาตอบ ขั้นสอน • จัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ • จัดการเรียนการสอนที่ให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการสอนแบบ Active Learning • คานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคลและความต้องการของผู้เรียน • จัดกิจกรรมการเรียนการสนที่น่าสนใจ ไม่ทาให้ผู้เรียนบื่อหน่าย • สร้างบรรยากาศที่เหมาะแก่การเรียนรู้ • ใช้เทคนิคการสอนหลายรูปแบบโดยเน้นวิธีการสอนเกี่ยวกับสิ่งที่อยู่ไม่ไกลตัวผู้เรียนมากเกินไป ขั้นสรุป • สรุปบทเรียนโดยการเชื่อมโยงความรู้/ประสบการณ์เดิมและความรู้/ประสบการณ์ใหม่ • สรุปบทเรียนเป็นความคิดรวบยอดที่มีความครอบคลุม ถูกต้องและชัดเจน ประเมินผลอย่ำงมีประสิทธิภำพ • ประเมินผลความก้าวหน้าของผู้เรียน • ใช้วิธีการประเมิน เครื่องมือการประเมินที่หลากหลาย เหมาะสม สอดคล้องกับสิ่งที่ต้องการประเมิน
  • 10. ๔.๒ การจัดการเรียนรู้และการจัดการชั้นเรียน ตัวชี้วัดที่ ๑ ครูมีความรู้ความเข้าใจลึกซึ้งในวิชาที่สอนและจัดการเรียนการสอนอย่างมีประสิทธิภาพ ผลจากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยรูปแบบที่เน้นนักเรียนเป็นสาคัญ ส่งผลต่อนักเรียนโรงเรียน ปากเกร็ดอย่างชัดเจน ดังนี้ ๑. นักเรียนได้เรียนรู้อย่างมีความสุข จัดกิจกรรมที่เกี่ยวกับการพัฒนาสมองที่ส่งผลต่อการเรียนรู้และ พัฒนาการทางอารมณ์ของผู้เรียน เรียนรู้เรื่องที่ต้องการเรียนรู้ในบรรยากาศที่เป็นธรรมชาติ บรรยากาศของ การเอื้ออาทรและเป็นมิตร ตลอดจนแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย สามารถนาความรู้ไปใช้ในชีวิตจริงได้
  • 11. ๔.๒ การจัดการเรียนรู้และการจัดการชั้นเรียน ตัวชี้วัดที่ ๑ ครูมีความรู้ความเข้าใจลึกซึ้งในวิชาที่สอนและจัดการเรียนการสอนอย่างมีประสิทธิภาพ ๒. นักเรียนได้เรียนรู้จากการได้คิดและลงมือปฏิบัติจริง หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งคือ “เรียนด้วยสมองและ สองมือ” เป็นผลจากการจัดการเรียนรู้ให้ผู้เรียนได้คิด ไม่ว่าจะเกิดจากสถานการณ์หรือคาถามก็ตาม และได้ลง มือปฏิบัติจริงซึ่งเป็นการฝึกทักษะที่สาคัญ คือ การแก้ปัญหา ความมีเหตุผล
  • 12. ๔.๒ การจัดการเรียนรู้และการจัดการชั้นเรียน ตัวชี้วัดที่ ๑ ครูมีความรู้ความเข้าใจลึกซึ้งในวิชาที่สอนและจัดการเรียนการสอนอย่างมีประสิทธิภาพ ๓. นักเรียนได้เรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย และเรียนรู้ร่วมกับบุคคลอื่น เป้าหมายสาคัญด้าน หนึ่งในการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญคือ ผู้เรียนแสวงหาความรู้ด้วยตนเองจากแหล่งเรียนรู้ ที่หลากหลายทั้งในและนอกโรงเรียน รวมถึงภูมิปัญญาท้องถิ่น ปราชญ์ชาวบ้าน สถานที่ต่างๆของชุมชน
