SlideShare a Scribd company logo
1 of 21
ประเภทพฤติกรรมของสัตว์
โดย
นางสาว ชนากานต์ บุญมาก เลขที่ 24 ชั้น ม.6ห้อง 4
นางสาว พิชนา มณสวัสดิ์ เลขที่ 30 ชั้น ม.6ห้อง 4
• พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิตแบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ
• 1. พฤติกรรมที่เป็นมาแต่กาเนิด (inherited behavior หรือ innated
behavior) พฤติกรรมแบบนี้เป็นพฤติกรรมที่ถูกควบคุมโดยหน่วยทาง
พันธุกรรมทั้งหมด โดยไม่ต้องผ่านการเรียนรู้ เป็นลักษณะเฉพาะของ
สิ่งมีชีวิต ที่จะต้องสนองต่อสิ่งเร้าและมีแบบแผนที่แน่นอนไม่
เปลี่ยนแปลง ซึ่งเรียกว่า ฟิกแอกชันแพทเทอร์น(fix action pattern,
FAP) แบ่งออกเป็น
• 1.1 พฤติกรรมที่มีมาแต่กาเนิดในพืช พฤติกรรมในพืช เป็นพฤติกรรมที่
เป็นมาแต่กาเนิด ทั้งสิ้น เนื่องจากพืชไม่มีระบบประสาท จึงไม่มีการ
เรียนรู้เหมือนสัตว์
• 1.2 พฤติกรรมที่มีมาแต่กาเนิดในสัตว์ และโพรทิสต์ แบ่งออกเป็น
• 1.2.1 ไคนีซีส (kinesis)
• 1.2.2 แทกซีส (taxis)
• 1.2.3 รีเฟล็กซ์ (reflex)
• 1.2.4 รีเฟล็กซ์ต่อเนื่อง (chain of reflex)ซึ่งเดิมทีเดียวเรียกว่า
สัญชาตญาณ (instinctหรือ innatebehavior)
• 2. พฤติกรรมที่เกิดจากการเรียนรู้ (learned behavior หรือ Acquired
behavior) แบ่งเป็น
• 2.1 การฝังใจ (imprinting)
• 2.2 ความเคยชิน (habituation)
• 2.3 การมีเงื่อนไข (conditioningหรือcondition reflex)
• 2.4 การลองผิดลองถูก (trial and error learning)
• 2.5 การใช้เหตุผล (resoning หรือ insightlearning)
• ลักษณะของพฤติกรรมที่มีมาแต่กาเนิด
• 1. เป็นพฤติกรรมที่ถูกกาหนดเป้ าหมายของพฤติกรรมไว้แน่นอน โดยถูก
ควบคุมโดยจีน (gene) ดังนั้นจึงสามารถถ่ายทอดไปสู่ลูกหลานได้
• 2. เป็นพฤติกรรม ดั้งเดิม ไม่ต้องผ่านการเรียนรู้ก็สามารถแสดง
พฤติกรรมได้
• 3. ในสิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกันจะแสดงพฤติกรรมได้เหมือน ๆ กัน
• 4. เป็นพฤติกรรมที่มีความสาคัญต่อการอยู่รอดของลูกสัตว์เป็นอย่าง
มาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งสัตว์ที่พ่อแม่ไม่ได้เลี้ยงดูลูกเมื่อแรกเกิด
• ประเภทของพฤติกรรมที่มีมาแต่กาเนิด
• 1.โอเรียนเทชัน โอเรียนเทชัน เป็นพฤติกรรมที่สิ่งมีชีวิตตอบสนองต่อปัจจัย
ทางกายภาพ ทาให้สิ่งมีชีวิตนั้นวางตัวเหมาะสมในการดารงชีวิตทาให้มี
โอกาสอยู่รอดเพิ่มมากขึ้น เช่น การว่ายน้าของปลา โดยให้หลังตั้งฉากกับ
ดวงอาทิตย์ ทาให้ผู้ล่าที่อยู่ในระดับต่ากว่ามองไม่เห็น การตากแดดของ
กิ้งก่าในฤดูหนาว โดยการไปนอนอยู่ปลายกิ่งไม้ในตอนเช้าเพื่อรับ
แสงอาทิตย์ กิ้งก่าในเขตหนาวจะวางตัวในแนวตั้งฉากกับดวงอาทิตย์ และ
พองตัวออกเพื่อเพิ่มพื้นที่ผิวในการรับ ความร้อนจากดวงอาทิตย์ พฤติกรรม
แบบโอเรียนเทชันที่พบเสมอคือ
• 1.1ไคนีซิส(kinesis) เป็นการเคลื่อนที่เข้าหา หรือ หนีจากสิ่งเร้าที่ไม่มีทิศทางแน่นอน เนื่องจาก
ระบบประสาทยังไม่เจริญ และอวัยวะรับความรู้สึกยังมีประสิทธิภาพ ในการรับความรู้สึกไม่ดี
เท่าที่ควร การเคลื่อนที่ไม่ได้ถูกควบคุมด้วยสิ่งเร้า จึงทาให้ทิศทางใน การเคลื่อนที่เป็นแบบเดา
สุ่ม เช่น พฤติกรรมของพารามีเซียมต่อแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ หรือ ต่อบริเวณที่มีอุณหภูมิสูง
เมื่อพารามีเซียมเคลื่อนที่เข้าไปในบริเวณที่มีอุณหภูมิสูง พารามีเซียม จะถอยหลังหนีแล้ว
เคลื่อนที่ไปข้างหน้าอีก แต่เปลี่ยนทิศทางไป ถ้าหากยังไม่พ้น มันก็จะถอยหลังอีก แล้วเปลี่ยน
ทิศทางเคลื่อนไปข้างหน้า ทาอยู่อย่างนี้จนกว่าจะพ้นจากบริเวณนั้น ในกรณีของน้าเกลือ ก็
เช่นเดียวกัน พารามีเซียมจะเคลื่อนที่ไปข้างหน้า แล้วถอยหลังเคลื่อนไปข้างหน้า อย่างนี้หลาย
ครั้ง แล้วจึงเคลื่อนตัวออกจากบริเวณนั้นได้
• แมลงสาบก็แสดงพฤติกรรมแบบ ไคนีซีส ในสภาพปกติ แมลงสาบจะอาศัยอยู่ตามซอกมุมหรือ
ที่แคบๆ โดยมันอยู่ นิ่งๆ หนวด ขน ตามตัวมันจะรับสัมผัสได้ดี แต่ถ้าหากอยู่ในที่โล่งแจ้ง
แมลงสาบจะวิ่งได้รวดเร็วมากและไม่มีทิศทางที่แน่นอน เนื่องจากมันไม่สามารถรับความรู้สึก
จากผิวสัมผัสได้ เราจึงพบแมลงสาบอาศัยในที่แคบ ๆ เท่านั้น ในลิ่นทะเล (chiton) ก็มี
พฤติกรรม แบบไคนีซิส เมื่อน้าลงลิ่นทะเลอยู่เหนือน้าจะเคลื่อนที่เร็ว (อยู่ในอากาศ) แต่เมื่ออยู่
ในน้า ลิ่นทะเล จะเคลื่อนที่ช้าลง (น้าขึ้น)
• 1.2เเทกซิส (taxis)เป็นการเคลื่อนที่เข้าหาหรือหนีจากสิ่งเร้าอย่างมี ทิศทาง
แน่นอน พฤติกรรมนี้จะก่อให้เกิดการรวมกลุ่มกันได้เป็นอย่างดี เช่น การบิน
เข้าหาแสงสว่างของแมลงเม่า การเคลื่อนที่เข้าหาแสงของยูกลีนา การ
เคลื่อนที่เข้าหาเหยื่อของค้างคาว
• จากการทดลองกับพารามีเซียม พบว่า พารามีเซียม จะเคลื่อนที่เข้าหา
บริเวณที่เป็นกรดอ่อนๆ เช่น กรดแอซีติก0.05% (aceticacid0.05%)
อย่างมีทิศทางแน่นอน ดังนั้นพารามีเซียม จึงเคลื่อนที่ได้ทั้งแบบแทกซิส และ
ไคนีซิส ตามธรรมชาติจะพบพารามีเซียมได้มากตามแหล่งน้าธรรมชาติที่มี
สภาพเป็นกรดเล็กน้อย ทาให้เข้าใจกันว่าบริเวณนั้นน่าจะมีอาหารของพารา
มีเซียมมากด้วย จากการ ศึกษาพบความจริงว่า บริเวณที่มีแบคทีเรียอยู่มาก
จะมีสภาพเป็นกรดเล็กน้อยด้วย และแบคทีเรียเองก็เป็นอาหารของพารามี
เซียม ดังนั้นพารามีเซียมจึงชอบสภาพที่เป็นกรดอ่อน ๆ แต่พารามีเซียม
เคลื่อนหนีจากน้าเกลือ แบบไคนีซิส เข้าใจว่า น้าเกลือ มีผลเสียต่อเซลล์
พารามีเซียม เพราะจะทาให้เซลล์ของพารามีเซียมเหี่ยวได้ มันจึงเคลื่อนที่หนี
ไป
• 1.3รีเฟล็กซ์ (reflex) รีเฟล็กซ์เป็นพฤติกรรมที่เกิดขึ้นในสัตว์ทุกชนิด
• พฤติกรรมนี้พบมากในสัตว์หลายเซลล์ชั้นต่า เช่น หนอน แมลง สาหรับในพวกสัตว์ชั้นสูง ก็ยังคง
มีพฤติกรรมแบบนี้อยู่ พฤติกรรมแบบรีเฟล็กซ์เป็นการตอบสนองต่อสิ่งเร้าอย่างทันทีทันใด โดย
ไม่ต้องรอคาสั่งจากสมองเช่น การกระตุกเข่า เมื่อเคาะที่หัวเข่าเบาๆซึ่งเกิดจากการทางานของ
เซลล์ประสาท 2 ตัวเท่านั้นตัวหนึ่งทาหน้าที่รับความรู้สึกนากระแสประสาทไปยังกล้ามเนื้อขา
ทาให้เกิดการกระตุกขึ้น
• การทรงตัวของร่างกายก็จัดเป็นรีเฟล็กซ์อย่างหนึ่ง การที่คนเรายืนอยู่ได้ถ้าไม่มีรีเฟล็กซ์เกิดขึ้น
เราจะโอนเอนไปมา รีเฟล็กซ์ที่เกิดขึ้น อย่างอัตโนวัติ คือ กล้ามเนื้อเหยียดเข่าหรือเอกเทนเซอร์
(extenser) ที่ต่อกับหัวเข่าจะหดตัว เพื่อให้ตัวตั้งตรงขึ้น เมื่อร่างกายเราเอนมาทาง ด้านหลัง ทา
ให้กล้ามเนื้อเหยียดเข่า (เอกเทนเซอร์) ยืดออก เกิดการกระตุ้นหน่วยรับความรู้สึกในกล้ามเนื้อ
เหยียดเข่า แล้วส่งกระแสประสาทเข้าสู่วงจรรีเฟล็กซ์ทันที ทาให้เกิดการหดตัวของกล้ามเนื้อ
เหยียดเข่า เข่าจึงตั้งตรงและไม่งอ รีเฟล็กซ์นี้จะทางานอยู่ตลอดเวลา โดยที่เราไม่รู้ตัวเลย การ
ทางานของรีเฟล็กซ์นี้จะร่วมกับกลไกอื่นๆ ด้วย ทาให้เรายืนอยู่ได้โดยที่ไม่ล้ม
• การหดนิ้วมือ และมือเมื่อถูกของร้อน จัดเป็นรีเฟล็กซ์ การไอ การจาม การกระพริบตา การหลบ
วัตถุต่างๆ อย่างทันทีทันใด เป็นรีเฟล็กซ์ทั้งสิ้น ดังนั้น รีเฟล็กซ์จึงช่วย ให้เราหลีกเลี่ยงอันตราย
ซึ่งเกิดขึ้นทันทีทันใดและไม่รู้ตัวทาให้ เรามีโอกาสรอดพ้นจากอันตรายต่างๆ มากขึ้น
• 1.4 รีเฟล็กซ์ต่อเนื่อง (chain of reflex) เดิมเรียกว่า สัญชาตญาณ (instinct) เป็น
• พฤติกรรมที่มีมาแต่กาเนิด มีการกาหนดเป้ าหมายไว้แน่ชัดภายในตัวสัตว์ เป็น
พฤติกรรมที่ประกอบด้วย พฤติกรรมรีเฟล็กซ์ย่อยๆ หลายพฤติกรรม และพฤติกรรม
หนึ่งจะไปกระตุ้นพฤติกรรมอื่นๆ ได้ด้วย จึงเรียกได้อีกอย่างหนึ่งว่า ปฏิกิริยารีเฟล็กซ์
ซับซ้อน (complex reflex action) ปฏิกิริยาแบบนี้จะไม่แสดงออกในลักษณะการ
กระตุก การหด หรือการงอ เพราะกระแสประสาทรับความรู้สึก จะถูกส่งไปยังระบบ
ประสาทส่วนกลาง (CNS) ซึ่งทาหน้าที่เป็นศูนย์รวบรวมข้อมูล แล้วจึงสั่งการไปยัง
อวัยวะตอบสนองอย่างค่อยเป็นค่อยไป เป็นไปอย่างอัตโนวัติและมีแบบแผนแน่นอน
ในสัตว์แต่ละชนิด เช่น การดูดนมของลูกอ่อน จะถูกกระตุ้นด้วยความหิว เมื่อปากได้
สัมผัสกับหัวนม ก็จะเกิดการดูดนม ซึ่งจะกระตุ้นให้กลืนนมที่ดูด และเป็นปฏิกิริยา
รีเฟล็กซ์เมื่อยังไม่อิ่ม ก็จะมีผลให้เกิดการดูดนมอีก และดูดติดต่อกันไปจนกว่าจะอิ่ม
ซึ่งจะเห็นได้ว่า การดูดนมนี้ประกอบด้วยปฏิกิริยารีเฟล็กซ์ย่อยๆ หลายปฏิกิริยา
ตัวอย่างอื่นที่พบในสัตว์หลายชนิด ก็คือ การชักใยของแมงมุม การแทะมะพร้าวของ
กระรอก การฟักไข่ การเลี้ยงลูกอ่อนของไก่ การสร้างรังของนก เป็นต้น
• พันธุกรรมและการเกิดพฤติกรรม
• พฤติกรรมหลายๆ พฤติกรรม สัตว์สามารถแสดงออกได้โดยไม่ต้องมีประสบการณ์มาก่อน
โดยเฉพาะพฤติกรรมที่เกี่ยวข้องกับการดารงชีวิตประจาวันและพฤติกรรมการผสมพันธุ์ เช่น
การส่งเสียงร้องของนก การสร้างรัง การวางไข่ กกไข่ และเลี้ยงลูกอ่อน ทินเบอร์เกน ได้ศึกษา
