SlideShare a Scribd company logo
1 of 17
นาย อนุพงษ์ อภิวิมลลักษณ์
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
 เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ศึกษาเซลล์ เนื้อเยื่อ หรือสิ่งต่างๆที่มีขนาดเล็ก มีความสาคัญต่อ
การศึกษาทางชีววิทยาโดยเฉพาะสาขาเซลล์วิทยาอย่างมาก กล้องจุลทรรศน์
แบ่งเป็น 2 ชนิดใหญ่ ตามแหล่งกาเนิดแสง
 1. กล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสง (Light Microscope/LM)
 2. กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน (Electron Microscope/EM)
1. กล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสง
 กล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสง (Light Microscope/LM)
แบ่งเป็น 3 ชนิด คือ
1. กล้องจุลทรรศน์อย่างง่ายหรือแว่นขยาย (Single Light
Microscope) ใช้เลนส์นูนเพียงอันเดียวเป็นตัวช่วยในการ
ขยายวัตถุให้ดูใหญ่ขึ้น ภาพที่ได้เป็นภาพเสมือนขนาด
ใหญ่กว่าวัตถุ
1. กล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสง
2. กล้องจุลทรรศน์เชิงประกอบ (Compound Light
Microscope) เป็นกล้องจุลทรรศน์ที่ใช้ใน
ห้องปฏิบัติการ ประกอบด้วยระบบเลนส์ที่ทาหน้าที่
ขยาย 2 ชุดด้วยกัน คือเลนส์ใกล้วัตถุและเลนส์ใกล้ตา
1. กล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสง
3. กล้องจุลทรรศน์ใช้แสงแบบสเตอริโอ (Stereoscopic
microscope) เป็นกล้องจุลทรรศน์ที่ใช้กาลังขยายต่ากว่า
กล้องจุลทรรศน์เชิงประกอบ แต่ภาพที่เห็นเป็น
ภาพเสมือนหัวตั้งสามมิติ มีความชัดลึกมาก ใช้ศึกษาได้
ทั้งวัตถุทึบแสงและวัตถุบางโปร่งแสง เหมาะสาหรับ
ศึกษาส่วนประกอบของสิ่งมีชีวิตหรือวัตถุที่ต้องการ
ทราบรายละเอียดที่มีขนาดเล็กมากๆ
1. กล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสง(ต่อ)
หลักการทางานคือ ใช้แหล่งกาเนิดแสงจากหลอดไฟ และใช้เลนส์รวมแสง
ให้ไปตกในตาแหน่งที่วัตถุวางอยู่ จากนั้นเลนส์ใกล้วัตถุจะเป็นตัวขยายภาพ
วัตถุให้มีขนาดใหญ่ขึ้น แล้วส่งต่อไปที่เลนส์ใกล้ตา เพื่อขยายภาพสุดท้าย
ภาพที่ได้จากกล้องจุลทรรศน์ : เป็นภาพเสมือน หัวกลับ กลับจากซ้ายไปขวา
(Lateral inversion) ขนาดใหญ่กว่าวัตถุ โดยมีมุมมองภาพตัวอย่าง เช่น
 ก
 ชีวะ
 Biology
ชี
ว
ะ
Bioligy
ก
องค์ประกอบของกล้องจุลทรรศน์
1. ส่วนฐาน (base) คือส่วนฐานที่วางติดกับโต๊ะ มีหลอดไฟฟ้าติดอยู่ที่ฐานกล้อง
พร้อมสวิทช์ปิดเปิด
2. ส่วนแขน (arm) คือส่วนที่ยึดติดระหว่างลากล้องกับส่วนฐาน
3. ลากล้อง (body tube) มีเลนส์ใกล้ตาติดอยู่ด้านบน ส่วนด้านล่างติดกับแผ่นหมุน ซึ่ง
มีเลนส์ใกล้วัตถุติดอยู่ บางกล้องมีปริซึมติดอยู่เพื่อหักเหแสงจากเลนส์ใกล้วัตถุให้
ผ่านเลนส์ใกล้ตา
องค์ประกอบของกล้องจุลทรรศน์(ต่อ)
4. แผ่นหมุน (revolving nosepiece) คือแผ่นกลมหมุนได้มีเลนส์ใกล้วัตถุติดอยู่เพื่อ
หมุนเปลี่ยนกาลังขยายของเลนส์ตามความต้องการ