  • 13. ๔.๒ การจัดการเรียนรู้และการจัดการชั้นเรียน ตัวชี้วัดที่ ๑ ครูมีความรู้ความเข้าใจลึกซึ้งในวิชาที่สอนและจัดการเรียนการสอนอย่างมีประสิทธิภาพ ๔. นักเรียนได้เรียนรู้แบบองค์รวมหรือบูรณาการ เป็นการเรียนรู้ที่ผสมผสานสาระความรู้ด้านต่างๆ ได้ สัดส่วนกัน รวมทั้งปลูกฝังคุณธรรม ความดีงามและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในทุกรายวิชาที่จัดให้เรียนรู้
  • 14. ๔.๒ การจัดการเรียนรู้และการจัดการชั้นเรียน ตัวชี้วัดที่ ๒ ครูให้เวลานักเรียนได้ฝึกปฏิบัติทางานเป็นกลุ่ม อภิปรายและนาเสนองานโดยใช้เทคโนโลยี และการสื่อสารเพื่อการศึกษา ๑. การจัดการเรียนการสอนแบบโครงงานบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและบูรณาการ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ อภิปราย และนาเสนอ งานโดยประยุกต์ใช้เทคโนโลยีและการสื่อสารเพื่อการศึกษา
  • 15. ๔.๒ การจัดการเรียนรู้และการจัดการชั้นเรียน ตัวชี้วัดที่ ๒ ครูให้เวลานักเรียนได้ฝึกปฏิบัติทางานเป็นกลุ่ม อภิปรายและนาเสนองานโดยใช้เทคโนโลยี และการสื่อสารเพื่อการศึกษา ๒. การจัดกิจกรรมค่ายทักษะต่างๆ ในกลุ่มงานและสาระการเรียนรู้ เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจทักษะ การปฏิบัติจริง
  • 16. ๔.๒ การจัดการเรียนรู้และการจัดการชั้นเรียน ตัวชี้วัดที่ ๒ ครูให้เวลานักเรียนได้ฝึกปฏิบัติทางานเป็นกลุ่ม อภิปรายและนาเสนองานโดยใช้เทคโนโลยี และการสื่อสารเพื่อการศึกษา ๓.กิจกรรมแข่งขันทักษะทางวิชาการ เช่น ประกวดโครงงาน การวาดภาพ การตอบปัญหา เปิดสารานุกรม ประกวดเรียงความ ประกวดโต้วาที หนังสือเล่มเล็ก โครงงานสิ่งประดิษฐ์
  • 17. ๔.๒ การจัดการเรียนรู้และการจัดการชั้นเรียน ตัวชี้วัดที่ ๒ ครูให้เวลานักเรียนได้ฝึกปฏิบัติทางานเป็นกลุ่ม อภิปรายและนาเสนองานโดยใช้เทคโนโลยี และการสื่อสารเพื่อการศึกษา ๔. กิจกรรมนานักเรียนไปทัศนศึกษาแหล่งเรียนรู้นอกสถานที่
  • 18. ๔.๒ การจัดการเรียนรู้และการจัดการชั้นเรียน ตัวชี้วัดที่ ๓ ครูให้เวลานักเรียนได้คิด ตอบปัญหา แก้ไขปัญหา ได้สะท้อนความรู้ความเข้าใจในวิชาที่เรียน และนาความรู้ไปใช้ในชีวิตประจาวัน สนับสนุนให้นักเรียนได้คิด ตอบปัญหา แก้ไขปัญหา สะท้อนความรู้ความเข้าใจด้วยกิจกรรมการเรียน การสอน ทักษะการใช้คาถาม (Problem Based Learning : PBL)