พฤติกรรมการกกไข่ของนกนางนวลหัวดา ใช้วัสดุหลายชนิด เช่น เปลือกหอย จุกขวด
ถ่านไฟฉาย กระดาษทรงสี่เหลี่ยมจัตุรัส ตุ๊กตา ทหาร พบว่าแม่นกจะไม่กกวัสดุที่มีรูปทรง
เป็นเหลี่ยม อาจเกิดจากการสัมผัสและการมองเห็นของระบบประสาท มีการพัฒนาจาก
ระบบประสาทต่อเนื่องกันไปจนการควบคุมโดยจีนและถูกกาหนดไว้ในพันธุกรรม ดังนั้น
พันธุกรรมจึงกาหนดพฤติกรรมนกนางนวลเมื่อไข่ฟักแล้ว พ่อแม่นกนาเปลือกไข่ไปทิ้งไกลรัง
เพื่อไม่ให้ผู้ล่าเห็นเพราะเปลือกไข่ที่ฟักสีจะตัดกับสีของรัง ทาให้ผู้ล่าเห็นได้ง่าย อาจเป็น
อันตราย ได้ช่วยให้ลูกนกมีโอกาสรอดอยู่มากขึ้น นกอีแจวที่บึงบอระเพ็ด จังหวัดนครสวรรค์
เป็นนกที่ผสมพันธุ์และทารังบนพืชน้า ตัวเมียทารังและเกี้ยวพาราสีตัวผู้ เมื่อผสมพันธุ์ แล้ว
จะวางไข่ ตัวผู้กกไข่ตัวเมียจะไปสร้างรังใหม่และผสมพันธุ์กับตัวผู้ตัวอื่น ตัวผู้ที่กกไข่ เมื่อไข่
ฟักแล้วพ่อนกจะคาบเปลือกไข่ ไปทิ้งนอกรังเหมือนๆกัน พฤติกรรม การคาบเปลือกไข่ไปทิ้ง
นอกรัง จึงทาให้ลูกนกมีโอกาสรอดมากขึ้น พฤติกรรมนี้จึงถูกคัดเลือกตามธรรมชาติ
(natural selection) และสืบทอดกันทางพันธุกรรม จะมีจีนเป็นตัวกาหนด เป็นผลดีต่อ
สิ่งมีชีวิตในรุ่นต่อๆไป
• พฤติกรรมที่เป็นแบบแผนตามช่วงเวลา
• พฤติกรรมที่เป็นแบบแผนตามช่วงเวลาจะมีนาฬิกาในร่างกาย เป็น
ตัวกาหนดเวลา เรียกว่า ไบโอโลจิคัลคลอกส์ (biological clocks) ซึ่ง
เป็นกาหนดกลไกทางสรีรวิทยา ซึ่งสัมพันธ์กับวงจรของสิ่งแวดล้อมให้
ดาเนินไปร่วมกัน พฤติกรรมที่เป็นแบบแผนตามช่วงเวลา ได้แก่
• 1) พฤติกรรมการหากินในเวลากลางคืน (nocturnal life)สัตว์หลาย
ชนิดปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมในการหากินในเวลากลางคืนเช่น
นกเค้าแมว กวาง ค้างคาว ไส้เดือน หอยทาก
• 2)พฤติกรรมการจาศีล การจาศีลเป็นการปรับตัวทางด้านพฤติกรรม เนื่องจากสภาพแวดล้อม
ไม่เหมาะสมโดยการพักตัวไม่กินอาหาร ไม่เคลื่อนที่ เพื่อสงวนพลังงานให้ใช้น้อยที่สุด เมแทบอลิ
ซึมจะลดลงเป็นอย่างมาก อัตราการหายใจและการเต้นของหัวใจต่ามาก การจาศีลซึ่งเป็นผลมา
จากอากาศหนาวเรียกว่า วินเทอร์สลีป (winter sleep) หรือไฮเบอร์เนชัน (hibernation) แต่ถ้า
หากจาศีลเนื่องจากอากาศร้อนจะเรียกว่า ซัมเมอร์สลีป (summersleep) หรือ อีสทิเวชัน
(estivation) พวกสัตว์เลือดเย็น เช่น กบจะจาศีลในฤดูร้อนหรือฤดูแล้ง ซึ่งอากาศร้อนและขาด
แคลนน้า และเป็นแบบถาวร โดยที่ไม่ออกมาหากินเลย ในพวกสัตว์เลือดอุ่น เช่น กระรอก และ
หมีจะจาศีลหรือพักตัวชั่วคราว โดยการนอนหลับครั้งละหลายๆ วันในฤดูหนาว และออกมาหา
กินบ้างสลับกันไป
• 3)พฤติกรรมการอพยพ (migration ) พฤติกรรมการอพยพพบในสัตว์หลายชนิด เมื่อ
สภาพแวดล้อมไม่เหมาะสมเช่น อุณหภูมิหนาวเกินไปหรือขาดแคลนอาหาร กวางคาริบู
(caribou) หรือกวางภูเขา หากินบนภูเขาในฤดูร้อนเมื่ออากาศเย็นลง กวางพวกนี้จะอพยพมา
หากินทางด้านล่างซึ่งอุณหภูมิสูงกว่าและมีอาหารมากกว่า เมื่อถึงฤดูร้อนก็กลับขึ้นไปหากินบน
ภูเขาอีก ปลาแซลมอน (salmon) จะอพยพจากทะเลแล้วไปผสมพันธุ์กันในแม่น้าเป็นถิ่นเดิม
ของมัน เมื่อลูกอ่อนฟักออกจากไข่จะหากินในแม่น้าระยะหนึ่งแล้วจะอพยพลงสู่ทะเล ได้เวลา
ผสมพันธุ์ก็จะอพยพขึ้นไปผสมพันธุ์ในแม่น้าอีกและเป็นอย่างนี้เสมอ นกปากห่างที่วัดไผ่ล้อม
จังหวัดปทุมธานี ก็อพยพมาจากอินเดียและบังคลาเทศ ในเดือนพฤศจิกายน มาผสมพันธุ์กันที่นี่
แล้วจึงอพยพกลับไปหากินในอินเดียและ บังคลาเทศอีก
• สัตว์แต่ละชนิด จะมีเส้นทางในการอพยพแน่นอนคงที่ เชื่อว่าการรักษาเส้นทางใน
การอพยพของนก อาศัยดวงอาทิตย์ เป็นเครื่องนาทางโดยการบินทามุมกับดวง
อาทิตย์เป็นมุมที่คงที่เสมอ ทาให้ทิศการบินแน่นอน พวกปลาแซลมอนจะมี
สนามไฟฟ้ าอ่อนๆอยู่รอบตัว ช่วยในการจับทิศทางของสนามแม่เหล็กโลกทาให้มัน
อพยพได้ถูกทิศทางแน่นอนทั้งๆที่สัตว์พวกนี้ไม่เคยอพยพมาก่อนเลย
• 2. พฤติกรรมที่เกิดจากการเรียนรู้ (learned behaviorหรือAcquired behavior)
เป็นพฤติกรรมที่ไม่ได้มีมาแต่กาเนิด เกิดจากการเรียนรู้ต้องอาศัยประสบการณ์มา
ก่อนจึงจะเกิดพฤติกรรมได้ เช่น การทดลองในคางคกโดยนาแมลง 3 ชนิด คือ
แมลงปอ แมลงรอบเบอร์ ซึ่งมีลักษณะคล้ายผึ้งและผึ้งมาแขวนไว้ คางคกจับกิน
พบว่าคางคกสามารถจับกินแมลงปอและแมลงรอบเบอร์ได้อย่างสะดวกปลอดภัย แต่
เมื่อจับผึ้งกินจะถูกผึ้งต่อย เมื่อนาแมลงรอบเบอร์และผึ้งมาแขวนให้คางคกจับกิน
คางคกจะไม่จับกินทั้งแมลงรอบเบอร์และผึ้ง เมื่อนาแมลงปอมาแขวนไว้ คางคกจับ
กินได้สะดวก เห็นได้ว่าคางคกสามารถจับแมลงเข้าปากได้มีแบบแผนแน่นอน จึงเป็น
พฤติกรรมที่มีมาแต่กาเนิด แต่การที่คางคกกินแมลงปอแต่ไม่กินผึ้งหรือแมลงที่รูปร่าง
เหมือนผึ้ง เพราะคางคกได้ถูกผึ้งต่อยเมื่อพยายามกิน คางคกรู้จักเลือกแมลงที่จับกิน
ได้หรือไม่ได้นั้นเป็นพฤติกรรมที่เกิดจากการเรียนรู้คือไม่กินผึ้งและแมลงรอบเบอร์ ซึ่ง
มีลักษณะคล้ายผึ้ง เพราะกลัวถูกผึ้งต่อยและสามารถเลือกกินแมลงปอ ซึ่งกินได้และ
เคยกินมาแล้วได้อย่างถูกต้อง
• ลิงชนิดหนึ่งของญี่ปุ่น ซึ่งมีลักษณะคล้ายลิงแสมหรือลิงวอกบ้านเรามีชื่อวิทยาศาสตร์ว่าmacacafuscataอาศัยอยู่
บนเกาะกาชิมา ประเทศญี่ปุ่น มีความสามารถในการนามันเทศที่เปื้อน ดินทราย ไปล้างน้าทะเลและยังทาให้
รสชาติของมันเทศดีขึ้นด้วย เพราะน้าทะเลมีรสเค็มจึงทาให้ ลิงชนิดนี้รู้จักล้างมันเทศและเอาอย่างกันซึ่งเป็น
พฤติกรรมการเรียนรู้ที่เกิดตามมา
• 2.1การเรียนรู้แบบฝังใจ ( imprinting) การฝังใจ( imprinting) เป็นพฤติกรรมที่เกิดกับสิ่งมีชีวิตแรกเกิดและใน
ช่วงเวลาที่จากัดเท่านั้น ดร.คอนราด ลอเรนซ์ (Dr.KonradLorenz)ได้ทดลองและศึกษาพฤติกรรมของลูกห่าน
ซึ่งฟักตัวออกจากไข่สิ่งแรกที่ลูกห่านพบคือตัวของ ดร.ลอเรนซ์ ลูกห่านจะเดินตามดร.ลอเรนซ์ แต่ไม่เดินตามแม่
ของมัน หลังจากที่ทดลองอยู่หลายครั้ง จึงสรุปได้ว่า ลูกห่านจะเดินตามวัตถุซึ่งเคลื่อนที่ได้และมันได้เห็นเป็นครั้ง
แรกเท่านั้น การเกิดพฤติกรรมนี้จะอยู่ในช่วงเวลาที่จากัดเท่านั้น เช่น สัตว์จาพวกนก มีช่วงเวลาที่ทาให้เกิดการฝัง
ใจประมาณ 36 ชั่วโมง หลังจากที่ฟักออกจากไข่เท่านั้น ระยะนี้เรียกว่า ระยะวิกฤต ( criticalperiod)ถ้าหากเลย
36ชั่วโมงไปแล้ว สัตว์จาพวกนกจะไม่เกิดความฝังใจอีกถึงแม้ว่าจะเห็นวัตถุที่เคลื่อนไหวได้ก็ตาม พฤติกรรมการฝัง
ใจ มีประโยชน์ต่อสัตว์แรกเกิดมาก เนื่องจากสิ่งที่มันพบครั้งแรกคือ แม่ และพี่น้องของมันนั่นเอง ดังนั้นจึงเกิดความ
ผูกพันอย่างแน่นแฟ้ นกับแม่ และเดินตามแม่ทาให้ลูกห่านหรือ ลูกไก่ได้รับอาหารจากแม่ ได้รับการปกป้ องจากแม่
ได้การเรียนรู้ในด้านอื่นๆ จากแม่ ได้รู้จักพี่น้องและเพื่อนฝูง ซึ่งเป็นสัตว์ชนิดเดียวกัน ทาให้เกิดการผสมพันธุ์ และ
ดารงพันธุ์อยู่ได้โดยที่ไม่สูญพันธุ์ไป ถ้าหากสัตว์จาพวกนกไม่มีความฝังใจ จะเป็นอันตรายแก่ลูกอ่อนมากเพราะลูก
อ่อนยังพึ่งตัวเองไม่ได้ต้องอาศัยแม่ช่วยเหลืออยู่ตลอดเวลา การฝังใจช่วยให้มันดารงพันธุ์อยู่ได้ตลอดไป การฝังใจ
เป็นผลจากการทางานของพันธุกรรม โดยเป็นตัวกาหนดให้เกิดการฝังใจ และการเรียนรู้ เป็นตัวที่ทาให้เกิดความ
ผูกพัน อย่างแน่นแฟ้ นกับสิ่งแรกที่มันพบเห็น ซึ่งก็คือแม่และพี่น้อง ของมันนั่นเอง จึงสรุปพฤติกรรมแบบการฝังใจ
และมีลักษณะพิเศษซึ่งแตกต่างจากแบบอื่นได้ดังนี้
• 1)เป็นพฤติกรรมที่เกิดขึ้นในระยะเวลาสั้นๆ เมื่อผ่านช่วงเวลานี้ไปแล้วสัตว์จะไม่แสดงพฤติกรรมการฝังใจอีก
• 2)เป็นพฤติกรรมที่เกิดขึ้นอย่างถาวร เมื่อสัตว์เกิดการเรียนรู้และฝังใจต่อสิ่งใดแล้ว สัตว์จะจดจาสิ่งนั้นและแสดง
พฤติกรรมตอบสนองต่อสิ่งนั้นตลอดไป
• 3)พฤติกรรมการฝังใจจะเกิดขึ้นกับลูกสัตว์แรกเกิดและลูกสัตว์แรกเกิดนี้มักจะแข็งแรงพอที่จะเดินตามแม่ของมัน
ได้ เช่น ลูกไก่ ลูกเป็ด ลูกห่าน ลูกแพะ ลูกวัว เป็นต้น
• 4)เป็นพฤติกรรมที่สาคัญเป็นอย่างยิ่ง เนื่องจากทาให้ลูกและแม่ได้รู้จักกันได้ดูแลคุ้มครองลูกอ่อน และยังมีผล
ต่อเนื่องไปถึงพฤติกรรมต่างๆ ที่แสดงออกเมื่อสัตว์มีอายุมากขึ้น ซึ่งเป็นพฤติกรรมทางสังคมของสัตว์ชนิดเดียวกัน
• 2.2การเรียนรู้แบบแฮบบิชูเอชัน แฮบบิชูเอชัน ( habituation) คือความเคยชิน เป็นพฤติกรรมตอบสนองที่
ตัวกระตุ้นหรือสิ่งเร้าไม่มีความหมายต่อการดารงชีวิต ทั้งในด้านบวกและในด้านลบและพฤติกรรมที่ตอบสนองจะ
ค่อยๆ ลดลงทั้งๆ ที่ตัวกระตุ้นยังอยู่หรือเรียกอีกอย่างว่า การเพิกเฉย หรือละเลยต่อสิ่งเร้าที่ไม่มีความหมายต่อการ
ดารงชีวิต เช่น สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้านมจะตอบสนองต่อเสียงดังด้วยการหันหัวไปทางที่เกิดเสียงเสมอ หากเสียงนั้น
ดังอยู่เป็นประจาและไม่มีความหมายอย่างใดต่อสัตว์นั้น จะทาให้พฤติกรรมในการหันหัวไปทางเสียงที่เกิดขึ้นลดลง