5. เลนส์ใกล้วัตถุ (objective lens) คือเลนส์ที่ติดอยู่บนแผ่นหมุน ตามปกติจะมี 3 หรือ 4
อัน แต่ละอันจะมีตัวเลขแสดงกาลังขยายกากับไว้เช่น x4, x10, x40 หรือ x100 เป็นต้น
ในกรณีที่ใช้เลนส์ใกล้วัตถุกาลังขยาย x100 ต้องใช้น้ามันเป็นตัวกลางระหว่างเลนส์
และวัตถุจึงจะเห็นภาพ นอกจากนี้ ด้านข้างของเลนส์ใกล้วัตถุมีตัวเลขแสดงค่า N.A.
(numerical aperture) กากับอยู่ (ภาพที่ 2) ค่า N.A. (ความสามารถของเลนส์ที่รวบรวม
แสงที่หักเหผ่านวัตถุเข้ากล้องมากที่สุด) มีความสัมพันธ์กับ resolving power ดังนี้
6. เลนส์ใกล้ตา (eyepiecelens) คือเลนส์ชุดที่อยู่ส่วนบนสุดของกล้อง มีตัวเลขบอกกาลังขยายอยู่
ทางด้านบน เช่น x5, x10, หรือ x15 เป็นต้น บางกล้องมีเลนส์ใกล้ตาอันเดียว (monocular) บาง
กล้องมีเลนส์ใกล้ตา 2 อัน (binocular) เลนส์ชุดนี้ขยายภาพที่เกิดจากเลนส์ใกล้วัตถุ ภาพที่เห็นมี
ขนาดขยาย เป็นภาพเสมือนหัวกลับ และกลับซ้ายเป็นขวากับวัตถุ
7. วงล้อปรับภาพ (adjustmentwheel) สาหรับปรับระยะห่างระหว่างวัตถุกับเลนส์ใกล้วัตถุ เพื่อ
ปรับภาพให้เห็นชัด ซึ่งระยะห่างที่ทาให้เห็นภาพชัด เรียกว่า ระยะการทางานของกล้อง
(working distance) หรือระยะโฟกัสของกล้อง วงล้อดังกล่าวมี 2 ชนิด คือ ชนิดปรับภาพหยาบ
(coarse adjustment wheel) ใช้ปรับระยะห่างระหว่างวัตถุกับเลนส์ใกล้วัตถุชนิดกาลังขยาย10
เท่าลงมา และชนิดปรับภาพละเอียด(fine adjustmentwheel) ใช้ปรับภาพให้ชัด เมื่อใช้เลนส์
ใกล้วัตถุกาลังขยายสูง 40 เท่าขึ้นไป
องค์ประกอบของกล้องจุลทรรศน์(ต่อ)
8. แท่นวางวัตถุ (stage) มีช่องตรงกลางสาหรับให้แสงผ่าน และใช้วางสไลด์แก้ว เป็นอุปกรณ์
ที่เคลื่อนที่ได้(mechanical stage) ด้วยการหมุนปุ่มบังคับ อุปกรณ์ดังกล่าวมีคลิปเกาะสไลด์
และมีสเกลบอกตาแหน่งของสไลด์บนแท่นวางวัตถุ ฉะนั้นอุปกรณ์นี้จะช่วยอานวยความ
สะดวกในการเลื่อนสไลด์ไปทางขวา ซ้าย หน้า และหลังได้ในขณะที่ตามองภาพในกล้อง
ช่วยให้หาภาพได้รวดเร็ว และมีสเกลบอกตาแหน่งของวัตถุบนสไลด์
9. คอนเดนเซอร์ (condenser) คือชุดของเลนส์ที่ทาหน้าที่รวมแสงให้มีความเข้มมากที่สุด
เพื่อส่องวัตถุบนสไลด์แก้วให้สว่างที่สุด มีปุ่มปรับความสูงต่าของ condenser
10. ไอริสไดอะแฟรม (iris diaphragm) เป็นม่านปรับรูเปิดเพื่อให้แสงผ่านเข้า condenser
และมีปุ่มสาหรับปรับ iris diaphragm ให้แสงผ่านเข้ามากน้อยตามต้องการ
11. แหล่งกาเนิดแสง (light source) เป็นหลอดไฟฟ้าให้แสงสว่างติดอยู่ที่ฐานกล้อง มีสวิทช์
เปิดปิด และมีสเกลปรับปริมาณแสงสว่าง
องค์ประกอบของกล้องจุลทรรศน์(ต่อ)
2. กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน
 กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน (ElectronMicroscope)คือกล้องจุลทรรศน์ที่ใช้
อิเล็กตรอนแทนแสงในการสร้างภาพขยายของวัตถุ ใช้แม่เหล็กไฟฟ้าแทนเลนส์ มี
กาลังขยายสูง สามารถแยกลายละเอียดวัตถุขนาด 0.1 nm ภาพที่ได้จากกล้องนี้มองไม่เห็น