  • 19. ๔.๒ การจัดการเรียนรู้และการจัดการชั้นเรียน ตัวชี้วัดที่ ๔ ครูกระตุ้นให้นักเรียนกระตือรือร้นที่จะพัฒนาวิธีการเรียนรู้ของตนเองและใส่ใจ ใฝ่รู้ อดทนต่อการแสวงหาคาตอบ ครูมีการกระตุ้นให้นักเรียนกระตือรือร้นที่จะพัฒนาวิธีการเรียนรู้ของตนเองและใส่ใจ ใฝ่รู้ อดทนต่อการแสวงหาคาตอบ ด้วยเทคนิควิธีการสอนที่หลากหลาย ทาให้นักเรียนรู้สึกสนุกสนานและตอบสนอง ตรงกับความต้องการของนักเรียน
  • 20. ๔.๒ การจัดการเรียนรู้และการจัดการชั้นเรียน ตัวชี้วัดที่ ๕ ครูจัดกิจกรรมที่สร้างปฏิสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน และปลูกฝังให้นักเรียนยอมรับความแตกต่างของผู้อื่น จัดกิจกรรมที่สร้างปฏิสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน ระหว่างครูกับนักเรียน และนักเรียนกับนักเรียน เปิดโอกาสให้ นักเรียนมีส่วนร่วมเพื่อแสดงความคิดเห็นในการกาหนดวิธีการเรียน ปลูกฝังให้นักเรียนยอมรับความคิดเห็นที่ แตกต่างของผู้อื่น
  • 21. ๔.๒ การจัดการเรียนรู้และการจัดการชั้นเรียน ตัวชี้วัดที่ ๖ ครูบูรณาการการเรียนรู้วิชาที่สอนกับภูมิปัญญาท้องถิ่นและกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น เพื่อให้นักเรียนเรียนรู้เพิ่มเติมขึ้นแต่ใช้เวลาน้อยลง ครูบูรณาการการเรียนรู้วิชาที่สอนกับภูมิปัญญาท้องถิ่นและกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่นได้อย่างกลมกลืน โดยใช้เวลาเรียนน้อยลงกว่าเดิม แต่นักเรียนสามารถเรียนรู้ได้มากขึ้น โดยการนาภูมิปัญญาท้องถิ่นมา ประยุกต์ใช้หรือสอดแทรกในการเรียนการสอน มีการเชิญวิทยากร หรือบุคคลภายนอกที่มีความรู้ ความสามารถ ความเชี่ยวชาญในด้านต่างๆ มาให้ความรู้แก่นักเรียน เป็นประจาอย่างต่อเนื่อง
  • 22. ๔.๒ การจัดการเรียนรู้และการจัดการชั้นเรียน ตัวชี้วัดที่ ๗ ครูจัดสอนซ่อมเสริมให้แก่นักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียน เพิ่มศักยภาพนักเรียนที่มีความสามารถพิเศษ ครูบูรณาการการเรียนรู้วิชาที่สอนกับภูมิปัญญาท้องถิ่นและกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่นได้อย่างกลมกลืน โดยใช้เวลาเรียนน้อยลงกว่าเดิม แต่นักเรียนสามารถเรียนรู้ได้มากขึ้น โดยการนาภูมิปัญญาท้องถิ่นมา ประยุกต์ใช้หรือสอดแทรกในการเรียนการสอน มีการเชิญวิทยากร หรือบุคคลภายนอกที่มีความรู้ ความสามารถ ความเชี่ยวชาญในด้านต่างๆ มาให้ความรู้แก่นักเรียน เป็นประจาอย่างต่อเนื่อง
  • 23. ๔.๒ การจัดการเรียนรู้และการจัดการชั้นเรียน ตัวชี้วัดที่ ๘ ครูจัดการชั้นเรียนที่ช่วยให้นักเรียนสนใจเรียน เห็นประโยชน์ของการเรียน และตั้งใจเรียน ครูจัดการชั้นเรียนด้วยการตอบสนองความต้องการของนักเรียน ส่งผลให้นักเรียนเรียนด้วยความสุข เกิดความสนใจและกระตือรือร้นในการทากิจกรรมต่างๆ ใช้วิธีการสอนที่หลากหลาย มีการกระตุ้นให้นักเรียนใช้ ความคิดวิเคราะห์อยู่เสมอ