SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
Download to read offline
8/21/2011




                                                                                                 แฟลช ประกอบด้ วย


                      แฟลช                                         1. อุปกรณ์ ในการถ่ ายภาพ
                                                                   2. ประเภทของแฟลช
                                                                      ประเภทของแฟลช
                                                                   3. การทํางานของไฟแฟลช
                                                                      การทํ งานของไฟแฟลช
                                                                   4. เทคนิคการถ่ ายภาพ/การใช้ แฟลช
                                                                                   ยภาพ/       แฟลช
                                                                   5. การถ่ ายภาพกลางคืน (NIGHT LIGHT)
                                                                      การถ่




                                                                   อุปกรณ์ ในการถ่ ายภาพ ประกอบด้ วย
                                                                   1. ตัวกล้อง (Body) ทําหน้ าทีเ่ ป็ นห้ องมืดปองกันแสงภายนอกเข้ าไปถูกฟิ ล์ม
                                                                                    Body) ทํ                     ้
                                                                   2. เลนส์ (Lens) ทําหน้ าทีรับแสงสะท้ อนจากวัตถุส่งไปยังฟิ ล์ม
                                                                                               ่
         อุปกรณในการถายภาพ
         อปกรณ์ ในการถ่ ายภาพ
                                                                                (Lens) ทํ
                                                                   3.  ช่ องมองภาพ (View Finder) อยู่ทางด้ านหลังของกล้อง
                                                                                      View Finder) อยู
                                                                   4.  ชัตเตอร์์ ((Shutter) ทําหน้ าทีควบคุมเวลาฉายแสง (Exposure Time)
                                                                                  (Shutter) ทํ
                                                                                            )          ่                                           )
                                                                   5.   แผ่ นไดอะแฟรม (Diaphram) ทําหน้ าทีควบคุมปริมาณของแสงทีตกบน
                                                                    .   แผ่              Diaphram) ทํ               ่                        ่
                                                                        แผ่ นฟิ ล์ม
                                                                   6.  รู รับแสง (Aperture) เมื่อต้ องการให้ แสงเข้ ามากก็เปิ ดรู รับแสงให้ มีขนาดใหญ่
                                                                                   (Aperture) เมื
                                                                        และต้ องการให้ ปริมาณแสงเข้ าไปถูกฟิ ล์มน้ อยก็เปิ ดรู ให้ เล็กลง




อุปกรณ์ ที่ใช้ ร่วมกับกล้ อง                                       3. แว่ นกรองแสง (Filters) เป็ นอุปกรณ์ ทใช้ ประกอบกับเลนส์ เพือให้ ได้ ภาพที่สวยงาม
                                                                                                           ี่ ระกอบกั            ่
                                                                   แตกต่ างไปจากภาพปกติ
1. เครื่องวัดแสง (Exposure light meter) เป็ นเครื่องมือทีช่วยบอก
                                                         ่
   ลักษณะของแสงที่พอเหมาะ



                                                                   4. สายลันไก (Shutter Release Cable) เป็ นอุปกรณ์ ที่ใช้ ต่อเข้ ากับปุ่ มลันไกช่ วยลันไก
                                                                            ่                                                                ่         ่
2. ขาตั้งกล้อง (Tripod, Camera Supports) 
 . ขาตั                                                            ชัดเตอร์




                                                                                                                                                                1
8/21/2011




      5. ไฟแฟลชอิเลคโทรนิค (Electronic Flash) เป็ นอุปกรณ์ ทเี่ ป็ นแหล่งของแสง         7. กระเป๋ ากล้อง ( Case) เป็ นอุปกรณ์ ทควรจะสวมใส่ กล้องไว้ ตลอด เพราะปองกัน
                                                                                         . กระเป๋        ( Case) เป็           ี่                              ้
สว่ างเพือช่ วยถ่ ายรู ป เมื่อแสงไม่ พอ
         ่                                                                              การขูดขีดของตัวกล้อง และเลนส์ ปองกันการกระทบกระเทือน
                                                                                                                        ้

                                                                                        8. เครื่องขับเคลือนฟิ ล์มโดยอัตโนมัติ (Motor Drive,Autowinder) 
                                                                                          . เครื         ่                       (Motor Drive,Autowinder) 
                                                                                       อุปกรณ์ ชิ้นนีอาจไม่ จาเป็ นในการถ่ ายรู ปปกติ เพราะมีเวลาในการเลือนฟิ ล์มด้ วยตนเอง
                                                                                                     ้       ํ                                           ่
                                                                                       แตสาหรบงานอาชพทตองการบนทกภาพตดตอกนในเวลาสนๆ
                                                                                       แต่ สําหรับงานอาชีพทีต้องการบันทึกภาพติดต่ อกันในเวลาสั้นๆ
                                                                                                               ่

                                                                                        9. กระเป๋ าเก็บกล้อง และอุปกรณ์ อนๆ (Baggage) เป็ นกระเป๋ าเอนกประสงค์ ที่
                                                                                                                         ื่ (Baggage) เป็
  6. เลนส์ ฮูด (Lense Hood) เป็ นอุปกรณ์ ทใช้ เพือกันการสะท้ อนของแสง
                                          ี่ ่
                                                                                        สามารถบรรจุกล้องและอุปกรณ์ ประกอบต่ างๆ นําไปใช้ ถ่ายรู ปได้ ช่วยปองกันการ
                                                                                                                                                          ้
                                                                                        กระแทกได้ เป็ นอย่างดี




                                                                                           แฟลชทีมีใช้ กบอยู่ในปัจจุบันจะสามารถแบ่ งได้ เป็ นสองแบบ คือ แฟลชที่ตดกับตัว
                                                                                                   ่ ั                                                           ิ
                                                                                       กล้อง หรือบางครั้งเรียกว่ าแฟลช Pop up ตามลักษณะของตัวแฟลชทีจะเด้ งขึนมาเมื่อเปิ ด
                                                                                                                                                        ่      ้
                                                                                       การใช้ งาน กับแฟลชภายนอก โดยเรียกตามลักษณะของแฟลชที่แยกออกมาจากตัวกล้อง

                                                                                            1. แฟลชติดตัวกล้ อง หรือแฟลช Pop up จะเป็ นแฟลชทีนิยมใช้ งานมากทีสุด
                                                                                              . แฟลชติ                     Pop up จะเป็ นแฟลชที่                 ่
                                                                                       เนื่องจากเป็ นแฟลชทีมีมากับตัวกล้อง และหากตั้งโหมดการถ่ ายภาพเป็ นโหมดอัตโนมัตตว
                                                                                                    นแฟลชที่                                                         ิ ั

               ประเภทของแฟลช
                                                                                       แฟลชนี้ ั
                                                                                       แฟลชนียงทํางานโดยอัตโนมัตเิ มื่อสภาพแสงไม่ เพียงพอสําหรับการถ่ ายภาพ




              2. แฟลชภายนอกโดยทัวไปจะสามารถทีจะปรับมุมองศาของแฟลชได้ โดย
               . แฟลชภายนอกโดยทั่                    ่        องศาของแฟลชได้
  การก้มเงย หรือหมุนซ้ ายขวาของตัวหัวแฟลช ซึ่งทําให้ สามารถกําหนดทิศทางของแสง
  ได้ มากขึน โดยสามารถทีจะปรับให้ ตวแฟลชยิงสะท้ อนเพดาน หรือพนัง ให้ แสง
       ากขึ้             ่           ั แฟลชยิ
  กระจายมากระทบตัวแบบ หรือทีเ่ รียกว่ าการ Bounce flash ได้ ในแฟลชบางตัว
                                            Bounce flash ได้ ในแฟลชบางตั
  หากไม่ มีพนัง หรือเพดานให้ แสงยิงตกกระทบ ตัวแฟลชเองก็จะมีแผ่ นสีขาว ๆ อยู่
                                                  แฟลชเองก็
  ด้ านบนของแฟลชสําหรับดึงออกมาทีเ่ รียกว่ า แผ่ น Bounce โดยแสงแฟลชจะ
      นบนของแฟลชสํ                                   Bounce โดยแสงแฟลชจะ
             ั ่
  กระทบกบแผนนีี้ และสะท้้ อนแสงออกไปยงตวแบบแทน เทคนิิคการ Bounce
                                       ไป ั ั                         Bounce 
  flash นี้
  flash นีจะช่ วยทําให้ แสงแฟลชดูน่ ุมขึน และไม่ ทาให้ ภาพถ่ ายทีได้ มีตวแบบทีมีมิติ
                         สงแฟลชดู ้                ํ             ่      ั     ่
  มากขึน้




                                                                                                                                                                                 2
8/21/2011




 ประเภทของแฟลชตามการทํางาน
 แบ่ งประเภทตามลักษณะการทํางานของแฟลชแล้วสามารถแบ่ งเป็ น 2 ประเภท คือ                      1.1 F (Fast Peak) มีช่วงความสว่ างสั้นมากและแรงส่ องสว่ างค่ อนข้ างน้ อย ความสว่ าง
           1. แฟลชหลอด (Bulb Flash) ประกอบด้ วยตัวหลอดที่ทาด้ วยแก้วใสบางฉาบ
                                                                 ํ                          ถึงจุดสู งสุ ดภายในเวลา 0.005-0.009 วินาที นับจากการกดสวิทช์ ดังนั้นเมื่อใช้ ความเร็ว
                                                                                                                         005-
 ด้ วยพลาสติคใสสี ฟาหรือสี นําเงินภายในหลอดบรรจุด้วยลวดโลหะพวกอลูมิเนียม
                   ้         ้                                                              กับแฟลชชนิดนี้ สามารถใช้ กบความเร็วของชัตเตอร์ ได้ สูงถึง 1/100 หรือ 1/125 วินาที
                                                                                                แฟลชชนิ                     ั                     ได้
 (Aluminium) หรือเซอร์ โคเนียม (Zirconium) ทําเป็ นเส้ นเล็ก ๆ มากมาย และมีก๊าซ
  Aluminium)                                                                                1.2 M (Medium Peak) ให้ ความสว่ างนานกว่ าประเภทแรก และช่ วงเวลาในการลุก
 ออกซิเจนช่ วยในการเผาไหม้ ภายในจะมีใส้ หลอด เมื่อใส้ หลอดลุกไหม้ ถงทีสุด (Peak)
                                                                        ึ ่                 ไหม้ ปานกลาง คือ ให้ ความสว่ างถึงจุุดสูู งสุุ ดภายในเวลา 0.018-0.024 วินาที ฉะนั้นใช้
                                                                                                                                                         018-
 แล้วจะค่ อย ๆ ดับลง ซึ่งความสว่ าง (Flash Duration) นั้นอยู่ระหว่ าง 1/200 ถึง 1/25        ความเร็วชัตเตอร์ ได้ ไม่ เกิน 1/50 ปกติจะใช้ 1/60 วินาที แต่ ถ้าหากอยากให้ สว่ างมากกว่ า
                                                                                                              ได้
 วินาที มีจานสะท้ อนแสงเป็ นตัวสะท้ อน และอีกชนิดหนึ่ง เป็ นแบบลูกเต๋ า (Cube)              นั้นอาจใช้ 1/30 วินาทีกได้็
 ภายในบรรจุหลอดเล็ก ๆ 4 หลอดเมื่อหลอดใดทํางานตัวแฟลชจะหมุนไป นอกจากนั้น
 อาจมีแฟลชทีเ่ รียงลําดับแถว เรียกว่ า ฟลิปแฟลช (FlipFlash) อย่างไรก็ตามถ้ าหากจะ
                                                 FlipFlash)
 แยกช่ วงเวลาของความสว่ างเป็ นเกณฑ์ แล้ว แฟลชหลอดมีอยู่ 4 พวก คือ