ด้วยตาเปล่า ต้องแสดงผ่านหน้าจอเท่านั้น กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนมี 2 ชนิด คือ
 2.1 กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนชนิดส่องผ่าน (Transmission Electron
Microscope) ได้ภาพ 2 มิติ ขยายภาพได้มากกว่า 1 ล้านเท่า เห็นภาพโครงสร้างได้
อย่างทะลุทะลวง นิยมใช้ศึกษาโครงสร้างภายในเซลล์
 2.2 กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนชนิดส่องกราด (Scanning Electron
Microscope) ได้ภาพ 3 มิติ แต่ไม่เห็นภายในอย่างทะลุทะลวง นิยมใช้ศึกษาพื้นผิว
ของเซลล์หรือโครงสร้างต่างๆ
การใช้กล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสง
1. การจับกล้องและเคลื่อนย้ายกล้อง ต้องใช้มือหนึ่งจับที่แขนและอีกมือหนึ่ง
รองที่ฐานของกล้อง
2. ตั้งลากล้องให้ตรง
3. เปิดไฟเพื่อให้แสงเข้าลากล้องได้เต็มที่
4. หมุนเลนส์ใกล้วัตถุ ให้เลนส์ที่มีกาลังขยายต่าสุดอยู่ในตาแหน่งแนวของลา
กล้อง
5. นาสไลด์ที่จะศึกษามาวางบนแท่นวางวัตถุ โดยปรับให้อยู่กลางบริเวณที่แสง
ผ่าน
 6. ค่อยๆหมุนปุ่มปรับภาพหยาบให้กล้องเลื่อนขึ้นช้าๆเพื่อหาระยะภาพ แต่ต้องระวัง
ไม่ให้เลนส์ใกล้วัตถุกระทบกับสไลด์ตัวอย่าง เพราะจะทาให้เลนส์แตกได้
 7. ปรับภาพให้ชัดเจนขึ้นด้วยปุ่มปรับภาพละเอียด ถ้าวัตถุที่ศึกษาไม่อยู่ตรงกลางให้
เลื่อนสไลด์ให้มาอยู่ตรงกลาง
 8. ถ้าต้องการให้ภาพขยายใหญ่ขึ้นให้หมุนเลนส์ใกล้วัตถุที่มีกาลังขยายสูงกว่าเดิม
มาอยู่ในตาแหน่งแนวของลากล้อง จากนั้นปรับภาพให้ชัดเจนด้วยปุ่มปรับภาพ
ละเอียดเท่านั้น ห้ามปรับภาพด้วยปุ่มปรับภาพหยาบเพราะจะทาให้ระยะของภาพ
หรือจุดโฟกัสของภาพเปลี่ยนไป
 9. บันทึกกาลังขยายโดยหาได้จากผลคูณของกาลังขยายของเลนส์ใกล้วัตถุกับ
กาลังขยายของเลนส์ใกล้ตา
การใช้กล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสง (ต่อ)
การระวังรักษากล้องจุลทรรศน์
 1.การยกกล้อง ควรใช้มือหนึ่งจับที่แขนกล้อง (arm) และอีกมือหนึ่งวางที่ฐาน
(base) และต้องให้ลากล้องตั้งตรงเสมอ เพื่อป้องกันการเลื่อนหลุดของเลนส์ใกล้ตาซึ่ง
สามารถถอดออกได้ง่าย
 2.สไลด์และกระจกปิดสไลด์ต้องไม่เปียกเพราะอาจทาให้แท่นวางเกิดสนิม และทา
ให้เลนส์ใกล้วัตถุชื้นอาจเกิดราที่เลนส์ได้
 3.ขณะที่ตามองผ่านเลนส์ใกล้ตาเมื่อจะต้องหมุนปุ่มปรับภาพหยาบ ต้องหมุนขึ้น
เท่านั้น ห้ามหมุนลง เพราะเลนส์ใกล้ตาอาจกระทบกระจกสไลด์ทาให้เลนส์แตกได้
 4.การหาภาพต้องเริ่มต้นด้วยเลนส์วัตถุกาลังขยายต่าสุดก่อนเสมอ เพราะปรับหาภาพ
สะดวกที่สุด
 5.เมื่อใช้เลนส์ใกล้วัตถุที่มีกาลังขยายสูง ถ้าจะปรับภาพให้ชัดให้หมุนเฉพาะปุ่มปรับภาพ
ละเอียดเท่านั้น
 6.ห้ามใช้มือแตะเลนส์ ในการทาความสะอาดให้ใช้กระดาษสาหรับเช็ดเลนส์เท่านั้น
 7.เมื่อใช้เสร็จแล้วต้องเอาวัตถุที่ศึกษาออกเช็ดแท่นวางวัตถุและเช็ดเลนส์ให้สะอาด
การระวังรักษากล้องจุลทรรศน์ (ต่อ)

