SlideShare a Scribd company logo
1 of 11
โครงการการพัฒนาศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชนอย่างยั่งยืน ปี
                                                                           2553




                        การถ่ า ยภาพ
     วั ต ถุ ป ระสงค์ ก ารเรี ย น การสอน
     1. ศึกษาพื้นฐานและเทคนิคการถ่ายภาพเบื้องต้น
     2. ศึกษาการทำานามบัตรแบบง่ายๆ
     3. เข้าใจหลักการออกแบบเบื้องต้น



     พื ้ น ฐานการถ่ า ยภาพด้ ว ยกล้ อ งดิ จ ิ ต อล (Basic
     Photography)

      ปัจจุบันโทรศัพท์มือถือและกล้องถ่ายภาพดิจิตอลหาซื้อได้ง่าย มี
การพัฒนาเพื่อประโยชน์ใน
การถ่ายภาพ ทำาให้งานถ่ายภาพด้วยกล้องจากมือถือหรือกล้องดิจิตอล
ด้วย                                                      เทคนิค
ง่ายๆ                                                     มี
                                                           คุณภาพ
เพียง                                                      พอที่
                                                           สำาหรับ
บุคคล                                                      ทั่วไปที่
                                                           สามารถ
นำามา                                          ใช้ในชีวิตประจำาวัน
ได้ตลอดเวลา




กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
โครงการการพัฒนาศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชนอย่างยั่งยืน ปี
                                                                               2553




      เทคนิ ค การถ่ า ยภาพ
       1. ทำ า ให้ ก ล้ อ งนิ ่ ง มั ่ น คงไม่ ส ั ่ น
          การใช้ขาตั้งกล้องจะช่วยแก้ปัญหาการถ่ายภาพแล้วไม่ชัด แต่
กรณีที่ใช้มือถือ หรือกล้องดิจิตอลแบบพกพา ในสถานการณ์ที่ไม่มีขา
ตั้งกล้อง มีเทคนิคง่ายๆ ที่สามารถนำามาใช้ เพื่อให้ภาพถ่ายไม่สั่นไหว
โดยการจัดพื้นที่เรียบๆ เพื่อวางกล้อง ไม่ว่าจะเป็นบนโต๊ะ ก้อนหิน บน
กองหนังสือ ที่มฐานมั่นคง มิฉะนั้นก็ต้องใช้ถือกล้องอย่างระมัดระวัง
                 ี
ด้วยวิธี 4 ขั้นตอนง่ายๆ ตามนี้
          1) ถือกล้องด้วย 2 มือทั้งสองข้าง
          2) ยกข้อศอกอยู่ในระดับหน้าอก และให้แขนแนบชิดกับลำาตัว
          3) ปล่อยตัวตามสบายไม่เกร็ง
          4) หายใจลึกๆ แล้วให้กลั้นหายในระหว่างที่กำาลังจะกดชัตเตอร์ เพื่อ
             ไม่ให้มือสั่นในระหว่างการกด
       2. การถ่ า ยภาพแนวนอน และแนวตั ้ ง
        การเลือกจัดวางภาพถ่ายทั้งแนวนอนและแนวตั้ง ขึ้นอยู่กับวัตถุ
ที่ต้องการถ่ายว่ามีลักษณะ
ทรงสูง ลักษณะเป็นต้นไม้ เป็นอาคาร หรือทรงกว้าง อย่างเช่น ภาพวิว
ทะเล ภาพภูเขา เพื่อจับภาพในแนวที่ต้องจัดวางให้วัตถุอยู่ในกรอบภาพ
ได้อย่างเหมาะสมสวยงาม
      3.การจั บ วางเส้ น ขอบฟ้ า
      หากการถ่ายภาพวิวที่เป็นแนวกว้าง จะมองเห็นเส้นขอบฟ้าเป็น
เส้นแบ่ง ควรแบ่งพื้นที่ท้องฟ้าที่อยู่ระดับสูง กว่าวิว และพื้นดินที่อยู่ระดับ
ตำ่าตามลำาดับ ให้มีสัดส่วนที่เหมาะสมจัดแบ่งองค์ประกอบภาพให้มีมิติไม่
แบนราบเกินไป




กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร                  หน้า   2
โครงการการพัฒนาศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชนอย่างยั่งยืน ปี
                                                                             2553




                       ตัวอย่างภาพวิว ทัศนียภาพมุมกว้าง

     4.   การ                                         จั ด วางองค์
                                                      ประกอบของ
          ภาพ                                         ด้ ว ยกฎสามส่ ว น
                                                      (Rule of Third)

      โดย                                         ทั่วไปมักจะวางองค์
ประกอบของ                                         วัตถุให้เป้าหมาย
อยู่ตรงกลาง                                       ภาพ ผลที่ได้จะ
ทำาให้ภาพ                                         แข็งทื่อ การแบ่ง
ภาพด้วยกฎสามส่วน (Rule of Third) จะช่วยให้มุมมองภาพดูนุ่มนวล
กว่าอยู่ตรงกลาง
ด้วยการวางสิ่งที่ต้องการเน้นให้อยู่บริเวณจุดตัดของเส้นแบ่งที่สมมุติขึ้น
เป็นจุดตัดภายในกรอบให้ได้สัดส่วน ตามขั้นตอนง่ายๆ ดังนี้

     1)   ลากเส้นสมมุติแบ่งพื้นที่ออกเป็นสามส่วนเท่าๆ กัน
          จะได้ช่องสี่เหลี่ยมเท่าๆ กัน 9 ช่อง
     2)   ในขณะเดียวกันก็จะได้จุดตัดของเส้นแบ่ง สี่จดตัด
                                                     ุ
          เพื่อใช้เป็นจุดวาง “จุดเด่น” ของภาพ
     3)   วางภาพให้มี                                   สัดส่วนที่
          สวยงาม ในพืนที่้                              2 ใน 3 ส่วน
          ของพืนที่
                ้



กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร                หน้า   3


                           ภาพกฎสามส่ ว น (Rule of
โครงการการพัฒนาศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชนอย่างยั่งยืน ปี
                                                                            2553




      เมื่อมีการแบ่งการวางภาพไว้ตรงกึ่งกลางถือได้ว่าเป็นภาพที่สวย
แต่ถ้าเปลี่ยนตำาแหน่งให้มาอยู่ทางด้านซ้ายหรือทางด้านขวา ก็จะ
ทำาให้ภาพหรือสิ่งที่ต้องการเน้นดูมีสีสันแล้วมีชีวิตชีวามากยิ่งขึ้น โดย
สามารถใช้หลักการกฎสามส่วน (Rule of Third) ที่ได้นำาเสนอในเบื้อง
ต้นมาประยุกต์ประกอบกันได้




      ภาพตัวอย่างกฎสามส่วนของภาพลูกบอล และ ภาพจุดตัดที่ตา
     5. แสงสว่ า งและช่ ว งเวลาในการถ่ า ยภาพ
                              และหัวเข่า
      แสงสว่างทั้งจากธรรมชาติและแสงจากอุปกรณ์ไฟฟ้ามีผลกับ
อารมณ์ของภาพ แสงมีความเกี่ยวข้องกับการสะท้อนสีของวัตถุออกมา
เช่น วัตถุสีดำา ไม่มีการสะท้อนแสง สี อะไรออกมา ส่วนวัตถุสีขาวสะท้อน
ทุกสีออกมา ในที่นี้การเลือกถ่ายภาพตามแสงยังต้องคำานึงถึงช่วงเวลา
ถ้าเป็นแสงอาทิตย์ช่วงเช้า
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร               หน้า   4
โครงการการพัฒนาศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชนอย่างยั่งยืน ปี
                                                                           2553




  ภาพแรกตัวอย่างการถ่ายภาพตามแสง                            ภาพที่
 สองการถ่ายภาพย้อนแสง
     จะมีอารมณ์ของความเป็นธรรมชาติได้สีที่สะท้อนแสงสวยงาม ช่วง
เวลาเที่ยงถึงบ่ายมักทำาให้เกิดเงา ตกกระทบที่ตัววัตถุ และเป็นแสงจ้า
มาก ไม่เป็นธรรมชาติ




        ตัวอย่างภาพย้อนแสง ในช่วงเวลาก่อนพระอาทิตย์ตก

      ส่วนการถ่ายภาพย้อนแสง ไม่ถือว่าเป็นข้อผิดพลาด เพราะการ
ถ่ายภาพย้อนแสงที่ตั้งใจจะแสดงเส้นขอบรูปร่างของวัตถุที่ไม่เน้นราย
ละเอียด ควรเป็นเส้นขอบที่ชัดเจนเพื่อทำาให้เกิดการจินตนาการรูปร่าง
และรายละเอียดของวัตถุตามประสบการณ์ หรือกระตุ้นให้เกิดความ
สนใจค้นหาติดตามเพิ่มเติม




กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร              หน้า   5
โครงการการพัฒนาศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชนอย่างยั่งยืน ปี
                                                                               2553




     6.   การถ่ า ยภาพระยะใกล้ ไกล

      การวางโฟกัสที่ระยะตกกระทบวัตถุที่ต้องการให้ภาพคมชัด และ
เบลอในส่วนหน้า หรือส่วนหลัง
จะสามารถเปลี่ยนอารมณ์ และสื่อให้เห็นความสวยงาม โดยเฉพาะเพื่อ
เน้นจุดสนใจ โดยสามารถเลือกที่โหมดถ่ายภาพ Marco ที่มีอยู่ในกล้อง
ดิจิตอล Cyber shot ทุกรุ่น เรียกเทคนิคนี้ว่าเป็นการถ่ายภาพชัดตื้น (
ภาพด้านหน้าชัด ด้านหลังไม่ชัด) หรือภาพชัดลึก (ภาพด้านหน้าไม่ชัด
ด้านหลังชัด)




              ภาพแรก ตัวอย่างภาพชัดตื้น            ภาพที่




     7.   การถ่ า ยภาพที ่ ม ี เ งาสะท้ อ น




กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสืถุสะท้อนบนผิวนำ้า า
              ตัวอย่างภาพเงาวัต ่อสาร         หน้            6
โครงการการพัฒนาศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชนอย่างยั่งยืน ปี
                                                                             2553




      เมื่อต้องการเล่นกับเงาวัตถุสะท้อนของกระจก หรือผิวนำ้า ถือ
เป็นการแสดงอารมณ์ของภาพ
อีกลักษณะหนึ่งในการสร้างมิติให้ภาพไม่เรียบแบน แตกต่างไปจากการ
ถ่ายภาพแบบปกติ




             ตัวอย่างภาพสะท้อนบนวัตถุผิวมัน และกระจกเง

     8.   เส้ น นำ า สายตา (Line)




      การใช้เส้นเป็นองค์ประกอบสำาคัญของโครงสร้างนำาสายตา ทำาให้
ลั ก ษณะภาพแสดงออกอย่ า งมี ค วามหมายสร้ า งให้ เ กิ ด มิ ติ ค วามลึ ก ใน

กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร                หน้า   7
โครงการการพัฒนาศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชนอย่างยั่งยืน ปี
                                                                            2553




ภาพ เกิดอารมณ์และความรู้สึกที่สามารถนำาความสนใจไปสู่จุดเด่นของ
ภาพ และเชื่อมโยงเนื้อหา



