SlideShare a Scribd company logo
โดย พลเอก เอกชัย ศรีวิลาศ
ผู้อานวยการสานักสันติวิธีและธรรมาภิบาล
สถาบันพระปกเกล้า
www.elifesara.com ekkachais@hotmail.com
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้าไทย
 ภูมิศาสตร์
 ภาวะประชากร
 ทรัพยากรธรรมชาติ
 ความเชื่อ ศาสนา ความจงรักภักดี
 ลักษณะประจาชาติ
 กาลังทหาร
 วิทยาศาสตร์เทคโนโลยีฯ
 เศรษฐกิจ
 ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
 การศึกษา
 อุดมการณ์ของชาติและภาวะผู้นา
National Powers
ภูมิรัฐศาสตร์(Geopolitics)
ภูมิศาสตร์การเมือง ประวัติศาสตร์
National Security
Strategy
Personal,
Social,
National,
Regional,
International
ประชาชน ดินแดน
รัฐบาล อานาจอธิปไตย
Value and
National Style
National Interest
Vital, Important, Peripheral
Model National Security Assessment : EKMODEL
Defenseof homeland
Economic well-being
Favorable world order
Promotionof value
Global
State
Non State Actors
Leaders
www.elifesara.com
• การทาสงครามจะต้องเผด็จศึกในเร็ววันไม่ควรให้เนิ่นช้า
• ประเทศจะไม่ได้รับประโยชน์อันใดเลยถ้าปล่อยให้ การรบยืดเยื้อ
• ค่าใช้จ่ายในการดาเนินการสงครามจะสูง การคลังของประเทศจะมีปัญหา
• กองทัพต้องติดศึกอยู่นานวัน อาวุธ ยุทโธปกรณ์ จะลดความคมกล้า
ขวัญทหารนับวันจะเสื่อม กาลังพลก็จะอ่อนเปลี้ย
www.elifesara.com
“ไม่มีที่ใดมีสันติภาพ
หากปราศจากความยุติธรรม”
ความไม่เป็นธรรมนามาซึ่งความขัดแย้ง คนเรามักจะลุกขึ้นมาทาอะไรสัก
อย่างเพื่อเรียกร้องความเป็นธรรม หากไม่ได้รับการแก้ไข ความคับข้องใจจะ
กลายเป็นความรุนแรง
www.elifesara.com
www.elifesara.com
GEOPOLITICS
FUTURE STUDIES
NATIONAL POWER
NATIONAL
STRATEGY
FUTURE STUDIES METHOD
Anticipatory thinking Assessments Environmental
scanning
Back casting (eco-history)
Back-view mirror analysis
Bottom Up
Cross-impact analysis
Conducting Technology
Checklists
Delphi technique
Future history
Futures workshops
Failure mode and effects analysis
 วัฒนธรรม
 จารีตประเพณี
 ปทัสฐาน
 ศาสนา
 ความกระตือรือร้นของคนในชาติ
 ทัศนคติต่อการทางาน
http://www.tortaharn.net/contents/index.php?option=com_content&task=view&id=63&Itemid=75&ccdate=6-2008
 เป็นทฤษฎีทางภูมิรัฐศาสตร์ (Geopolitics)
 ประเทศใดถ้ามีภูมิประเทศ หรือ สามารถยึดบริเวณจุดสาคัญ (Pivot Area) หรือใจโลก (Heartland)
แล้ว ประเทศนั้นก็จะเป็นผู้ครองอานาจอันสูงสุด
ดินแดนที่เป็นใจโลกตามแนวความคิดของแมคคินเดอร์คือ ดินแดนแถบทะเลบอลติค ทุ่งหญ้า
สะเต็บตอนกลางของโซเวียต ปัจจุบันเป็นบริเวณที่เป็นทะเลน้าแข็งตลอดปี ด้านเหนือเป็น
มหาสมุทรอาร์คติคกับขั้วโลกเหนือ เป็นชัยภูมิเหมาะเพราะเรือเข้าไม่ถึง แม่น้าดานูบดนีเปอร์ เอเซีย
ไมเนอร์ จีน ทิเบต และมองโกเลียจดเอเซียใต้
Sir Halford Mackinder
Geopoliitika:Geopolitics
จานวนพลเมือง ทรัพยากร การเดินเรือ
Rimland Eurasia World
แนวคิด“ยุทธศาสตร์ขอบโลก”(Rimland Strategy)จะโต้แย้งกับ“ ยุทธศาสตร์ใจโลก ”
ใครสามารถครองบริเวณใจโลกได้ จะต้องครอบครองบริเวณดินแดนโดยรอบให้ได้ก่อน
การใช้กาลังอานาจทางเรือที่มีประสิทธิภาพเป็นหลัก ตามแนวคิดของ
มาฮานเรื่องสมุทธานุภาพ
แนวคิดนี้ได้รับการพิสูจน์หลังสงครามโลกครั้งที่สอง พันธมิตรจัดตั้งกองกาลังในบริเวณพื้นที่ต่างๆ ของโลกอย่างเป็นระบบ เพื่อป้ องกันการ
เข้าครอบครองใจโลกของฝ่ ายคอมมิวนิสต์
กาหนด ยุทธศาสตร์ใจโลก (Heartland Strategy)
“ ใครครองยุโรปตะวันออกได้จะเข้าควบคุมใจกลางของพื้นโลกได้
ผู้ใดครองใจกลางของพื้นโลกได้ จะสามารถควบคุมพื้นที่ส่วนต่างๆของโลกได้
และผู้ใดครองพื้นที่ส่วนต่าง ๆ ของโลกได้ ก็จะควบคุมโลกได้ในที่สุด”
สามารถควบคุมทรัพยากรทั้ง คน และวัตถุ ของโลกได้อย่างสมบูรณ์
รูปแบบการทาสงคราม
หนึ่งประเทศสองระบบ
สังคมนิยมคอมมิวนิสต์
มุสลิม/ท้องถิ่นนิยม
กาลังอานาจทางทหารทางบก
ทางเรือ และอากาศ
กาลังอานาจทางการเมือง :
ระบอบประชาธิปไตย
กาลังทางเศรษฐกิจ : ทุนนิยมเสรี กาลังอานาจทางสังคมจิตวิทยา : ศาสนา/วัฒนธรรม
Military Power
Politics Power
Economics Power
Sociological Power
Media Power
National
Power
www.kpi.ac.th
Military Power
Politics Power
Economics Power
Sociological Power
Religion , Culture
Media Power : Facebook , Twitter, Vdolink ,
Mobile Phone, TV online, Radio online, Cyber War
National
Power
 Globalisation & Localisation
 Hard Power & Soft Power
 Americanization & Islamization
 Capitalism & Socialism
 High Technology & Low Technology
 Tangible & Intangible
 Physical & Mental or Spiritual
 National Resource
 ขาดความรู้ ความคิด และวัฒนธรรมที่แตกต่างกัน
 ใช้การต่อสู้แบบตาต่อตา / ฟันต่อฟัน
 การใช้กาลังอานาจทางทหารไม่สามารถหยุดยั้ง Soft Power ได้
 ภาคใต้มีการใช้แนวคิดตะวันตกมาใช้
กาลังอานาจแบบ Soft Power เกิดจากปัจจัยพื้นฐาน 3 ประการคือ
1. วัฒนธรรม ค่านิยม ความเชื่อที่น่าสนใจ และดึงดูดผู้อื่น
2. คุณค่าในทางการเมือง คือ ระบบบริหารที่มีความรับผิดชอบและตอบสนองต่อความต้องการ
ของประชาชน
3. นโยบายระหว่างประเทศ ที่ผู้อื่นเห็นถึงความสาคัญ และความถูกต้อง
กรณีการเผยแพร่ฆ่าตัดคอผ่านสื่อ Internet ของตะวันตก
การถอนกาลังของพันธมิตรในอิรัก
จิตสานึก ISLAM สากลกระทบต่อความมั่นคงโลก
ครูสอนศาสนามีการเผยแพร่แนวคิด ไปทุกเขตที่มีมุสลิมทั่วโลก
มุสลิมในประเทศต่างๆ เรียกร้องเอกลักษณ์ และลัทธิทางศาสนา วัฒนธรรมของตนเอง
เรียกร้องแยกตัวเองเป็นรัฐอิสระ
ประเทศที่ด้อยทางการจัดการปัญหาเชิงประวัติศาสตร์
 Soft Power กาลังอานาจที่จับต้องไม่ได้เป็นความสามารถเปลี่ยนแปลงผู้อื่น โดยใช้วิธีการ กาหนด
กรอบ กาหนดเป้าหมายร่วมกัน ใช้การโน้มน้าวและสร้างให้เกิดความต้องการสิ่งเหล่านั้น เพื่อให้เป็นไปตาม
ความต้องการของผู้ใช้อานาจ