เรื่อยๆ เมื่อนานเข้าๆ ก็จะไม่หันหัวไปทางเสียงนั้นเลย นอกจากนี้พฤติกรรมที่ยังพบได้ ก็คือนกกระจอกที่หากินอยู่
ตามบ้าน ตอนแรกๆ เมื่อเห็นคนเดินผ่านเข้ามา แม้จะอยู่ห่างมันก็จะบินหนีไปเสมอ ต่อมาเมื่อคนอยู่ห่างมันจะไม่
บินหนี จะบินหนีเฉพาะเมื่อเวลาเข้าไปใกล้ตัวมันเท่านั้น ลูกนกนางนวลตอนแรกๆ จะกลัวทุกสิ่งที่อยู่เหนือตัวขึ้นไป
ทั้งเหยี่ยว นกขนาดเล็กอื่นๆ หรือแม้แต่ใบไม้ร่วง โดยการก้มตัว ลงหมอบ ต่อมาก็สามารถแยกชนิดของวัตถุได้และ
จะก้มตัวหมอบเมื่อเป็นเหยี่ยวเท่านั้น
• พฤติกรรมการเรียนรู้แบบความเคยชินนี้ต้องอาศัยความจาและประสบการณ์เป็นพื้นฐาน คือ ต้องสามารถจาได้ว่า
สิ่งกระตุ้นนั้นเป็นอะไรและไม่มีผลต่อตนเองจึงไม่ตอบสนอง สิ่งมีชีวิตที่ มีพฤติกรรมแบบนี้ได้ต้องมีสมองส่วนเซ
รีบรัมเจริญดี เพราะสมองส่วนนี้มีหน้าที่ในการจาและ คิดสิ่งต่างๆด้วย
• 2.3การเรียนรู้แบบมีเงื่อนไข (Conditioning)หรือการเรียนรู้แบบมีเงื่อนไข
• (Conditionedreflex หรือAssociativelearning) เป็นการเรียนรู้ แบบที่มีต่อสิ่งเร้าสองสิ่ง สิ่งเร้า สิ่งหนึ่งเป็นสิ่ง
เร้าแท้ และสิ่งเร้าอีกสิ่งหนึ่งเป็นสิ่งเร้าเทียมโดยสิ่งเร้าเทียม จะทาหน้าที่แทนสิ่งเร้าแท้ได้ โดยที่มีผลตอบสนอง
เช่นเดียวกับสิ่งเร้าแท้
• อีวาน พาฟลอฟ(Ivan Pavlov) ได้ทดลองในสุนัข โดยให้อาหารสุนัข เมื่อสุนัขได้อาหารจะเกิดพฤติกรรมแบบรีเฟล็
กซ์อย่างง่ายขึ้น คือ น้าลายไหลออกมาขณะที่กินอาหาร ต่อมา พาฟลอฟ ให้อาหารพร้อมกับสั่นกระดิ่งไปด้วย
หลายๆ ครั้ง สุนัขจะมีน้าลายไหลออกมาด้วยเสมอ เพียงแต่ พาฟลอฟสั่นกระดิ่งเท่านั้น สุนัขก็เกิดอาการน้าลาย
ไหลแล้วทั้งๆ ที่ตามปกติ เสียงกระดิ่ง ไม่สามารถทาให้สุนัขน้าลายไหลได้ สรุปได้ดังนี้
• 1. สุนัข + เสียงกระดิ่ง (สิ่งเร้าเทียม) ไม่มีน้าลายไหล
• 2. สุนัข + อาหาร (สิ่งเร้าแท้) น้าลายไหล
• 3. สุนัข + อาหาร + เสียงกระดิ่ง (สิ่งเร้าแท้) น้าลายไหล
• ทาแบบข้อ 3 หลายๆ ครั้งติดต่อกัน
• 4. สุนัข + เสียงกระดิ่ง (สิ่งเร้าเทียม) น้าลายไหล
• เห็นได้ว่าในตอนแรกเสียงกระดิ่งแต่เพียงอย่างเดียว สุนัขไม่มีพฤติกรรมน้าลายไหล สุนัขจะน้าลายไหล
เฉพาะเมื่อได้กินอาหารเท่านั้น ต่อมาเมื่อให้อาหารพร้อมกับสั่นกระดิ่งไปด้วยหลายๆ ครั้งติดต่อกัน ใน
ระยะเพียงแต่สั่นกระดิ่งเท่านั้น สุนัขก็เกิดพฤติกรรมน้าลายไหลแล้ว แสดงว่าสิ่งเร้าเทียม คือ เสียงกระดิ่ง
ไปมีความสัมพันธ์กับสิ่งเร้าแท้ และทาให้เกิดรีเฟล็กซ์ น้าลายไหลได้ เสียงกระดิ่งจะกระตุ้นหน่วยรับ
ความรู้สึกที่หู แล้วส่งกระแสประสาทไปยังศูนย์การได้ยินในสมองและจดจาเสียงกระดิ่งไว้พร้อมๆ กับ
ได้รับอาหาร อาหารจะกระตุ้นศูนย์รับรส ภายในไฮโพทาลามัส ให้เกิดรีเฟล็กซ์ น้าลายไหล เมื่อเกิด
เหตุการณ์อย่างนี้หลายๆ ครั้ง เมื่อได้ยินเสียงกระดิ่ง จะเกิดการเชื่อมโยงกระแสประสาท จากหูมายังศูนย์
การได้ยินในสมองและผ่านประสาทประสานงานไปยังสมองส่วนไฮโพทาลามัส ทาให้เกิดรีเฟล็กซ์น้าลาย
ไหลได้ พฤติกรรมแบบมีเงื่อนไขนี้จะเปลี่ยนเป็นพฤติกรรมแบบความเคยชินได้ ถ้าหากให้สิ่งเร้าเทียม
บ่อยๆ โดยที่ไม่มีสิ่งเร้าแท้ เช่น การที่สุนัขน้าลายไหลเมื่อได้ยินเสียงกระดิ่ง โดยที่ไม่ให้อาหาร แต่เมื่อเรา
สั่นกระดิ่งและไม่ให้อาหารติดต่อกันหลายๆ ครั้ง การน้าลายไหลของสุนัขจะลดน้อยลงในที่สุดจะไม่มี
พฤติกรรมน้าลายไหลเมื่อสั่นกระดิ่งอีกเลย เนื่องจากเสียงกระดิ่งไม่ได้มีผลดีผลเสียต่อสุนัขอีกแล้ว การ
ฝึกสัตว์ในการแสดงละคร ก็อาศัยพฤติกรรมแบบมีเงื่อนไข เข้าไปช่วย การเลี้ยงไก่ โดยให้อาหารไปพร้อม
กับทาเสียง เรียก กุ๊ก กุ๊ก ก็เช่นเดียวกัน
• 1. ไก่ + เสียง กุ๊ก กุ๊ก (สิ่งเร้าเทียม) ไก่ไม่มา
• 2. ไก่ + อาหาร (สิ่งเร้าแท้) ไก่วิ่งมา
• 3. ไก่ + อาหาร + เสียง กุ๊ก กุ๊ก ไก่วิ่งมา (ทาซ้าหลายๆ ครั้ง)
• 4. ไก่ + เสียง กุ๊ก กุ๊ก ไก่วิ่งมา
• เมื่อทาเสียง กุ๊ก กุ๊ก แล้วไม่ให้อาหารหลายๆ ครั้ง ต่อมาไก่จะไม่ตอบสนองต่อการเรียกนี้อีก
คือ เกิดความเคยชิน และเพิกเฉยเสีย เพราะเสียง กุ๊ก กุ๊ก ไม่ได้มีผลดีผลเสียต่อมัน
• นักพฤติกรรมศาสตร์ได้ศึกษาพฤติกรรมการมีเงื่อนไขในพลานาเรีย โดยการทดลองดังนี้
• 1. เมื่อฉายไฟไปยัง พลานาเรีย พลานาเรีย ยืดตัวยาวออก
• 2. เมื่อให้กระแสไฟฟ้ าอ่อนๆ แก่ พลานาเรีย พลานาเรีย หดตัวสั้นเข้า
• 3. เมื่อให้แสงไฟแล้วตามด้วยการกระตุ้นด้วยกระแสไฟฟ้ าอ่อนๆ ซ้ากัน 100 ครั้ง พบว่า
พลานาเรีย แสดงพฤติกรรมยืดตัวและหดตัวสลับกัน
• 4. ให้แสงสว่างแต่ไม่ตามด้วยการกระตุ้นด้วยกระแสไฟฟ้ าอ่อนๆ
• พบว่า เมื่อพลานาเรียยืดตัวแล้วตามด้วยการหดตัว (ซึ่งเป็นพฤติกรรมแบบมีเงื่อนไขโดย ไม่
มีตัวกระตุ้นคือ กระแสไฟฟ้ าอ่อนๆ )
• เห็นได้ว่าพลานาเรียก็มีพฤติกรรมแบบมีเงื่อนไข แต่ต้องการรับการฝึกติดต่อกันหลายๆ ครั้ง
เพราะระบบประสาทของพลานาเรียยังไม่เจริญมากนักเป็นเพียงปมประสาทสมอง ที่อยู่ส่วน
หัวและมีแขนงประสาทแยกไปเลี้ยงอวัยวะต่างๆ เท่านั้น
• 2.4การเรียนรู้แบบลองผิดลองถูก (trailanderrorlearning) การลองผิดลองถูก (trailanderror)เป็นพฤติกรรม
ที่สัตว์ต้องเผชิญต่อสิ่งเร้าที่ยังไม่ทราบแน่ว่าจะเป็นผลดีหรือผลเสียต่อตัวมัน แต่หากตอบสนองแล้วเป็นผลดีต่อมัน
มันจะตอบสนองต่อสิ่งนั้น ถ้าหากตอบสนองแล้วเป็นผลเสียต่อมัน มันก็จะไม่ตอบสนองต่อสิ่งนั้นสัตว์ต่างๆ จะใช้
เวลาในการเรียนรู้แบบนี้แตกต่างกัน เช่น มด จะตอบสนองได้เร็วกว่าไส้เดือน หนูจะตอบสนองได้เร็วกว่ามด เพราะ
จาสิ่งต่างๆ ได้ดีกว่า
•
• การศึกษาพฤติกรรมของไส้เดือน โดยการใส่ไส้เดือนในกล่องพลาสติกรูปตัวTโดยด้านหนึ่งเป็นส่วนที่มืดและชื้น
อีกด้านหนึ่งโปร่งและมีกระแสไฟฟ้ าอ่อนๆ ให้ไส้เดือนเคลื่อนตัว ไปในตอนแรกๆ ไส้เดือนจะเคลื่อนที่ไปทางด้านมืด
และชื้นกับด้านโปร่งและมีกระแสไฟฟ้ าจานวนครั้งเท่าๆ กัน แต่เมื่อฝึกไปนานๆ ไส้เดือนจะเลือกทางถูก และ
เคลื่อนที่ไปทางด้านมืดและชื้นเป็นส่วนใหญ่ เคลื่อนที่ไปทางด้านโปร่งและมีกระแสไฟฟ้ าน้อยลงมาก
•
• พฤติกรรมแบบนี้ที่พบในคน เช่น การรับประทานอาหารในร้านอาหารต่างๆ ในตอนแรกไม่ทราบว่าอาหารร้านใด
อร่อยและถูกใจ เราก็ลองรับประทานร้านนี้บ้าง ร้านโน้นบ้าง ต่อมาเราตัดร้านอาหารที่ไม่อร่อยและไม่ถูกใจออก ซื้อ
เฉพาะร้านอาหารที่ทาอร่อยและถูกปากถูกใจเราเท่านั้น
•
• 2.5การเรียนรู้แบบใช้เหตุผล (reasoning)การใช้เหตุผล (reaning หรือinsight learning)เป็นพฤติกรรมที่พบใน
สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมเท่านั้นและจะเกิดมาในคนเรา เนื่องจากคนเรามีสมองและระบบประสาทที่เจริญมากกว่าสัตว์
อื่น จึงเกิดการเรียนรู้แบบนี้ได้ดีกว่าสัตว์อื่น การใช้เหตุผลเป็นการใช้ความสามารถของสัตว์ที่จะตอบโต้ต่อสิ่งเร้า
หรือสิ่งที่มากระตุ้นอย่างถูกต้องในครั้งแรก โดยที่ไม่ต้องใช้การลองผิดลองถูกแม้ว่าเหตุการณ์ใหม่นี้ต่างไปจาก
ประสบการณ์เก่าเท่าที่เคยพบมา และสามารถนาผลการเรียนรู้เก่าๆ แบบอื่นๆ มาช่วยในการแก้ไขปัญหาด้วย
• การทดลองโดยการจับลิงชิมแปนซี ใส่ในห้องแล้วแขวนกล้วยไว้ในระดับที่สูงกว่าที่ลิง จะเอื้อมถึง ที่พื้นจะ
มีกล่องหลายใบวางอยู่ ตอนแรกลิงจะพยายามหยิบกล้วยให้ได้แต่หยิบไม่ถึงลิงจึงไปยกกล่องมาวางแล้ว
ลองหยิบอีกก็ยังไม่ถึง ลิงก็ไปยกกล่องมาต่ออีก จนสามารถหยิบกล้วยที่แขวนอยู่ได้ การทดลองอันนี้
แสดงว่า ลิงชิมแปนซีมีพฤติกรรมแบบการใช้เหตุผล เนื่องจากลิงสามารถใช้ความสัมพันธ์ของกล่องกับ
ความสูงของกล้วย และสามารถ ดึงความสัมพันธ์อันนี้มาใช้ประโยชน์ ทาให้หยิบกล้วยมากินได้ ยิ่งถ้า
พวกลิงชิมแฟนชีเคยมีประสบการณ์อย่างนี้มาแล้วจะยิ่งเป็นการง่ายขึ้นเข้าไปอีก เนื่องจากลิงมีสมองที่
เจริญดีและจดจาได้ดีด้วย
• ตารางเปรียบเทียบพฤติกรรมลองผิดลองถูกกับการใช้เหตุผล
• สรุปลักษณะสาคัญของพฤติกรรมที่เกิดจากการเรียนรู้ ได้ดังนี้
• 1. ต้องมีประสบการณ์เข้ามาเกี่ยวข้อง ซึ่งประสบการณ์นี้จะทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมได้อย่าง
ถาวร
• 2. พฤติกรรมที่แสดงออกจะซับซ้อนมากกว่าพฤติกรรมที่มีมาแต่กาเนิด
• 3. พฤติกรรมที่เกิดขึ้นจะเกิดขึ้นกับสัตว์แต่ละตัวที่ได้รับประสบการณ์การเรียนรู้และไม่มีการถ่ายทอด
พันธุกรรมไปยังตัวอื่น
• พฤติกรรมแต่ละแบบของสิ่งมีชีวิตที่แสดงออกมา จะมีความสัมพันธ์กับระบบประสาท ของสิ่งมีชีวิตชนิด
นั้น สิ่งมีชีวิตระดับแรกๆ เช่น พวกโพรทีสต์ มีพฤติกรรมแบบไคนีซิส และแทกซิสเท่านั้น ส่วนในสัตว์ชั้นสูง
เช่น สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม จะพฤติกรรมที่ซับซ้อนกว่า มีทั้งพฤติกรรมประเภทรีเฟล็กซ์ รีเฟล็กซ์ต่อเนื่อง
และพฤติกรรมการเรียนรู้ ซึ่งเป็นพฤติกรรมชั้นสูง ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรม และระบบประสาท
ดังนี้
THANK YOU 