     9.   ระยะการใช้ แ ฟลช

       การถ่ายภาพที่อยู่ระยะไกลเกินกว่าระยะของแฟลช จะทำาให้ภาพ
วัตถุที่ถ่ายได้เป็นภาพมืดไม่สวยงาม หรือได้ภาพเฉพาะฉากหลัง ดังนั้น
ควรจะรู้ว่าระยะแฟลชของกล้องว่ามีระยะเท่าไร แต่ถ้าไม่รู้ก็ให้ลองเล่น
กับแฟลชดูก่อน โดยปกติแล้วระยะของแฟลชจะอยู่ประมาณ 1-3 เมตร
ดังนั้นจึงควรอยู่ในระยะที่ปลอดภัยที่สุด ก็คือ ไม่เกิน 1 เมตร เว้นแต่
ตั้งใจให้ภาพถ่ายได้ภาพลอยอยู่ในความมืด




                          ตัวอย่างภาพถ่ายในระยะแฟลช
                          บางคนคิดว่าแฟลชจะใช้เมื่อจำาเป็นเฉพาะ
เวลาถ่ายภาพกลางคืนเท่านั้น แต่แท้จริงแล้ว
สถานการณ์ที่มีแสงสว่างเพียงพอ แต่ใบหน้าบุคคลมีเงาตกกระทบ มี
เงามืดมาบังบางส่วนหรือทั้งหมด
ก็สามารถใช้แฟลชช่วยลดเงาทำาให้ส่วนใบหน้าหรือวัตถุได้แสงสว่าง
เพิ่มขึ้น โดยเฉพาะกรณีการถ่ายภาพย้อนแสงก็ใช้ได้ดี รวมไปถึงการ
ใช้การสะท้อนแสงในทิศทางต่างๆ เพื่อสร้างแสงเงาให้เกิดมิติ




กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร               หน้า   8
โครงการการพัฒนาศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชนอย่างยั่งยืน ปี
                                                                                     2553




                                                   ตัวอย่างภาพที่ช่วยสะท้อน
แสงด้านข้าง

     การจั ด เก็ บ ข้ อ มู ล ภาพ
     ข้อมูลที่เก็บรวบรวมภาพที่บันทึกเก็บไว้ เมื่อมีการถ่ายภาพแต่ละ
ภาพขึ้นอยู่กับใช้ประเภทเครื่องมือของกล้องถ่ายภาพว่าเป็นแบบใด
ก่อนที่จะนำามาถ่ายโอนข้อมูลภาพมาเก็บไว้สำาหรับนำาไปใช้ประโยชน์
ต่อไป

     สื ่ อ บั น ทึ ก ข้ อ มู ล

     1. Compact Flash
        CV




     2. SC Card



     3. Memory Stick



     คุ ณ ภาพภาพและขนาดที ่ เ หมาะสม


กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร                        หน้า   9
โครงการการพัฒนาศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชนอย่างยั่งยืน ปี
                                                                            2553




      Pixel                  ขนาดของภาพที่ได้จากกล้องดิจิตอลไม่
เกี่ยวกับความคมชัด




                                                      ทั้งนี้กล้อง
  หรืออุปกรณ์ถ่ายภาพที่มีคุณภาพคมชัด ไม่ใช่เลือกพิจารณาจาก
  ขนาดหรือราคาที่แตกต่างกันเท่านั้น ขึ้นอยู่กับสาเหตุต่างๆ อีก
  มากมาย และควรคำานึงเพิ่มขึ้นถึง
    1. ความสามารถในการเก็บรายละเอียดของเลนส์
    2. ความสามารถในการบันทึกค่าแสงของกล้อง
    3. คุณภาพของแสงที่ถ่าย

ขนาดของภาพที ่ เ หมาะสม
      ภาพขนาด 300,000 – 1,000,000 พิกเซล         เหมาะสำาหรับ
ใช้ส่งอีเมลหรือประกอบเว็ปไซด์
      ภาพขนาด 2-3 ล้านพิกเซล          เพียงพอที่จะใช้ในงาน
อัดภาพ 4 x 6 นิ้ว
      ภาพขนาด 4-8 ล้านพิกเซล          ใช้ในงานอัดขยายภาพ
ขนาด 8 x 12 นิ้วขึ้นไป
      ภาพขนาด 10-16 ล้านพิกเซล             ใช้ในงานพิมพ์
ภาพโฆษณาขนาดใหญ่

กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร               หน้า   10
โครงการการพัฒนาศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชนอย่างยั่งยืน ปี
                                                                          2553




     นามสกุ ล ไฟล์ ภ าพ
            เมื่อถ่ายภาพแล้วการจัดเก็บภาพให้เป็นหมวดหมู่ตามวัน
เดือนปี และสถานที่ถ่ายไว้ทำาให้สะดวกในการรจัดเก็บและค้นหาเพื่อ
นำามาใช้งาน วิธีการโอนถ่ายข้อมูลไฟล์ภาพมาเก็บรวมกันไว้ใน
คอมพิวเตอร์ มีโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่รองรับเช่น โปรแกรม acdsee
โดยขอให้พิจารณานามสกุลที่จัดเก็บตามลักษณะการนำาไปใช้งานดังนี้
     1. JPG เป็นไฟล์ภาพขนาดเล็ก สามารถบีบอัดข้อมูล เหมาะ
         สำาหรับนำาไปใช้อัดภาพที่มีขนาดไม่ใหญ่มากใช้เปิดใน
         โปรแกรมคอมพิวเตอร์ และใช้บน Website ได้
     2. TIFF เป็นไฟล์ภาพขนาดใหญ่ ไม่สามารถบีบอัดข้อมูล ใช้ใน
         ธุรกิจการพิมพ์ ภาพพิมพ์ขนาดใหญ่
     3. RAW เป็นไฟล์ภาพขนาดใหญ่ ไม่สามารถบีบอัดข้อมูล ไม่ผ่าน
         การปรับแต่งใดๆ เหมาะสำาหรับนำาไปใช้รีทัช ตกแต่งภาพก่อน
         ใช้งาน ใช้กันมากในหมู่ช่างภาพ




กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร             หน้า   11

More Related Content

What's hot

กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
Mew' Cifer
 
กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์
pongrawee
 
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
Mew' Cifer
 
กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์
netzad
 
บทที่ 2 เซลล์และการทำงานของเซลล์ I (กล้องจุลทรรศน์)
บทที่ 2 เซลล์และการทำงานของเซลล์ I (กล้องจุลทรรศน์)บทที่ 2 เซลล์และการทำงานของเซลล์ I (กล้องจุลทรรศน์)
บทที่ 2 เซลล์และการทำงานของเซลล์ I (กล้องจุลทรรศน์)
Yaovaree Nornakhum
 
การบรรยายครั้งที่ 7 cma 448 บทที่ 7
การบรรยายครั้งที่ 7 cma 448 บทที่ 7การบรรยายครั้งที่ 7 cma 448 บทที่ 7
การบรรยายครั้งที่ 7 cma 448 บทที่ 7
Jele Raviwan Napijai
 
กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์
ssuser9219af
 
กล้องถ่ายภาพผลิตสื่อ
กล้องถ่ายภาพผลิตสื่อกล้องถ่ายภาพผลิตสื่อ
กล้องถ่ายภาพผลิตสื่อ
Worapon Masee
 

What's hot (20)

กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
 
กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์
 
ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"
ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"
ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"
 
Electron microscope
Electron microscopeElectron microscope
Electron microscope
 
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
 
กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์
 
Canon Eos1000d Thai
Canon Eos1000d ThaiCanon Eos1000d Thai
Canon Eos1000d Thai
 
บทที่ 2 เซลล์และการทำงานของเซลล์ I (กล้องจุลทรรศน์)
บทที่ 2 เซลล์และการทำงานของเซลล์ I (กล้องจุลทรรศน์)บทที่ 2 เซลล์และการทำงานของเซลล์ I (กล้องจุลทรรศน์)
บทที่ 2 เซลล์และการทำงานของเซลล์ I (กล้องจุลทรรศน์)
 
แฟลช
แฟลชแฟลช
แฟลช
 
เรื่องกล้องจุลทรรศน์
เรื่องกล้องจุลทรรศน์เรื่องกล้องจุลทรรศน์
เรื่องกล้องจุลทรรศน์
 
Microscope
MicroscopeMicroscope
Microscope
 
Image Digitization with Scanning Technology
Image Digitization with Scanning TechnologyImage Digitization with Scanning Technology
Image Digitization with Scanning Technology
 
Macro phography
Macro phographyMacro phography
Macro phography
 
การบรรยายครั้งที่ 7 cma 448 บทที่ 7
การบรรยายครั้งที่ 7 cma 448 บทที่ 7การบรรยายครั้งที่ 7 cma 448 บทที่ 7
การบรรยายครั้งที่ 7 cma 448 บทที่ 7
 
กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์
 
การถ่ายภาพเบื้องต้น
การถ่ายภาพเบื้องต้นการถ่ายภาพเบื้องต้น
การถ่ายภาพเบื้องต้น
 
Image Digitization with Digital Photography
Image Digitization with Digital PhotographyImage Digitization with Digital Photography
Image Digitization with Digital Photography
 
กล้องถ่ายภาพผลิตสื่อ
กล้องถ่ายภาพผลิตสื่อกล้องถ่ายภาพผลิตสื่อ
กล้องถ่ายภาพผลิตสื่อ
 
Images Digitization with Digital Photography
Images Digitization with Digital PhotographyImages Digitization with Digital Photography
Images Digitization with Digital Photography
 
Nikon d80thai
Nikon d80thaiNikon d80thai
Nikon d80thai
 

Similar to คู่มือถ่ายภาพ

ใบงานที่ 4 พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
ใบงานที่ 4 พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาใบงานที่ 4 พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
ใบงานที่ 4 พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
Aungkana Na Na
 
ใบงานที่ 4 พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
ใบงานที่ 4 พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาใบงานที่ 4 พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
ใบงานที่ 4 พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
Aungkana Na Na
 
สื่อโสตทัศน์
สื่อโสตทัศน์สื่อโสตทัศน์
สื่อโสตทัศน์
gingphaietc
 
ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4
JoyCe Zii Zii
 
โครงร่างสกุลเงินในอาเซียนคริคริ
โครงร่างสกุลเงินในอาเซียนคริคริโครงร่างสกุลเงินในอาเซียนคริคริ
โครงร่างสกุลเงินในอาเซียนคริคริ
Nuttawat Sawangrat
 
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาโครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
Jar 'zzJuratip
 
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาโครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
melody_fai
 
ใบงานที่3
ใบงานที่3ใบงานที่3
ใบงานที่3
juice1414
 
ใบงานที่+..
ใบงานที่+..ใบงานที่+..
ใบงานที่+..
win_apitchaya
 
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ใบงานที่4
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ใบงานที่4โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ใบงานที่4
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ใบงานที่4
Nuchy Geez
 
สื่อการออกแบบ
สื่อการออกแบบสื่อการออกแบบ
สื่อการออกแบบ
Worapon Masee
 
โครงงานออกแบบ เตียงสองชั้นอเนกประสงค์
โครงงานออกแบบ เตียงสองชั้นอเนกประสงค์โครงงานออกแบบ เตียงสองชั้นอเนกประสงค์
โครงงานออกแบบ เตียงสองชั้นอเนกประสงค์
Aungkana Na Na
 

Similar to คู่มือถ่ายภาพ (20)

Paper
PaperPaper
Paper
 
ใบงานที่ 4 พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
ใบงานที่ 4 พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาใบงานที่ 4 พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
ใบงานที่ 4 พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
 
ใบงานที่ 4 พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
ใบงานที่ 4 พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาใบงานที่ 4 พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
ใบงานที่ 4 พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
 
สื่อโสตทัศน์
สื่อโสตทัศน์สื่อโสตทัศน์
สื่อโสตทัศน์
 
ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงร่างสกุลเงินในอาเซียนคริคริ
โครงร่างสกุลเงินในอาเซียนคริคริโครงร่างสกุลเงินในอาเซียนคริคริ
โครงร่างสกุลเงินในอาเซียนคริคริ
 
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาโครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
 
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาโครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
 
ใบงานที่3
ใบงานที่3ใบงานที่3
ใบงานที่3
 
ใบงานที่+..
ใบงานที่+..ใบงานที่+..
ใบงานที่+..
 