                                                                                                            2. แฟลชอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Flash Strobe) ผู้ทคดค้ นได้ สําเร็จ
                                                                                                               แฟลชอิ                                            ี่ ิ
  1.3 S (Slow Peak) ให้ ความสว่ างถึงจุดสู งสุ ดภายในเวลา 0.03 วินาที ถือได้
       3 S (Slow Peak) ให้                                            03 วิ                   และนํามาใช้ เป็ นคนแรก คือ ฮาโรลด์ อี เอดเจอร์ ตน (Dr.Harold EEdgerton) กับ
                                                                                                                              ฮาโรลด์         ตัั               EEdgerton)
  ว่ าเป็ นการลุกไหม้ นานทีสุดและให้ กาลังส่ องสว่ างสู งมากเหมาะสําหรับ การใช้ กล้องใน
                            ่         ํ                                                       ผู้ร่วมงานของเขาแห่ งสถาบัน MIT เขาให้ ชื่อสิ่งประดิษฐ์ นีว่า Kodatron Speed
                                                                                                                                                         ้
  สตูดโอ และการใช้ เทคนิคในการถ่ ายภาพแบบเปิ ดแฟลช (Open Flash) โดยไม่
          ิ                                         ดแฟลช Open Flash) โดยไม่                  Lamp แฟลชอิเล็กทรอนิกส์ ได้ พฒนามาอย่างรวดเร็วบางชนิดมีตาอิเล็กทรอนิกส์ ที่
                                                                                                       แฟลชอิ                     ั
  ต้ องต่ อสายแฟลชความเร็วชัตเตอร์ ทเี่ หมาะกับแฟลชชนิดนีประมาณ ไม่ เกิน 1/25 
                สายแฟลชความเร็        ที         แฟลชชนิ ้                                    ใช้ ควบคุมปริมาณของแสงให้ ออกมาพอดีกบระยะการถ่ ายภาพได้ ซึ่งโอกาสทีจะทํา
                                                                                                                                           ั                                 ่
  หรอ 30 วนาท
  หรือ 1/30 วินาที
                 30 วนาท                                                                      ให้ ได้ แสงไม่ พอดีเกือบไม่ มเี ลยแฟลชอิเล็กทรอนิกส์ มีขนาดให้ เลือกได้ ตามต้ องการ
                                                                                                                              ลยแฟลชอิ
  1.4 FP (Focal Plane) ให้ แสงในช่ วงลุกไหม้ อย่างสมํ่าเสมอให้ ความสว่ างถึง
       4 FP (Focal Plane) ให้                                                                 และกําลังส่ องสว่ างแตกต่ างกันไป ปกติจะมีอายุการใช้ งานเกินกว่ า 10,,000 ครั้ งขึน
                                                                                                                                                                    10          ้
  ขีดสู งสุ ด ภายในเวลา 0.016‐0.018 วินาที เหมาะในการใช้ กบกล้องแบบ ม่ านชัต
                              016‐ 018 วิ                           ั                         ไป ทั้งนีขึนอยู่กบการระวังรักษา แฟลชชนิดนีจะมีแบตเตอรี่แห้ งเป็ นตัวจ่ าย
                                                                                                        ้ ้      ั                  แฟลชชนิ ้
  เตอร์ ใช้ ความเร็วชัตเตอร์ ได้ 1/60 วินาที
            ใช้               ได้ 60 วิ                                                       พลังงาน ให้ บรรจุลงในคอนเดนเซอร์ และทําให้ แฟลชทํางาน ช่ วงเวลาส่ องสว่ าง
                                                                                                                                              แฟลชทํ
                                                                                              ของแสงสั้นมากประมาณ 1/500 ถึง 1/2000 วินาที




                                                                                                         3. TTL Flash (Through The Lens - Off the Film) หมายถึง เทคโนโลยี
    ประเภทของแฟลชมี
    ประเภทของแฟลชมี 4 ประเภท ดังนี้                                                         แฟลชทีทางานสัมพันธ์ กบปริมาณแสงทีสะท้ อนผ่ านเลนส์ โดยจะมีเซนเซอร์ ตรวจจับ
                                                                                                     ่ ํ                ั             ่
           1. Manual Flash หมายถึง แฟลชทีปล่อยพลังงานออกมาตามสเปกของ
                                                  ่                                         แสงทีผ่านเลนส์ เข้ ามาสะท้ อนกับฟิ ล์ม เมื่อฟิ ล์มได้ รับแสงในปริมาณทีเ่ ซนเซอร์ คดว่ า
                                                                                                 ่                                                                            ิ
ตัวเครื่องทุกครั้งที่ยงแสงออกมา ผู้ใช้ จําเป็ นต้ องควบคุมกล้อง (ความเร็วชัตเตอร์ และรู
                        ิ                                                                   เหมาะสมแล้ว ก็จะสั่งให้ แฟลชหยุดการทํางาน เป็ นการพัฒนาต่ อจาก Thyristor
ปรับแสง) ให้ สัมพันธ์ กลับแฟลช เพือให้ ฟิลม์ หรือเซนเซอร์ ได้ รับแสงทีเ่ พียงพอไม่ สว่ าง
      แสง)                             ่                                                    Flash โดยให้ กล้องมีส่วนร่ วมในการกําหนดปริมาณแสง ในบางกรณีพบว่ า Thyristor
หรือมืดเกินไปแฟลชบางรุ่นสามารถปรับชดเชยกําลังแฟลชได้ ค่าละ1/2 - 1/3 Stop
                                                                  ละ1                       Flash ให้ ผลทีดกว่ า
                                                                                                             ่ ี
                                                    ่             ี่
           2. Thyristor Flash หมายถึง แฟลชทีมีเซลรับแสงอยู่ทด้านหน้ าของตัวแฟลช                          4. Intelligent Flash หมายถึงเทคโนโลยีแฟลชที่ทางานสัมพันธ์ กบปริมาณ
                                                                                                                                                           ํ           ั
โดยจะปรับลดกําลังแฟลชลงให้ สอดคล้องกับสภาพแวดล้อม ผู้ใช้ ยงจําเป็ นต้ องควบคุม
                                                                       ั                    แสงทีสะท้ อนผ่ านเลนส์ โดยก่อนทีม่านชัตเตอร์ จะทํางานแฟลชจะทํางานล่วงหน้ า
                                                                                                   ่                             ่
กล้อง(ความเร็วชัตเตอร์ และรู ปรับแสง) ให้ สัมพันธ์ กลับแฟลช เพือให้ ฟิลม์ หรือเซนเซอร์
      ง(                              แสง)                           ่                      ก่อนหนึ่งครั้ง (pre flash) โดยจะมีเซนเซอร์ ตรวจจับแสงทีผ่านเลนส์ เข้ ามาสะท้ อน
                                                                                                                                                         ่
ได้ รับแสงทีเ่ พียงพอไม่ สว่ าง หรือ มืดเกินไป พัมนาขึนจากแฟลชแมลนวลเดิมทําให้ ง่าย
                                                        ้                                   กับกระจกสะท้ อนภาพ ส่ งข้ อมูลปริมาณแสงไปยังแฟลช ให้ แฟลชกําหนดปริมาณแสง
ต่ อการใช้ งานมากขึน โดยผู้ใช้ ไม่ จําเป็ นต้ องกังวลกับการปรับชดเชยแฟลช
                      ้                                                                     ทีจะฉายจริงได้ อย่างเหมาะสม
                                                                                              ่




                                                                                                                                                                                         3
8/21/2011




                                                                                                         ไฟแฟลชเป็
                                                                                                         ไฟแฟลชเป็ นอุปกรณ์ ให้ แสงในขณะถ่ ายภาพ มีอณหภูมิสีใกล้เคียงกับแสงอาทิตย์
                                                                                                                                                     ุ
                                                                                                ตอนกลางวัน ทํางานโดยการฉายแสงในช่ วงเวลาที่ส้ั นมาก ดังนั้นเราจึงสามารถถ่ ายภาพ
                                                                                                วัตถุทเี่ คลือนทีด้วยความเร็วได้ ชัดเจนภายใต้ แสงจากไฟแฟลชได้ เป็ นอย่างดี แฟลชทีเ่ รา
                                                                                                             ่ ่                               สงจากไฟแฟลชได้              แฟลชที
                                                                                                คุ้นเคยกันคือแฟลชทีตดมากับกล้อง ซึ่งเป็ นแฟลชทีมีขนาดเล็ก กําลังส่ องสว่ างน้ อยมาก
                                                                                                               แฟลชที่ ิ                  นแฟลชที่
         การทางานของไฟแฟลช
         การทางานของไฟแฟลช
         การทํางานของไฟแฟลช
               งานของไฟ                                                                         มักทํางานได้ ดในระยะไม่ เกิน 3 เมตร จึงเหมาะกับการถ่ ายภาพระยะใกล้ แต่ ถ้าระยะห่ าง
                                                                                                   ิ
                                                                                                                 ี
                                                                                                เกน 5 เมตร มกจะไดภาพทมดเกนไป
                                                                                                                ั ไ้        ี่ ื ิ ไป

                                                                                                Guide Number
                                                                                                       เป็ นค่ าทีบ่งบอกถึงกําลังไฟของแฟลชตัวนั้น สามารถใช้ เป็ นแนวทางเปรียบเทียบ
                                                                                                                  ่              ไฟของแฟลชตั
                                                                                                ของแฟลชแต่
                                                                                                ของแฟลชแต่ ละรุ่นแต่ ละยีห้อได้ ค่ า Guide number ยิงมากหมายถึงกําลังไฟส่ องสว่ าง
                                                                                                                            ่                       ่
                                                                                                ได้ มากกว่ า
                                                                                                    มากกว่




 ความสัมพันธ์ ระหว่ างชัตเตอร์ กบไฟแฟลช ั                                                        ความสัมพันธ์ ระหว่ างม่ านชัตเตอร์ กบไฟแฟลช
                                                                                                                        งม่             กัั ไฟแฟลช
              กล้องแต่ ละรุ่นจะมีค่ากําหนดความเร็วชัตเตอร์ สูงสุ ดทีจะใช้ กบไฟแฟลชได้
                                                                     ่         ั                               เราสามารถตั้งค่ าให้ กล้องสั่งงานให้ แฟลชทํางานโดยสัมพันธ์ กบการ
                                                                                                                                                    แฟลชทํ                  ั
ไม่ เท่ ากัน ขึนกับเทคนิคในการสร้ างม่ านชัตเตอร์ ของแต่ ละรุ่น หากเป็ นกล้องรุ่นเก่า
                  ้                                                                              ทํางานของม่ านชัตเตอร์ ชุดที่ 1 หรือชุดที่ 2 ก็ได้ เนื่องจากม่ านชัตเตอร์ จะมี 2 ชุด
                                                                                                      งานของม่              ชุ 1 หรื           2 ก็       งจากม่           จะมี 2 ชุ
จะต้ องใช้ ความเร็วชัตเตอร์ สูงสุ ดไม่ เกิน 1/60 วินาที แต่ ถ้ากล้องรุ่ นใหม่ ทาความเร็วชัต
                                                                                 ํ               ปกติแล้วม่ านชั่ตเตอร์ ชุดที่ 1 จะปิ ดอยู่ตลอดเวลา และชุดที่ 2 จะซ่ อนอยู่ เมื่อเรากด
                                                                                                                นชั      ชุ 1 จะปิ                             2 จะซ่
เตอร์ สูงสุ ดทีใช้ กบไฟแฟลชได้ ถง 1/200 วินาที สาเหตุทเี่ ลือกใช้ ความเร็วชัตเตอร์ สูงสุ ด
                     ่ ั              ึ                                                          ปุ่ มปล่อยชัตเตอร์ ม่ านชัตเตอร์ ชุดที่ 1 จะเคลือนทีในลักษณะเปิ ดให้ แสงผ่ านเข้ ามา
                                                                                                           ยชั                      ชุ 1 จะเคลื่ ่
ไม่่ เกินค่่ าทีกาหนด เพราะต้้ องเป็ นความเร็็วชััตเตอร์์ ทช่ วงขณะเวลาหนึ่ง ม่่ านชััตเตอร์์
ไ ิ             ี่ ํ               ป็                      ี่                ึ                   กระทบฟิ ล์ม และม่ านชัตเตอร์ ชุดที่ 2 จะเคลือนตัวตามชุดที่ 1 โดยปล่อยให้ มี
                                                                                                                 และม่            ชุ 2 จะเคลื่                   1 โดยปล่
เปิ ดเต็มที่ ซึ่ง ณ เวลานั้น กล้องจะส่ งสัญญาณให้ แฟลชทํางาน ซึ่งแฟลชจะใช้ เวลาฉาย               ช่ องว่ างจะแคบหรือกว้ างขึนอยู่กบความเร็วชัตเตอร์ ที่ต้งตามหัวข้ อก่อนหน้ านี้ เมื่อ
                                                                                                                              ้       ั                 ที ั
แสงประมาณ 1/10000 วินาที แล้วดับไป จากนั้นม่ านชัตเตอร์ จึงปิ ด                                  ครบเวลาก็จะปิ ดหมด