More Related Content

What's hot

โครงการผู้บำเพ็ญประโยชน์
โครงการผู้บำเพ็ญประโยชน์โครงการผู้บำเพ็ญประโยชน์
โครงการผู้บำเพ็ญประโยชน์panomkon
 
บทที่ 3 ตอนที่ 4
บทที่ 3  ตอนที่ 4บทที่ 3  ตอนที่ 4
บทที่ 3 ตอนที่ 4gasine092
 
ตรรกศาสตร์และการพิสูจน์
ตรรกศาสตร์และการพิสูจน์ตรรกศาสตร์และการพิสูจน์
ตรรกศาสตร์และการพิสูจน์K.s. Mam
 
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมแก้ไข
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมแก้ไขการตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมแก้ไข
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมแก้ไขAnana Anana
 
บทที่10พฤติกรรมสัตว์
บทที่10พฤติกรรมสัตว์บทที่10พฤติกรรมสัตว์
บทที่10พฤติกรรมสัตว์subhapit
 
Digestive system mutipoint
Digestive system mutipointDigestive system mutipoint
Digestive system mutipointsupreechafkk
 
เนื้อเยื่อพืช (T)
เนื้อเยื่อพืช (T)เนื้อเยื่อพืช (T)
เนื้อเยื่อพืช (T)Thitaree Samphao
 
การพัฒนาแบบฝึกทักษะ เรื่อง การสร้างคำในภาษาไทย เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
การพัฒนาแบบฝึกทักษะ เรื่อง การสร้างคำในภาษาไทย เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนการพัฒนาแบบฝึกทักษะ เรื่อง การสร้างคำในภาษาไทย เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
การพัฒนาแบบฝึกทักษะ เรื่อง การสร้างคำในภาษาไทย เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนTunggy
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตMam Chongruk
 
ใบงานที่ 1 เรื่อง รู้จักกับโปรแกรมเพ้นท์
ใบงานที่ 1   เรื่อง รู้จักกับโปรแกรมเพ้นท์ใบงานที่ 1   เรื่อง รู้จักกับโปรแกรมเพ้นท์
ใบงานที่ 1 เรื่อง รู้จักกับโปรแกรมเพ้นท์ณัฐพล บัวพันธ์
 
พัฒนาการของมนุษย์
พัฒนาการของมนุษย์พัฒนาการของมนุษย์
พัฒนาการของมนุษย์khuwawa2513
 
ติวสอบเตรียมประสาทฮอร์โมนพฤติ
ติวสอบเตรียมประสาทฮอร์โมนพฤติติวสอบเตรียมประสาทฮอร์โมนพฤติ
ติวสอบเตรียมประสาทฮอร์โมนพฤติWichai Likitponrak
 
ใบงานพระคุณแม่
ใบงานพระคุณแม่ใบงานพระคุณแม่
ใบงานพระคุณแม่krutitirut
 
เกณฑ์การให้คะแนนข้อสอบวิทยาศาสตร์ ชุดที่ 2
เกณฑ์การให้คะแนนข้อสอบวิทยาศาสตร์ ชุดที่ 2เกณฑ์การให้คะแนนข้อสอบวิทยาศาสตร์ ชุดที่ 2
เกณฑ์การให้คะแนนข้อสอบวิทยาศาสตร์ ชุดที่ 2Naughtily NaRee
 
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัสเอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัสBiobiome
 
4.ใบงาน
4.ใบงาน4.ใบงาน
4.ใบงานparichat441
 
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5สำเร็จ นางสีคุณ
 

What's hot (20)

โครงการผู้บำเพ็ญประโยชน์
โครงการผู้บำเพ็ญประโยชน์โครงการผู้บำเพ็ญประโยชน์
โครงการผู้บำเพ็ญประโยชน์
 
Homeroom3.3
Homeroom3.3Homeroom3.3
Homeroom3.3
 
บทที่ 3 ตอนที่ 4
บทที่ 3  ตอนที่ 4บทที่ 3  ตอนที่ 4
บทที่ 3 ตอนที่ 4
 
ตรรกศาสตร์และการพิสูจน์
ตรรกศาสตร์และการพิสูจน์ตรรกศาสตร์และการพิสูจน์
ตรรกศาสตร์และการพิสูจน์
 
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมแก้ไข
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมแก้ไขการตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมแก้ไข
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมแก้ไข
 
บทที่10พฤติกรรมสัตว์
บทที่10พฤติกรรมสัตว์บทที่10พฤติกรรมสัตว์
บทที่10พฤติกรรมสัตว์
 
Digestive system mutipoint
Digestive system mutipointDigestive system mutipoint
Digestive system mutipoint
 
เนื้อเยื่อพืช (T)
เนื้อเยื่อพืช (T)เนื้อเยื่อพืช (T)
เนื้อเยื่อพืช (T)
 
การพัฒนาแบบฝึกทักษะ เรื่อง การสร้างคำในภาษาไทย เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
การพัฒนาแบบฝึกทักษะ เรื่อง การสร้างคำในภาษาไทย เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนการพัฒนาแบบฝึกทักษะ เรื่อง การสร้างคำในภาษาไทย เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
การพัฒนาแบบฝึกทักษะ เรื่อง การสร้างคำในภาษาไทย เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
 
Biomass energy
Biomass energy Biomass energy
Biomass energy
 
ใบงานที่ 1 เรื่อง รู้จักกับโปรแกรมเพ้นท์
ใบงานที่ 1   เรื่อง รู้จักกับโปรแกรมเพ้นท์ใบงานที่ 1   เรื่อง รู้จักกับโปรแกรมเพ้นท์
ใบงานที่ 1 เรื่อง รู้จักกับโปรแกรมเพ้นท์
 
พัฒนาการของมนุษย์
พัฒนาการของมนุษย์พัฒนาการของมนุษย์
พัฒนาการของมนุษย์
 
ไตรสิกขา
ไตรสิกขาไตรสิกขา
ไตรสิกขา
 
ติวสอบเตรียมประสาทฮอร์โมนพฤติ
ติวสอบเตรียมประสาทฮอร์โมนพฤติติวสอบเตรียมประสาทฮอร์โมนพฤติ
ติวสอบเตรียมประสาทฮอร์โมนพฤติ
 
ใบงานพระคุณแม่
ใบงานพระคุณแม่ใบงานพระคุณแม่
ใบงานพระคุณแม่
 
เกณฑ์การให้คะแนนข้อสอบวิทยาศาสตร์ ชุดที่ 2
เกณฑ์การให้คะแนนข้อสอบวิทยาศาสตร์ ชุดที่ 2เกณฑ์การให้คะแนนข้อสอบวิทยาศาสตร์ ชุดที่ 2
เกณฑ์การให้คะแนนข้อสอบวิทยาศาสตร์ ชุดที่ 2
 
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัสเอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
 
4.ใบงาน
4.ใบงาน4.ใบงาน
4.ใบงาน
 
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
 

Viewers also liked

(Aula 2) função logarítmica
(Aula 2) função logarítmica(Aula 2) função logarítmica
(Aula 2) função logarítmicanetaulasifpaitb
 
Balade ouest france landéda 5 mai 2013
Balade ouest france landéda 5 mai 2013Balade ouest france landéda 5 mai 2013
Balade ouest france landéda 5 mai 2013Monique49
 