 ทรัพายากรของ กาลังอานาจแบบ Soft Power เช่น ขนบธรรมเนียม ความคิด คุณค่า วัฒนธรรม
และความเข้าใจในนโยบายอย่างถูกต้อง
 กาลังอานาจ Smart Power คือ การผสมผสานระหว่าง กาลังอานาจแบบ Hard Power
และ กาลังอานาจแบบ Soft Power ลงไปในยุทธศาสตร์ เพื่อให้เกิดผลตามที่ต้องการ
 มีลักษณะ 4 ประการได้แก่
1. การต่อสู้และการทาลายล้าง
2. การสนับสนุนด้วยวิธีทางการทูต
3. ให้ความคุ้มครองรักษาสันติภาพ
4. ให้ความช่วยเหลือในด้านอื่นๆ
 การใช้อานาจทางทหาร สามารถทาให้เกิดได้ทั้ง อานาจแบบ Hard Power และ อานาจแบบ Soft Power
 ยุทธศาสตร์ที่ผสมผสานทั้ง อานาจแบบ Hard Power และอานาจแบบ Soft Power อย่างมีประสิทธิภาพ
จะนาไปสู่ อานาจทางทหารอย่าง Smart Military Power ในที่สุด
สงครามโลกครั้งที่ 1 (1914-1918) สงครามโลกครั้งที่ 2 (1939-1945)
• เป็นสงครามใหญ่ที่เกิดขึ้นเฉพาะในทวีปยุโรปเป็น
สาคัญเท่านั้น ระหว่าง ค.ศ. 1914 ถึง 1918 มี
ศูนย์กลางอยู่ในทวีปยุโรป
• เป็นความขัดแย้งทางทหารในระดับโลกตั้งแต่
ค.ศ. 1939 ถึง 1945 เป็นสงครามที่ลุกลามไปทั่วโลก
อย่างแท้จริง
โดยครอบคลุมอาณาบริเวณทั้งในยุโรป แอฟริกา
เหนือ เอเชียตะวันออก และมหาสมุทรแปซิฟิก
• สงครามโลกครั้งที่หนึ่งเป็นการระดมคนจานวนมาก
เข้ามาสู่สงครามประหัตประหารกัน ที่เรียกว่า
"สงครามของคนหมู่มาก" (War of the Masses)
• สงครามโลกครั้งที่สอง ประชาชนทุกคนล้วน
เกี่ยวข้องกับสงครามอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ จึงอาจกล่าว
ได้ว่า สงครามโลกครั้งที่สองนั้นเป็น "สงครามของ
ประชาชนทุกคน“
สงครามโลกครั้งที่ 1 (1914-1918) สงครามโลกครั้งที่ 2 (1939-1945)
ฝ่ายมหาอานาจกลาง หรือไตรพันธมิตร ศูนย์กลางอยู่ที่
ไตรพันธมิตร ได้แก่เยอรมนี ออสเตรีย-ฮังการีและอิตาลี
จักรวรรดิออตโตมัน เข้าสู่สงครามใน ค.ศ. 1914 อิตาลี
และบัลแกเรียใน ค.ศ. 1915 และโรมาเนียใน ค.ศ. 1916
ฝ่ายอักษะ ได้แก่
เยอรมนี อิตาลี ญี่ปุ่น
กับ กับ
ฝ่ายมหาอานาจไตรภาคี หรือฝ่ายสัมพันธมิตร
ศูนย์กลางอยู่ที่ไตรภาคี คืออังกฤษ ฝรั่งเศส และรัสเซีย
ค.ศ. 1918 กองทัพสหรัฐอเมริกาเข้าร่วมสงคราม
จักรวรรดิรัสเซียล่มสลายใน ค.ศ. 1917 และรัสเซียถอน
ตัวจากสงครามหลังการปฏิวัติเดือนตุลาคมในปีเดียวกัน
ฝ่ายสัมพันธมิตร ได้แก่อังกฤษ ฝรั่งเศส และรัสเซีย
เมื่อเริ่มสงคราม สหรัฐอเมริกาวางตัวเป็นกลาง แต่
เมื่อญี่ปุ่นโจมตีอ่าวเพิร์ลซึ่งเป็นฐานทัพของ
สหรัฐอเมริกาในมหาสมุทรแปซิฟิก จึงเข้าร่วมใน
สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 1 (1914-1918) สงครามโลกครั้งที่ 2 (1939-1945)
1. ลัทธิชาตินิยม
2. การแข่งขันกันแสวงหาอาณานิคม
3. การรวมกลุ่มพันธมิตรทางทหาร
4. ความไม่มั่นคงทางการเมืองในคาบสมุทรบอล
ข่าน
1. ลัทธิชาตินิยมในประเทศเยอรมนี อิตาลี และญี่ปุ่น
2. ลัทธิจักรวรรดินิยม
3. ลัทธินิยมทางทหาร การสะสมอาวุธเพื่อ
ประสิทธิภาพของกองทัพ
4. ความขัดแย้งทางด้านอุดมการณ์ทางการเมือง
ระหว่างระบอบประชาธิปไตยกับระบอบเผด็จการ
5. ความอ่อนแอขององค์การสันนิบาตชาติ
6. สนธิสัญญาสันติภาพที่ไม่เป็นธรรม โดยเฉพาะ
สนธิสัญญาแวร์ซายส์
สงครามโลกครั้งที่ 1 (1914-1918) สงครามโลกครั้งที่ 2 (1939-1945)
• การลอบปลงพระชนม์อาร์ชดยุก -
ฟรานซ์ เฟอร์ดินานด์แห่งออสเตรีย
รัชทายาทแห่งจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี เมื่อวันที่ 28
มิถุนายน ค.ศ. 1914 โดยกัฟรีโล ปรินซีปนักศึกษา
ชาวบอสเนียเซิร์บและสมาชิกบอสเนียหนุ่ม เป็น
ชนวนเหตุใกล้ชิดของสงคราม
• กองทัพเยอรมนีบุกโปแลนด์แบบสายฟ้าแลบ เมื่อ
1 กันยายน 1939 ด้วยโปแลนด์ปฏิเสธที่จะยกเมืองท่า
ดานซิกและฉนวนโปแลนด์ในเยอรมนี อังกฤษและ
ฝรั่งเศส ซึ่งมีสัญญาค้าประกันเอกราชของโปแลนด์
ได้ยื่นคาขาดให้เยอรมนี ถอนทหารออกจากโปแลนด์
แต่ฮิตเลอร์ปฏิเสธ อังกฤษและฝรั่งเศสจึงประกาศ
สงครามกับเยอรมนี
• และญี่ปุ่นโจมตีอ่าวเพิร์ล ฐานทัพเรือฝั่งแปซิฟิก
ของสหรัฐอเมริกา
สงครามโลกครั้งที่ 1 (1914-1918) สงครามโลกครั้งที่ 2 (1939-1945)
• สงครามเกิดขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2457( ค.ศ. 1914 ) ในรัชสมัย
รัชกาลที่ 6
• สยามตั้งตัวเป็นกลาง จนสงครามได้รุนแรงขึ้นเป็นลาดับ
รัชกาลที่ 6 ทรงเห็นว่าฝ่ายเยอรมนีเป็นฝ่ายรุกราน จนกระทั่ง
22 กรกฎาคม พ.ศ. 2460 จึงทรงตัดสินพระทัยประกาศ
สงครามกับเยอรมันนีและออสเตรีย-ฮังการี และได้ส่งทหาร
อาสาสมัครไปช่วยรบ
• สงครามเกิดขึ้น เมื่อ พ.ศ. 2482( ค.ศ. 1939 ) ในรัชสมัย
ของรัชกาลที่ 8 (ขณะนั้นเสด็จประทับอยู่ในประเทศ
สวิตเซอร์แลนด์) หลวงพิบูลสงคราม (จอมพล ป.พิบูล
สงคราม) เป็นนายกรัฐมนตรี
• เมื่อเริ่มสงครามนั้นไทยประกาศตนเป็นกลาง แต่เพราะ
ไทยมีกาลังน้อย เมื่อญี่ปุ่นบุกจึงไม่สามารถต่อต้านได้ และ
เพื่อป้องกันมิให้ตกอยู่ใต้อิทธิพลของญี่ปุ่นในด้านเศรษฐกิจ
และการเมือง รัฐบาลต้องยอมให้ญี่ปุ่นผ่าน
สงครามโลกครั้งที่ 1 (1914-1918) สงครามโลกครั้งที่ 2 (1939-1945)
• ประเทศไทยได้เข้าร่วมสงครามโลกครั้งที่ 2 เพียง
ประเทศเดียวในทวีปเอเชียและแปซิฟิกไม่นับรวม
ญี่ปุ่น ที่เข้าร่วมกับฝ่ายอักษะ สาเหตุการเข้าร่วม
เนื่องมาจากการล่าอาณานิคมของชาติตะวันตกใน
สมัยรัชกาลที่ 5 ทุกประเทศในฝั่งทะเลแปซิฟิกและ
ทะเลอันดามัน ถูกเป็นเมืองขึ้นกันหมดเหลือแต่ไทย
และญี่ปุ่นเท่านั้น
สงครามโลกครั้งที่ 1 (1914-1918) สงครามโลกครั้งที่ 2 (1939-1945)
• ปืนกลยิงรัว ยังเป็นแบบติดฐานบังเกอร์ • ใช้ Assault Rifle หรือ Sub Machine Gun
ให้ทหารพกพา
• ทหารม้ายังขี่ม้าออกรบ โดยรถถังยังไม่มีบทบาท • รถถังถูกใช้กันแพร่หลาย และทหารม้าเปลี่ยนจากขี่ม้ามาขับ
รถถังออกรบแทน
• เครื่องบินรบยังเน้นใช้ยิงกันบนฟ้าเป็นหลักและบินได้ไม่ไกล • เครื่องบินถูกใช้ทั้งยิงกันบนฟ้า ทิ้งระเบิด และบินได้ไกลข้าม
ทวีป
• รูปแบบการรบภาคพื้นดินเป็นแนวรบอยู่กับที่ • รูปแบบการรบภาคพื้นดินมีรูปแบบการรบที่มีการ
เปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ
สงครามโลกครั้งที่ 1 (1914-1918) สงครามโลกครั้งที่ 2 (1939-1945)