รายงานการประชุมครั้งที่ 4 2554
รายงานการประชุมครั้งที่ 4 2554รายงานการประชุมครั้งที่ 4 2554
รายงานการประชุมครั้งที่ 4 2554
 
Audio and Visual Editing - Week 2
Audio and Visual Editing - Week 2Audio and Visual Editing - Week 2
Audio and Visual Editing - Week 2
 
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ใบงานที่4
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ใบงานที่4โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ใบงานที่4
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ใบงานที่4
 
รายงานการประชุมหัวหน้าแผนกครั้งที่ 8 2555
รายงานการประชุมหัวหน้าแผนกครั้งที่ 8 2555รายงานการประชุมหัวหน้าแผนกครั้งที่ 8 2555
รายงานการประชุมหัวหน้าแผนกครั้งที่ 8 2555
 
(บทที่ 1)
(บทที่ 1)(บทที่ 1)
(บทที่ 1)
 
Proposal ict2
Proposal ict2Proposal ict2
Proposal ict2
 
Proposal ict2
Proposal ict2Proposal ict2
Proposal ict2
 
สื่อการออกแบบ
สื่อการออกแบบสื่อการออกแบบ
สื่อการออกแบบ
 
โครงงานออกแบบ เตียงสองชั้นอเนกประสงค์
โครงงานออกแบบ เตียงสองชั้นอเนกประสงค์โครงงานออกแบบ เตียงสองชั้นอเนกประสงค์
โครงงานออกแบบ เตียงสองชั้นอเนกประสงค์
 

More from telecentreacademy

การประชาสัมพันธ์สินค้าผ่านเว็บไซต์
การประชาสัมพันธ์สินค้าผ่านเว็บไซต์การประชาสัมพันธ์สินค้าผ่านเว็บไซต์
การประชาสัมพันธ์สินค้าผ่านเว็บไซต์
telecentreacademy
 
การขายสินค้าทางอินเตอร์เน็ต
การขายสินค้าทางอินเตอร์เน็ตการขายสินค้าทางอินเตอร์เน็ต
การขายสินค้าทางอินเตอร์เน็ต
telecentreacademy
 
การออกแบบและพัฒนาสื่อประสม
การออกแบบและพัฒนาสื่อประสมการออกแบบและพัฒนาสื่อประสม
การออกแบบและพัฒนาสื่อประสม
telecentreacademy
 
หลักการทำบัญชีชุมชน และการเป็นผู้ประกอบการชุมชน
หลักการทำบัญชีชุมชน และการเป็นผู้ประกอบการชุมชนหลักการทำบัญชีชุมชน และการเป็นผู้ประกอบการชุมชน
หลักการทำบัญชีชุมชน และการเป็นผู้ประกอบการชุมชน
telecentreacademy
 
การขายสินค้าทางอินเตอร์เน็ต
การขายสินค้าทางอินเตอร์เน็ตการขายสินค้าทางอินเตอร์เน็ต
การขายสินค้าทางอินเตอร์เน็ต
telecentreacademy
 
การประชาสัมพันธ์สินค้าผ่านเว็บไซต์
การประชาสัมพันธ์สินค้าผ่านเว็บไซต์การประชาสัมพันธ์สินค้าผ่านเว็บไซต์
การประชาสัมพันธ์สินค้าผ่านเว็บไซต์
telecentreacademy
 
คู่มือการออกแบบ
คู่มือการออกแบบคู่มือการออกแบบ
คู่มือการออกแบบ
telecentreacademy
 

More from telecentreacademy (20)

การประชาสัมพันธ์สินค้าผ่านเว็บไซต์
การประชาสัมพันธ์สินค้าผ่านเว็บไซต์การประชาสัมพันธ์สินค้าผ่านเว็บไซต์
การประชาสัมพันธ์สินค้าผ่านเว็บไซต์
 
การขายสินค้าทางอินเตอร์เน็ต
การขายสินค้าทางอินเตอร์เน็ตการขายสินค้าทางอินเตอร์เน็ต
การขายสินค้าทางอินเตอร์เน็ต
 
การออกแบบและพัฒนาสื่อประสม
การออกแบบและพัฒนาสื่อประสมการออกแบบและพัฒนาสื่อประสม
การออกแบบและพัฒนาสื่อประสม
 
หลักการทำบัญชีชุมชน และการเป็นผู้ประกอบการชุมชน
หลักการทำบัญชีชุมชน และการเป็นผู้ประกอบการชุมชนหลักการทำบัญชีชุมชน และการเป็นผู้ประกอบการชุมชน
หลักการทำบัญชีชุมชน และการเป็นผู้ประกอบการชุมชน
 
การขายสินค้าทางอินเตอร์เน็ต
การขายสินค้าทางอินเตอร์เน็ตการขายสินค้าทางอินเตอร์เน็ต
การขายสินค้าทางอินเตอร์เน็ต
 
การประชาสัมพันธ์สินค้าผ่านเว็บไซต์
การประชาสัมพันธ์สินค้าผ่านเว็บไซต์การประชาสัมพันธ์สินค้าผ่านเว็บไซต์
การประชาสัมพันธ์สินค้าผ่านเว็บไซต์
 