тризуб духовна зброя та щит нації
тризуб   духовна зброя та щит націїтризуб   духовна зброя та щит нації
тризуб духовна зброя та щит націїOlgaVladychko
 
Thực phẩm tốt cho người bị gan nhiễm mỡ
Thực phẩm tốt cho người bị gan nhiễm mỡThực phẩm tốt cho người bị gan nhiễm mỡ
Thực phẩm tốt cho người bị gan nhiễm mỡwerner586
 
Stepasideflyerfront
StepasideflyerfrontStepasideflyerfront
StepasideflyerfrontJanet Behan
 
Elora natalia
Elora nataliaElora natalia
Elora nataliaaescude2
 
Estimasi biaya pembuatan alat elektronika TIRAKAT
Estimasi biaya pembuatan alat elektronika TIRAKATEstimasi biaya pembuatan alat elektronika TIRAKAT
Estimasi biaya pembuatan alat elektronika TIRAKATKamal Qrimly
 
Newsletter Bad & Good Practices
Newsletter Bad & Good PracticesNewsletter Bad & Good Practices
Newsletter Bad & Good PracticesStavros Chalaris
 

Viewers also liked (20)

Elebda3.net 8731
Elebda3.net 8731Elebda3.net 8731
Elebda3.net 8731
 
animals
animalsanimals
animals
 
กำจัดบ้านของแมลงวันเสร็จ
กำจัดบ้านของแมลงวันเสร็จกำจัดบ้านของแมลงวันเสร็จ
กำจัดบ้านของแมลงวันเสร็จ
 
Apresentacao educopedia
Apresentacao educopediaApresentacao educopedia
Apresentacao educopedia
 
Vodafone Akıllı Bas Konuş - Ulaşım Sektörü
Vodafone Akıllı Bas Konuş - Ulaşım SektörüVodafone Akıllı Bas Konuş - Ulaşım Sektörü
Vodafone Akıllı Bas Konuş - Ulaşım Sektörü
 
Git
GitGit
Git
 
(Aula 2) função logarítmica
(Aula 2) função logarítmica(Aula 2) função logarítmica
(Aula 2) função logarítmica
 
Balade ouest france landéda 5 mai 2013
Balade ouest france landéda 5 mai 2013Balade ouest france landéda 5 mai 2013
Balade ouest france landéda 5 mai 2013
 
тризуб духовна зброя та щит нації
тризуб   духовна зброя та щит націїтризуб   духовна зброя та щит нації
тризуб духовна зброя та щит нації
 
论文写作顾问
论文写作顾问论文写作顾问
论文写作顾问
 
Thực phẩm tốt cho người bị gan nhiễm mỡ
Thực phẩm tốt cho người bị gan nhiễm mỡThực phẩm tốt cho người bị gan nhiễm mỡ
Thực phẩm tốt cho người bị gan nhiễm mỡ
 
Stepasideflyerfront
StepasideflyerfrontStepasideflyerfront
Stepasideflyerfront
 
英国课业学术论文
英国课业学术论文英国课业学术论文
英国课业学术论文
 
24 hour 1
24 hour 124 hour 1
24 hour 1
 
EITC Referral Letter 2016
EITC Referral Letter 2016EITC Referral Letter 2016
EITC Referral Letter 2016
 
Elora natalia
Elora nataliaElora natalia
Elora natalia
 
Estimasi biaya pembuatan alat elektronika TIRAKAT
Estimasi biaya pembuatan alat elektronika TIRAKATEstimasi biaya pembuatan alat elektronika TIRAKAT
Estimasi biaya pembuatan alat elektronika TIRAKAT
 
伦敦论文代写
伦敦论文代写伦敦论文代写
伦敦论文代写
 
美国论文代写
美国论文代写美国论文代写
美国论文代写
 
Newsletter Bad & Good Practices
Newsletter Bad & Good PracticesNewsletter Bad & Good Practices
Newsletter Bad & Good Practices
 

Similar to ประเภทพฤติกรรมของสัตว์

พฤติกรรมสัตว์
พฤติกรรมสัตว์พฤติกรรมสัตว์
พฤติกรรมสัตว์Pattiya Lasutti
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต (1)
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต (1)การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต (1)
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต (1)Prajak NaJa
 
ตัวอย่างpowerpoint 1
ตัวอย่างpowerpoint 1ตัวอย่างpowerpoint 1
ตัวอย่างpowerpoint 1Abhai Lawan
 
ระบบประสาท (Nervous system)
ระบบประสาท (Nervous system)ระบบประสาท (Nervous system)
ระบบประสาท (Nervous system)พัน พัน
 
Lecture12
Lecture12Lecture12
Lecture12pon-pp
 
พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2
พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2
พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2Kobchai Khamboonruang
 
พฤติกรรมของสัตว์
พฤติกรรมของสัตว์พฤติกรรมของสัตว์
พฤติกรรมของสัตว์Nokko Bio
 
ระบบของสัตว์
ระบบของสัตว์ระบบของสัตว์
ระบบของสัตว์พัน พัน
 
ชุดที่ 1 ระบบภายในร่างกาย
ชุดที่ 1  ระบบภายในร่างกายชุดที่ 1  ระบบภายในร่างกาย
ชุดที่ 1 ระบบภายในร่างกายO-SOT Kanesuna POTATO
 
การเปลี่ยนแปลงหลังการตาย
การเปลี่ยนแปลงหลังการตายการเปลี่ยนแปลงหลังการตาย
การเปลี่ยนแปลงหลังการตายSurapol Imi
 

Similar to ประเภทพฤติกรรมของสัตว์ (20)

พฤติกรรมสัตว์
พฤติกรรมสัตว์พฤติกรรมสัตว์
พฤติกรรมสัตว์
 
บทที่ ๑๐ พฤติกรรม
บทที่ ๑๐ พฤติกรรมบทที่ ๑๐ พฤติกรรม
บทที่ ๑๐ พฤติกรรม
 
Behavior
BehaviorBehavior
Behavior
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต (1)
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต (1)การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต (1)
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต (1)
 
3 movement plan
3 movement plan3 movement plan
3 movement plan
 
ตัวอย่างpowerpoint 1
ตัวอย่างpowerpoint 1ตัวอย่างpowerpoint 1
ตัวอย่างpowerpoint 1
 
Lecture12
Lecture12Lecture12
Lecture12
 
Lecture12
Lecture12Lecture12
Lecture12
 
Animal System
Animal SystemAnimal System
Animal System
 
ระบบประสาท (Nervous system)
ระบบประสาท (Nervous system)ระบบประสาท (Nervous system)
ระบบประสาท (Nervous system)
 
5 behavi plan
5 behavi plan5 behavi plan
5 behavi plan
 
7.พฤติกรรม
7.พฤติกรรม7.พฤติกรรม
7.พฤติกรรม
 
Lecture12
Lecture12Lecture12
Lecture12
 
พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2
พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2
พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2
 
พฤติกรรมของสัตว์
พฤติกรรมของสัตว์พฤติกรรมของสัตว์
พฤติกรรมของสัตว์
 
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
 
พฤติกรรมของสัตว์
พฤติกรรมของสัตว์พฤติกรรมของสัตว์
พฤติกรรมของสัตว์
 
ระบบของสัตว์
ระบบของสัตว์ระบบของสัตว์
ระบบของสัตว์
 
ชุดที่ 1 ระบบภายในร่างกาย
ชุดที่ 1  ระบบภายในร่างกายชุดที่ 1  ระบบภายในร่างกาย
ชุดที่ 1 ระบบภายในร่างกาย
 
การเปลี่ยนแปลงหลังการตาย
การเปลี่ยนแปลงหลังการตายการเปลี่ยนแปลงหลังการตาย
การเปลี่ยนแปลงหลังการตาย
 