                                                                                                    เทคนิคการใช้ แสงแฟลชที่น่ ุมนวล


                    เทคนิคการถ่ ายภาพ
                          การถ่                                                                       ไฟแฟลชบางรุ่นจะสามารถเงยหัวแฟลชได้ ทําให้ เราสามารถลดความแข็งกระด้ าง
                                                                                                ของการใช้ แฟลชติดหัวกล้องได้ เพราะไฟทีส่องกระทบเพดานจะสะท้ อนแสงลงมาอย่าง
                                                                                                                                            ่

                       การใช้ แฟลช                                                              นิ่มนวล และไม่ เกิดเงาดําทีกาแพงด้ านหลังนางแบบ สําหรับแฟลชทีไม่ สามารถเงยได้
                                                                                                                            ่ํ
                                                                                                                                                ี่          ่
                                                                                                                                                                   ่
                                                                                                อาจใช้ กระดาษไข หรือถุงพลาสติกขุ่น กั้นไว้ ทหน้ าแฟลช เพือกรองให้ แสงแฟลชนุ่มลงก็
                                                                                                ไดผลดพอสมควร แตกยงเปนแสงตรง ทาใหหนานางแบบจะดูแบนกวาการสะทอน
                                                                                                ไ้ ี                  ่ ็ ั ป็            ํใ ้ ้                     ่       ้
                                                                                                เพดาน มีข้อระวังเรื่องสีของเพดานทีสะท้ อนแสงแฟลชด้ วยคือ เพดานควรจะเป็ นสีขาว
                                                                                                                                      ่
                                                                                                เพือปองกันแสงสะท้ อนออกมาเป็ นสีตามสีเพดาน และเพดานทีใช้ วิธีนีได้ ควรเป็ น
                                                                                                    ่ ้                                                       ่        ้
                                                                                                เพดานเรียบจะดีทสุด เพราะสะท้ อนแสงได้ ดทสุด ส่ วนเพดานแบบหลังคาจั่ว จะสะท้ อน
                                                                                                                   ี่                         ี ี่
                                                                                                แสงลงมาได้ น้อยกว่ า เราอาจประยุกต์ เล่นสี สรรต่ างๆได้ โดยการใช้ กระดาษแก้วสีที่
                                                                                                ต้ องการหุ้มไว้หน้ าแฟลช เพือให้ เป็ นสีแบบแปลกๆก็ได้
                                                                                                                               ่




                                                                                                                                                                                            4
8/21/2011




การใช้ แฟลชพร้ อมกันหลายดวง
                                                                                           การใช้ แฟลชถ่ ายภาพภายนอก
             การถ่ ายภาพแบบมืออาชีพ มักจะต้ องใช้ แหล่งแสงมากกว่ า 1 แหล่งเสมอ เพือ    ่
ไม่ ให้ ภาพแบน และเปิ ดรายละเอียดภาพให้ ดูมีมิติ แต่ จะหลีกเลียงการใช้ แสงตรง
                                                              ่                                       การถ่ ายภาพตอนกลางวันกล่าวถึงไปแล้วในหัวข้ อการให้ แสงแบบเปิ ด ส่ วน
โดยทัวไปจะเป็ นแสงข้ าง โดยมีแหล่งแสงทีแรงทีสุดเป็ นหลัก อาจเป็ นแสงอาทิตย์หรือ
        ่                                    ่ ่                                           หัวข้ อนีจะกล่าวถึงการถ่ ายภาพตอนกลางคืนโดยใช้ แสงแฟลช จะคล้ายกับการประยุกต์
                                                                                                    ้
เป็ นแฟลชทีวางอยู่ใกล้นางแบบทีสุดก็ได้ และมีไฟเสริมวางห่ างออกมา เพือให้ ช่วยลบเงา
               ่                    ่                                      ่               เรื่องการให้ แสงแบบเปิ ด คือ ใช้ แฟลชลบเงา กับแนวคิดแบบใช้ ไฟพร้ อมกันหลายดวง แต่
ทเกดจากไฟหลก แตกสวางนอยกวาไฟหลก เพอใหเกดมตบนใบหนา และอาจใชไฟเสรม
   ี่ ิ ไฟ ั ่ ็ ่ ้                   ่ ไฟ ั ื่ ใ ้ ิ ิ ิ ใ ้                  ใ ้ ไฟ ิ   ในหัวข้ อนีเ้ ราจะใช้ แฟลชธรรมดาดวงเดียว ขอให้ นึกภาพว่ าเรากําลังจะถ่ ายภาพบ้ านหลัง
เพิมเติมอีกตามวัตถุประสงค์ ต่างๆ เช่ น ไฟส่ องผม ให้ เห็นรายละเอียดของผม หรืออาจใช้
     ่                                                                                     หนึ่ง โดยวางกล้องบนขาตั้งกล้อง โดยเราต้ องการให้ แสงกับบ้ านทุกด้ าน เพือให้ เห็นมิติ
                                                                                                                                                                    ่
แผ่ นสะท้ อนแสงเป็ นแสงเสริมในการลบเงาจากไฟหลักก้ได้ กรณีทมีแฟลชหลายดวง
                                                                   ี่                      ของบ้ าน ทําได้ โดยตั้งเวลาแบบเปิ ดตลอด (B) แล้วถือแฟลชไปยิงแสงแบบกดยิงแสง
จะต้ องมีอปกรณ์ พเิ ศษเพือให้ แฟลชทํางานได้ พร้ อมกันทุกตัว อุปกรณ์ ไฟในห้ องถ่ ายภาพ
             ุ               ่                                                             โดยตรงทีตวแฟลชในขณะทีกล้องกําลังเปิ ดรับแสงอยู่ไปรอบๆบ้ าน ตามจุดทีเ่ ราคิดว่ าจะ
                                                                                                      ่ ั               ่
จะมีไฟนํา เพือส่ องให้ เห็นทิศทางแสงทีตกกระทบบนตัวแบบ จะทําให้ การจัดแสงทําได้
                 ่                         ่                                               ให้ แสงจนพอใจแล้วจึงเดินกลับมาปิ ดชัตเตอร์
ง่ าย แต่ ถ้าเราไม่ มีไฟนํา เราอาจใช้ หลอดไฟผูกติดกับแฟลชก็ได้ แต่ ค่อนข้ างยุ่งยาก




                                                                                                        การถ่ ายภาพแบบมืออาชีพ มักจะต้ องใช้ แหล่งแสงมากกว่ า 1 แหล่งเสมอ เพือ  ่
 ภาพทีได้ จะเห็นว่ า ภาพบ้ านจะได้ รับแสงทั้งด้ านหน้ าและด้ านข้ างตามทีเ่ รากดแฟลช
         ่                                                                                 ไม่ ให้ ภาพแบน และเปิ ดรายละเอียดภาพให้ ดูมีมิติ แต่ จะหลีกเลียงการใช้ แสงตรง
                                                                                                                                                           ่
 ทําให้ ดูเหมือนใช้ ไฟหลายดวง แต่ ทจริงมีดวงเดียว เทคนิคนี้ สามารถประยุกต์ ใช้ กบ
                                      ่ี                                          ั        โดยทัวไปจะเป็ นแสงข้ าง โดยมีแหล่งแสงทีแรงทีสุดเป็ นหลัก อาจเป็ นแสงอาทิตย์หรือ
                                                                                                   ่                                   ่ ่
 การถ่ ายภาพภายในถําได้ ด้วย โดยการใช้ เลนส์ มุมกว้ าง แล้วเรากดแฟลชไปตามจุดที่
                       ้                                                                   เป็ นแฟลชทีวางอยู่ใกล้นางแบบทีสุดก็ได้ และมีไฟเสริมวางห่ างออกมา เพือให้ ช่วยลบเงา
                                                                                                          ่                    ่                                      ่
 น่ าสนใจต่ างๆ ควรระวังไม่ ให้ เกิดเงาเนื่องจากตัวเรายืนขวางระหว่ างกําแพงถํากับ
               ๆ                                                               ้           ทีเ่ กิดจากไฟหลัก แต่ กสว่ างน้ อยกว่ าไฟหลัก เพือให้ เกิดมิตบนใบหน้ า และอาจใช้ ไฟเสริม
                                                                                                                    ็                       ่           ิ
 กล้อง จะทําให้ เห็นเงาของตัวเรายืนอยู่หน้ ากําแพงถํา อาจจะประยุกต์ ใช้ กระดาษแก้ว สี
                                                       ้                                   เพิมเติมอีกตามวัตถุประสงค์ ต่างๆ เช่ น ไฟส่ องผม ให้ เห็นรายละเอียดของผม หรืออาจใช้
                                                                                                ่
 ต่ างๆผูกไว้ ทหน้ าแฟลช เพือให้ เกิดสีต่างบนผนังถํา ก็จะได้ ภาพทีดูสวยงามน่ าสนใจไป
               ่ี            ่                       ้             ่                       แผ่ นสะท้ อนแสงเป็ นแสงเสริมในการลบเงาจากไฟหลักก้ได้ กรณีทมีแฟลชหลายดวง
                                                                                                                                                              ี่
 อีกแบบ แต่ ระวังอย่าใช้ สีเลอะเกินไป                                                      จะต้ องมีอปกรณ์ พเิ ศษเพือให้ แฟลชทํางานได้ พร้ อมกันทุกตัว อุปกรณ์ ไฟในห้ องถ่ ายภาพ
                                                                                                        ุ               ่
                                                                                           จะมีไฟนํา เพือส่ องให้ เห็นทิศทางแสงทีตกกระทบบนตัวแบบ จะทําให้ การจัดแสงทําได้
                                                                                                            ่                        ่
                                                                                           ง่ าย แต่ ถ้าเราไม่ มีไฟนํา เราอาจใช้ หลอดไฟผูกติดกับแฟลชก็ได้ แต่ ค่อนข้ างยุ่งยาก




                                                                                                    การถ่ ายภาพกลางคืน (NIGHT LIGHT) หรือการถ่ ายภาพไฟกลางคืนที่
                                                                                                                        NIGHT LIGHT) หรื
                                                                                           สวยงาม จะได้ ภาพทีแปลกตาการถ่ ายภาพเวลากลางคืน ได้ แก่ การถ่ ายภาพทีอาศัยแสง
                                                                                                              ่                                                ่
                                                                                           สว่ างจากไฟฟาตามท้ องถนน ปายนีออนโฆษณานําพุ การยิงพลุ ห้ องโชว์ สินค้ า
                                                                                                       ้              ้                ้
                                                                                           ไฟประดับในวันเฉลิมฉลองต่ าง ๆ แสงไฟจากรถยนต์ แสงเทียน สายฟาแลบ ดวงจันทร์
                                                                                                                                                         ้