More Related Content

What's hot

บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1Yaovaree Nornakhum
 
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน Thitaree Samphao
 
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต02
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต02ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต02
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต02oranuch_u
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1Wuttipong Tubkrathok
 
บทที่ 1 พันธุกรรม
บทที่ 1 พันธุกรรมบทที่ 1 พันธุกรรม
บทที่ 1 พันธุกรรมPinutchaya Nakchumroon
 
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3Jariya Jaiyot
 
แบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศ
แบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศแบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศ
แบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศgchom
 
บท1การแบ่งเซลล์
บท1การแบ่งเซลล์บท1การแบ่งเซลล์
บท1การแบ่งเซลล์Wichai Likitponrak
 
รูปร่างลักษณะของเซลล์
รูปร่างลักษณะของเซลล์รูปร่างลักษณะของเซลล์
รูปร่างลักษณะของเซลล์dnavaroj
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด Thitaree Samphao
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)สำเร็จ นางสีคุณ
 
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์Phattarawan Wai
 
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรมบทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPinutchaya Nakchumroon
 
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตม.4
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตม.4ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตม.4
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตม.4Puchida Saingchin
 
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)สำเร็จ นางสีคุณ
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช 2557
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช  2557บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช  2557
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช 2557Pinutchaya Nakchumroon
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด Thitaree Samphao
 

What's hot (20)

บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1
 
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
 
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต02
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต02ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต02
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต02
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
 
บทที่ 1 พันธุกรรม
บทที่ 1 พันธุกรรมบทที่ 1 พันธุกรรม
บทที่ 1 พันธุกรรม
 
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
 
แบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศ
แบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศแบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศ
แบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศ
 
บท1การแบ่งเซลล์
บท1การแบ่งเซลล์บท1การแบ่งเซลล์
บท1การแบ่งเซลล์
 
6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่
 
รูปร่างลักษณะของเซลล์
รูปร่างลักษณะของเซลล์รูปร่างลักษณะของเซลล์
รูปร่างลักษณะของเซลล์
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
 
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
 
การแบ่งเซลล์
การแบ่งเซลล์การแบ่งเซลล์
การแบ่งเซลล์
 
Kingdom monera
Kingdom moneraKingdom monera
Kingdom monera
 
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรมบทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 15 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
 
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตม.4
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตม.4ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตม.4
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตม.4
 
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช 2557
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช  2557บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช  2557
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช 2557
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 

Similar to กล้องจุลทรรศน์

ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"
ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"
ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"kasidid20309
 