• ระเบิดก๊าซพิษแตกต่างกันราว 30 ชนิดถูก
นามาใช้ ทาให้ผู้ได้รับแก๊สพิษเสียชีวิตอย่างช้า
ๆ และทรมาน ซึ่งหลังสงครามครั้งที่ 1 หลาย
ประเทศได้มีการลงนามในสนธิสัญญาว่าด้วย
การห้ามใช้ก๊าซพิษเหล่านี้อีก
• เทคโนโลยีในสงครามโลกครั้งที่ 2 ระบบ
เรดาร์ จรวดพิสัยไกล เรือดาน้า รถถัง ปืน
ไรเฟิลประจากายทหารที่ยิงรัวต่อเนื่องได้
เครื่องบินไอพ่น ระเบิดนิวเคลียร์
• ไม่มีการนาก๊าซพิษมาใช้อีก
สงครามโลกครั้งที่ 1 (1914-1918) สงครามโลกครั้งที่ 2 (1939-1945)
• ฝ่ายสัมพันธมิตรเป็นฝ่ายชนะสงคราม
• ส่วนรัฐจักรวรรดิใหญ่ 4 รัฐ อันได้แก่ จักรวรรดิเยอรมัน
ออสเตรีย-ฮังการี รัสเซียและออตโตมัน พ่ายแพ้ทั้งทาง
การเมือง และทางทหาร จนได้สิ้นสภาพไป เยอรมนีและ
รัสเซียสูญเสียดินแดนไปมหาศาล ส่วนอีก 2 รัฐที่เหลือนั้นล่ม
สลายลงอย่างสิ้นเชิง
• แผนที่ยุโรปกลางได้ถูกเขียนใหม่โดยมีประเทศขนาดเล็ก
เกิดใหม่หลายประเทศ
• ฝ่ายสัมพันธมิตรเป็นฝ่ายชนะสงคราม
• เกิดมหาอานาจของโลกใหม่ คือสหรัฐอเมริกา และสหภาพ
โซเวียต จนนาไปสู่เกิดสงครามเย็น ที่ดาเนินต่อมาอีก 45 ปี
• การเกิดประเทศเอกราชใหม่ๆ
กลุ่มประเทศ G8
กลุ่มประเทศกาลังพัฒนา
กลุ่มประเทศเกิดใหม่และรัฐเอกราช
กลุ่มประเทศอักษะแห่งความชั่วร้าย
สงครามโลกครั้งที่ 1 (1914-1918) สงครามโลกครั้งที่ 2 (1939-1945)
• ทหารที่เข้าร่วมสงครามทั้งฝ่ายมหาอานาจ
กลางและฝ่ายสัมพันธมิตร ประมาณ 70 ล้าน
คน เสียชีวิต 8 ล้านคน บาดเจ็บมากกว่า 20
ล้านคน พิการตลอดชีวิตประมาณ 7 ล้านคน
• ความเสียหายต่อชีวิตและทรัพย์สินมากกว่า
สงครามโลกครั้งที่ 1 โดยมีผู้เสียชีวิตไปไม่น้อย
กว่า 68 ล้านคน จากการนาอาวุธที่ทันสมัยและ
ระเบิดปรมาณูมาใช้
• สันนิบาตชาติถูกก่อตั้งขึ้นด้วยหวังว่าจะ
ป้องกันความขัดแย้งเช่นนี้มิให้เกิดขึ้นอีก
ในอนาคต
• สหประชาชาติถูกสถาปนาขึ้น เพื่อ
ส่งเสริมความร่วมมือระหว่างประเทศและเพื่อ
ป้องกันความขัดแย้งในอนาคต
สงครามโลกครั้งที่ 1 (1914-1918) สงครามโลกครั้งที่ 2 (1939-1945)
• สิ้นสุดลงเมื่อเยอรมนีเซ็นสัญญาสงบ
ศึก ในวันที่ 11 พฤศจิกายน 1918
• กินเวลานาน 4 ปี 5 เดือน จึงยุติลง
อย่างเป็นรูปธรรม
• มีการลงนามในสนธิสัญญาแวร์ซายส์
ในวันที่ 28 มิถุนายน ค.ศ.1919
• เป็นสงครามที่เกิดขึ้นภายหลัง
สงครามโลกครั้งที่ 1 เพียง 20 ปี
• ระยะเวลายาวนาน 6 ปี จึงยุติ
สงคราม
สงครามโลกครั้งที่ 1
(1914-1918)
สงครามโลกครั้งที่ 2
(1939-1945)
สงครามโลกครั้งที่ 3
(จะไม่มีจุดเริ่มต้นและสิ้นสุด)
• พื้นที่สงครามส่วนใหญ่อยู่
เฉพาะในทวีปยุโรป
• พื้นที่สงครามลุกลามไปทั่ว
โลกทั้งในยุโรป แอฟริกาเหนือ
เอเชียตะวันออก และ
มหาสมุทรแปซิฟิก
• พื้นที่สงครามกระจายไปทั่ว
ในแต่ละประเทศทุกทวีป ทั้ง
อเมริกา แอฟริกา เอเชียแป
ซิฟิค ยุโรป และมหาสมุทร
แปซิฟิคฯลฯ
•"สงครามของคนหมู่มาก"
(War of the Masses)
•"สงครามของประชาชนทุก
คน”
•สงครามไร้ตัวตน(นิรนาม)
สงครามโลกครั้งที่ 1
(1914-1918)
สงครามโลกครั้งที่ 2
(1939-1945)
สงครามโลกครั้งที่ 3
(จะไม่มีจุดเริ่มต้นและสิ้นสุด)
• ฝ่ายไตรพันธมิตร เยอรมนี ออสเตรีย-
ฮังการีและอิตาลี
• ออตโตมัน อิตาลี บัลแกเรียและ
โรมาเนียเข้ามาภายหลัง
• ฝ่ายอักษะ ได้แก่เยอรมนี อิตาลี ญี่ปุ่น • กลุ่มประเทศสังคมนิยมเก่า
กลุ่มประเทศมุสลิม
กับ กับ กับ
• ฝ่ายสัมพันธมิตรอังกฤษ ฝรั่งเศส และ
รัสเซีย
• สหรัฐอเมริกาเข้าร่วมหลังรัสเซียล่ม
สลาย
• ฝ่ายสัมพันธมิตรอังกฤษ ฝรั่งเศส และ
รัสเซีย
• เริ่มสงครามสหรัฐอเมริกาเป็นกลาง เมื่อ
ญี่ปุ่นโจมตีอ่าวเพิร์ลจึงเข้าร่วมสงคราม
• ฝ่ายสัมพันธมิตรสหรัฐอเมริกา อังกฤษ
ฝรั่งเศส ออสเตเลีย และกลุ่มประเทศ
NATO
สงครามโลกครั้งที่ 1
(1914-1918)
สงครามโลกครั้งที่ 2
(1939-1945)
สงครามโลกครั้งที่ 3
(จะไม่มีจุดเริ่มต้นและสิ้นสุด)
• ลัทธิชาตินิยม แข่งขันกัน
แสวงหาอาณานิคม
• การรวมกลุ่มพันธมิตรทาง
ทหาร
• ความไม่มั่นคงทางการเมือง
ในคาบสมุทรบอลข่าน
• ลัทธิชาตินิยม จักรวรรดินิยม
ลัทธินิยมทางทหาร
• การสะสมอาวุธ
• อุดมการณ์ทางการเมือง
• ความอ่อนแอขององค์การ
สันนิบาตชาติสนธิสัญญา
สันติภาพที่ไม่เป็นธรรม
• ลัทธิชาตินิยม
• องค์การสหประชาชาติที่ไม่
เป็นธรรม
• สังคม วัฒนธรรม เชื้อชาติ
เผ่าพันธ์ ศาสนาที่แตกต่างกัน
(Crash Civilization, Megatrend Asia,
Americanization, Islamization )
สงครามโลกครั้งที่ 1
(1914-1918)
สงครามโลกครั้งที่ 2
(1939-1945)
สงครามโลกครั้งที่ 3
(จะไม่มีจุดเริ่มต้นและสิ้นสุด)
• ลอบปลงพระชนม์อาร์ชดยุก-
ฟรานซ์ เฟอร์ดินานด์แห่ง
ออสเตรีย โดยนักศึกษาชาว
บอสเนียเซิร์บและสมาชิก
บอสเนียหนุ่ม
• เยอรมนีบุกโปแลนด์แบบ
สายฟ้าแลบ ด้วยโปแลนด์
ปฏิเสธที่จะยกเมืองท่าดานซิก
และฉนวนโปแลนด์ในเยอรมนี
• อังกฤษและฝรั่งเศส ยื่นคา
ขาดให้เยอรมันถอนทหารจาก
โปแลนด์ แต่ฮิตเลอร์ปฏิเสธ
และญี่ปุ่นโจมตีอ่าวเพิร์ล ของ
สหรัฐอเมริกา
• เหตุการณ์โจมตีประเทศในตะวันออก
กลาง 9//11
• การโจมตีกลุ่ม ISIS ในอิรักและซีเรีย
• การแย่งชิงหมู่เกาะพาราเซล/ สเเปรต
ลีย์
• การท้าทายของอิหร่านและเกาหลี
เหนือต่อสหรัฐอเมริกา
• พื้นที่ Eurasia (Russia /CIS) and
China
สงครามโลกครั้งที่ 3 (จะไม่มีจุดเริ่มต้นและสิ้นสุด)
• เหตุการณ์โจมตีประเทศในตะวันออกกลาง
• เหตุการณ์โจมตี 9//11 อังกฤษ ฝรั่งเศส เบลเยี่ยม
• การโจมตีกลุ่ม ISIS ในอิรักและซีเรีย
• การแย่งชิงหมู่เกาะพาราเซล/ สเเปรตลีย์
• การท้าทายของอิหร่านและเกาหลีเหนือต่อสหรัฐอเมริกา
• พื้นที่ Eurasia (Russia /CIS) and China
41
 แนวโน้มจะใช้กระบวนการทางการเมืองแก้ไขปัญหาแทนการสู้รบด้วยอาวุธ
 ความขัดแย้งในรูปแบบใหม่ที่เกิดจากหลายปัจจัย เช่นความแตกต่างของเชื้อชาติ ศาสนา
วัฒนธรรมที่ปะทุขึ้น ต้องมีมาตรการแก้ไขที่ไม่ให้ขยายขอบเขตกว้างขวาง
 มีมาตราการป้องกันกระแสโลกาภิวัตน์ที่ทาให้เกิดความขัดแย้งในระดับปัจเจกบุคคลหรือกลุ่ม
ผลประโยชน์ทางการเมืองที่อาจขยายตัวเป็นความขัดแย้งขนาดใหญ่ ที่มีผลกระทบต่อสันติภาพ
และความมั่นคงของประเทศต่างๆ
 การเคลื่อนย้ายข้อมูลข่าวสาร เงินทุน ทาให้โลกเล็กลง รัฐและพรมแดนลด