             การถ่ ายภาพกลางคืน                                                            และดวงดาวบนท้ องฟา ความสวยงามต่ าง ๆ ทีเ่ ราสามารถมองเห็นได้ ในเวลาคําคืน
                                                                                           ดังกล่าว
                                                                                                                ้                                                ่



              (NIGHT LIGHT)




                                                                                                                                                                                      5
8/21/2011




เทคนิคและการถ่ ายภาพตอนกลางคืน

           การถ่ ายภาพกลางคืนไม่ ใช่ เรื่องทียากเย็นจนเกินไป โดยเฉพาะแสงสีในเมือง
                                             ่
นั้น สามารถถ่ ายภาพให้ ดูสวยงามได้ ง่ ายๆ เพียงแต่ มีกล้องทีปรับความเร็วชัตเตอร์ ตาได้
                                                              ่                    ตํํ่
และหาวิธีปองกันภาพสั่นไหวจากความเร็วชัตเตอร์ ตา หากถือกล้องด้ วยมือ ภาพทีได้ จะ
            ้                                         ตํํ่                          ่
เบลอไม่ คมชัด วิธีทดทสุดคือใช้ ขาตั้งกล้อง ซึ่งจะช่ วยลดการสั่ นไหวได้ เป็ นอย่างดี หาก
                      ี่ ี ี่
ความเรวชตเตอรต
ความเรวชตเตอรตามากๆ เช่ น 1 วนาท หรือตํากว่ านั้น ไมควรใชนวกดปุมชตเตอร
ความเร็วชัตเตอร์ ตํํ่ามากๆ เชน 1 วินาที หรอตากวานน ไม่ ควรใช้ นิวกดป่ มชัตเตอร์
                   ตามากๆ 1 วนาท                ่          ไมควรใชนวกดปุ
                                                                    ้ กดป่
โดยตรง เพราะเพียงกดชัตเตอร์ เเบาๆ ก็อาจเกิดการสั่นไหวจนส่ งผลให้ ภาพทีได้ ขาด
                     งกดชั         บาๆ                                       ่
ความคมชัดควรใช้ สายลันชัตเตอร์ แต่ ถ้าไม่ มีกใช้ ระบบถ่ ายภาพหน่ วงเวลาก็ได้ กล้อง
                              ่                   ็
บางรุ่นเลือกหน่ วงเวลาช่ วงสั้นๆ เช่ น 2 หรือ 3 วินาที ทําให้ ถ่ายภาพได้ โดยไม่ ต้องรอ
                                       2 หรื 3 วิ                                                     การถ่ ายภาพตอนกลางคืนวัตถุทถูกถ่ ายก็คอต้ นกําเนิดแสงตามท้ องถนน เช่ น
                                                                                                                                   ี่       ื
คอยนานเกินไป สําหรับกล้องดิจิตอลเมื่อมีสิ่งรองรับกล้องทีมั่นคง ก็ไม่ จําเป็ นต้ องใช้
                                                                ่                             ไฟของรถยนต์ ไฟข้ างถนน ไฟจากหน้ าต่ างของตึกรามบ้ านช่ องจึงไม่ มีการจัดแสง
ความไวแสงสู งๆ ควรปรับ ISO ไปทีตาสุ ด เพือให้ ภาพทีได้ มี Noise น้ อยที่สุด
                                ISO ไปที่ ่ํ        ่       ่ Noise น้                        เหมือนตอนถ่ ายภาพตอนกลางวัน ถ่ ายภาพตอนกลางคืนขึนอยู่กบว่ าเราอยากจะแสดง
                                                                                                                                                   ้     ั
หรือไม่ มีเลย                                                                                 อะไรในภาพถ่ าย




             การถ่ ายภาพในเวลากลางคืนนั้นต้ องมีอปกรณ์ ทจําเป็ นดังนี้
                                                 ุ      ี่
                                                                                                        วิธีการถ่ ายภาพ
 1. กล้องถ่ ายภาพชนิดทีมีความเร็วชัตเตอร์ B หรือ T
                       ่
 2. ขาตั้งกล้อง                                                                               1. ติดตั้งกล้องกับขาตั้งกล้องให้ มั่นคง พร้ อมติดตั้งสายลันชัตเตอร์ ให้ พร้ อม
                                                                                                                                                                ่        ให้
 3. สายไกชัตเตอร์
    สายไกชั                                                                                   2. ส่ องกล้องหาทิศทางในการถ่ ายภาพ ให้ ได้ มุมทีเ่ หมาะทีสุด        ่
 4. นาฬิ กาจับเวลา                                                                            3. คาดคะเน สภาพแสงเพือกําหนดเวลา และรู รับแสง (โดยปกติถ้าเป็ นไฟตามถนน
                                                                                                                            ่
 5. ไฟฉายดวงเล็ก ๆ                                                                            ปกติ จะใช้ ประมาณ 5.6หรือ 8)
 6. สมุดบันทึกสําหรับจดรายละเอียด เช่ น เวลาในการเปิ ดหน้ ากล้อง                              4. ตั้งความเร็วชัตเตอร์ ที่ B ลันชัตเตอร์ ค้้ างไว้ ให้ รถวิ่งผ่ านจนเป็ นทีพอใจ ประมาณ
                                                                                                                          ที ่          ค                                 ่
                                                                                              10 -60 วินาที หรือถ้ าทิงช่ วงเวลานาน ใช้ ผ้าดําคลุมหน้ าเลนส์ ไว้ ก่อนก็ได้ การถ่ ายภาพ
                                                                                                                      ้
                                                                                              ไฟกลางคืน ควรถ่ ายเผือหลาย ๆ ภาพ โดยใช้ เวลาในการบันทึกภาพ และขนาดรู รับแสง
                                                                                                                        ่
                                                                                              ต่ าง ๆ กัน และจดบันทึกไว้ จะดีทสุด และควรฝึ กหัดเป็ นประจําเพราะต้ องอาศัยความ
                                                                                                                                 ี่
                                                                                              ชํานาญอย่างสู งในการถ่ ายภาพประเภทนี้
                                                                                                                           ยภาพประเภทนี




ดังนั้นหลักการถ่ ายภาพกลางคืนโดยการใช้ โหมดกลางคืนนั้น มีวธีการดังนี้  ิ
           1. การปรับ เอ๊กส์ โพส ควรปรับ ให้ โอเวอร์ ประมาณ +0.3 ขึนไป จน ถึง 1.2 โดย
                                                                            ้
ยิงปรับ โอเวอร์ มาเท่ าไหร่ มือต้ อง ยิงนิ่งขึนไปเท่ านั้น ถ้ าต้ องปรับเอ๊กส์ โพส เยอะมากๆ
   ่                                   ่      ้
ควรใช้ ขาตั้งกล้อง หรือ ที่วาง สําหรับ ถ่ ายภาพน่ าเหมาะสมกว่ า
           2. แนะนําให้ เลือก อุณหภูมิสี แบบ แสงนีออน
           3. ขณะเล็งจะถ่ ายรู ป พยายามดู ว่ า สังเกต เห็น Noise ในหน้ าจอหรือไม่ เพราะ
ถ้ าเห็น ในขณะ ถ่ าย เมื่อนําภาพทีถ่ายลงคอมพิวเตอร์ ภาพทีถ่ายมานั้นจะยิงมี Noise มาก
                                    ่                              ่              ่                         4. สิ่งทีบ่งชี้ได้ ง่ ายๆ เลย เรื่อง Noise มากหรือน้ อย หาก ถ่ ายโหมดกลางคืน
                                                                                                                     ่
ขึนอีก
     ้                                                                                           แล้้วเวลากดเล็งโ สหากสามารถโฟกัสไ ้ เร็วโดยทีเ่ี ราก็ปรับเอ๊๊กส์์ โพสไว้้ เยอะนั่น
                                                                                                                   โฟกั                  โ ได้ โ                                ไ
                                                                                                 หมายถึงรู ปนั้นจะคมชัดและมี Noise ไม่ มากต่ างกับรูปทีเ่ ราต้ องใช้ เวลาหาโฟกัส
                                                                                                 อัตโนมัตนานๆ
                                                                                                          ิ
                                                                                                            5. ข้ อสําคัญเมื่อกดชัตเตอร์ ลงไปแล้วควรจะนิ่งอยู่สัก 1 วินาทีก่อนเปลียน    ่
                                                                                                 ตําแหน่ งกล้อง
                                                                                                            6. และสุ ดท้ าย ถ้ าไม่ มีขาตั้งกล้อง สิ่งทีสําคัญนั้นคือมือต้ องนิ่งมากๆเอาแบบ
                                                                                                                                                        ่
                                                                                                 ว่ าตอนกดชัตเตอร์ หยุด หายใจเลยได้ ยิงดี       ่




                                                                                                                                                                                               6

More Related Content

What's hot

กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์pongrawee
 
กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์netzad
 
คู่มือถ่ายภาพ
คู่มือถ่ายภาพคู่มือถ่ายภาพ
คู่มือถ่ายภาพtelecentreacademy
 
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)Mew' Cifer
 
แบบทดสอบวิชาการถ่ายภาพเบื้องต้น
แบบทดสอบวิชาการถ่ายภาพเบื้องต้นแบบทดสอบวิชาการถ่ายภาพเบื้องต้น
แบบทดสอบวิชาการถ่ายภาพเบื้องต้นChamp Woy
 
เรื่องกล้องจุลทรรศน์
เรื่องกล้องจุลทรรศน์เรื่องกล้องจุลทรรศน์
เรื่องกล้องจุลทรรศน์TANIKAN KUNTAWONG
 
คู่มือ Canon EOS 500D ภาษาไทย
คู่มือ Canon EOS 500D ภาษาไทยคู่มือ Canon EOS 500D ภาษาไทย
คู่มือ Canon EOS 500D ภาษาไทยNara Tuntratisthan
 
กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์ssuser9219af
 
Macro phography
Macro phographyMacro phography
Macro phographyedtech29
 
การถ่ายภาพ copy
การถ่ายภาพ copyการถ่ายภาพ copy
การถ่ายภาพ copyedtech29
 

What's hot (20)

กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์
 
กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์
 
คู่มือถ่ายภาพ
คู่มือถ่ายภาพคู่มือถ่ายภาพ
คู่มือถ่ายภาพ
 
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
 
แบบทดสอบวิชาการถ่ายภาพเบื้องต้น
แบบทดสอบวิชาการถ่ายภาพเบื้องต้นแบบทดสอบวิชาการถ่ายภาพเบื้องต้น
แบบทดสอบวิชาการถ่ายภาพเบื้องต้น
 
เรื่องกล้องจุลทรรศน์
เรื่องกล้องจุลทรรศน์เรื่องกล้องจุลทรรศน์
เรื่องกล้องจุลทรรศน์
 
Microscope
MicroscopeMicroscope
Microscope
 
Electron microscope
Electron microscopeElectron microscope
Electron microscope
 
1
 1  1
1
 
คู่มือ Canon EOS 500D ภาษาไทย
คู่มือ Canon EOS 500D ภาษาไทยคู่มือ Canon EOS 500D ภาษาไทย
คู่มือ Canon EOS 500D ภาษาไทย
 
กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์
 
Macro phography
Macro phographyMacro phography
Macro phography
 
การถ่ายภาพ copy
การถ่ายภาพ copyการถ่ายภาพ copy
การถ่ายภาพ copy
 
Canon Eos1000d Thai
Canon Eos1000d ThaiCanon Eos1000d Thai
Canon Eos1000d Thai
 
10วิธีแก้ปัญหาในการใช้กล้องดิจิตอล
10วิธีแก้ปัญหาในการใช้กล้องดิจิตอล10วิธีแก้ปัญหาในการใช้กล้องดิจิตอล
10วิธีแก้ปัญหาในการใช้กล้องดิจิตอล
 