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)Mew' Cifer
 
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)Mew' Cifer
 
กล้องจุลทรรศน์ เซลล์และการค้นพบเซลล์
กล้องจุลทรรศน์ เซลล์และการค้นพบเซลล์กล้องจุลทรรศน์ เซลล์และการค้นพบเซลล์
กล้องจุลทรรศน์ เซลล์และการค้นพบเซลล์dnavaroj
 
กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์pongrawee
 
เรื่องกล้องจุลทรรศน์
เรื่องกล้องจุลทรรศน์เรื่องกล้องจุลทรรศน์
เรื่องกล้องจุลทรรศน์TANIKAN KUNTAWONG
 
กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์wirayuth jaksuwan
 
Macro phography
Macro phographyMacro phography
Macro phographyedtech29
 
9789740330196
97897403301969789740330196
9789740330196CUPress
 
กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์netzad
 
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิตเซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิตPopeye Kotchakorn
 
การถ่ายภาพเบื้องต้น
การถ่ายภาพเบื้องต้นการถ่ายภาพเบื้องต้น
การถ่ายภาพเบื้องต้นSuphol Sutthiyutthasenee
 
ใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงพัน พัน
 

Similar to กล้องจุลทรรศน์ (20)

ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"
ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"
ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"
 
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
 
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
 
กล้องจุลทรรศน์ เซลล์และการค้นพบเซลล์
กล้องจุลทรรศน์ เซลล์และการค้นพบเซลล์กล้องจุลทรรศน์ เซลล์และการค้นพบเซลล์
กล้องจุลทรรศน์ เซลล์และการค้นพบเซลล์
 
กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์
 
เรื่องกล้องจุลทรรศน์
เรื่องกล้องจุลทรรศน์เรื่องกล้องจุลทรรศน์
เรื่องกล้องจุลทรรศน์
 
กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์
 
Macro phography
Macro phographyMacro phography
Macro phography
 
9789740330196
97897403301969789740330196
9789740330196
 
กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์
 
Microscope
MicroscopeMicroscope
Microscope
 
Microscope
MicroscopeMicroscope
Microscope
 
1
 1  1
1
 
แฟลช
แฟลชแฟลช
แฟลช
 
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิตเซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 
การถ่ายภาพเบื้องต้น
การถ่ายภาพเบื้องต้นการถ่ายภาพเบื้องต้น
การถ่ายภาพเบื้องต้น
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศ
 
ใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสง
 
Electron microscope
Electron microscopeElectron microscope
Electron microscope
 
10วิธีแก้ปัญหาในการใช้กล้องดิจิตอล
10วิธีแก้ปัญหาในการใช้กล้องดิจิตอล10วิธีแก้ปัญหาในการใช้กล้องดิจิตอล
10วิธีแก้ปัญหาในการใช้กล้องดิจิตอล
 