ความสาคัญ
 เกิดปัญหาลักษณะข้ามรัฐและความสลับซับซ้อน
 โลกจะมีประชาธิปไตยสูงขึ้น
 ความโดดเด่นอานาจเดียวจะลดความสาคัญ
 การต่อสู้ทางวัฒนธรรมและศาสนาจะเพิ่มมากขึ้นระหว่าง อิสลาม คริสต์ และขงจื๊อ
 สถานการณ์ด้านความมั่นคงมีความเปราะบาง
 ความขัดแย้งระหว่างรัฐและภายในรัฐขยายวงกว้างในทุกภูมิภาค
 ผลจากโลกาภิวัฒน์เกิดความไม่แน่นอนหรือการเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็ว
 การกอบโกยแย่งชิงทรัพยากรของรัฐต่างๆ
 ภัยคุกความจากเครือข่ายก่อการร้าย อาวุธทาลายล้างสูง
 ภัยคุกความจากภัยพิบัติขนาดใหญ่
หมวดที่ ๘ ของกฏบัตรสหประชาชาติ
หนทางที่ ๑ ตามบทบัญญัติที่กาหนดในกฎบัตรสหประชาชาติหมวดที่ ๑ Article 2 ข้อ 7
 การแก้ปัญหาภายในโดยรัฐใช้กระบวนการสมานฉันท์สองฝ่าย
 พยายามป้องกันไม่ให้ปัญหาถูกยกระดับขึ้นสู่สากล
 หัวใจสาคัญคือไม่ยอมให้กลุ่มกองกาลังได้รับการยอมรับสถานภาพจากประชาคมโลก
 ควบคุมการละเมิดสิทธิมนุษยชน ถ้าสามารถควบคุมได้ก็มีสิทธิที่จะปฏิเสธความพยายาม
ในการแทรกแซงด้วยบทบาทการรักษาสันติภาพจากประชาคมโลกได้
www.kpi.ac.th
“Nothing contained in the present charter shall authorize the UN to
intervene in matters which are essentially within the domestic
jurisdiction of any state or shall require the member to submit
such matters to settlement under the present charter; But this
principle shall not prejudice the application of enforcement
measures under chapter 7”
www.kpi.ac.th
www.kpi.ac.th
ปัญหาความขัดแย้งภายในชาติใดชาติหนึ่งอาจมีสาเหตุ
จากเงื่อนไขหนึ่งหรือหลายประการประกอบกัน
• ความไม่เป็นธรรมในสังคม
• ความแตกต่างทางเชื้อชาติ ศาสนา เผ่าพันธุ์
• การรักษาการปกครองของรัฐ
• กฎหมายหรือองค์กรบังคับใช้กฎหมาย อ่อนแอ
• ภูมิรัฐศาสตร์ที่ไม่เอื้ออานวยให้อานาจการปกครองของรัฐบาลกลางสถาปนาครอบคลุมพื้นที่
อย่างเต็มประสิทธิภาพ
หนทางที่ ๑ ตามบทบัญญัติที่กาหนดในกฎบัตรสหประชาชาติหมวดที่ ๑ Article 2 ข้อ 7
 การแก้ปัญหาภายในโดยรัฐใช้กระบวนการสมานฉันท์(Reconciliation Process) สองฝ่าย
 พยายามป้องกันไม่ให้ปัญหาถูกยกระดับขึ้นสู่สากล
 หัวใจสาคัญคือไม่ยอมให้กลุ่มกองกาลังได้รับการยอมรับสถานภาพจากประชาคมโลก
 ควบคุมการละเมิดสิทธิมนุษยชน ถ้าสามารถควบคุมได้ก็มีสิทธิที่จะปฏิเสธความพยายามในการแทรกแซงด้วย
บทบาทการรักษาสันติภาพจากประชาคมโลกได้
www.kpi.ac.th
 กรณีรัฐคู่กรณีไม่ยินยอม และสหประชาชาติพิจารณาว่าความขัดแย้งดังกล่าวเป็นภัยคุกคามต่อสันติภาพและ
ความมั่นคงนานาชาติ
 การละเมิดสันติภาพ (Breaches of Peace)
 การกระทาในลักษณะรุกราน (Acts of Aggression)
 จะพิจารณาใช้มาตรการบังคับให้เกิดสันติภาพภายใต้กฎบัตรฯ หมวดที่ ๗ โดยสหประชาชาติอาจเข้าดาเนินการเอง หรือ
อนุมัติอานาจให้องค์กรภูมิภาคเข้าดาเนินการตามกฎบัตรฯ หมวดที่ ๘ Article 53 ข้อ 1
• ผลประโยชน์ของชาติทับซ้อน
• ปัญหาเขตแดน
• อิทธิพลจากภายนอก
• ความแตกต่างของการปกครอง
• ความขัดแย้งของปัจเจกบุคคลที่ถูกยกระดับโดยภาวะโลกาภิวัตน์
America has stood down enemies before, and we will do so this
time.
Bush September, 11, 2001
 ประชากรไอร์แลนด์ มีการอพยพจานวนสูง ไปยังเฉพาะสหรัฐอเมริกา สองในห้าของชาว
ไอร์แลนด์ที่เกิดมีถิ่นฐานอยู่ในต่างประเทศในศตวรรษที่ 21 มีราว 80 ล้านคนจากทั่วโลกที่อ้าง
ว่าสืบเชื้อสายมาจากชาวไอริช ในจานวนนี้เป็นชาวอเมริกัน 45 ล้านคนอ้างว่าเชื้อสายไอริช
 ข้อมูลสามะโนประชากรสหรัฐอย่างน้อย 34.5 ล้านคนระบุว่ามีเชื้อสายไอริช ซึ่งมากกว่าตัวเลข
ประชากรในไอร์แลนด์ 4.68 ล้านคน ราว 7 เท่า ไอริชอยู่สหรัฐมากที่สุดเป็นอันดับสองรองจาก
คนเยอรมัน เมืองบอสตัน ซึ่งเป็นเมืองหลวงของรัฐแมสซาชูเซตส์ มีประชากรเชื้อสายไอริชสูง
ถึง 20.4%(วอชิงตัน โพสต์)
 ประเทศสหรัฐอเมริกาประชากรมีบรรพบุรุษเป็นชาวอังกฤษ แต่น้อยกว่าเยอรมัน
 รัสเซีย จีน กลุ่ม BRIC China + Russia มีการค้าขายกันอย่างมาก และร่วมปฏิบัติในตะวันออกกลาง
โจมตีกลุ่ม ISIS
 North Korea, Iran, Germany
 Russia ค้ากับ Germany อันดับ 10 มีโรงงาน 6000 โรงงานและมีจานวนแรงงาน 300,000 คน
 Russia เป็น Strategic Partner กับ Germany ส่งน้ามันให้ Germany 36%
 UK ถอนตัวจาก EU และ NATO ไม่ร่วม EU Dollars
 Germany France ตั้ง EU
 คนอังกฤษอพยพ IRISH, ISRAEL, UK เข้าไปใน Canada, USA
 China ค้ากับ USA อย่างมาก
Continent Population in 2003 Muslim Population in
2003
Muslim Percentage
Africa 861.20 461.77 53.62
Asia 3830.10 1178.89 30.78
Europe 727.40 52.92 7.28
North America 323.10 6.78 2.10
South America 539.75 3.07 0.57
Oceania 32.23 0.60 1.86
Total 6313.78 1704.03 26.99
Muslim Population is increasing at the rate of 2.9%**
We are taking the rate of natural increase as 2% around the world. The Muslim population in 2003 was
1704.03 million.
**US Center For World Mission 1997 Report
กลุ่มแอฟริกา ประชากรมุสลิม
294 ล้านคน
กลุ่มประเทศแถบเอเชียใต้ ประชากรมุสลิม
326.9 ล้านคน
กลุ่มตะวันออกกลาง
ประชากรมุสลิม 194.4 ล้านคน
กลุ่มประเทศอาเซียน ประชากรมุสลิม 192.5
ล้านคน
กลุ่มยุโรปตะวันออก ประชากรมุสลิม 72.7
ล้านคน
ไทย
ความเปลี่ยนแปลงเริ่มจากศตวรรษที่ 7 กลุ่มประเทศมุสลิมเพิ่มมากขึ้นจากบริเวณตะวันออก
กลาง สู่ยุโรป
หลังการล่มสลายของระบบสังคมนิยม ค.ศ. 1990 มีบอสเนีย และเอเซียกลางแยกจากรัสเซีย
รวมเป็น Islamic Conference Organization(ICO)
ไม่มีเอกภาพในรูปแบบการปกครองในประเทศ มีนโยบายต่างประเทศที่แตกต่างกัน
มีเอกลักษณ์เป็นของตัวเอง และมีปัจเจกชนนิยมสูง เป็นไปตามประวัติศาสตร์ ภูมิศาสตร์ และ
ยุทธศาสตร์ของที่ตั้งประเทศตามภูมิรัฐศาสตร์(Geopolitics)
ประมุขผู้นาของประเทศมีกรอบแนวความคิด บุคลิก ประสบการณ์ส่วนตัวต่างกันไป
1. ประเทศมุสลิมที่ปกครองในระบอบกษัตริย์หรือเจ้าผู้ครองในลักษณะ