Nikon d80thai
Nikon d80thaiNikon d80thai
Nikon d80thai
 
Eep time issue_2
Eep time issue_2Eep time issue_2
Eep time issue_2
 
Light[1]
Light[1]Light[1]
Light[1]
 
Canon 600 d thai manual
Canon 600 d thai manualCanon 600 d thai manual
Canon 600 d thai manual
 
Techno
TechnoTechno
Techno
 

Viewers also liked (20)

Dr No
Dr NoDr No
Dr No
 
Testdrphil
TestdrphilTestdrphil
Testdrphil
 
Diabetes herbal cure
Diabetes herbal cureDiabetes herbal cure
Diabetes herbal cure
 
อุตสาหกรรมกุ้ง
อุตสาหกรรมกุ้งอุตสาหกรรมกุ้ง
อุตสาหกรรมกุ้ง
 
Concepción De Enseñanza-Aprendizaje
Concepción De Enseñanza-AprendizajeConcepción De Enseñanza-Aprendizaje
Concepción De Enseñanza-Aprendizaje
 
Reflexionflores
ReflexionfloresReflexionflores
Reflexionflores
 
Emule
EmuleEmule
Emule
 
Water Disaster
Water DisasterWater Disaster
Water Disaster
 
Abrazo
AbrazoAbrazo
Abrazo
 
Trail val de loue combine classement general
Trail val de loue combine classement generalTrail val de loue combine classement general
Trail val de loue combine classement general
 
Liste inscrits 19 kms
Liste inscrits 19 kmsListe inscrits 19 kms
Liste inscrits 19 kms
 
Türkiye'de i̇klim elemanları
Türkiye'de i̇klim elemanlarıTürkiye'de i̇klim elemanları
Türkiye'de i̇klim elemanları
 
El wiwichu
El wiwichuEl wiwichu
El wiwichu
 
Comobajarelprec Carburantes
Comobajarelprec CarburantesComobajarelprec Carburantes
Comobajarelprec Carburantes
 
Cinco Agujeros
Cinco AgujerosCinco Agujeros
Cinco Agujeros
 
Coisas esquecidas
Coisas esquecidasCoisas esquecidas
Coisas esquecidas
 
Simya Yayinlari Matematik 2 Soru Bankasi
Simya Yayinlari Matematik 2 Soru BankasiSimya Yayinlari Matematik 2 Soru Bankasi
Simya Yayinlari Matematik 2 Soru Bankasi
 
Genre research
Genre research Genre research
Genre research
 
Tarefa 2 Sessao 5 AcçõEs Futuras Be
Tarefa 2 Sessao 5   AcçõEs Futuras BeTarefa 2 Sessao 5   AcçõEs Futuras Be
Tarefa 2 Sessao 5 AcçõEs Futuras Be
 
Recap
RecapRecap
Recap
 

More from Worapon Masee

กล้องถ่ายภาพผลิตสื่อ
กล้องถ่ายภาพผลิตสื่อกล้องถ่ายภาพผลิตสื่อ
กล้องถ่ายภาพผลิตสื่อWorapon Masee
 
สื่อการออกแบบ
สื่อการออกแบบสื่อการออกแบบ
สื่อการออกแบบWorapon Masee
 
สื่อประเภทเครื่องเสียง
สื่อประเภทเครื่องเสียงสื่อประเภทเครื่องเสียง
สื่อประเภทเครื่องเสียงWorapon Masee
 
สื่อกิจกรรม
สื่อกิจกรรมสื่อกิจกรรม
สื่อกิจกรรมWorapon Masee
 
สื่อเสียง Cd
สื่อเสียง Cdสื่อเสียง Cd
สื่อเสียง CdWorapon Masee
 
สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ
สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ
สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศWorapon Masee
 
ภาพยนตร์เบื้องต้น
ภาพยนตร์เบื้องต้นภาพยนตร์เบื้องต้น
ภาพยนตร์เบื้องต้นWorapon Masee
 
ประเภทของสื่อ
ประเภทของสื่อประเภทของสื่อ
ประเภทของสื่อWorapon Masee
 
นิทรรศการ
นิทรรศการนิทรรศการ
นิทรรศการWorapon Masee
 
นิตยสาร
นิตยสารนิตยสาร
นิตยสารWorapon Masee
 
ต้นฉบับงานพิมพ์
ต้นฉบับงานพิมพ์ต้นฉบับงานพิมพ์
ต้นฉบับงานพิมพ์Worapon Masee
 
การวางแผนสื่อ
การวางแผนสื่อการวางแผนสื่อ
การวางแผนสื่อWorapon Masee
 
การเลือกสื่อ
การเลือกสื่อการเลือกสื่อ
การเลือกสื่อWorapon Masee
 
กระบวนการเรียนรู้
กระบวนการเรียนรู้กระบวนการเรียนรู้
กระบวนการเรียนรู้Worapon Masee
 
โปสเตอร์ แผ่นพับ
โปสเตอร์ แผ่นพับโปสเตอร์ แผ่นพับ
โปสเตอร์ แผ่นพับWorapon Masee
 
โทรทัศน์เบื้องต้น
โทรทัศน์เบื้องต้นโทรทัศน์เบื้องต้น
โทรทัศน์เบื้องต้นWorapon Masee
 

More from Worapon Masee (17)

กล้องถ่ายภาพผลิตสื่อ
กล้องถ่ายภาพผลิตสื่อกล้องถ่ายภาพผลิตสื่อ
กล้องถ่ายภาพผลิตสื่อ
 
สื่อการออกแบบ
สื่อการออกแบบสื่อการออกแบบ
สื่อการออกแบบ
 
สื่อประเภทเครื่องเสียง
สื่อประเภทเครื่องเสียงสื่อประเภทเครื่องเสียง
สื่อประเภทเครื่องเสียง
 
สื่อกิจกรรม
สื่อกิจกรรมสื่อกิจกรรม
สื่อกิจกรรม
 
สื่อเสียง Cd
สื่อเสียง Cdสื่อเสียง Cd
สื่อเสียง Cd
 
สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ
สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ
สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ภาพยนตร์เบื้องต้น
ภาพยนตร์เบื้องต้นภาพยนตร์เบื้องต้น
ภาพยนตร์เบื้องต้น
 