ประเภทพฤติกรรมของสัตว์

  • 1. ประเภทพฤติกรรมของสัตว์ โดย นางสาว ชนากานต์ บุญมาก เลขที่ 24 ชั้น ม.6ห้อง 4 นางสาว พิชนา มณสวัสดิ์ เลขที่ 30 ชั้น ม.6ห้อง 4
  • 2. • พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิตแบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ • 1. พฤติกรรมที่เป็นมาแต่กาเนิด (inherited behavior หรือ innated behavior) พฤติกรรมแบบนี้เป็นพฤติกรรมที่ถูกควบคุมโดยหน่วยทาง พันธุกรรมทั้งหมด โดยไม่ต้องผ่านการเรียนรู้ เป็นลักษณะเฉพาะของ สิ่งมีชีวิต ที่จะต้องสนองต่อสิ่งเร้าและมีแบบแผนที่แน่นอนไม่ เปลี่ยนแปลง ซึ่งเรียกว่า ฟิกแอกชันแพทเทอร์น(fix action pattern, FAP) แบ่งออกเป็น • 1.1 พฤติกรรมที่มีมาแต่กาเนิดในพืช พฤติกรรมในพืช เป็นพฤติกรรมที่ เป็นมาแต่กาเนิด ทั้งสิ้น เนื่องจากพืชไม่มีระบบประสาท จึงไม่มีการ เรียนรู้เหมือนสัตว์
  • 3. • 1.2 พฤติกรรมที่มีมาแต่กาเนิดในสัตว์ และโพรทิสต์ แบ่งออกเป็น • 1.2.1 ไคนีซีส (kinesis) • 1.2.2 แทกซีส (taxis) • 1.2.3 รีเฟล็กซ์ (reflex) • 1.2.4 รีเฟล็กซ์ต่อเนื่อง (chain of reflex)ซึ่งเดิมทีเดียวเรียกว่า สัญชาตญาณ (instinctหรือ innatebehavior)
  • 4. • 2. พฤติกรรมที่เกิดจากการเรียนรู้ (learned behavior หรือ Acquired behavior) แบ่งเป็น • 2.1 การฝังใจ (imprinting) • 2.2 ความเคยชิน (habituation) • 2.3 การมีเงื่อนไข (conditioningหรือcondition reflex) • 2.4 การลองผิดลองถูก (trial and error learning) • 2.5 การใช้เหตุผล (resoning หรือ insightlearning)
  • 5. • ลักษณะของพฤติกรรมที่มีมาแต่กาเนิด • 1. เป็นพฤติกรรมที่ถูกกาหนดเป้ าหมายของพฤติกรรมไว้แน่นอน โดยถูก ควบคุมโดยจีน (gene) ดังนั้นจึงสามารถถ่ายทอดไปสู่ลูกหลานได้ • 2. เป็นพฤติกรรม ดั้งเดิม ไม่ต้องผ่านการเรียนรู้ก็สามารถแสดง พฤติกรรมได้ • 3. ในสิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกันจะแสดงพฤติกรรมได้เหมือน ๆ กัน • 4. เป็นพฤติกรรมที่มีความสาคัญต่อการอยู่รอดของลูกสัตว์เป็นอย่าง มาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งสัตว์ที่พ่อแม่ไม่ได้เลี้ยงดูลูกเมื่อแรกเกิด
  • 6. • ประเภทของพฤติกรรมที่มีมาแต่กาเนิด • 1.โอเรียนเทชัน โอเรียนเทชัน เป็นพฤติกรรมที่สิ่งมีชีวิตตอบสนองต่อปัจจัย ทางกายภาพ ทาให้สิ่งมีชีวิตนั้นวางตัวเหมาะสมในการดารงชีวิตทาให้มี โอกาสอยู่รอดเพิ่มมากขึ้น เช่น การว่ายน้าของปลา โดยให้หลังตั้งฉากกับ ดวงอาทิตย์ ทาให้ผู้ล่าที่อยู่ในระดับต่ากว่ามองไม่เห็น การตากแดดของ กิ้งก่าในฤดูหนาว โดยการไปนอนอยู่ปลายกิ่งไม้ในตอนเช้าเพื่อรับ แสงอาทิตย์ กิ้งก่าในเขตหนาวจะวางตัวในแนวตั้งฉากกับดวงอาทิตย์ และ พองตัวออกเพื่อเพิ่มพื้นที่ผิวในการรับ ความร้อนจากดวงอาทิตย์ พฤติกรรม แบบโอเรียนเทชันที่พบเสมอคือ
  • 7. • 1.1ไคนีซิส(kinesis) เป็นการเคลื่อนที่เข้าหา หรือ หนีจากสิ่งเร้าที่ไม่มีทิศทางแน่นอน เนื่องจาก ระบบประสาทยังไม่เจริญ และอวัยวะรับความรู้สึกยังมีประสิทธิภาพ ในการรับความรู้สึกไม่ดี เท่าที่ควร การเคลื่อนที่ไม่ได้ถูกควบคุมด้วยสิ่งเร้า จึงทาให้ทิศทางใน การเคลื่อนที่เป็นแบบเดา สุ่ม เช่น พฤติกรรมของพารามีเซียมต่อแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ หรือ ต่อบริเวณที่มีอุณหภูมิสูง เมื่อพารามีเซียมเคลื่อนที่เข้าไปในบริเวณที่มีอุณหภูมิสูง พารามีเซียม จะถอยหลังหนีแล้ว เคลื่อนที่ไปข้างหน้าอีก แต่เปลี่ยนทิศทางไป ถ้าหากยังไม่พ้น มันก็จะถอยหลังอีก แล้วเปลี่ยน ทิศทางเคลื่อนไปข้างหน้า ทาอยู่อย่างนี้จนกว่าจะพ้นจากบริเวณนั้น ในกรณีของน้าเกลือ ก็ เช่นเดียวกัน พารามีเซียมจะเคลื่อนที่ไปข้างหน้า แล้วถอยหลังเคลื่อนไปข้างหน้า อย่างนี้หลาย ครั้ง แล้วจึงเคลื่อนตัวออกจากบริเวณนั้นได้ • แมลงสาบก็แสดงพฤติกรรมแบบ ไคนีซีส ในสภาพปกติ แมลงสาบจะอาศัยอยู่ตามซอกมุมหรือ ที่แคบๆ โดยมันอยู่ นิ่งๆ หนวด ขน ตามตัวมันจะรับสัมผัสได้ดี แต่ถ้าหากอยู่ในที่โล่งแจ้ง แมลงสาบจะวิ่งได้รวดเร็วมากและไม่มีทิศทางที่แน่นอน เนื่องจากมันไม่สามารถรับความรู้สึก จากผิวสัมผัสได้ เราจึงพบแมลงสาบอาศัยในที่แคบ ๆ เท่านั้น ในลิ่นทะเล (chiton) ก็มี พฤติกรรม แบบไคนีซิส เมื่อน้าลงลิ่นทะเลอยู่เหนือน้าจะเคลื่อนที่เร็ว (อยู่ในอากาศ) แต่เมื่ออยู่ ในน้า ลิ่นทะเล จะเคลื่อนที่ช้าลง (น้าขึ้น)
  • 8. • 1.2เเทกซิส (taxis)เป็นการเคลื่อนที่เข้าหาหรือหนีจากสิ่งเร้าอย่างมี ทิศทาง แน่นอน พฤติกรรมนี้จะก่อให้เกิดการรวมกลุ่มกันได้เป็นอย่างดี เช่น การบิน เข้าหาแสงสว่างของแมลงเม่า การเคลื่อนที่เข้าหาแสงของยูกลีนา การ เคลื่อนที่เข้าหาเหยื่อของค้างคาว • จากการทดลองกับพารามีเซียม พบว่า พารามีเซียม จะเคลื่อนที่เข้าหา บริเวณที่เป็นกรดอ่อนๆ เช่น กรดแอซีติก0.05% (aceticacid0.05%) อย่างมีทิศทางแน่นอน ดังนั้นพารามีเซียม จึงเคลื่อนที่ได้ทั้งแบบแทกซิส และ ไคนีซิส ตามธรรมชาติจะพบพารามีเซียมได้มากตามแหล่งน้าธรรมชาติที่มี สภาพเป็นกรดเล็กน้อย ทาให้เข้าใจกันว่าบริเวณนั้นน่าจะมีอาหารของพารา มีเซียมมากด้วย จากการ ศึกษาพบความจริงว่า บริเวณที่มีแบคทีเรียอยู่มาก จะมีสภาพเป็นกรดเล็กน้อยด้วย และแบคทีเรียเองก็เป็นอาหารของพารามี เซียม ดังนั้นพารามีเซียมจึงชอบสภาพที่เป็นกรดอ่อน ๆ แต่พารามีเซียม เคลื่อนหนีจากน้าเกลือ แบบไคนีซิส เข้าใจว่า น้าเกลือ มีผลเสียต่อเซลล์ พารามีเซียม เพราะจะทาให้เซลล์ของพารามีเซียมเหี่ยวได้ มันจึงเคลื่อนที่หนี ไป
  • 9. • 1.3รีเฟล็กซ์ (reflex) รีเฟล็กซ์เป็นพฤติกรรมที่เกิดขึ้นในสัตว์ทุกชนิด • พฤติกรรมนี้พบมากในสัตว์หลายเซลล์ชั้นต่า เช่น หนอน แมลง สาหรับในพวกสัตว์ชั้นสูง ก็ยังคง มีพฤติกรรมแบบนี้อยู่ พฤติกรรมแบบรีเฟล็กซ์เป็นการตอบสนองต่อสิ่งเร้าอย่างทันทีทันใด โดย ไม่ต้องรอคาสั่งจากสมองเช่น การกระตุกเข่า เมื่อเคาะที่หัวเข่าเบาๆซึ่งเกิดจากการทางานของ เซลล์ประสาท 2 ตัวเท่านั้นตัวหนึ่งทาหน้าที่รับความรู้สึกนากระแสประสาทไปยังกล้ามเนื้อขา ทาให้เกิดการกระตุกขึ้น • การทรงตัวของร่างกายก็จัดเป็นรีเฟล็กซ์อย่างหนึ่ง การที่คนเรายืนอยู่ได้ถ้าไม่มีรีเฟล็กซ์เกิดขึ้น เราจะโอนเอนไปมา รีเฟล็กซ์ที่เกิดขึ้น อย่างอัตโนวัติ คือ กล้ามเนื้อเหยียดเข่าหรือเอกเทนเซอร์ (extenser) ที่ต่อกับหัวเข่าจะหดตัว เพื่อให้ตัวตั้งตรงขึ้น เมื่อร่างกายเราเอนมาทาง ด้านหลัง ทา ให้กล้ามเนื้อเหยียดเข่า (เอกเทนเซอร์) ยืดออก เกิดการกระตุ้นหน่วยรับความรู้สึกในกล้ามเนื้อ เหยียดเข่า แล้วส่งกระแสประสาทเข้าสู่วงจรรีเฟล็กซ์ทันที ทาให้เกิดการหดตัวของกล้ามเนื้อ เหยียดเข่า เข่าจึงตั้งตรงและไม่งอ รีเฟล็กซ์นี้จะทางานอยู่ตลอดเวลา โดยที่เราไม่รู้ตัวเลย การ ทางานของรีเฟล็กซ์นี้จะร่วมกับกลไกอื่นๆ ด้วย ทาให้เรายืนอยู่ได้โดยที่ไม่ล้ม • การหดนิ้วมือ และมือเมื่อถูกของร้อน จัดเป็นรีเฟล็กซ์ การไอ การจาม การกระพริบตา การหลบ วัตถุต่างๆ อย่างทันทีทันใด เป็นรีเฟล็กซ์ทั้งสิ้น ดังนั้น รีเฟล็กซ์จึงช่วย ให้เราหลีกเลี่ยงอันตราย ซึ่งเกิดขึ้นทันทีทันใดและไม่รู้ตัวทาให้ เรามีโอกาสรอดพ้นจากอันตรายต่างๆ มากขึ้น
  • 10. • 1.4 รีเฟล็กซ์ต่อเนื่อง (chain of reflex) เดิมเรียกว่า สัญชาตญาณ (instinct) เป็น • พฤติกรรมที่มีมาแต่กาเนิด มีการกาหนดเป้ าหมายไว้แน่ชัดภายในตัวสัตว์ เป็น พฤติกรรมที่ประกอบด้วย พฤติกรรมรีเฟล็กซ์ย่อยๆ หลายพฤติกรรม และพฤติกรรม หนึ่งจะไปกระตุ้นพฤติกรรมอื่นๆ ได้ด้วย จึงเรียกได้อีกอย่างหนึ่งว่า ปฏิกิริยารีเฟล็กซ์ ซับซ้อน (complex reflex action) ปฏิกิริยาแบบนี้จะไม่แสดงออกในลักษณะการ กระตุก การหด หรือการงอ เพราะกระแสประสาทรับความรู้สึก จะถูกส่งไปยังระบบ ประสาทส่วนกลาง (CNS) ซึ่งทาหน้าที่เป็นศูนย์รวบรวมข้อมูล แล้วจึงสั่งการไปยัง อวัยวะตอบสนองอย่างค่อยเป็นค่อยไป เป็นไปอย่างอัตโนวัติและมีแบบแผนแน่นอน ในสัตว์แต่ละชนิด เช่น การดูดนมของลูกอ่อน จะถูกกระตุ้นด้วยความหิว เมื่อปากได้ สัมผัสกับหัวนม ก็จะเกิดการดูดนม ซึ่งจะกระตุ้นให้กลืนนมที่ดูด และเป็นปฏิกิริยา รีเฟล็กซ์เมื่อยังไม่อิ่ม ก็จะมีผลให้เกิดการดูดนมอีก และดูดติดต่อกันไปจนกว่าจะอิ่ม ซึ่งจะเห็นได้ว่า การดูดนมนี้ประกอบด้วยปฏิกิริยารีเฟล็กซ์ย่อยๆ หลายปฏิกิริยา ตัวอย่างอื่นที่พบในสัตว์หลายชนิด ก็คือ การชักใยของแมงมุม การแทะมะพร้าวของ กระรอก การฟักไข่ การเลี้ยงลูกอ่อนของไก่ การสร้างรังของนก เป็นต้น