กล้องจุลทรรศน์

  • 2. กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)  เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ศึกษาเซลล์ เนื้อเยื่อ หรือสิ่งต่างๆที่มีขนาดเล็ก มีความสาคัญต่อ การศึกษาทางชีววิทยาโดยเฉพาะสาขาเซลล์วิทยาอย่างมาก กล้องจุลทรรศน์ แบ่งเป็น 2 ชนิดใหญ่ ตามแหล่งกาเนิดแสง  1. กล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสง (Light Microscope/LM)  2. กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน (Electron Microscope/EM)
  • 3. 1. กล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสง  กล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสง (Light Microscope/LM) แบ่งเป็น 3 ชนิด คือ 1. กล้องจุลทรรศน์อย่างง่ายหรือแว่นขยาย (Single Light Microscope) ใช้เลนส์นูนเพียงอันเดียวเป็นตัวช่วยในการ ขยายวัตถุให้ดูใหญ่ขึ้น ภาพที่ได้เป็นภาพเสมือนขนาด ใหญ่กว่าวัตถุ
  • 4. 1. กล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสง 2. กล้องจุลทรรศน์เชิงประกอบ (Compound Light Microscope) เป็นกล้องจุลทรรศน์ที่ใช้ใน ห้องปฏิบัติการ ประกอบด้วยระบบเลนส์ที่ทาหน้าที่ ขยาย 2 ชุดด้วยกัน คือเลนส์ใกล้วัตถุและเลนส์ใกล้ตา
  • 5. 1. กล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสง 3. กล้องจุลทรรศน์ใช้แสงแบบสเตอริโอ (Stereoscopic microscope) เป็นกล้องจุลทรรศน์ที่ใช้กาลังขยายต่ากว่า กล้องจุลทรรศน์เชิงประกอบ แต่ภาพที่เห็นเป็น ภาพเสมือนหัวตั้งสามมิติ มีความชัดลึกมาก ใช้ศึกษาได้ ทั้งวัตถุทึบแสงและวัตถุบางโปร่งแสง เหมาะสาหรับ ศึกษาส่วนประกอบของสิ่งมีชีวิตหรือวัตถุที่ต้องการ ทราบรายละเอียดที่มีขนาดเล็กมากๆ
  • 6.
  • 7. 1. กล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสง(ต่อ) หลักการทางานคือ ใช้แหล่งกาเนิดแสงจากหลอดไฟ และใช้เลนส์รวมแสง ให้ไปตกในตาแหน่งที่วัตถุวางอยู่ จากนั้นเลนส์ใกล้วัตถุจะเป็นตัวขยายภาพ วัตถุให้มีขนาดใหญ่ขึ้น แล้วส่งต่อไปที่เลนส์ใกล้ตา เพื่อขยายภาพสุดท้าย ภาพที่ได้จากกล้องจุลทรรศน์ : เป็นภาพเสมือน หัวกลับ กลับจากซ้ายไปขวา (Lateral inversion) ขนาดใหญ่กว่าวัตถุ โดยมีมุมมองภาพตัวอย่าง เช่น  ก  ชีวะ  Biology ชี ว ะ Bioligy ก
  • 8. องค์ประกอบของกล้องจุลทรรศน์ 1. ส่วนฐาน (base) คือส่วนฐานที่วางติดกับโต๊ะ มีหลอดไฟฟ้าติดอยู่ที่ฐานกล้อง พร้อมสวิทช์ปิดเปิด 2. ส่วนแขน (arm) คือส่วนที่ยึดติดระหว่างลากล้องกับส่วนฐาน 3. ลากล้อง (body tube) มีเลนส์ใกล้ตาติดอยู่ด้านบน ส่วนด้านล่างติดกับแผ่นหมุน ซึ่ง มีเลนส์ใกล้วัตถุติดอยู่ บางกล้องมีปริซึมติดอยู่เพื่อหักเหแสงจากเลนส์ใกล้วัตถุให้ ผ่านเลนส์ใกล้ตา