ประเภทของสื่อ
ประเภทของสื่อประเภทของสื่อ
ประเภทของสื่อ
 
นิทรรศการ
นิทรรศการนิทรรศการ
นิทรรศการ
 
นิตยสาร
นิตยสารนิตยสาร
นิตยสาร
 
ต้นฉบับงานพิมพ์
ต้นฉบับงานพิมพ์ต้นฉบับงานพิมพ์
ต้นฉบับงานพิมพ์
 
การวางแผนสื่อ
การวางแผนสื่อการวางแผนสื่อ
การวางแผนสื่อ
 
การเลือกสื่อ
การเลือกสื่อการเลือกสื่อ
การเลือกสื่อ
 
กระบวนการเรียนรู้
กระบวนการเรียนรู้กระบวนการเรียนรู้
กระบวนการเรียนรู้
 
โปสเตอร์ แผ่นพับ
โปสเตอร์ แผ่นพับโปสเตอร์ แผ่นพับ
โปสเตอร์ แผ่นพับ
 
โทรทัศน์เบื้องต้น
โทรทัศน์เบื้องต้นโทรทัศน์เบื้องต้น
โทรทัศน์เบื้องต้น
 
Computer network
Computer networkComputer network
Computer network
 

แฟลช

  • 1. 8/21/2011 แฟลช ประกอบด้ วย แฟลช 1. อุปกรณ์ ในการถ่ ายภาพ 2. ประเภทของแฟลช ประเภทของแฟลช 3. การทํางานของไฟแฟลช การทํ งานของไฟแฟลช 4. เทคนิคการถ่ ายภาพ/การใช้ แฟลช ยภาพ/ แฟลช 5. การถ่ ายภาพกลางคืน (NIGHT LIGHT) การถ่ อุปกรณ์ ในการถ่ ายภาพ ประกอบด้ วย 1. ตัวกล้อง (Body) ทําหน้ าทีเ่ ป็ นห้ องมืดปองกันแสงภายนอกเข้ าไปถูกฟิ ล์ม Body) ทํ ้ 2. เลนส์ (Lens) ทําหน้ าทีรับแสงสะท้ อนจากวัตถุส่งไปยังฟิ ล์ม ่ อุปกรณในการถายภาพ อปกรณ์ ในการถ่ ายภาพ (Lens) ทํ 3.  ช่ องมองภาพ (View Finder) อยู่ทางด้ านหลังของกล้อง View Finder) อยู 4.  ชัตเตอร์์ ((Shutter) ทําหน้ าทีควบคุมเวลาฉายแสง (Exposure Time) (Shutter) ทํ ) ่ ) 5.   แผ่ นไดอะแฟรม (Diaphram) ทําหน้ าทีควบคุมปริมาณของแสงทีตกบน .   แผ่ Diaphram) ทํ ่ ่ แผ่ นฟิ ล์ม 6.  รู รับแสง (Aperture) เมื่อต้ องการให้ แสงเข้ ามากก็เปิ ดรู รับแสงให้ มีขนาดใหญ่ (Aperture) เมื และต้ องการให้ ปริมาณแสงเข้ าไปถูกฟิ ล์มน้ อยก็เปิ ดรู ให้ เล็กลง อุปกรณ์ ที่ใช้ ร่วมกับกล้ อง 3. แว่ นกรองแสง (Filters) เป็ นอุปกรณ์ ทใช้ ประกอบกับเลนส์ เพือให้ ได้ ภาพที่สวยงาม ี่ ระกอบกั ่ แตกต่ างไปจากภาพปกติ 1. เครื่องวัดแสง (Exposure light meter) เป็ นเครื่องมือทีช่วยบอก ่ ลักษณะของแสงที่พอเหมาะ 4. สายลันไก (Shutter Release Cable) เป็ นอุปกรณ์ ที่ใช้ ต่อเข้ ากับปุ่ มลันไกช่ วยลันไก ่ ่ ่ 2. ขาตั้งกล้อง (Tripod, Camera Supports)  . ขาตั ชัดเตอร์ 1
  • 2. 8/21/2011 5. ไฟแฟลชอิเลคโทรนิค (Electronic Flash) เป็ นอุปกรณ์ ทเี่ ป็ นแหล่งของแสง 7. กระเป๋ ากล้อง ( Case) เป็ นอุปกรณ์ ทควรจะสวมใส่ กล้องไว้ ตลอด เพราะปองกัน . กระเป๋ ( Case) เป็ ี่ ้ สว่ างเพือช่ วยถ่ ายรู ป เมื่อแสงไม่ พอ ่ การขูดขีดของตัวกล้อง และเลนส์ ปองกันการกระทบกระเทือน ้ 8. เครื่องขับเคลือนฟิ ล์มโดยอัตโนมัติ (Motor Drive,Autowinder)  . เครื ่ (Motor Drive,Autowinder)  อุปกรณ์ ชิ้นนีอาจไม่ จาเป็ นในการถ่ ายรู ปปกติ เพราะมีเวลาในการเลือนฟิ ล์มด้ วยตนเอง ้ ํ ่ แตสาหรบงานอาชพทตองการบนทกภาพตดตอกนในเวลาสนๆ แต่ สําหรับงานอาชีพทีต้องการบันทึกภาพติดต่ อกันในเวลาสั้นๆ ่ 9. กระเป๋ าเก็บกล้อง และอุปกรณ์ อนๆ (Baggage) เป็ นกระเป๋ าเอนกประสงค์ ที่ ื่ (Baggage) เป็ 6. เลนส์ ฮูด (Lense Hood) เป็ นอุปกรณ์ ทใช้ เพือกันการสะท้ อนของแสง ี่ ่ สามารถบรรจุกล้องและอุปกรณ์ ประกอบต่ างๆ นําไปใช้ ถ่ายรู ปได้ ช่วยปองกันการ ้ กระแทกได้ เป็ นอย่างดี แฟลชทีมีใช้ กบอยู่ในปัจจุบันจะสามารถแบ่ งได้ เป็ นสองแบบ คือ แฟลชที่ตดกับตัว ่ ั ิ กล้อง หรือบางครั้งเรียกว่ าแฟลช Pop up ตามลักษณะของตัวแฟลชทีจะเด้ งขึนมาเมื่อเปิ ด ่ ้ การใช้ งาน กับแฟลชภายนอก โดยเรียกตามลักษณะของแฟลชที่แยกออกมาจากตัวกล้อง 1. แฟลชติดตัวกล้ อง หรือแฟลช Pop up จะเป็ นแฟลชทีนิยมใช้ งานมากทีสุด . แฟลชติ Pop up จะเป็ นแฟลชที่ ่ เนื่องจากเป็ นแฟลชทีมีมากับตัวกล้อง และหากตั้งโหมดการถ่ ายภาพเป็ นโหมดอัตโนมัตตว นแฟลชที่ ิ ั ประเภทของแฟลช แฟลชนี้ ั แฟลชนียงทํางานโดยอัตโนมัตเิ มื่อสภาพแสงไม่ เพียงพอสําหรับการถ่ ายภาพ 2. แฟลชภายนอกโดยทัวไปจะสามารถทีจะปรับมุมองศาของแฟลชได้ โดย . แฟลชภายนอกโดยทั่ ่ องศาของแฟลชได้ การก้มเงย หรือหมุนซ้ ายขวาของตัวหัวแฟลช ซึ่งทําให้ สามารถกําหนดทิศทางของแสง ได้ มากขึน โดยสามารถทีจะปรับให้ ตวแฟลชยิงสะท้ อนเพดาน หรือพนัง ให้ แสง ากขึ้ ่ ั แฟลชยิ กระจายมากระทบตัวแบบ หรือทีเ่ รียกว่ าการ Bounce flash ได้ ในแฟลชบางตัว Bounce flash ได้ ในแฟลชบางตั หากไม่ มีพนัง หรือเพดานให้ แสงยิงตกกระทบ ตัวแฟลชเองก็จะมีแผ่ นสีขาว ๆ อยู่ แฟลชเองก็ ด้ านบนของแฟลชสําหรับดึงออกมาทีเ่ รียกว่ า แผ่ น Bounce โดยแสงแฟลชจะ นบนของแฟลชสํ Bounce โดยแสงแฟลชจะ ั ่ กระทบกบแผนนีี้ และสะท้้ อนแสงออกไปยงตวแบบแทน เทคนิิคการ Bounce ไป ั ั Bounce  flash นี้ flash นีจะช่ วยทําให้ แสงแฟลชดูน่ ุมขึน และไม่ ทาให้ ภาพถ่ ายทีได้ มีตวแบบทีมีมิติ สงแฟลชดู ้ ํ ่ ั ่ มากขึน้ 2
  • 3. 8/21/2011 ประเภทของแฟลชตามการทํางาน แบ่ งประเภทตามลักษณะการทํางานของแฟลชแล้วสามารถแบ่ งเป็ น 2 ประเภท คือ 1.1 F (Fast Peak) มีช่วงความสว่ างสั้นมากและแรงส่ องสว่ างค่ อนข้ างน้ อย ความสว่ าง 1. แฟลชหลอด (Bulb Flash) ประกอบด้ วยตัวหลอดที่ทาด้ วยแก้วใสบางฉาบ ํ ถึงจุดสู งสุ ดภายในเวลา 0.005-0.009 วินาที นับจากการกดสวิทช์ ดังนั้นเมื่อใช้ ความเร็ว 005- ด้ วยพลาสติคใสสี ฟาหรือสี นําเงินภายในหลอดบรรจุด้วยลวดโลหะพวกอลูมิเนียม ้ ้ กับแฟลชชนิดนี้ สามารถใช้ กบความเร็วของชัตเตอร์ ได้ สูงถึง 1/100 หรือ 1/125 วินาที แฟลชชนิ ั ได้ (Aluminium) หรือเซอร์ โคเนียม (Zirconium) ทําเป็ นเส้ นเล็ก ๆ มากมาย และมีก๊าซ Aluminium) 1.2 M (Medium Peak) ให้ ความสว่ างนานกว่ าประเภทแรก และช่ วงเวลาในการลุก ออกซิเจนช่ วยในการเผาไหม้ ภายในจะมีใส้ หลอด เมื่อใส้ หลอดลุกไหม้ ถงทีสุด (Peak) ึ ่ ไหม้ ปานกลาง คือ ให้ ความสว่ างถึงจุุดสูู งสุุ ดภายในเวลา 0.018-0.024 วินาที ฉะนั้นใช้ 018- แล้วจะค่ อย ๆ ดับลง ซึ่งความสว่ าง (Flash Duration) นั้นอยู่ระหว่ าง 1/200 ถึง 1/25 ความเร็วชัตเตอร์ ได้ ไม่ เกิน 1/50 ปกติจะใช้ 1/60 วินาที แต่ ถ้าหากอยากให้ สว่ างมากกว่ า ได้ วินาที มีจานสะท้ อนแสงเป็ นตัวสะท้ อน และอีกชนิดหนึ่ง เป็ นแบบลูกเต๋ า (Cube) นั้นอาจใช้ 1/30 วินาทีกได้็ ภายในบรรจุหลอดเล็ก ๆ 4 หลอดเมื่อหลอดใดทํางานตัวแฟลชจะหมุนไป นอกจากนั้น อาจมีแฟลชทีเ่ รียงลําดับแถว เรียกว่ า ฟลิปแฟลช (FlipFlash) อย่างไรก็ตามถ้ าหากจะ FlipFlash) แยกช่ วงเวลาของความสว่ างเป็ นเกณฑ์ แล้ว แฟลชหลอดมีอยู่ 4 พวก คือ 2. แฟลชอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Flash Strobe) ผู้ทคดค้ นได้ สําเร็จ แฟลชอิ ี่ ิ 1.3 S (Slow Peak) ให้ ความสว่ างถึงจุดสู งสุ ดภายในเวลา 0.03 วินาที ถือได้ 3 S (Slow Peak) ให้ 03 วิ และนํามาใช้ เป็ นคนแรก คือ ฮาโรลด์ อี เอดเจอร์ ตน (Dr.Harold EEdgerton) กับ ฮาโรลด์ ตัั EEdgerton) ว่ าเป็ นการลุกไหม้ นานทีสุดและให้ กาลังส่ องสว่ างสู งมากเหมาะสําหรับ การใช้ กล้องใน ่ ํ ผู้ร่วมงานของเขาแห่ งสถาบัน MIT เขาให้ ชื่อสิ่งประดิษฐ์ นีว่า Kodatron Speed ้ สตูดโอ และการใช้ เทคนิคในการถ่ ายภาพแบบเปิ ดแฟลช (Open Flash) โดยไม่ ิ ดแฟลช Open Flash) โดยไม่ Lamp แฟลชอิเล็กทรอนิกส์ ได้ พฒนามาอย่างรวดเร็วบางชนิดมีตาอิเล็กทรอนิกส์ ที่ แฟลชอิ ั ต้ องต่ อสายแฟลชความเร็วชัตเตอร์ ทเี่ หมาะกับแฟลชชนิดนีประมาณ ไม่ เกิน 1/25  สายแฟลชความเร็ ที แฟลชชนิ ้ ใช้ ควบคุมปริมาณของแสงให้ ออกมาพอดีกบระยะการถ่ ายภาพได้ ซึ่งโอกาสทีจะทํา ั ่ หรอ 30 วนาท หรือ 1/30 วินาที 30 วนาท ให้ ได้ แสงไม่ พอดีเกือบไม่ มเี ลยแฟลชอิเล็กทรอนิกส์ มีขนาดให้ เลือกได้ ตามต้ องการ ลยแฟลชอิ 1.4 FP (Focal Plane) ให้ แสงในช่ วงลุกไหม้ อย่างสมํ่าเสมอให้ ความสว่ างถึง 4 FP (Focal Plane) ให้ และกําลังส่ องสว่ างแตกต่ างกันไป ปกติจะมีอายุการใช้ งานเกินกว่ า 10,,000 ครั้ งขึน 10 ้ ขีดสู งสุ ด ภายในเวลา 0.016‐0.018 วินาที เหมาะในการใช้ กบกล้องแบบ ม่ านชัต 016‐ 018 วิ ั ไป ทั้งนีขึนอยู่กบการระวังรักษา แฟลชชนิดนีจะมีแบตเตอรี่แห้ งเป็ นตัวจ่ าย ้ ้ ั แฟลชชนิ ้ เตอร์ ใช้ ความเร็วชัตเตอร์ ได้ 1/60 วินาที ใช้ ได้ 60 วิ พลังงาน ให้ บรรจุลงในคอนเดนเซอร์ และทําให้ แฟลชทํางาน ช่ วงเวลาส่ องสว่ าง แฟลชทํ ของแสงสั้นมากประมาณ 1/500 ถึง 1/2000 วินาที 3. TTL Flash (Through The Lens - Off the Film) หมายถึง เทคโนโลยี ประเภทของแฟลชมี ประเภทของแฟลชมี 4 ประเภท ดังนี้ แฟลชทีทางานสัมพันธ์ กบปริมาณแสงทีสะท้ อนผ่ านเลนส์ โดยจะมีเซนเซอร์ ตรวจจับ ่ ํ ั ่ 1. Manual Flash หมายถึง แฟลชทีปล่อยพลังงานออกมาตามสเปกของ ่ แสงทีผ่านเลนส์ เข้ ามาสะท้ อนกับฟิ ล์ม เมื่อฟิ ล์มได้ รับแสงในปริมาณทีเ่ ซนเซอร์ คดว่ า ่ ิ ตัวเครื่องทุกครั้งที่ยงแสงออกมา ผู้ใช้ จําเป็ นต้ องควบคุมกล้อง (ความเร็วชัตเตอร์ และรู ิ เหมาะสมแล้ว ก็จะสั่งให้ แฟลชหยุดการทํางาน เป็ นการพัฒนาต่ อจาก Thyristor ปรับแสง) ให้ สัมพันธ์ กลับแฟลช เพือให้ ฟิลม์ หรือเซนเซอร์ ได้ รับแสงทีเ่ พียงพอไม่ สว่ าง แสง) ่ Flash โดยให้ กล้องมีส่วนร่ วมในการกําหนดปริมาณแสง ในบางกรณีพบว่ า Thyristor หรือมืดเกินไปแฟลชบางรุ่นสามารถปรับชดเชยกําลังแฟลชได้ ค่าละ1/2 - 1/3 Stop ละ1 Flash ให้ ผลทีดกว่ า ่ ี ่ ี่ 2. Thyristor Flash หมายถึง แฟลชทีมีเซลรับแสงอยู่ทด้านหน้ าของตัวแฟลช 4. Intelligent Flash หมายถึงเทคโนโลยีแฟลชที่ทางานสัมพันธ์ กบปริมาณ ํ ั โดยจะปรับลดกําลังแฟลชลงให้ สอดคล้องกับสภาพแวดล้อม ผู้ใช้ ยงจําเป็ นต้ องควบคุม ั แสงทีสะท้ อนผ่ านเลนส์ โดยก่อนทีม่านชัตเตอร์ จะทํางานแฟลชจะทํางานล่วงหน้ า ่ ่ กล้อง(ความเร็วชัตเตอร์ และรู ปรับแสง) ให้ สัมพันธ์ กลับแฟลช เพือให้ ฟิลม์ หรือเซนเซอร์ ง( แสง) ่ ก่อนหนึ่งครั้ง (pre flash) โดยจะมีเซนเซอร์ ตรวจจับแสงทีผ่านเลนส์ เข้ ามาสะท้ อน ่ ได้ รับแสงทีเ่ พียงพอไม่ สว่ าง หรือ มืดเกินไป พัมนาขึนจากแฟลชแมลนวลเดิมทําให้ ง่าย ้ กับกระจกสะท้ อนภาพ ส่ งข้ อมูลปริมาณแสงไปยังแฟลช ให้ แฟลชกําหนดปริมาณแสง ต่ อการใช้ งานมากขึน โดยผู้ใช้ ไม่ จําเป็ นต้ องกังวลกับการปรับชดเชยแฟลช ้ ทีจะฉายจริงได้ อย่างเหมาะสม ่ 3
  • 4. 8/21/2011 ไฟแฟลชเป็ ไฟแฟลชเป็ นอุปกรณ์ ให้ แสงในขณะถ่ ายภาพ มีอณหภูมิสีใกล้เคียงกับแสงอาทิตย์ ุ ตอนกลางวัน ทํางานโดยการฉายแสงในช่ วงเวลาที่ส้ั นมาก ดังนั้นเราจึงสามารถถ่ ายภาพ วัตถุทเี่ คลือนทีด้วยความเร็วได้ ชัดเจนภายใต้ แสงจากไฟแฟลชได้ เป็ นอย่างดี แฟลชทีเ่ รา ่ ่ สงจากไฟแฟลชได้ แฟลชที คุ้นเคยกันคือแฟลชทีตดมากับกล้อง ซึ่งเป็ นแฟลชทีมีขนาดเล็ก กําลังส่ องสว่ างน้ อยมาก แฟลชที่ ิ นแฟลชที่ การทางานของไฟแฟลช การทางานของไฟแฟลช การทํางานของไฟแฟลช งานของไฟ มักทํางานได้ ดในระยะไม่ เกิน 3 เมตร จึงเหมาะกับการถ่ ายภาพระยะใกล้ แต่ ถ้าระยะห่ าง ิ ี เกน 5 เมตร มกจะไดภาพทมดเกนไป ั ไ้ ี่ ื ิ ไป Guide Number เป็ นค่ าทีบ่งบอกถึงกําลังไฟของแฟลชตัวนั้น สามารถใช้ เป็ นแนวทางเปรียบเทียบ ่ ไฟของแฟลชตั ของแฟลชแต่ ของแฟลชแต่ ละรุ่นแต่ ละยีห้อได้ ค่ า Guide number ยิงมากหมายถึงกําลังไฟส่ องสว่ าง ่ ่ ได้ มากกว่ า มากกว่ ความสัมพันธ์ ระหว่ างชัตเตอร์ กบไฟแฟลช ั ความสัมพันธ์ ระหว่ างม่ านชัตเตอร์ กบไฟแฟลช งม่ กัั ไฟแฟลช กล้องแต่ ละรุ่นจะมีค่ากําหนดความเร็วชัตเตอร์ สูงสุ ดทีจะใช้ กบไฟแฟลชได้ ่ ั เราสามารถตั้งค่ าให้ กล้องสั่งงานให้ แฟลชทํางานโดยสัมพันธ์ กบการ แฟลชทํ ั ไม่ เท่ ากัน ขึนกับเทคนิคในการสร้ างม่ านชัตเตอร์ ของแต่ ละรุ่น หากเป็ นกล้องรุ่นเก่า ้ ทํางานของม่ านชัตเตอร์ ชุดที่ 1 หรือชุดที่ 2 ก็ได้ เนื่องจากม่ านชัตเตอร์ จะมี 2 ชุด งานของม่ ชุ 1 หรื 2 ก็ งจากม่ จะมี 2 ชุ จะต้ องใช้ ความเร็วชัตเตอร์ สูงสุ ดไม่ เกิน 1/60 วินาที แต่ ถ้ากล้องรุ่ นใหม่ ทาความเร็วชัต ํ ปกติแล้วม่ านชั่ตเตอร์ ชุดที่ 1 จะปิ ดอยู่ตลอดเวลา และชุดที่ 2 จะซ่ อนอยู่ เมื่อเรากด นชั ชุ 1 จะปิ 2 จะซ่ เตอร์ สูงสุ ดทีใช้ กบไฟแฟลชได้ ถง 1/200 วินาที สาเหตุทเี่ ลือกใช้ ความเร็วชัตเตอร์ สูงสุ ด ่ ั ึ ปุ่ มปล่อยชัตเตอร์ ม่ านชัตเตอร์ ชุดที่ 1 จะเคลือนทีในลักษณะเปิ ดให้ แสงผ่ านเข้ ามา ยชั ชุ 1 จะเคลื่ ่ ไม่่ เกินค่่ าทีกาหนด เพราะต้้ องเป็ นความเร็็วชััตเตอร์์ ทช่ วงขณะเวลาหนึ่ง ม่่ านชััตเตอร์์ ไ ิ ี่ ํ ป็ ี่ ึ กระทบฟิ ล์ม และม่ านชัตเตอร์ ชุดที่ 2 จะเคลือนตัวตามชุดที่ 1 โดยปล่อยให้ มี และม่ ชุ 2 จะเคลื่ 1 โดยปล่ เปิ ดเต็มที่ ซึ่ง ณ เวลานั้น กล้องจะส่ งสัญญาณให้ แฟลชทํางาน ซึ่งแฟลชจะใช้ เวลาฉาย ช่ องว่ างจะแคบหรือกว้ างขึนอยู่กบความเร็วชัตเตอร์ ที่ต้งตามหัวข้ อก่อนหน้ านี้ เมื่อ ้ ั ที ั แสงประมาณ 1/10000 วินาที แล้วดับไป จากนั้นม่ านชัตเตอร์ จึงปิ ด ครบเวลาก็จะปิ ดหมด เทคนิคการใช้ แสงแฟลชที่น่ ุมนวล เทคนิคการถ่ ายภาพ การถ่ ไฟแฟลชบางรุ่นจะสามารถเงยหัวแฟลชได้ ทําให้ เราสามารถลดความแข็งกระด้ าง ของการใช้ แฟลชติดหัวกล้องได้ เพราะไฟทีส่องกระทบเพดานจะสะท้ อนแสงลงมาอย่าง ่ การใช้ แฟลช นิ่มนวล และไม่ เกิดเงาดําทีกาแพงด้ านหลังนางแบบ สําหรับแฟลชทีไม่ สามารถเงยได้ ่ํ ี่ ่ ่ อาจใช้ กระดาษไข หรือถุงพลาสติกขุ่น กั้นไว้ ทหน้ าแฟลช เพือกรองให้ แสงแฟลชนุ่มลงก็ ไดผลดพอสมควร แตกยงเปนแสงตรง ทาใหหนานางแบบจะดูแบนกวาการสะทอน ไ้ ี ่ ็ ั ป็ ํใ ้ ้ ่ ้ เพดาน มีข้อระวังเรื่องสีของเพดานทีสะท้ อนแสงแฟลชด้ วยคือ เพดานควรจะเป็ นสีขาว ่ เพือปองกันแสงสะท้ อนออกมาเป็ นสีตามสีเพดาน และเพดานทีใช้ วิธีนีได้ ควรเป็ น ่ ้ ่ ้ เพดานเรียบจะดีทสุด เพราะสะท้ อนแสงได้ ดทสุด ส่ วนเพดานแบบหลังคาจั่ว จะสะท้ อน ี่ ี ี่ แสงลงมาได้ น้อยกว่ า เราอาจประยุกต์ เล่นสี สรรต่ างๆได้ โดยการใช้ กระดาษแก้วสีที่ ต้ องการหุ้มไว้หน้ าแฟลช เพือให้ เป็ นสีแบบแปลกๆก็ได้ ่ 4