  • 11. • พันธุกรรมและการเกิดพฤติกรรม • พฤติกรรมหลายๆ พฤติกรรม สัตว์สามารถแสดงออกได้โดยไม่ต้องมีประสบการณ์มาก่อน โดยเฉพาะพฤติกรรมที่เกี่ยวข้องกับการดารงชีวิตประจาวันและพฤติกรรมการผสมพันธุ์ เช่น การส่งเสียงร้องของนก การสร้างรัง การวางไข่ กกไข่ และเลี้ยงลูกอ่อน ทินเบอร์เกน ได้ศึกษา พฤติกรรมการกกไข่ของนกนางนวลหัวดา ใช้วัสดุหลายชนิด เช่น เปลือกหอย จุกขวด ถ่านไฟฉาย กระดาษทรงสี่เหลี่ยมจัตุรัส ตุ๊กตา ทหาร พบว่าแม่นกจะไม่กกวัสดุที่มีรูปทรง เป็นเหลี่ยม อาจเกิดจากการสัมผัสและการมองเห็นของระบบประสาท มีการพัฒนาจาก ระบบประสาทต่อเนื่องกันไปจนการควบคุมโดยจีนและถูกกาหนดไว้ในพันธุกรรม ดังนั้น พันธุกรรมจึงกาหนดพฤติกรรมนกนางนวลเมื่อไข่ฟักแล้ว พ่อแม่นกนาเปลือกไข่ไปทิ้งไกลรัง เพื่อไม่ให้ผู้ล่าเห็นเพราะเปลือกไข่ที่ฟักสีจะตัดกับสีของรัง ทาให้ผู้ล่าเห็นได้ง่าย อาจเป็น อันตราย ได้ช่วยให้ลูกนกมีโอกาสรอดอยู่มากขึ้น นกอีแจวที่บึงบอระเพ็ด จังหวัดนครสวรรค์ เป็นนกที่ผสมพันธุ์และทารังบนพืชน้า ตัวเมียทารังและเกี้ยวพาราสีตัวผู้ เมื่อผสมพันธุ์ แล้ว จะวางไข่ ตัวผู้กกไข่ตัวเมียจะไปสร้างรังใหม่และผสมพันธุ์กับตัวผู้ตัวอื่น ตัวผู้ที่กกไข่ เมื่อไข่ ฟักแล้วพ่อนกจะคาบเปลือกไข่ ไปทิ้งนอกรังเหมือนๆกัน พฤติกรรม การคาบเปลือกไข่ไปทิ้ง นอกรัง จึงทาให้ลูกนกมีโอกาสรอดมากขึ้น พฤติกรรมนี้จึงถูกคัดเลือกตามธรรมชาติ (natural selection) และสืบทอดกันทางพันธุกรรม จะมีจีนเป็นตัวกาหนด เป็นผลดีต่อ สิ่งมีชีวิตในรุ่นต่อๆไป
  • 12. • พฤติกรรมที่เป็นแบบแผนตามช่วงเวลา • พฤติกรรมที่เป็นแบบแผนตามช่วงเวลาจะมีนาฬิกาในร่างกาย เป็น ตัวกาหนดเวลา เรียกว่า ไบโอโลจิคัลคลอกส์ (biological clocks) ซึ่ง เป็นกาหนดกลไกทางสรีรวิทยา ซึ่งสัมพันธ์กับวงจรของสิ่งแวดล้อมให้ ดาเนินไปร่วมกัน พฤติกรรมที่เป็นแบบแผนตามช่วงเวลา ได้แก่ • 1) พฤติกรรมการหากินในเวลากลางคืน (nocturnal life)สัตว์หลาย ชนิดปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมในการหากินในเวลากลางคืนเช่น นกเค้าแมว กวาง ค้างคาว ไส้เดือน หอยทาก
  • 13. • 2)พฤติกรรมการจาศีล การจาศีลเป็นการปรับตัวทางด้านพฤติกรรม เนื่องจากสภาพแวดล้อม ไม่เหมาะสมโดยการพักตัวไม่กินอาหาร ไม่เคลื่อนที่ เพื่อสงวนพลังงานให้ใช้น้อยที่สุด เมแทบอลิ ซึมจะลดลงเป็นอย่างมาก อัตราการหายใจและการเต้นของหัวใจต่ามาก การจาศีลซึ่งเป็นผลมา จากอากาศหนาวเรียกว่า วินเทอร์สลีป (winter sleep) หรือไฮเบอร์เนชัน (hibernation) แต่ถ้า หากจาศีลเนื่องจากอากาศร้อนจะเรียกว่า ซัมเมอร์สลีป (summersleep) หรือ อีสทิเวชัน (estivation) พวกสัตว์เลือดเย็น เช่น กบจะจาศีลในฤดูร้อนหรือฤดูแล้ง ซึ่งอากาศร้อนและขาด แคลนน้า และเป็นแบบถาวร โดยที่ไม่ออกมาหากินเลย ในพวกสัตว์เลือดอุ่น เช่น กระรอก และ หมีจะจาศีลหรือพักตัวชั่วคราว โดยการนอนหลับครั้งละหลายๆ วันในฤดูหนาว และออกมาหา กินบ้างสลับกันไป • 3)พฤติกรรมการอพยพ (migration ) พฤติกรรมการอพยพพบในสัตว์หลายชนิด เมื่อ สภาพแวดล้อมไม่เหมาะสมเช่น อุณหภูมิหนาวเกินไปหรือขาดแคลนอาหาร กวางคาริบู (caribou) หรือกวางภูเขา หากินบนภูเขาในฤดูร้อนเมื่ออากาศเย็นลง กวางพวกนี้จะอพยพมา หากินทางด้านล่างซึ่งอุณหภูมิสูงกว่าและมีอาหารมากกว่า เมื่อถึงฤดูร้อนก็กลับขึ้นไปหากินบน ภูเขาอีก ปลาแซลมอน (salmon) จะอพยพจากทะเลแล้วไปผสมพันธุ์กันในแม่น้าเป็นถิ่นเดิม ของมัน เมื่อลูกอ่อนฟักออกจากไข่จะหากินในแม่น้าระยะหนึ่งแล้วจะอพยพลงสู่ทะเล ได้เวลา ผสมพันธุ์ก็จะอพยพขึ้นไปผสมพันธุ์ในแม่น้าอีกและเป็นอย่างนี้เสมอ นกปากห่างที่วัดไผ่ล้อม จังหวัดปทุมธานี ก็อพยพมาจากอินเดียและบังคลาเทศ ในเดือนพฤศจิกายน มาผสมพันธุ์กันที่นี่ แล้วจึงอพยพกลับไปหากินในอินเดียและ บังคลาเทศอีก
  • 14. • สัตว์แต่ละชนิด จะมีเส้นทางในการอพยพแน่นอนคงที่ เชื่อว่าการรักษาเส้นทางใน การอพยพของนก อาศัยดวงอาทิตย์ เป็นเครื่องนาทางโดยการบินทามุมกับดวง อาทิตย์เป็นมุมที่คงที่เสมอ ทาให้ทิศการบินแน่นอน พวกปลาแซลมอนจะมี สนามไฟฟ้ าอ่อนๆอยู่รอบตัว ช่วยในการจับทิศทางของสนามแม่เหล็กโลกทาให้มัน อพยพได้ถูกทิศทางแน่นอนทั้งๆที่สัตว์พวกนี้ไม่เคยอพยพมาก่อนเลย • 2. พฤติกรรมที่เกิดจากการเรียนรู้ (learned behaviorหรือAcquired behavior) เป็นพฤติกรรมที่ไม่ได้มีมาแต่กาเนิด เกิดจากการเรียนรู้ต้องอาศัยประสบการณ์มา ก่อนจึงจะเกิดพฤติกรรมได้ เช่น การทดลองในคางคกโดยนาแมลง 3 ชนิด คือ แมลงปอ แมลงรอบเบอร์ ซึ่งมีลักษณะคล้ายผึ้งและผึ้งมาแขวนไว้ คางคกจับกิน พบว่าคางคกสามารถจับกินแมลงปอและแมลงรอบเบอร์ได้อย่างสะดวกปลอดภัย แต่ เมื่อจับผึ้งกินจะถูกผึ้งต่อย เมื่อนาแมลงรอบเบอร์และผึ้งมาแขวนให้คางคกจับกิน คางคกจะไม่จับกินทั้งแมลงรอบเบอร์และผึ้ง เมื่อนาแมลงปอมาแขวนไว้ คางคกจับ กินได้สะดวก เห็นได้ว่าคางคกสามารถจับแมลงเข้าปากได้มีแบบแผนแน่นอน จึงเป็น พฤติกรรมที่มีมาแต่กาเนิด แต่การที่คางคกกินแมลงปอแต่ไม่กินผึ้งหรือแมลงที่รูปร่าง เหมือนผึ้ง เพราะคางคกได้ถูกผึ้งต่อยเมื่อพยายามกิน คางคกรู้จักเลือกแมลงที่จับกิน ได้หรือไม่ได้นั้นเป็นพฤติกรรมที่เกิดจากการเรียนรู้คือไม่กินผึ้งและแมลงรอบเบอร์ ซึ่ง มีลักษณะคล้ายผึ้ง เพราะกลัวถูกผึ้งต่อยและสามารถเลือกกินแมลงปอ ซึ่งกินได้และ เคยกินมาแล้วได้อย่างถูกต้อง
  • 15. • ลิงชนิดหนึ่งของญี่ปุ่น ซึ่งมีลักษณะคล้ายลิงแสมหรือลิงวอกบ้านเรามีชื่อวิทยาศาสตร์ว่าmacacafuscataอาศัยอยู่ บนเกาะกาชิมา ประเทศญี่ปุ่น มีความสามารถในการนามันเทศที่เปื้อน ดินทราย ไปล้างน้าทะเลและยังทาให้ รสชาติของมันเทศดีขึ้นด้วย เพราะน้าทะเลมีรสเค็มจึงทาให้ ลิงชนิดนี้รู้จักล้างมันเทศและเอาอย่างกันซึ่งเป็น พฤติกรรมการเรียนรู้ที่เกิดตามมา • 2.1การเรียนรู้แบบฝังใจ ( imprinting) การฝังใจ( imprinting) เป็นพฤติกรรมที่เกิดกับสิ่งมีชีวิตแรกเกิดและใน ช่วงเวลาที่จากัดเท่านั้น ดร.คอนราด ลอเรนซ์ (Dr.KonradLorenz)ได้ทดลองและศึกษาพฤติกรรมของลูกห่าน ซึ่งฟักตัวออกจากไข่สิ่งแรกที่ลูกห่านพบคือตัวของ ดร.ลอเรนซ์ ลูกห่านจะเดินตามดร.ลอเรนซ์ แต่ไม่เดินตามแม่ ของมัน หลังจากที่ทดลองอยู่หลายครั้ง จึงสรุปได้ว่า ลูกห่านจะเดินตามวัตถุซึ่งเคลื่อนที่ได้และมันได้เห็นเป็นครั้ง แรกเท่านั้น การเกิดพฤติกรรมนี้จะอยู่ในช่วงเวลาที่จากัดเท่านั้น เช่น สัตว์จาพวกนก มีช่วงเวลาที่ทาให้เกิดการฝัง ใจประมาณ 36 ชั่วโมง หลังจากที่ฟักออกจากไข่เท่านั้น ระยะนี้เรียกว่า ระยะวิกฤต ( criticalperiod)ถ้าหากเลย 36ชั่วโมงไปแล้ว สัตว์จาพวกนกจะไม่เกิดความฝังใจอีกถึงแม้ว่าจะเห็นวัตถุที่เคลื่อนไหวได้ก็ตาม พฤติกรรมการฝัง ใจ มีประโยชน์ต่อสัตว์แรกเกิดมาก เนื่องจากสิ่งที่มันพบครั้งแรกคือ แม่ และพี่น้องของมันนั่นเอง ดังนั้นจึงเกิดความ ผูกพันอย่างแน่นแฟ้ นกับแม่ และเดินตามแม่ทาให้ลูกห่านหรือ ลูกไก่ได้รับอาหารจากแม่ ได้รับการปกป้ องจากแม่ ได้การเรียนรู้ในด้านอื่นๆ จากแม่ ได้รู้จักพี่น้องและเพื่อนฝูง ซึ่งเป็นสัตว์ชนิดเดียวกัน ทาให้เกิดการผสมพันธุ์ และ ดารงพันธุ์อยู่ได้โดยที่ไม่สูญพันธุ์ไป ถ้าหากสัตว์จาพวกนกไม่มีความฝังใจ จะเป็นอันตรายแก่ลูกอ่อนมากเพราะลูก อ่อนยังพึ่งตัวเองไม่ได้ต้องอาศัยแม่ช่วยเหลืออยู่ตลอดเวลา การฝังใจช่วยให้มันดารงพันธุ์อยู่ได้ตลอดไป การฝังใจ เป็นผลจากการทางานของพันธุกรรม โดยเป็นตัวกาหนดให้เกิดการฝังใจ และการเรียนรู้ เป็นตัวที่ทาให้เกิดความ ผูกพัน อย่างแน่นแฟ้ นกับสิ่งแรกที่มันพบเห็น ซึ่งก็คือแม่และพี่น้อง ของมันนั่นเอง จึงสรุปพฤติกรรมแบบการฝังใจ และมีลักษณะพิเศษซึ่งแตกต่างจากแบบอื่นได้ดังนี้ • 1)เป็นพฤติกรรมที่เกิดขึ้นในระยะเวลาสั้นๆ เมื่อผ่านช่วงเวลานี้ไปแล้วสัตว์จะไม่แสดงพฤติกรรมการฝังใจอีก • 2)เป็นพฤติกรรมที่เกิดขึ้นอย่างถาวร เมื่อสัตว์เกิดการเรียนรู้และฝังใจต่อสิ่งใดแล้ว สัตว์จะจดจาสิ่งนั้นและแสดง พฤติกรรมตอบสนองต่อสิ่งนั้นตลอดไป • 3)พฤติกรรมการฝังใจจะเกิดขึ้นกับลูกสัตว์แรกเกิดและลูกสัตว์แรกเกิดนี้มักจะแข็งแรงพอที่จะเดินตามแม่ของมัน ได้ เช่น ลูกไก่ ลูกเป็ด ลูกห่าน ลูกแพะ ลูกวัว เป็นต้น • 4)เป็นพฤติกรรมที่สาคัญเป็นอย่างยิ่ง เนื่องจากทาให้ลูกและแม่ได้รู้จักกันได้ดูแลคุ้มครองลูกอ่อน และยังมีผล ต่อเนื่องไปถึงพฤติกรรมต่างๆ ที่แสดงออกเมื่อสัตว์มีอายุมากขึ้น ซึ่งเป็นพฤติกรรมทางสังคมของสัตว์ชนิดเดียวกัน