สมบูรณาญาสิทธิราชย์หรือกึ่งๆ
2. ประเทศมุสลิมประชาธิปไตยแบบสมัยใหม่
3. ประเทศมุสลิมสมัยใหม่กึ่งประชาธิปไตย
4. ประเทศมุสลิมแนวปฏิวัติ
5. ประเทศมุสลิมสายเคร่ง
6. ประเทศมุสลิมผสมอิทธิพลของวัฒนธรรมสลาฟ
1. ประเทศมุสลิมที่มีกษัตริย์ปกครองหรือเจ้าผู้ครองในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์หรือกึ่งๆ(โมร็อกโก
จอร์แดน ซาอุดิอารเบีย บรูไน และรัฐเล็กๆ ริมอ่าวเปอร์เซีย)
2. ประเทศมุสลิมประชาธิปไตยแบบสมัยใหม่(มาเลเซีย อินโดนีเซีย ตุรกี)
3. ประเทศมุสลิมสมัยใหม่กึ่งประชาธิปไตย(ปากีสถาน แอลจีเรีย อียิปต์ ตูนิเซีย เลบานอน)
4. ประเทศมุสลิมแนวปฏิวัติ(อิรัก ซีเรีย ลิเบีย ซึ่งมีผู้นาในลักษณะเผด็จการหรือกึ่งเผด็จการ)
5. ประเทศมุสลิมสายเคร่ง (คือศาสนามีอานาจเหนือรัฐ) มักรู้จักกันในภาษาอังกฤษว่า Islamic
Fundamentalism ได้แก่ อัฟกานิสถาน และอิหร่าน (ซึ่งเคร่งน้อยลงกว่าในทศวรรษ 1980)
6. ประเทศมุสลิมผสมอิทธิพลของวัฒนธรรมสลาฟ ได้แก่ บรรดาประเทศในบริเวณเอเชียกลางและคอเค
ซัสที่เคยรวมอยู่ในอดีตสหภาพโซเวียต(อุสเบกิสถาน เติร์กเมนิสถาน คาซักสถาน ทิกิร์เซีย และ
อาเซอร์ไบจาน)
ประเทศหรือกลุ่มมุสลิมสายเคร่ง เช่นอัฟกานิสถาน อิหร่าน
ขบวนการชาวปาเลสไตน์บางกลุ่มเช่น “ฮามาส” “ฮิซโบเลาะห์” “ตาลีบัน” และ “ISIS”
มุสลิมแนวปฏิวัติอิรักและลิเบีย ก่อการร้ายต่ออเมริกาและกลุ่มตะวันตก
ผู้นาเอากฎแบบเคร่งครัดของอิสลามมาใช้เป็น “เครื่องมือทางการเมือง” ต่อต้าน “การครอง
โลกแบบครบวงจรของสหรัฐอเมริกา
อารยธรรมชนผิวขาวคริสเตียนเป็นศัตรูที่เกิดขึ้นระหว่าง “ฝรั่ง” กับ “มุสลิม”(ฮันติงตัน
เรียกว่า“The Clash of Civilizations”
ผู้นาที่มีความเชื่อมั่นในตัวเองสูง เช่น ซัดดัมฮุสเซน โมอามาร์ กัดดาฟี
“กฎโลก” ที่ใช้ในองค์การระหว่างประเทศเช่น UN , IMF, World Bank , WTO องค์การ
กาหนดมาตรฐานระหว่างประเทศ ฯลฯ เหล่านี้ มักมีสหรัฐอเมริกาและพันธมิตรอยู่เบื้องหลัง
 อิยิปต์
 โมร็อกโก
 จอร์แดน
 ซาอุดิอาระเบีย
 ตูนิเซีย
• ปากีสถาน
• รัฐเล็กๆ ริมอ่าวเปอร์เซีย
• อินโดนีเซีย
• บูรไน
ISIS in IRAQ/Syria
A Publication by www.elifesara.com 62
 คาเรียกร้องการช่วยเหลือของผู้นาเยเมน ต่อซาอุฯ
ทาให้ถูกดึงเข้าไปสู่สถานการณ์เยเมนอย่างเต็มตัว
จนเป็น “สงครามตัวแทน”
 อิหร่านซึ่งหนุนหลังผู้นากบฏฮูตีที่นับถือนิกาย
ชีอะห์ ในขณะที่ซาอุฯ สนับสนุนนิกายสุหนี่
 ซาอุฯ โจมตีทางอากาศถล่ม “กบฏฮูตี” ในเยเมน
สงครามในอัฟกานิสถาน ต้องการใช้พื้นที่ปากีสถานเป็นฐานทัพหน้าและส่งกาลังบารุง รัฐบาล
ปากีสถานอนุญาตให้สิทธิแค่การบินผ่าน
สงครามอิรัก ขอใช้พื้นที่ประเทศตุรกีเป็นฐานทัพหน้า ได้รับการปฏิเสธจากสภาฯ
การใช้พื้นที่ประเทศอื่นเป็นฐานทัพหน้า ต้องเสี่ยงกับการใช้ งป.มหาศาล และเกิดความสูญ
เปล่าในอนาคต
การลงทุนสร้างฐานทัพที่อ่าวซูบิคในฟิลิปปินส์ ต่อมาไม่ต่อสัญญาเช่า
ต้องหันกลับมาใช้อาณานิคมของตนเอง คือเกาะกวมเป็นศูนย์กลางของกองกาลังสหรัฐฯ ในเขต
ภูมิภาค เอเชีย-แปซิฟิก
พัฒนาฐานทัพอากาศ และฐานทัพเรือ
ใช้งบประมาณ ๑,๐๔๘ ล้านยูเอสดอลล่าร์
มีประชากร ๑๗๐,๐๐๐ คน
มีโรงกลั่นน้ามัน และอู่ซ่อมเรือ
ห่างจากฟิลิปปินส์ ไปทางตะวันออก ๒๒๔๐ กม.
มีพื้นที่ ๕๔๑ ตร.กม.
(บทความนิติภูมิ ไทยรัฐ หน้า ๒ วันที่ ๖ มีนาคม ๒๕๕๒)
Strategic Defence Mobile Forces
Bases Places
Hard Power Smart Power
ปรับวางกาลังของกองทัพเรือสหรัฐฯโดยทบทวนยุทธศาสตร์ ปรับเปลี่ยน
รูปแบบ จานวนและสถานที่ที่กาลังทหารของสหรัฐฯประจาการอยู่ทั่วโลก
กาหนดภัยคุกคามและยุทธศาสตร์ขึ้นใหม่ทั้งหมด มีการลงนามร่วมระหว่าง
ผบ.ทร. และ ผบ.นย.และให้ กห.สหรัฐฯ อนุมัติแล้ว
กาหนดเป็นยุทธศาสตร์แบบ ๔-๒-๑
สามารถยับยั้งภัยคุกคามได้ ๔ ภูมิภาค
เอาชนะได้อย่างรวดเร็ว ๒ ภัยคุกคาม
เอาชนะได้อย่างเด็ดขาด อย่างน้อย ๑ ใน ๒ ภัยคุกคาม
ปรับกองเรือจาก ๑๙ กองเรือ เป็น ๓๗ กองเรือ มีขีดความสามารถในการทาการรบในทุก
ภูมิภาคทั่วโลก
ให้ความสาคัญกับขีดความสามารถของหน่วยปฏิบัติการพิเศษ (Special Force)
มีการปรับปรุงเรือดาน้า Nuclear ชั้น Ohio Class ซึ่งจากเดิมมีการติดตั้งขีปนาวุธ
Nuclear มาเป็นติดตั้งอาวุธปล่อยแบบ Tomahawk และสามารถส่งหน่วย Special
Force ขึ้นปฏิบัติการบนฝั่งได้
สร้างฐานทัพหน้าในแผ่นดินตนเอง ใช้กาลังเคลื่อนที่เร็วลดการพึ่งพาชาติอื่น
วางกาลังและฐานทัพ ฐานส่งกาลังบารุงต่าง ๆ ไว้ทั่วโลก
วางกาลังใหม่ของ ทร.สหรัฐฯ ในภูมิภาคเอเชีย – แปซิฟิก ลดกาลังทหารประจาการใน
เกาหลีใต้ จานวน ๑ ใน ๓ เหลือ ๑๒,๕๐๐ คน จากเดิม ๓๗,๕๐๐ คน
ภัยคุกคามรูปแบบใหม่ยากที่จะประเมินทิศทางและเป้าหมายที่ชัดเจน
ยุทธศาสตร์ใหม่ของสหรัฐฯเน้นการสร้างความร่วมมือจากชาติพันธมิตร ในการเข้าจัดการกับภัย
คุกคามตามภูมิภาคต่าง ๆ
Sea Shield การป้องกันจากทะเล ปกป้องแผ่นดินแม่ มีการป้องกัน Air Missile Theater,
Air Missile Defense และการป้องกันภัยคุกคามทั้ง 3 มิติ
Sea Strike การโจมตีจากทะเล
Sea Basing ฐานปฏิบัติการจากทะเลที่ใช้ในการบัญชาการรบ
Sea Trial การฝึกและทดสอบจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนาเทคโนโลยีใหม่ ๆ และวางแนวความคิดในการ
ปฎิบัติการ
Sea Warrior การอบรมและพัฒนาคุณภาพของกาลังพลทางเรือ
Sea Enterprise การตรวจสอบเพื่อปรับปรุงการปฎิบัติภารกิจของกองทัพให้มีประสิทธิภาพมาก
ยิ่งขึ้น
Maritime Prepositioning Force (Future) MPF(F) / Sea base
 เป็นหน่วยงานของ UN รองรับมาตรการต่อต้านการก่อการร้ายทางทะเลที่เรียกว่า The International Ship
and Port Facility Code (ISPS CODE) เมื่อปี 2545
 มาตรการที่กาหนดให้ประเทศสมาชิก IMO ที่รับรองมาตรการนี้จานวน 146 ประเทศ เพิ่มการรักษาความ
ปลอดภัยการเดินเรือเพื่อป้องกันการก่อการร้าย
 กาหนดให้เรือที่มีระวางตั้งแต่ 300-50,000 ตัน ต้องติดตั้งระบบ Automatic Information System
ภายใน 31 ธันวาคม 2547
 กาหนดให้เรือทุกลาต้องติดระบบเตือนภัยให้ จนท.บนฝั่งทราบถึงชื่อเรือ สถานที่ตั้ง และปัญหาด้านความปลอดภัย