  • 9. องค์ประกอบของกล้องจุลทรรศน์(ต่อ) 4. แผ่นหมุน (revolving nosepiece) คือแผ่นกลมหมุนได้มีเลนส์ใกล้วัตถุติดอยู่เพื่อ หมุนเปลี่ยนกาลังขยายของเลนส์ตามความต้องการ 5. เลนส์ใกล้วัตถุ (objective lens) คือเลนส์ที่ติดอยู่บนแผ่นหมุน ตามปกติจะมี 3 หรือ 4 อัน แต่ละอันจะมีตัวเลขแสดงกาลังขยายกากับไว้เช่น x4, x10, x40 หรือ x100 เป็นต้น ในกรณีที่ใช้เลนส์ใกล้วัตถุกาลังขยาย x100 ต้องใช้น้ามันเป็นตัวกลางระหว่างเลนส์ และวัตถุจึงจะเห็นภาพ นอกจากนี้ ด้านข้างของเลนส์ใกล้วัตถุมีตัวเลขแสดงค่า N.A. (numerical aperture) กากับอยู่ (ภาพที่ 2) ค่า N.A. (ความสามารถของเลนส์ที่รวบรวม แสงที่หักเหผ่านวัตถุเข้ากล้องมากที่สุด) มีความสัมพันธ์กับ resolving power ดังนี้
  • 10. 6. เลนส์ใกล้ตา (eyepiecelens) คือเลนส์ชุดที่อยู่ส่วนบนสุดของกล้อง มีตัวเลขบอกกาลังขยายอยู่ ทางด้านบน เช่น x5, x10, หรือ x15 เป็นต้น บางกล้องมีเลนส์ใกล้ตาอันเดียว (monocular) บาง กล้องมีเลนส์ใกล้ตา 2 อัน (binocular) เลนส์ชุดนี้ขยายภาพที่เกิดจากเลนส์ใกล้วัตถุ ภาพที่เห็นมี ขนาดขยาย เป็นภาพเสมือนหัวกลับ และกลับซ้ายเป็นขวากับวัตถุ 7. วงล้อปรับภาพ (adjustmentwheel) สาหรับปรับระยะห่างระหว่างวัตถุกับเลนส์ใกล้วัตถุ เพื่อ ปรับภาพให้เห็นชัด ซึ่งระยะห่างที่ทาให้เห็นภาพชัด เรียกว่า ระยะการทางานของกล้อง (working distance) หรือระยะโฟกัสของกล้อง วงล้อดังกล่าวมี 2 ชนิด คือ ชนิดปรับภาพหยาบ (coarse adjustment wheel) ใช้ปรับระยะห่างระหว่างวัตถุกับเลนส์ใกล้วัตถุชนิดกาลังขยาย10 เท่าลงมา และชนิดปรับภาพละเอียด(fine adjustmentwheel) ใช้ปรับภาพให้ชัด เมื่อใช้เลนส์ ใกล้วัตถุกาลังขยายสูง 40 เท่าขึ้นไป องค์ประกอบของกล้องจุลทรรศน์(ต่อ)
  • 11. 8. แท่นวางวัตถุ (stage) มีช่องตรงกลางสาหรับให้แสงผ่าน และใช้วางสไลด์แก้ว เป็นอุปกรณ์ ที่เคลื่อนที่ได้(mechanical stage) ด้วยการหมุนปุ่มบังคับ อุปกรณ์ดังกล่าวมีคลิปเกาะสไลด์ และมีสเกลบอกตาแหน่งของสไลด์บนแท่นวางวัตถุ ฉะนั้นอุปกรณ์นี้จะช่วยอานวยความ สะดวกในการเลื่อนสไลด์ไปทางขวา ซ้าย หน้า และหลังได้ในขณะที่ตามองภาพในกล้อง ช่วยให้หาภาพได้รวดเร็ว และมีสเกลบอกตาแหน่งของวัตถุบนสไลด์ 9. คอนเดนเซอร์ (condenser) คือชุดของเลนส์ที่ทาหน้าที่รวมแสงให้มีความเข้มมากที่สุด เพื่อส่องวัตถุบนสไลด์แก้วให้สว่างที่สุด มีปุ่มปรับความสูงต่าของ condenser 10. ไอริสไดอะแฟรม (iris diaphragm) เป็นม่านปรับรูเปิดเพื่อให้แสงผ่านเข้า condenser และมีปุ่มสาหรับปรับ iris diaphragm ให้แสงผ่านเข้ามากน้อยตามต้องการ 11. แหล่งกาเนิดแสง (light source) เป็นหลอดไฟฟ้าให้แสงสว่างติดอยู่ที่ฐานกล้อง มีสวิทช์ เปิดปิด และมีสเกลปรับปริมาณแสงสว่าง องค์ประกอบของกล้องจุลทรรศน์(ต่อ)
  • 12.