  • 5. 8/21/2011 การใช้ แฟลชพร้ อมกันหลายดวง การใช้ แฟลชถ่ ายภาพภายนอก การถ่ ายภาพแบบมืออาชีพ มักจะต้ องใช้ แหล่งแสงมากกว่ า 1 แหล่งเสมอ เพือ ่ ไม่ ให้ ภาพแบน และเปิ ดรายละเอียดภาพให้ ดูมีมิติ แต่ จะหลีกเลียงการใช้ แสงตรง ่ การถ่ ายภาพตอนกลางวันกล่าวถึงไปแล้วในหัวข้ อการให้ แสงแบบเปิ ด ส่ วน โดยทัวไปจะเป็ นแสงข้ าง โดยมีแหล่งแสงทีแรงทีสุดเป็ นหลัก อาจเป็ นแสงอาทิตย์หรือ ่ ่ ่ หัวข้ อนีจะกล่าวถึงการถ่ ายภาพตอนกลางคืนโดยใช้ แสงแฟลช จะคล้ายกับการประยุกต์ ้ เป็ นแฟลชทีวางอยู่ใกล้นางแบบทีสุดก็ได้ และมีไฟเสริมวางห่ างออกมา เพือให้ ช่วยลบเงา ่ ่ ่ เรื่องการให้ แสงแบบเปิ ด คือ ใช้ แฟลชลบเงา กับแนวคิดแบบใช้ ไฟพร้ อมกันหลายดวง แต่ ทเกดจากไฟหลก แตกสวางนอยกวาไฟหลก เพอใหเกดมตบนใบหนา และอาจใชไฟเสรม ี่ ิ ไฟ ั ่ ็ ่ ้ ่ ไฟ ั ื่ ใ ้ ิ ิ ิ ใ ้ ใ ้ ไฟ ิ ในหัวข้ อนีเ้ ราจะใช้ แฟลชธรรมดาดวงเดียว ขอให้ นึกภาพว่ าเรากําลังจะถ่ ายภาพบ้ านหลัง เพิมเติมอีกตามวัตถุประสงค์ ต่างๆ เช่ น ไฟส่ องผม ให้ เห็นรายละเอียดของผม หรืออาจใช้ ่ หนึ่ง โดยวางกล้องบนขาตั้งกล้อง โดยเราต้ องการให้ แสงกับบ้ านทุกด้ าน เพือให้ เห็นมิติ ่ แผ่ นสะท้ อนแสงเป็ นแสงเสริมในการลบเงาจากไฟหลักก้ได้ กรณีทมีแฟลชหลายดวง ี่ ของบ้ าน ทําได้ โดยตั้งเวลาแบบเปิ ดตลอด (B) แล้วถือแฟลชไปยิงแสงแบบกดยิงแสง จะต้ องมีอปกรณ์ พเิ ศษเพือให้ แฟลชทํางานได้ พร้ อมกันทุกตัว อุปกรณ์ ไฟในห้ องถ่ ายภาพ ุ ่ โดยตรงทีตวแฟลชในขณะทีกล้องกําลังเปิ ดรับแสงอยู่ไปรอบๆบ้ าน ตามจุดทีเ่ ราคิดว่ าจะ ่ ั ่ จะมีไฟนํา เพือส่ องให้ เห็นทิศทางแสงทีตกกระทบบนตัวแบบ จะทําให้ การจัดแสงทําได้ ่ ่ ให้ แสงจนพอใจแล้วจึงเดินกลับมาปิ ดชัตเตอร์ ง่ าย แต่ ถ้าเราไม่ มีไฟนํา เราอาจใช้ หลอดไฟผูกติดกับแฟลชก็ได้ แต่ ค่อนข้ างยุ่งยาก การถ่ ายภาพแบบมืออาชีพ มักจะต้ องใช้ แหล่งแสงมากกว่ า 1 แหล่งเสมอ เพือ ่ ภาพทีได้ จะเห็นว่ า ภาพบ้ านจะได้ รับแสงทั้งด้ านหน้ าและด้ านข้ างตามทีเ่ รากดแฟลช ่ ไม่ ให้ ภาพแบน และเปิ ดรายละเอียดภาพให้ ดูมีมิติ แต่ จะหลีกเลียงการใช้ แสงตรง ่ ทําให้ ดูเหมือนใช้ ไฟหลายดวง แต่ ทจริงมีดวงเดียว เทคนิคนี้ สามารถประยุกต์ ใช้ กบ ่ี ั โดยทัวไปจะเป็ นแสงข้ าง โดยมีแหล่งแสงทีแรงทีสุดเป็ นหลัก อาจเป็ นแสงอาทิตย์หรือ ่ ่ ่ การถ่ ายภาพภายในถําได้ ด้วย โดยการใช้ เลนส์ มุมกว้ าง แล้วเรากดแฟลชไปตามจุดที่ ้ เป็ นแฟลชทีวางอยู่ใกล้นางแบบทีสุดก็ได้ และมีไฟเสริมวางห่ างออกมา เพือให้ ช่วยลบเงา ่ ่ ่ น่ าสนใจต่ างๆ ควรระวังไม่ ให้ เกิดเงาเนื่องจากตัวเรายืนขวางระหว่ างกําแพงถํากับ ๆ ้ ทีเ่ กิดจากไฟหลัก แต่ กสว่ างน้ อยกว่ าไฟหลัก เพือให้ เกิดมิตบนใบหน้ า และอาจใช้ ไฟเสริม ็ ่ ิ กล้อง จะทําให้ เห็นเงาของตัวเรายืนอยู่หน้ ากําแพงถํา อาจจะประยุกต์ ใช้ กระดาษแก้ว สี ้ เพิมเติมอีกตามวัตถุประสงค์ ต่างๆ เช่ น ไฟส่ องผม ให้ เห็นรายละเอียดของผม หรืออาจใช้ ่ ต่ างๆผูกไว้ ทหน้ าแฟลช เพือให้ เกิดสีต่างบนผนังถํา ก็จะได้ ภาพทีดูสวยงามน่ าสนใจไป ่ี ่ ้ ่ แผ่ นสะท้ อนแสงเป็ นแสงเสริมในการลบเงาจากไฟหลักก้ได้ กรณีทมีแฟลชหลายดวง ี่ อีกแบบ แต่ ระวังอย่าใช้ สีเลอะเกินไป จะต้ องมีอปกรณ์ พเิ ศษเพือให้ แฟลชทํางานได้ พร้ อมกันทุกตัว อุปกรณ์ ไฟในห้ องถ่ ายภาพ ุ ่ จะมีไฟนํา เพือส่ องให้ เห็นทิศทางแสงทีตกกระทบบนตัวแบบ จะทําให้ การจัดแสงทําได้ ่ ่ ง่ าย แต่ ถ้าเราไม่ มีไฟนํา เราอาจใช้ หลอดไฟผูกติดกับแฟลชก็ได้ แต่ ค่อนข้ างยุ่งยาก การถ่ ายภาพกลางคืน (NIGHT LIGHT) หรือการถ่ ายภาพไฟกลางคืนที่ NIGHT LIGHT) หรื สวยงาม จะได้ ภาพทีแปลกตาการถ่ ายภาพเวลากลางคืน ได้ แก่ การถ่ ายภาพทีอาศัยแสง ่ ่ สว่ างจากไฟฟาตามท้ องถนน ปายนีออนโฆษณานําพุ การยิงพลุ ห้ องโชว์ สินค้ า ้ ้ ้ ไฟประดับในวันเฉลิมฉลองต่ าง ๆ แสงไฟจากรถยนต์ แสงเทียน สายฟาแลบ ดวงจันทร์ ้ การถ่ ายภาพกลางคืน และดวงดาวบนท้ องฟา ความสวยงามต่ าง ๆ ทีเ่ ราสามารถมองเห็นได้ ในเวลาคําคืน ดังกล่าว ้ ่ (NIGHT LIGHT) 5
  • 6. 8/21/2011 เทคนิคและการถ่ ายภาพตอนกลางคืน การถ่ ายภาพกลางคืนไม่ ใช่ เรื่องทียากเย็นจนเกินไป โดยเฉพาะแสงสีในเมือง ่ นั้น สามารถถ่ ายภาพให้ ดูสวยงามได้ ง่ ายๆ เพียงแต่ มีกล้องทีปรับความเร็วชัตเตอร์ ตาได้ ่ ตํํ่ และหาวิธีปองกันภาพสั่นไหวจากความเร็วชัตเตอร์ ตา หากถือกล้องด้ วยมือ ภาพทีได้ จะ ้ ตํํ่ ่ เบลอไม่ คมชัด วิธีทดทสุดคือใช้ ขาตั้งกล้อง ซึ่งจะช่ วยลดการสั่ นไหวได้ เป็ นอย่างดี หาก ี่ ี ี่ ความเรวชตเตอรต ความเรวชตเตอรตามากๆ เช่ น 1 วนาท หรือตํากว่ านั้น ไมควรใชนวกดปุมชตเตอร ความเร็วชัตเตอร์ ตํํ่ามากๆ เชน 1 วินาที หรอตากวานน ไม่ ควรใช้ นิวกดป่ มชัตเตอร์ ตามากๆ 1 วนาท ่ ไมควรใชนวกดปุ ้ กดป่ โดยตรง เพราะเพียงกดชัตเตอร์ เเบาๆ ก็อาจเกิดการสั่นไหวจนส่ งผลให้ ภาพทีได้ ขาด งกดชั บาๆ ่ ความคมชัดควรใช้ สายลันชัตเตอร์ แต่ ถ้าไม่ มีกใช้ ระบบถ่ ายภาพหน่ วงเวลาก็ได้ กล้อง ่ ็ บางรุ่นเลือกหน่ วงเวลาช่ วงสั้นๆ เช่ น 2 หรือ 3 วินาที ทําให้ ถ่ายภาพได้ โดยไม่ ต้องรอ 2 หรื 3 วิ การถ่ ายภาพตอนกลางคืนวัตถุทถูกถ่ ายก็คอต้ นกําเนิดแสงตามท้ องถนน เช่ น ี่ ื คอยนานเกินไป สําหรับกล้องดิจิตอลเมื่อมีสิ่งรองรับกล้องทีมั่นคง ก็ไม่ จําเป็ นต้ องใช้ ่ ไฟของรถยนต์ ไฟข้ างถนน ไฟจากหน้ าต่ างของตึกรามบ้ านช่ องจึงไม่ มีการจัดแสง ความไวแสงสู งๆ ควรปรับ ISO ไปทีตาสุ ด เพือให้ ภาพทีได้ มี Noise น้ อยที่สุด ISO ไปที่ ่ํ ่ ่ Noise น้ เหมือนตอนถ่ ายภาพตอนกลางวัน ถ่ ายภาพตอนกลางคืนขึนอยู่กบว่ าเราอยากจะแสดง ้ ั หรือไม่ มีเลย อะไรในภาพถ่ าย การถ่ ายภาพในเวลากลางคืนนั้นต้ องมีอปกรณ์ ทจําเป็ นดังนี้ ุ ี่ วิธีการถ่ ายภาพ 1. กล้องถ่ ายภาพชนิดทีมีความเร็วชัตเตอร์ B หรือ T ่ 2. ขาตั้งกล้อง 1. ติดตั้งกล้องกับขาตั้งกล้องให้ มั่นคง พร้ อมติดตั้งสายลันชัตเตอร์ ให้ พร้ อม ่ ให้ 3. สายไกชัตเตอร์ สายไกชั 2. ส่ องกล้องหาทิศทางในการถ่ ายภาพ ให้ ได้ มุมทีเ่ หมาะทีสุด ่ 4. นาฬิ กาจับเวลา 3. คาดคะเน สภาพแสงเพือกําหนดเวลา และรู รับแสง (โดยปกติถ้าเป็ นไฟตามถนน ่ 5. ไฟฉายดวงเล็ก ๆ ปกติ จะใช้ ประมาณ 5.6หรือ 8) 6. สมุดบันทึกสําหรับจดรายละเอียด เช่ น เวลาในการเปิ ดหน้ ากล้อง 4. ตั้งความเร็วชัตเตอร์ ที่ B ลันชัตเตอร์ ค้้ างไว้ ให้ รถวิ่งผ่ านจนเป็ นทีพอใจ ประมาณ ที ่ ค ่ 10 -60 วินาที หรือถ้ าทิงช่ วงเวลานาน ใช้ ผ้าดําคลุมหน้ าเลนส์ ไว้ ก่อนก็ได้ การถ่ ายภาพ ้ ไฟกลางคืน ควรถ่ ายเผือหลาย ๆ ภาพ โดยใช้ เวลาในการบันทึกภาพ และขนาดรู รับแสง ่ ต่ าง ๆ กัน และจดบันทึกไว้ จะดีทสุด และควรฝึ กหัดเป็ นประจําเพราะต้ องอาศัยความ ี่ ชํานาญอย่างสู งในการถ่ ายภาพประเภทนี้ ยภาพประเภทนี ดังนั้นหลักการถ่ ายภาพกลางคืนโดยการใช้ โหมดกลางคืนนั้น มีวธีการดังนี้ ิ 1. การปรับ เอ๊กส์ โพส ควรปรับ ให้ โอเวอร์ ประมาณ +0.3 ขึนไป จน ถึง 1.2 โดย ้ ยิงปรับ โอเวอร์ มาเท่ าไหร่ มือต้ อง ยิงนิ่งขึนไปเท่ านั้น ถ้ าต้ องปรับเอ๊กส์ โพส เยอะมากๆ ่ ่ ้ ควรใช้ ขาตั้งกล้อง หรือ ที่วาง สําหรับ ถ่ ายภาพน่ าเหมาะสมกว่ า 2. แนะนําให้ เลือก อุณหภูมิสี แบบ แสงนีออน 3. ขณะเล็งจะถ่ ายรู ป พยายามดู ว่ า สังเกต เห็น Noise ในหน้ าจอหรือไม่ เพราะ ถ้ าเห็น ในขณะ ถ่ าย เมื่อนําภาพทีถ่ายลงคอมพิวเตอร์ ภาพทีถ่ายมานั้นจะยิงมี Noise มาก ่ ่ ่ 4. สิ่งทีบ่งชี้ได้ ง่ ายๆ เลย เรื่อง Noise มากหรือน้ อย หาก ถ่ ายโหมดกลางคืน ่ ขึนอีก ้ แล้้วเวลากดเล็งโ สหากสามารถโฟกัสไ ้ เร็วโดยทีเ่ี ราก็ปรับเอ๊๊กส์์ โพสไว้้ เยอะนั่น โฟกั โ ได้ โ ไ หมายถึงรู ปนั้นจะคมชัดและมี Noise ไม่ มากต่ างกับรูปทีเ่ ราต้ องใช้ เวลาหาโฟกัส อัตโนมัตนานๆ ิ 5. ข้ อสําคัญเมื่อกดชัตเตอร์ ลงไปแล้วควรจะนิ่งอยู่สัก 1 วินาทีก่อนเปลียน ่ ตําแหน่ งกล้อง 6. และสุ ดท้ าย ถ้ าไม่ มีขาตั้งกล้อง สิ่งทีสําคัญนั้นคือมือต้ องนิ่งมากๆเอาแบบ ่ ว่ าตอนกดชัตเตอร์ หยุด หายใจเลยได้ ยิงดี ่ 6