 กาหนดให้ท่าเรือมีการประเมินความปลอดภัยของท่าเรือ และจัดทาแผนรักษาความปลอดภัยสถานที่
 เรือที่ไม่ปฏิบัติตามระเบียบจะไม่ได้รับใบประกาศความปลอดภัยการเดินเรือระหว่างประเทศ(International
Ship Security Certificate) ซึ่งจะทาให้ไม่สามารถจอดเข้าท่าเทียบเรือของประเทศสมาชิก IMO ได้
Raw Material
Product & Container
Money
Man
บิดาแห่งกาลังอานาจทางทะเล
เป็นผู้บรรยายในวิทยาลัยการทัพเรือ
เขียนหนังสือเกี่ยวกับทฤษฏีของการใช้กาลังอานาจทางเรือ
เสนอแนวคิดกาลังอานาจทางทะเล(Sea Power Strategy) ครองเจ้าทะเล คุมเส้นทางเดินเรือ
และแสวงหาทรัพยากรโพ้นทะเล
ซึ่งได้รับการยอมรับในผลงานยุทธศาสตร์ทางเรือ (Naval Strategy)
 ข้อพิพาททะเลจีนใต้มี 4 ประเทศสมาชิกอาเซียน กับจีน และไต้หวัน
 ฟิลิปปินส์และเวียดนามเลือกฝ่ายสหรัฐ หลังการปรับเปลี่ยนยุทธศาสตร์ของอเมริกา พญาอินทรีซึ่งเพิ่ม
สรรพกาลังทางทะเลในเอเชียตะวันออก-แปซิฟิก เป็น 60% และแอตแลนติก-ยุโรป เหลือ 40% จาก
ที่เคยอยู่ที่ประมาณ 50:50
 รัฐมนตรีกลาโหมสหรัฐปรกาศที่สิงคโปร์ปรับกาลังทางทะเลใหม่ จากนั้นเดินทางเยือนฟิลิปปินส์และ
เวียดนาม และออกข่าวว่าสหรัฐจะรื้อฟื้นฐานทัพเรือขนาดใหญ่ในสองประเทศขึ้นมาใช้งานใหม่ ส่วนกัมพูชา
เลือกข้างจีน
 อดีตเอกอัครราชทูตอินโดนีเซีย บอกว่าหากอาเซียนปล่อยให้ภูมิภาคเป็นสนามรบ “สงครามกองโจรทางการ
ทูต” ของสหรัฐกับจีนต่อไป โดยไม่มีการควบคุมหรือห้ามปราม ก็จะเป็นจุดเริ่มไปสู่ความหายนะของกลุ่มใน
อีกไม่นาน
 Globalization
 Technology
 Mobility
 Beliefs
 Economy
เป็นประเทศที่ทรงอิทธิพลที่สุด ในด้านเศรษฐกิจ การเมืองและการทหาร
มีศักยภาพในการชี้นาและการกาหนดกฎเกณฑ์ต่างๆ ในโลก
มีขนาดเศรษฐกิจที่ใหญ่ที่สุดในโลก
มีความสามารถการแข่งขันทางเศรษฐกิจสูงที่สุดในโลก (จัดอันดับโดย The
Economist)
มีบทบาทสูงในเวทีเศรษฐกิจระหว่างประเทศ เช่น UN, NATO, IMF, World
Bank, WTO, G8, OECD, APEC และ UNCTAD
 มองวิถีชีวิตแบบอเมริกันตะวันตก จะเต็มไปด้วยความเลวทราม อุจาด ลามก ทุจริต คดโกง เห็นแก่ตัว
กีดกัน โค่นล้มเท่าที่จะสามารถทาได้ทั้งโดยวิธีสงบและวิธีรุนแรง
 ยึดมั่นในคาสั่งสอนของศาสนาอิสลามอยางเคร่งครัด และต้องการนาเอากฎหลักของศาสนามาใช้เป็น
กฎหลักของสังคมอย่างเคร่งครัด
 สังคมมุสลิม ผู้นาเอากฎหลักแบบเคร่งครัดของศาสนาอิสลามมาใช้เป็น “เครื่องมือทางการเมือง” เพื่อ
ต่อต้าน“การครองโลกแบบครบวงจรของสหรัฐอเมริกา และอารยธรรมของชนผิวขาวชาวคริสเตียน”
 ความเป็นศัตรูเกิดขึ้นระหว่าง“ตะวันตก” กับ “มุสลิม” (“The Clash of Civilizations”
 ผู้นาจานวนนี้มักเป็นผู้นาที่มีความนับถือตัวเอง และเชื่อมั่นในตัวเองสูง เช่น ซัดดัมฮุสเซน ในอิรัก
หรือโมอามาร์ กัดดาฟี ในลิเบีย
1. การสร้างรัฐบาลโลกเดียวผ่านยูเอ็น
2. การสร้างธนาคารกลางโลกเดียวผ่านกองทุนการเงินระหว่างประเทศ หรือBank for International
Settlements
3. การสร้างเงินสกุลโลกเดียวผ่านเงินดิจิตัล special drawing rights ของกองทุนการเงินระหว่างประเทศ
4. การสร้างศาสนาโลกเดียว โดยจะมีการรวมเอาศาสนาจูดาห์ ศาสนาคริสต์ และศาสนาอิสลามเข้าด้วยกัน
5. การสถาปนาให้เยรูซาเลมเป็นเมืองหลวงของโลก
 แองโกลอเมริกันเดินหน้าสร้าง Greater Israel อย่างเร่งด่วน ด้วยการสร้าง ISIS เพื่อล้มอิรัก ซีเรีย และ
อิหร่านในท้ายที่สุดในตะวันออกกลาง
 พยายามยันรัสเซีย รวมทั้งจีนไม่ให้ผงาด แล้วเตรียมตัวก่อสงครามโลกครั้งที่ 3 ในอีก 3-5 ปี โดยมั่นใจว่าเวลานั้น
จะสามารถสยบทุกประเทศได้
 แต่ รัสเซีย จีนละอิหร่านจับมือกันชิงก่อสงครามก่อนในซีเรีย เพื่อเปิดเผยว่าใครอยู่เบื้องหลัง ISIS เตรียมการยึด
ตะวันออกกลางและแอฟริกาเหนือและจะทาลาย Greater Israel ให้พังพินาศ
 แกนของโลกอยู่ที่ตะวันออกกลางเวลานี้ เนื่องจากเป็นแหล่งพลังงาน แหล่งประวัติศาสตร์ และอารยะธรรมโบราณ
หลักของโลก ใครเป็นผู้นาในตะวันออกกลางได้ ผู้นั้นจะเป็นผู้ครองโลก
84
1. สหรัฐอเมริกาแทรกแซงทางทหารในประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก นับตั้งแต่ปี 1946 มีเพียงปี 1955
และ 1957 เท่านั้นที่ไม่มีหลักฐานการแทรกแซงทางทหารของสหรัฐอเมริกา (Uppsala
Conflict Data Program, 2011: Grossman ,2012): Global Policy Forum, 2005)
2. สหรัฐอเมริกาเป็นผู้ส่งออกอาวุธรายใหญ่ที่สุดในโลก(Stockholm International Peace
Research Institute, 2011)
สงคราม กับ เศรษฐกิจ โดย นางสาวกมลนัทธ์ มีถาวร นิสิตปริญญาเอก คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 4 กันยายน พ.ศ. 2556
 สงครามกลางเมืองในซีเรียเป็นชนวนสงคราม สหรัฐฯ และรัสเซีย มีชาติพันธมิตรเป็นพวกชัดเจน
 ฝ่ายสหรัฐฯ และชาติพันธมิตร 11 ชาติ ที่ต้องการโค่นล้มรัฐบาลประธานาธิบดี บาชาร์ อัล อัสซาดแห่งซีเรีย
 ฝ่ายรัสเซีย และพันธมิตร ที่สนับสนุนประธานาธิบดีอัล อัสซาด มีอยู่ 4 ชาติ คือ อิหร่าน จีน เลบานอน
และอิรัก
 มีเครื่องบินรบของสหรัฐฯ และพันธมิตรหลายลาบินเข้ามาโจมตีทางอากาศถล่มกลุ่มติดอาวุธรัฐอิสลาม หรือ
ไอซิส ในประเทศซีเรีย หากมีเครื่องบินลาใดตก จะก่อให้เกิดความเข้าใจผิดว่า เป็นฝีมือของชาติฝ่ายตรง
ข้าม และเป็นชนวนให้เกิดการสู้รบระหว่างสองฝ่าย
 เหตุจลาจลประท้วงการเสียชีวิตของ เฟรดดี้ เกรย์ ชายผิวสี วัย 25 ปีในเมืองบัลติมอร์ รัฐแมรีแลนด์ บาน
ปลายเป็นปัญหาระดับชาติ
 ประชาชนในเมืองใหญ่เช่นที่กรุงวอชิงตัน ดี.ซี. นครนิวยอร์ก ถือป้ายประท้วงหน้าทาเนียบขาว ตะโกนถาม
เจ้าหน้าที่ถึงระบบประชาธิปไตยของประเทศ เจ้าหน้าที่ตารวจดาเนินการจับกุมผู้ประท้วงที่จตุรัสยูเนียน
เกาะแมนฮัตตัน
 นายโจเซฟ เคนท์ แกนนาการประท้วงกรณีการเสียชีวิตของวัยรุ่นผิวสี ถูกเจ้าหน้าที่ตารวจอุ้มหายต่อหน้า
สื่อมวลชน
 การประท้วงครั้งนี้รุนแรงที่สุด ตั้งแต่มีการประท้วงการกระทาเกินกว่าเหตุของเจ้าหน้าที่ตารวจครั้งแรกที่
เมืองเฟอร์กูสัน รัฐมิสซูรี ที่สถานการณ์บานปลายเช่นกัน จนรัฐต้องส่งเนชั่นแนล การ์ดเข้าประจาการ.
86A Publication by www.elifesara.com