  • 13. 2. กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน  กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน (ElectronMicroscope)คือกล้องจุลทรรศน์ที่ใช้ อิเล็กตรอนแทนแสงในการสร้างภาพขยายของวัตถุ ใช้แม่เหล็กไฟฟ้าแทนเลนส์ มี กาลังขยายสูง สามารถแยกลายละเอียดวัตถุขนาด 0.1 nm ภาพที่ได้จากกล้องนี้มองไม่เห็น ด้วยตาเปล่า ต้องแสดงผ่านหน้าจอเท่านั้น กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนมี 2 ชนิด คือ  2.1 กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนชนิดส่องผ่าน (Transmission Electron Microscope) ได้ภาพ 2 มิติ ขยายภาพได้มากกว่า 1 ล้านเท่า เห็นภาพโครงสร้างได้ อย่างทะลุทะลวง นิยมใช้ศึกษาโครงสร้างภายในเซลล์  2.2 กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนชนิดส่องกราด (Scanning Electron Microscope) ได้ภาพ 3 มิติ แต่ไม่เห็นภายในอย่างทะลุทะลวง นิยมใช้ศึกษาพื้นผิว ของเซลล์หรือโครงสร้างต่างๆ
  • 14. การใช้กล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสง 1. การจับกล้องและเคลื่อนย้ายกล้อง ต้องใช้มือหนึ่งจับที่แขนและอีกมือหนึ่ง รองที่ฐานของกล้อง 2. ตั้งลากล้องให้ตรง 3. เปิดไฟเพื่อให้แสงเข้าลากล้องได้เต็มที่ 4. หมุนเลนส์ใกล้วัตถุ ให้เลนส์ที่มีกาลังขยายต่าสุดอยู่ในตาแหน่งแนวของลา กล้อง 5. นาสไลด์ที่จะศึกษามาวางบนแท่นวางวัตถุ โดยปรับให้อยู่กลางบริเวณที่แสง ผ่าน
  • 15.  6. ค่อยๆหมุนปุ่มปรับภาพหยาบให้กล้องเลื่อนขึ้นช้าๆเพื่อหาระยะภาพ แต่ต้องระวัง ไม่ให้เลนส์ใกล้วัตถุกระทบกับสไลด์ตัวอย่าง เพราะจะทาให้เลนส์แตกได้  7. ปรับภาพให้ชัดเจนขึ้นด้วยปุ่มปรับภาพละเอียด ถ้าวัตถุที่ศึกษาไม่อยู่ตรงกลางให้ เลื่อนสไลด์ให้มาอยู่ตรงกลาง  8. ถ้าต้องการให้ภาพขยายใหญ่ขึ้นให้หมุนเลนส์ใกล้วัตถุที่มีกาลังขยายสูงกว่าเดิม มาอยู่ในตาแหน่งแนวของลากล้อง จากนั้นปรับภาพให้ชัดเจนด้วยปุ่มปรับภาพ ละเอียดเท่านั้น ห้ามปรับภาพด้วยปุ่มปรับภาพหยาบเพราะจะทาให้ระยะของภาพ หรือจุดโฟกัสของภาพเปลี่ยนไป  9. บันทึกกาลังขยายโดยหาได้จากผลคูณของกาลังขยายของเลนส์ใกล้วัตถุกับ กาลังขยายของเลนส์ใกล้ตา การใช้กล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสง (ต่อ)
  • 16. การระวังรักษากล้องจุลทรรศน์  1.การยกกล้อง ควรใช้มือหนึ่งจับที่แขนกล้อง (arm) และอีกมือหนึ่งวางที่ฐาน (base) และต้องให้ลากล้องตั้งตรงเสมอ เพื่อป้องกันการเลื่อนหลุดของเลนส์ใกล้ตาซึ่ง สามารถถอดออกได้ง่าย  2.สไลด์และกระจกปิดสไลด์ต้องไม่เปียกเพราะอาจทาให้แท่นวางเกิดสนิม และทา ให้เลนส์ใกล้วัตถุชื้นอาจเกิดราที่เลนส์ได้  3.ขณะที่ตามองผ่านเลนส์ใกล้ตาเมื่อจะต้องหมุนปุ่มปรับภาพหยาบ ต้องหมุนขึ้น เท่านั้น ห้ามหมุนลง เพราะเลนส์ใกล้ตาอาจกระทบกระจกสไลด์ทาให้เลนส์แตกได้
  • 17.  4.การหาภาพต้องเริ่มต้นด้วยเลนส์วัตถุกาลังขยายต่าสุดก่อนเสมอ เพราะปรับหาภาพ สะดวกที่สุด  5.เมื่อใช้เลนส์ใกล้วัตถุที่มีกาลังขยายสูง ถ้าจะปรับภาพให้ชัดให้หมุนเฉพาะปุ่มปรับภาพ ละเอียดเท่านั้น  6.ห้ามใช้มือแตะเลนส์ ในการทาความสะอาดให้ใช้กระดาษสาหรับเช็ดเลนส์เท่านั้น  7.เมื่อใช้เสร็จแล้วต้องเอาวัตถุที่ศึกษาออกเช็ดแท่นวางวัตถุและเช็ดเลนส์ให้สะอาด การระวังรักษากล้องจุลทรรศน์ (ต่อ)