  • 16. • 2.2การเรียนรู้แบบแฮบบิชูเอชัน แฮบบิชูเอชัน ( habituation) คือความเคยชิน เป็นพฤติกรรมตอบสนองที่ ตัวกระตุ้นหรือสิ่งเร้าไม่มีความหมายต่อการดารงชีวิต ทั้งในด้านบวกและในด้านลบและพฤติกรรมที่ตอบสนองจะ ค่อยๆ ลดลงทั้งๆ ที่ตัวกระตุ้นยังอยู่หรือเรียกอีกอย่างว่า การเพิกเฉย หรือละเลยต่อสิ่งเร้าที่ไม่มีความหมายต่อการ ดารงชีวิต เช่น สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้านมจะตอบสนองต่อเสียงดังด้วยการหันหัวไปทางที่เกิดเสียงเสมอ หากเสียงนั้น ดังอยู่เป็นประจาและไม่มีความหมายอย่างใดต่อสัตว์นั้น จะทาให้พฤติกรรมในการหันหัวไปทางเสียงที่เกิดขึ้นลดลง เรื่อยๆ เมื่อนานเข้าๆ ก็จะไม่หันหัวไปทางเสียงนั้นเลย นอกจากนี้พฤติกรรมที่ยังพบได้ ก็คือนกกระจอกที่หากินอยู่ ตามบ้าน ตอนแรกๆ เมื่อเห็นคนเดินผ่านเข้ามา แม้จะอยู่ห่างมันก็จะบินหนีไปเสมอ ต่อมาเมื่อคนอยู่ห่างมันจะไม่ บินหนี จะบินหนีเฉพาะเมื่อเวลาเข้าไปใกล้ตัวมันเท่านั้น ลูกนกนางนวลตอนแรกๆ จะกลัวทุกสิ่งที่อยู่เหนือตัวขึ้นไป ทั้งเหยี่ยว นกขนาดเล็กอื่นๆ หรือแม้แต่ใบไม้ร่วง โดยการก้มตัว ลงหมอบ ต่อมาก็สามารถแยกชนิดของวัตถุได้และ จะก้มตัวหมอบเมื่อเป็นเหยี่ยวเท่านั้น • พฤติกรรมการเรียนรู้แบบความเคยชินนี้ต้องอาศัยความจาและประสบการณ์เป็นพื้นฐาน คือ ต้องสามารถจาได้ว่า สิ่งกระตุ้นนั้นเป็นอะไรและไม่มีผลต่อตนเองจึงไม่ตอบสนอง สิ่งมีชีวิตที่ มีพฤติกรรมแบบนี้ได้ต้องมีสมองส่วนเซ รีบรัมเจริญดี เพราะสมองส่วนนี้มีหน้าที่ในการจาและ คิดสิ่งต่างๆด้วย • 2.3การเรียนรู้แบบมีเงื่อนไข (Conditioning)หรือการเรียนรู้แบบมีเงื่อนไข • (Conditionedreflex หรือAssociativelearning) เป็นการเรียนรู้ แบบที่มีต่อสิ่งเร้าสองสิ่ง สิ่งเร้า สิ่งหนึ่งเป็นสิ่ง เร้าแท้ และสิ่งเร้าอีกสิ่งหนึ่งเป็นสิ่งเร้าเทียมโดยสิ่งเร้าเทียม จะทาหน้าที่แทนสิ่งเร้าแท้ได้ โดยที่มีผลตอบสนอง เช่นเดียวกับสิ่งเร้าแท้ • อีวาน พาฟลอฟ(Ivan Pavlov) ได้ทดลองในสุนัข โดยให้อาหารสุนัข เมื่อสุนัขได้อาหารจะเกิดพฤติกรรมแบบรีเฟล็ กซ์อย่างง่ายขึ้น คือ น้าลายไหลออกมาขณะที่กินอาหาร ต่อมา พาฟลอฟ ให้อาหารพร้อมกับสั่นกระดิ่งไปด้วย หลายๆ ครั้ง สุนัขจะมีน้าลายไหลออกมาด้วยเสมอ เพียงแต่ พาฟลอฟสั่นกระดิ่งเท่านั้น สุนัขก็เกิดอาการน้าลาย ไหลแล้วทั้งๆ ที่ตามปกติ เสียงกระดิ่ง ไม่สามารถทาให้สุนัขน้าลายไหลได้ สรุปได้ดังนี้
  • 17. • 1. สุนัข + เสียงกระดิ่ง (สิ่งเร้าเทียม) ไม่มีน้าลายไหล • 2. สุนัข + อาหาร (สิ่งเร้าแท้) น้าลายไหล • 3. สุนัข + อาหาร + เสียงกระดิ่ง (สิ่งเร้าแท้) น้าลายไหล • ทาแบบข้อ 3 หลายๆ ครั้งติดต่อกัน • 4. สุนัข + เสียงกระดิ่ง (สิ่งเร้าเทียม) น้าลายไหล • เห็นได้ว่าในตอนแรกเสียงกระดิ่งแต่เพียงอย่างเดียว สุนัขไม่มีพฤติกรรมน้าลายไหล สุนัขจะน้าลายไหล เฉพาะเมื่อได้กินอาหารเท่านั้น ต่อมาเมื่อให้อาหารพร้อมกับสั่นกระดิ่งไปด้วยหลายๆ ครั้งติดต่อกัน ใน ระยะเพียงแต่สั่นกระดิ่งเท่านั้น สุนัขก็เกิดพฤติกรรมน้าลายไหลแล้ว แสดงว่าสิ่งเร้าเทียม คือ เสียงกระดิ่ง ไปมีความสัมพันธ์กับสิ่งเร้าแท้ และทาให้เกิดรีเฟล็กซ์ น้าลายไหลได้ เสียงกระดิ่งจะกระตุ้นหน่วยรับ ความรู้สึกที่หู แล้วส่งกระแสประสาทไปยังศูนย์การได้ยินในสมองและจดจาเสียงกระดิ่งไว้พร้อมๆ กับ ได้รับอาหาร อาหารจะกระตุ้นศูนย์รับรส ภายในไฮโพทาลามัส ให้เกิดรีเฟล็กซ์ น้าลายไหล เมื่อเกิด เหตุการณ์อย่างนี้หลายๆ ครั้ง เมื่อได้ยินเสียงกระดิ่ง จะเกิดการเชื่อมโยงกระแสประสาท จากหูมายังศูนย์ การได้ยินในสมองและผ่านประสาทประสานงานไปยังสมองส่วนไฮโพทาลามัส ทาให้เกิดรีเฟล็กซ์น้าลาย ไหลได้ พฤติกรรมแบบมีเงื่อนไขนี้จะเปลี่ยนเป็นพฤติกรรมแบบความเคยชินได้ ถ้าหากให้สิ่งเร้าเทียม บ่อยๆ โดยที่ไม่มีสิ่งเร้าแท้ เช่น การที่สุนัขน้าลายไหลเมื่อได้ยินเสียงกระดิ่ง โดยที่ไม่ให้อาหาร แต่เมื่อเรา สั่นกระดิ่งและไม่ให้อาหารติดต่อกันหลายๆ ครั้ง การน้าลายไหลของสุนัขจะลดน้อยลงในที่สุดจะไม่มี พฤติกรรมน้าลายไหลเมื่อสั่นกระดิ่งอีกเลย เนื่องจากเสียงกระดิ่งไม่ได้มีผลดีผลเสียต่อสุนัขอีกแล้ว การ ฝึกสัตว์ในการแสดงละคร ก็อาศัยพฤติกรรมแบบมีเงื่อนไข เข้าไปช่วย การเลี้ยงไก่ โดยให้อาหารไปพร้อม กับทาเสียง เรียก กุ๊ก กุ๊ก ก็เช่นเดียวกัน
  • 18. • 1. ไก่ + เสียง กุ๊ก กุ๊ก (สิ่งเร้าเทียม) ไก่ไม่มา • 2. ไก่ + อาหาร (สิ่งเร้าแท้) ไก่วิ่งมา • 3. ไก่ + อาหาร + เสียง กุ๊ก กุ๊ก ไก่วิ่งมา (ทาซ้าหลายๆ ครั้ง) • 4. ไก่ + เสียง กุ๊ก กุ๊ก ไก่วิ่งมา • เมื่อทาเสียง กุ๊ก กุ๊ก แล้วไม่ให้อาหารหลายๆ ครั้ง ต่อมาไก่จะไม่ตอบสนองต่อการเรียกนี้อีก คือ เกิดความเคยชิน และเพิกเฉยเสีย เพราะเสียง กุ๊ก กุ๊ก ไม่ได้มีผลดีผลเสียต่อมัน • นักพฤติกรรมศาสตร์ได้ศึกษาพฤติกรรมการมีเงื่อนไขในพลานาเรีย โดยการทดลองดังนี้ • 1. เมื่อฉายไฟไปยัง พลานาเรีย พลานาเรีย ยืดตัวยาวออก • 2. เมื่อให้กระแสไฟฟ้ าอ่อนๆ แก่ พลานาเรีย พลานาเรีย หดตัวสั้นเข้า • 3. เมื่อให้แสงไฟแล้วตามด้วยการกระตุ้นด้วยกระแสไฟฟ้ าอ่อนๆ ซ้ากัน 100 ครั้ง พบว่า พลานาเรีย แสดงพฤติกรรมยืดตัวและหดตัวสลับกัน • 4. ให้แสงสว่างแต่ไม่ตามด้วยการกระตุ้นด้วยกระแสไฟฟ้ าอ่อนๆ • พบว่า เมื่อพลานาเรียยืดตัวแล้วตามด้วยการหดตัว (ซึ่งเป็นพฤติกรรมแบบมีเงื่อนไขโดย ไม่ มีตัวกระตุ้นคือ กระแสไฟฟ้ าอ่อนๆ ) • เห็นได้ว่าพลานาเรียก็มีพฤติกรรมแบบมีเงื่อนไข แต่ต้องการรับการฝึกติดต่อกันหลายๆ ครั้ง เพราะระบบประสาทของพลานาเรียยังไม่เจริญมากนักเป็นเพียงปมประสาทสมอง ที่อยู่ส่วน หัวและมีแขนงประสาทแยกไปเลี้ยงอวัยวะต่างๆ เท่านั้น
  • 19. • 2.4การเรียนรู้แบบลองผิดลองถูก (trailanderrorlearning) การลองผิดลองถูก (trailanderror)เป็นพฤติกรรม ที่สัตว์ต้องเผชิญต่อสิ่งเร้าที่ยังไม่ทราบแน่ว่าจะเป็นผลดีหรือผลเสียต่อตัวมัน แต่หากตอบสนองแล้วเป็นผลดีต่อมัน มันจะตอบสนองต่อสิ่งนั้น ถ้าหากตอบสนองแล้วเป็นผลเสียต่อมัน มันก็จะไม่ตอบสนองต่อสิ่งนั้นสัตว์ต่างๆ จะใช้ เวลาในการเรียนรู้แบบนี้แตกต่างกัน เช่น มด จะตอบสนองได้เร็วกว่าไส้เดือน หนูจะตอบสนองได้เร็วกว่ามด เพราะ จาสิ่งต่างๆ ได้ดีกว่า • • การศึกษาพฤติกรรมของไส้เดือน โดยการใส่ไส้เดือนในกล่องพลาสติกรูปตัวTโดยด้านหนึ่งเป็นส่วนที่มืดและชื้น อีกด้านหนึ่งโปร่งและมีกระแสไฟฟ้ าอ่อนๆ ให้ไส้เดือนเคลื่อนตัว ไปในตอนแรกๆ ไส้เดือนจะเคลื่อนที่ไปทางด้านมืด และชื้นกับด้านโปร่งและมีกระแสไฟฟ้ าจานวนครั้งเท่าๆ กัน แต่เมื่อฝึกไปนานๆ ไส้เดือนจะเลือกทางถูก และ เคลื่อนที่ไปทางด้านมืดและชื้นเป็นส่วนใหญ่ เคลื่อนที่ไปทางด้านโปร่งและมีกระแสไฟฟ้ าน้อยลงมาก • • พฤติกรรมแบบนี้ที่พบในคน เช่น การรับประทานอาหารในร้านอาหารต่างๆ ในตอนแรกไม่ทราบว่าอาหารร้านใด อร่อยและถูกใจ เราก็ลองรับประทานร้านนี้บ้าง ร้านโน้นบ้าง ต่อมาเราตัดร้านอาหารที่ไม่อร่อยและไม่ถูกใจออก ซื้อ เฉพาะร้านอาหารที่ทาอร่อยและถูกปากถูกใจเราเท่านั้น • • 2.5การเรียนรู้แบบใช้เหตุผล (reasoning)การใช้เหตุผล (reaning หรือinsight learning)เป็นพฤติกรรมที่พบใน สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมเท่านั้นและจะเกิดมาในคนเรา เนื่องจากคนเรามีสมองและระบบประสาทที่เจริญมากกว่าสัตว์ อื่น จึงเกิดการเรียนรู้แบบนี้ได้ดีกว่าสัตว์อื่น การใช้เหตุผลเป็นการใช้ความสามารถของสัตว์ที่จะตอบโต้ต่อสิ่งเร้า หรือสิ่งที่มากระตุ้นอย่างถูกต้องในครั้งแรก โดยที่ไม่ต้องใช้การลองผิดลองถูกแม้ว่าเหตุการณ์ใหม่นี้ต่างไปจาก ประสบการณ์เก่าเท่าที่เคยพบมา และสามารถนาผลการเรียนรู้เก่าๆ แบบอื่นๆ มาช่วยในการแก้ไขปัญหาด้วย
  • 20. • การทดลองโดยการจับลิงชิมแปนซี ใส่ในห้องแล้วแขวนกล้วยไว้ในระดับที่สูงกว่าที่ลิง จะเอื้อมถึง ที่พื้นจะ มีกล่องหลายใบวางอยู่ ตอนแรกลิงจะพยายามหยิบกล้วยให้ได้แต่หยิบไม่ถึงลิงจึงไปยกกล่องมาวางแล้ว ลองหยิบอีกก็ยังไม่ถึง ลิงก็ไปยกกล่องมาต่ออีก จนสามารถหยิบกล้วยที่แขวนอยู่ได้ การทดลองอันนี้ แสดงว่า ลิงชิมแปนซีมีพฤติกรรมแบบการใช้เหตุผล เนื่องจากลิงสามารถใช้ความสัมพันธ์ของกล่องกับ ความสูงของกล้วย และสามารถ ดึงความสัมพันธ์อันนี้มาใช้ประโยชน์ ทาให้หยิบกล้วยมากินได้ ยิ่งถ้า พวกลิงชิมแฟนชีเคยมีประสบการณ์อย่างนี้มาแล้วจะยิ่งเป็นการง่ายขึ้นเข้าไปอีก เนื่องจากลิงมีสมองที่ เจริญดีและจดจาได้ดีด้วย • ตารางเปรียบเทียบพฤติกรรมลองผิดลองถูกกับการใช้เหตุผล • สรุปลักษณะสาคัญของพฤติกรรมที่เกิดจากการเรียนรู้ ได้ดังนี้ • 1. ต้องมีประสบการณ์เข้ามาเกี่ยวข้อง ซึ่งประสบการณ์นี้จะทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมได้อย่าง ถาวร • 2. พฤติกรรมที่แสดงออกจะซับซ้อนมากกว่าพฤติกรรมที่มีมาแต่กาเนิด • 3. พฤติกรรมที่เกิดขึ้นจะเกิดขึ้นกับสัตว์แต่ละตัวที่ได้รับประสบการณ์การเรียนรู้และไม่มีการถ่ายทอด พันธุกรรมไปยังตัวอื่น • พฤติกรรมแต่ละแบบของสิ่งมีชีวิตที่แสดงออกมา จะมีความสัมพันธ์กับระบบประสาท ของสิ่งมีชีวิตชนิด นั้น สิ่งมีชีวิตระดับแรกๆ เช่น พวกโพรทีสต์ มีพฤติกรรมแบบไคนีซิส และแทกซิสเท่านั้น ส่วนในสัตว์ชั้นสูง เช่น สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม จะพฤติกรรมที่ซับซ้อนกว่า มีทั้งพฤติกรรมประเภทรีเฟล็กซ์ รีเฟล็กซ์ต่อเนื่อง และพฤติกรรมการเรียนรู้ ซึ่งเป็นพฤติกรรมชั้นสูง ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรม และระบบประสาท ดังนี้