คู่มือการออกแบบ
คู่มือการออกแบบคู่มือการออกแบบ
คู่มือการออกแบบ
 
Packaging design
Packaging designPackaging design
Packaging design
 
Gimp11
Gimp11Gimp11
Gimp11
 
Gimp12
Gimp12Gimp12
Gimp12
 
Gimp02
Gimp02Gimp02
Gimp02
 
Gimp15
Gimp15Gimp15
Gimp15
 
Gimp14
Gimp14Gimp14
Gimp14
 
Gimp13
Gimp13Gimp13
Gimp13
 
Gimp11
Gimp11Gimp11
Gimp11
 
Gimp09
Gimp09Gimp09
Gimp09
 
Gimp08
Gimp08Gimp08
Gimp08
 
Gimp07
Gimp07Gimp07
Gimp07
 
Gimp06
Gimp06Gimp06
Gimp06
 
Gimp05
Gimp05Gimp05
Gimp05
 

คู่มือถ่ายภาพ

  • 1. โครงการการพัฒนาศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชนอย่างยั่งยืน ปี 2553 การถ่ า ยภาพ วั ต ถุ ป ระสงค์ ก ารเรี ย น การสอน 1. ศึกษาพื้นฐานและเทคนิคการถ่ายภาพเบื้องต้น 2. ศึกษาการทำานามบัตรแบบง่ายๆ 3. เข้าใจหลักการออกแบบเบื้องต้น พื ้ น ฐานการถ่ า ยภาพด้ ว ยกล้ อ งดิ จ ิ ต อล (Basic Photography) ปัจจุบันโทรศัพท์มือถือและกล้องถ่ายภาพดิจิตอลหาซื้อได้ง่าย มี การพัฒนาเพื่อประโยชน์ใน การถ่ายภาพ ทำาให้งานถ่ายภาพด้วยกล้องจากมือถือหรือกล้องดิจิตอล ด้วย เทคนิค ง่ายๆ มี คุณภาพ เพียง พอที่ สำาหรับ บุคคล ทั่วไปที่ สามารถ นำามา ใช้ในชีวิตประจำาวัน ได้ตลอดเวลา กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
  • 2. โครงการการพัฒนาศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชนอย่างยั่งยืน ปี 2553 เทคนิ ค การถ่ า ยภาพ 1. ทำ า ให้ ก ล้ อ งนิ ่ ง มั ่ น คงไม่ ส ั ่ น การใช้ขาตั้งกล้องจะช่วยแก้ปัญหาการถ่ายภาพแล้วไม่ชัด แต่ กรณีที่ใช้มือถือ หรือกล้องดิจิตอลแบบพกพา ในสถานการณ์ที่ไม่มีขา ตั้งกล้อง มีเทคนิคง่ายๆ ที่สามารถนำามาใช้ เพื่อให้ภาพถ่ายไม่สั่นไหว โดยการจัดพื้นที่เรียบๆ เพื่อวางกล้อง ไม่ว่าจะเป็นบนโต๊ะ ก้อนหิน บน กองหนังสือ ที่มฐานมั่นคง มิฉะนั้นก็ต้องใช้ถือกล้องอย่างระมัดระวัง ี ด้วยวิธี 4 ขั้นตอนง่ายๆ ตามนี้ 1) ถือกล้องด้วย 2 มือทั้งสองข้าง 2) ยกข้อศอกอยู่ในระดับหน้าอก และให้แขนแนบชิดกับลำาตัว 3) ปล่อยตัวตามสบายไม่เกร็ง 4) หายใจลึกๆ แล้วให้กลั้นหายในระหว่างที่กำาลังจะกดชัตเตอร์ เพื่อ ไม่ให้มือสั่นในระหว่างการกด 2. การถ่ า ยภาพแนวนอน และแนวตั ้ ง การเลือกจัดวางภาพถ่ายทั้งแนวนอนและแนวตั้ง ขึ้นอยู่กับวัตถุ ที่ต้องการถ่ายว่ามีลักษณะ ทรงสูง ลักษณะเป็นต้นไม้ เป็นอาคาร หรือทรงกว้าง อย่างเช่น ภาพวิว ทะเล ภาพภูเขา เพื่อจับภาพในแนวที่ต้องจัดวางให้วัตถุอยู่ในกรอบภาพ ได้อย่างเหมาะสมสวยงาม 3.การจั บ วางเส้ น ขอบฟ้ า หากการถ่ายภาพวิวที่เป็นแนวกว้าง จะมองเห็นเส้นขอบฟ้าเป็น เส้นแบ่ง ควรแบ่งพื้นที่ท้องฟ้าที่อยู่ระดับสูง กว่าวิว และพื้นดินที่อยู่ระดับ ตำ่าตามลำาดับ ให้มีสัดส่วนที่เหมาะสมจัดแบ่งองค์ประกอบภาพให้มีมิติไม่ แบนราบเกินไป กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หน้า 2
  • 3. โครงการการพัฒนาศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชนอย่างยั่งยืน ปี 2553 ตัวอย่างภาพวิว ทัศนียภาพมุมกว้าง 4. การ จั ด วางองค์ ประกอบของ ภาพ ด้ ว ยกฎสามส่ ว น (Rule of Third) โดย ทั่วไปมักจะวางองค์ ประกอบของ วัตถุให้เป้าหมาย อยู่ตรงกลาง ภาพ ผลที่ได้จะ ทำาให้ภาพ แข็งทื่อ การแบ่ง ภาพด้วยกฎสามส่วน (Rule of Third) จะช่วยให้มุมมองภาพดูนุ่มนวล กว่าอยู่ตรงกลาง ด้วยการวางสิ่งที่ต้องการเน้นให้อยู่บริเวณจุดตัดของเส้นแบ่งที่สมมุติขึ้น เป็นจุดตัดภายในกรอบให้ได้สัดส่วน ตามขั้นตอนง่ายๆ ดังนี้ 1) ลากเส้นสมมุติแบ่งพื้นที่ออกเป็นสามส่วนเท่าๆ กัน จะได้ช่องสี่เหลี่ยมเท่าๆ กัน 9 ช่อง 2) ในขณะเดียวกันก็จะได้จุดตัดของเส้นแบ่ง สี่จดตัด ุ เพื่อใช้เป็นจุดวาง “จุดเด่น” ของภาพ 3) วางภาพให้มี สัดส่วนที่ สวยงาม ในพืนที่้ 2 ใน 3 ส่วน ของพืนที่ ้ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หน้า 3 ภาพกฎสามส่ ว น (Rule of
  • 4. โครงการการพัฒนาศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชนอย่างยั่งยืน ปี 2553 เมื่อมีการแบ่งการวางภาพไว้ตรงกึ่งกลางถือได้ว่าเป็นภาพที่สวย แต่ถ้าเปลี่ยนตำาแหน่งให้มาอยู่ทางด้านซ้ายหรือทางด้านขวา ก็จะ ทำาให้ภาพหรือสิ่งที่ต้องการเน้นดูมีสีสันแล้วมีชีวิตชีวามากยิ่งขึ้น โดย สามารถใช้หลักการกฎสามส่วน (Rule of Third) ที่ได้นำาเสนอในเบื้อง ต้นมาประยุกต์ประกอบกันได้ ภาพตัวอย่างกฎสามส่วนของภาพลูกบอล และ ภาพจุดตัดที่ตา 5. แสงสว่ า งและช่ ว งเวลาในการถ่ า ยภาพ และหัวเข่า แสงสว่างทั้งจากธรรมชาติและแสงจากอุปกรณ์ไฟฟ้ามีผลกับ อารมณ์ของภาพ แสงมีความเกี่ยวข้องกับการสะท้อนสีของวัตถุออกมา เช่น วัตถุสีดำา ไม่มีการสะท้อนแสง สี อะไรออกมา ส่วนวัตถุสีขาวสะท้อน ทุกสีออกมา ในที่นี้การเลือกถ่ายภาพตามแสงยังต้องคำานึงถึงช่วงเวลา ถ้าเป็นแสงอาทิตย์ช่วงเช้า กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หน้า 4
  • 5. โครงการการพัฒนาศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชนอย่างยั่งยืน ปี 2553 ภาพแรกตัวอย่างการถ่ายภาพตามแสง ภาพที่ สองการถ่ายภาพย้อนแสง จะมีอารมณ์ของความเป็นธรรมชาติได้สีที่สะท้อนแสงสวยงาม ช่วง เวลาเที่ยงถึงบ่ายมักทำาให้เกิดเงา ตกกระทบที่ตัววัตถุ และเป็นแสงจ้า มาก ไม่เป็นธรรมชาติ ตัวอย่างภาพย้อนแสง ในช่วงเวลาก่อนพระอาทิตย์ตก ส่วนการถ่ายภาพย้อนแสง ไม่ถือว่าเป็นข้อผิดพลาด เพราะการ ถ่ายภาพย้อนแสงที่ตั้งใจจะแสดงเส้นขอบรูปร่างของวัตถุที่ไม่เน้นราย ละเอียด ควรเป็นเส้นขอบที่ชัดเจนเพื่อทำาให้เกิดการจินตนาการรูปร่าง และรายละเอียดของวัตถุตามประสบการณ์ หรือกระตุ้นให้เกิดความ สนใจค้นหาติดตามเพิ่มเติม กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หน้า 5
  • 6. โครงการการพัฒนาศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชนอย่างยั่งยืน ปี 2553 6. การถ่ า ยภาพระยะใกล้ ไกล การวางโฟกัสที่ระยะตกกระทบวัตถุที่ต้องการให้ภาพคมชัด และ เบลอในส่วนหน้า หรือส่วนหลัง จะสามารถเปลี่ยนอารมณ์ และสื่อให้เห็นความสวยงาม โดยเฉพาะเพื่อ เน้นจุดสนใจ โดยสามารถเลือกที่โหมดถ่ายภาพ Marco ที่มีอยู่ในกล้อง ดิจิตอล Cyber shot ทุกรุ่น เรียกเทคนิคนี้ว่าเป็นการถ่ายภาพชัดตื้น ( ภาพด้านหน้าชัด ด้านหลังไม่ชัด) หรือภาพชัดลึก (ภาพด้านหน้าไม่ชัด ด้านหลังชัด) ภาพแรก ตัวอย่างภาพชัดตื้น ภาพที่ 7. การถ่ า ยภาพที ่ ม ี เ งาสะท้ อ น กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสืถุสะท้อนบนผิวนำ้า า ตัวอย่างภาพเงาวัต ่อสาร หน้ 6
  • 7. โครงการการพัฒนาศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชนอย่างยั่งยืน ปี 2553 เมื่อต้องการเล่นกับเงาวัตถุสะท้อนของกระจก หรือผิวนำ้า ถือ เป็นการแสดงอารมณ์ของภาพ อีกลักษณะหนึ่งในการสร้างมิติให้ภาพไม่เรียบแบน แตกต่างไปจากการ ถ่ายภาพแบบปกติ ตัวอย่างภาพสะท้อนบนวัตถุผิวมัน และกระจกเง 8. เส้ น นำ า สายตา (Line) การใช้เส้นเป็นองค์ประกอบสำาคัญของโครงสร้างนำาสายตา ทำาให้ ลั ก ษณะภาพแสดงออกอย่ า งมี ค วามหมายสร้ า งให้ เ กิ ด มิ ติ ค วามลึ ก ใน กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หน้า 7
  • 8. โครงการการพัฒนาศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชนอย่างยั่งยืน ปี 2553 ภาพ เกิดอารมณ์และความรู้สึกที่สามารถนำาความสนใจไปสู่จุดเด่นของ ภาพ และเชื่อมโยงเนื้อหา 9. ระยะการใช้ แ ฟลช การถ่ายภาพที่อยู่ระยะไกลเกินกว่าระยะของแฟลช จะทำาให้ภาพ วัตถุที่ถ่ายได้เป็นภาพมืดไม่สวยงาม หรือได้ภาพเฉพาะฉากหลัง ดังนั้น ควรจะรู้ว่าระยะแฟลชของกล้องว่ามีระยะเท่าไร แต่ถ้าไม่รู้ก็ให้ลองเล่น กับแฟลชดูก่อน โดยปกติแล้วระยะของแฟลชจะอยู่ประมาณ 1-3 เมตร ดังนั้นจึงควรอยู่ในระยะที่ปลอดภัยที่สุด ก็คือ ไม่เกิน 1 เมตร เว้นแต่ ตั้งใจให้ภาพถ่ายได้ภาพลอยอยู่ในความมืด ตัวอย่างภาพถ่ายในระยะแฟลช บางคนคิดว่าแฟลชจะใช้เมื่อจำาเป็นเฉพาะ เวลาถ่ายภาพกลางคืนเท่านั้น แต่แท้จริงแล้ว สถานการณ์ที่มีแสงสว่างเพียงพอ แต่ใบหน้าบุคคลมีเงาตกกระทบ มี เงามืดมาบังบางส่วนหรือทั้งหมด ก็สามารถใช้แฟลชช่วยลดเงาทำาให้ส่วนใบหน้าหรือวัตถุได้แสงสว่าง เพิ่มขึ้น โดยเฉพาะกรณีการถ่ายภาพย้อนแสงก็ใช้ได้ดี รวมไปถึงการ ใช้การสะท้อนแสงในทิศทางต่างๆ เพื่อสร้างแสงเงาให้เกิดมิติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หน้า 8
  • 9. โครงการการพัฒนาศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชนอย่างยั่งยืน ปี 2553 ตัวอย่างภาพที่ช่วยสะท้อน แสงด้านข้าง การจั ด เก็ บ ข้ อ มู ล ภาพ ข้อมูลที่เก็บรวบรวมภาพที่บันทึกเก็บไว้ เมื่อมีการถ่ายภาพแต่ละ ภาพขึ้นอยู่กับใช้ประเภทเครื่องมือของกล้องถ่ายภาพว่าเป็นแบบใด ก่อนที่จะนำามาถ่ายโอนข้อมูลภาพมาเก็บไว้สำาหรับนำาไปใช้ประโยชน์ ต่อไป สื ่ อ บั น ทึ ก ข้ อ มู ล 1. Compact Flash CV 2. SC Card 3. Memory Stick คุ ณ ภาพภาพและขนาดที ่ เ หมาะสม กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หน้า 9
  • 10. โครงการการพัฒนาศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชนอย่างยั่งยืน ปี 2553 Pixel ขนาดของภาพที่ได้จากกล้องดิจิตอลไม่ เกี่ยวกับความคมชัด ทั้งนี้กล้อง หรืออุปกรณ์ถ่ายภาพที่มีคุณภาพคมชัด ไม่ใช่เลือกพิจารณาจาก ขนาดหรือราคาที่แตกต่างกันเท่านั้น ขึ้นอยู่กับสาเหตุต่างๆ อีก มากมาย และควรคำานึงเพิ่มขึ้นถึง 1. ความสามารถในการเก็บรายละเอียดของเลนส์ 2. ความสามารถในการบันทึกค่าแสงของกล้อง 3. คุณภาพของแสงที่ถ่าย ขนาดของภาพที ่ เ หมาะสม ภาพขนาด 300,000 – 1,000,000 พิกเซล เหมาะสำาหรับ ใช้ส่งอีเมลหรือประกอบเว็ปไซด์ ภาพขนาด 2-3 ล้านพิกเซล เพียงพอที่จะใช้ในงาน อัดภาพ 4 x 6 นิ้ว ภาพขนาด 4-8 ล้านพิกเซล ใช้ในงานอัดขยายภาพ ขนาด 8 x 12 นิ้วขึ้นไป ภาพขนาด 10-16 ล้านพิกเซล ใช้ในงานพิมพ์ ภาพโฆษณาขนาดใหญ่ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หน้า 10
  • 11. โครงการการพัฒนาศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชนอย่างยั่งยืน ปี 2553 นามสกุ ล ไฟล์ ภ าพ เมื่อถ่ายภาพแล้วการจัดเก็บภาพให้เป็นหมวดหมู่ตามวัน เดือนปี และสถานที่ถ่ายไว้ทำาให้สะดวกในการรจัดเก็บและค้นหาเพื่อ นำามาใช้งาน วิธีการโอนถ่ายข้อมูลไฟล์ภาพมาเก็บรวมกันไว้ใน คอมพิวเตอร์ มีโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่รองรับเช่น โปรแกรม acdsee โดยขอให้พิจารณานามสกุลที่จัดเก็บตามลักษณะการนำาไปใช้งานดังนี้ 1. JPG เป็นไฟล์ภาพขนาดเล็ก สามารถบีบอัดข้อมูล เหมาะ สำาหรับนำาไปใช้อัดภาพที่มีขนาดไม่ใหญ่มากใช้เปิดใน โปรแกรมคอมพิวเตอร์ และใช้บน Website ได้ 2. TIFF เป็นไฟล์ภาพขนาดใหญ่ ไม่สามารถบีบอัดข้อมูล ใช้ใน ธุรกิจการพิมพ์ ภาพพิมพ์ขนาดใหญ่ 3. RAW เป็นไฟล์ภาพขนาดใหญ่ ไม่สามารถบีบอัดข้อมูล ไม่ผ่าน การปรับแต่งใดๆ เหมาะสำาหรับนำาไปใช้รีทัช ตกแต่งภาพก่อน ใช้งาน ใช้กันมากในหมู่ช่างภาพ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หน้า 11