More Related Content

Similar to สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7 แจก

กำลังอำนาจแห่งชาติ Ndc วปอ.มส.
กำลังอำนาจแห่งชาติ Ndc วปอ.มส.กำลังอำนาจแห่งชาติ Ndc วปอ.มส.
กำลังอำนาจแห่งชาติ Ndc วปอ.มส.
Taraya Srivilas
 
บทบาทของกองทัพในทศวรรษหน้า
บทบาทของกองทัพในทศวรรษหน้าบทบาทของกองทัพในทศวรรษหน้า
บทบาทของกองทัพในทศวรรษหน้า
Teeranan
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
Taraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
Taraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
Taraya Srivilas
 
กองทัพไทยในศตวรรษที่ 21
กองทัพไทยในศตวรรษที่ 21กองทัพไทยในศตวรรษที่ 21
กองทัพไทยในศตวรรษที่ 21
Teeranan
 

Similar to สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7 แจก (6)

กำลังอำนาจแห่งชาติ Ndc วปอ.มส.
กำลังอำนาจแห่งชาติ Ndc วปอ.มส.กำลังอำนาจแห่งชาติ Ndc วปอ.มส.
กำลังอำนาจแห่งชาติ Ndc วปอ.มส.
 
บทบาทของกองทัพในทศวรรษหน้า
บทบาทของกองทัพในทศวรรษหน้าบทบาทของกองทัพในทศวรรษหน้า
บทบาทของกองทัพในทศวรรษหน้า
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
 
กองทัพไทยในศตวรรษที่ 21
กองทัพไทยในศตวรรษที่ 21กองทัพไทยในศตวรรษที่ 21
กองทัพไทยในศตวรรษที่ 21
 

More from Taraya Srivilas

การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจกการบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
Taraya Srivilas
 
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกนโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
Taraya Srivilas
 
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมโปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
Taraya Srivilas
 
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
Taraya Srivilas
 
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานการเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
Taraya Srivilas
 
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนแนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
Taraya Srivilas
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจกสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
Taraya Srivilas
 
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
Taraya Srivilas
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
Taraya Srivilas
 
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยการสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
Taraya Srivilas
 
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงสถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
Taraya Srivilas
 
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
Taraya Srivilas
 
บทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตบทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคต
Taraya Srivilas
 
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขบทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
Taraya Srivilas
 
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
Taraya Srivilas
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
Taraya Srivilas
 
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสชเอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
Taraya Srivilas
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
Taraya Srivilas
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
Taraya Srivilas
 
แนวทางที่จะสร้างความปรองดองของคนในชาติ คอ.นธ.
แนวทางที่จะสร้างความปรองดองของคนในชาติ คอ.นธ.แนวทางที่จะสร้างความปรองดองของคนในชาติ คอ.นธ.
แนวทางที่จะสร้างความปรองดองของคนในชาติ คอ.นธ.
Taraya Srivilas
 

More from Taraya Srivilas (20)

การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจกการบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
 
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกนโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
 
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมโปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
 
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
 
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานการเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
 
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนแนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจกสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
 
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
 
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยการสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
 
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงสถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
 
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
 
บทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตบทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคต
 
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขบทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
 
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
 
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสชเอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
 
แนวทางที่จะสร้างความปรองดองของคนในชาติ คอ.นธ.
แนวทางที่จะสร้างความปรองดองของคนในชาติ คอ.นธ.แนวทางที่จะสร้างความปรองดองของคนในชาติ คอ.นธ.
แนวทางที่จะสร้างความปรองดองของคนในชาติ คอ.นธ.
 

สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส7 แจก

  • 1. โดย พลเอก เอกชัย ศรีวิลาศ ผู้อานวยการสานักสันติวิธีและธรรมาภิบาล สถาบันพระปกเกล้า www.elifesara.com ekkachais@hotmail.com สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้าไทย
  • 2.  ภูมิศาสตร์  ภาวะประชากร  ทรัพยากรธรรมชาติ  ความเชื่อ ศาสนา ความจงรักภักดี  ลักษณะประจาชาติ  กาลังทหาร  วิทยาศาสตร์เทคโนโลยีฯ  เศรษฐกิจ  ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ  การศึกษา  อุดมการณ์ของชาติและภาวะผู้นา National Powers ภูมิรัฐศาสตร์(Geopolitics) ภูมิศาสตร์การเมือง ประวัติศาสตร์ National Security Strategy Personal, Social, National, Regional, International ประชาชน ดินแดน รัฐบาล อานาจอธิปไตย Value and National Style National Interest Vital, Important, Peripheral Model National Security Assessment : EKMODEL Defenseof homeland Economic well-being Favorable world order Promotionof value Global State Non State Actors Leaders www.elifesara.com
  • 3. • การทาสงครามจะต้องเผด็จศึกในเร็ววันไม่ควรให้เนิ่นช้า • ประเทศจะไม่ได้รับประโยชน์อันใดเลยถ้าปล่อยให้ การรบยืดเยื้อ • ค่าใช้จ่ายในการดาเนินการสงครามจะสูง การคลังของประเทศจะมีปัญหา • กองทัพต้องติดศึกอยู่นานวัน อาวุธ ยุทโธปกรณ์ จะลดความคมกล้า ขวัญทหารนับวันจะเสื่อม กาลังพลก็จะอ่อนเปลี้ย www.elifesara.com
  • 6. FUTURE STUDIES METHOD Anticipatory thinking Assessments Environmental scanning Back casting (eco-history) Back-view mirror analysis Bottom Up Cross-impact analysis Conducting Technology Checklists Delphi technique Future history Futures workshops Failure mode and effects analysis
  • 7.  วัฒนธรรม  จารีตประเพณี  ปทัสฐาน  ศาสนา  ความกระตือรือร้นของคนในชาติ  ทัศนคติต่อการทางาน
  • 9.  เป็นทฤษฎีทางภูมิรัฐศาสตร์ (Geopolitics)  ประเทศใดถ้ามีภูมิประเทศ หรือ สามารถยึดบริเวณจุดสาคัญ (Pivot Area) หรือใจโลก (Heartland) แล้ว ประเทศนั้นก็จะเป็นผู้ครองอานาจอันสูงสุด ดินแดนที่เป็นใจโลกตามแนวความคิดของแมคคินเดอร์คือ ดินแดนแถบทะเลบอลติค ทุ่งหญ้า สะเต็บตอนกลางของโซเวียต ปัจจุบันเป็นบริเวณที่เป็นทะเลน้าแข็งตลอดปี ด้านเหนือเป็น มหาสมุทรอาร์คติคกับขั้วโลกเหนือ เป็นชัยภูมิเหมาะเพราะเรือเข้าไม่ถึง แม่น้าดานูบดนีเปอร์ เอเซีย ไมเนอร์ จีน ทิเบต และมองโกเลียจดเอเซียใต้
  • 11. จานวนพลเมือง ทรัพยากร การเดินเรือ Rimland Eurasia World แนวคิด“ยุทธศาสตร์ขอบโลก”(Rimland Strategy)จะโต้แย้งกับ“ ยุทธศาสตร์ใจโลก ” ใครสามารถครองบริเวณใจโลกได้ จะต้องครอบครองบริเวณดินแดนโดยรอบให้ได้ก่อน การใช้กาลังอานาจทางเรือที่มีประสิทธิภาพเป็นหลัก ตามแนวคิดของ มาฮานเรื่องสมุทธานุภาพ แนวคิดนี้ได้รับการพิสูจน์หลังสงครามโลกครั้งที่สอง พันธมิตรจัดตั้งกองกาลังในบริเวณพื้นที่ต่างๆ ของโลกอย่างเป็นระบบ เพื่อป้ องกันการ เข้าครอบครองใจโลกของฝ่ ายคอมมิวนิสต์
  • 12. กาหนด ยุทธศาสตร์ใจโลก (Heartland Strategy) “ ใครครองยุโรปตะวันออกได้จะเข้าควบคุมใจกลางของพื้นโลกได้ ผู้ใดครองใจกลางของพื้นโลกได้ จะสามารถควบคุมพื้นที่ส่วนต่างๆของโลกได้ และผู้ใดครองพื้นที่ส่วนต่าง ๆ ของโลกได้ ก็จะควบคุมโลกได้ในที่สุด” สามารถควบคุมทรัพยากรทั้ง คน และวัตถุ ของโลกได้อย่างสมบูรณ์
  • 14. Military Power Politics Power Economics Power Sociological Power Media Power National Power
  • 15. www.kpi.ac.th Military Power Politics Power Economics Power Sociological Power Religion , Culture Media Power : Facebook , Twitter, Vdolink , Mobile Phone, TV online, Radio online, Cyber War National Power
  • 16.  Globalisation & Localisation  Hard Power & Soft Power  Americanization & Islamization  Capitalism & Socialism  High Technology & Low Technology  Tangible & Intangible  Physical & Mental or Spiritual  National Resource
  • 17.  ขาดความรู้ ความคิด และวัฒนธรรมที่แตกต่างกัน  ใช้การต่อสู้แบบตาต่อตา / ฟันต่อฟัน  การใช้กาลังอานาจทางทหารไม่สามารถหยุดยั้ง Soft Power ได้  ภาคใต้มีการใช้แนวคิดตะวันตกมาใช้
  • 18. กาลังอานาจแบบ Soft Power เกิดจากปัจจัยพื้นฐาน 3 ประการคือ 1. วัฒนธรรม ค่านิยม ความเชื่อที่น่าสนใจ และดึงดูดผู้อื่น 2. คุณค่าในทางการเมือง คือ ระบบบริหารที่มีความรับผิดชอบและตอบสนองต่อความต้องการ ของประชาชน 3. นโยบายระหว่างประเทศ ที่ผู้อื่นเห็นถึงความสาคัญ และความถูกต้อง
  • 19. กรณีการเผยแพร่ฆ่าตัดคอผ่านสื่อ Internet ของตะวันตก การถอนกาลังของพันธมิตรในอิรัก จิตสานึก ISLAM สากลกระทบต่อความมั่นคงโลก ครูสอนศาสนามีการเผยแพร่แนวคิด ไปทุกเขตที่มีมุสลิมทั่วโลก มุสลิมในประเทศต่างๆ เรียกร้องเอกลักษณ์ และลัทธิทางศาสนา วัฒนธรรมของตนเอง เรียกร้องแยกตัวเองเป็นรัฐอิสระ ประเทศที่ด้อยทางการจัดการปัญหาเชิงประวัติศาสตร์
  • 20.  Soft Power กาลังอานาจที่จับต้องไม่ได้เป็นความสามารถเปลี่ยนแปลงผู้อื่น โดยใช้วิธีการ กาหนด กรอบ กาหนดเป้าหมายร่วมกัน ใช้การโน้มน้าวและสร้างให้เกิดความต้องการสิ่งเหล่านั้น เพื่อให้เป็นไปตาม ความต้องการของผู้ใช้อานาจ  ทรัพายากรของ กาลังอานาจแบบ Soft Power เช่น ขนบธรรมเนียม ความคิด คุณค่า วัฒนธรรม และความเข้าใจในนโยบายอย่างถูกต้อง  กาลังอานาจ Smart Power คือ การผสมผสานระหว่าง กาลังอานาจแบบ Hard Power และ กาลังอานาจแบบ Soft Power ลงไปในยุทธศาสตร์ เพื่อให้เกิดผลตามที่ต้องการ
  • 21.  มีลักษณะ 4 ประการได้แก่ 1. การต่อสู้และการทาลายล้าง 2. การสนับสนุนด้วยวิธีทางการทูต 3. ให้ความคุ้มครองรักษาสันติภาพ 4. ให้ความช่วยเหลือในด้านอื่นๆ  การใช้อานาจทางทหาร สามารถทาให้เกิดได้ทั้ง อานาจแบบ Hard Power และ อานาจแบบ Soft Power  ยุทธศาสตร์ที่ผสมผสานทั้ง อานาจแบบ Hard Power และอานาจแบบ Soft Power อย่างมีประสิทธิภาพ จะนาไปสู่ อานาจทางทหารอย่าง Smart Military Power ในที่สุด
  • 22.
  • 23. สงครามโลกครั้งที่ 1 (1914-1918) สงครามโลกครั้งที่ 2 (1939-1945) • เป็นสงครามใหญ่ที่เกิดขึ้นเฉพาะในทวีปยุโรปเป็น สาคัญเท่านั้น ระหว่าง ค.ศ. 1914 ถึง 1918 มี ศูนย์กลางอยู่ในทวีปยุโรป • เป็นความขัดแย้งทางทหารในระดับโลกตั้งแต่ ค.ศ. 1939 ถึง 1945 เป็นสงครามที่ลุกลามไปทั่วโลก อย่างแท้จริง โดยครอบคลุมอาณาบริเวณทั้งในยุโรป แอฟริกา เหนือ เอเชียตะวันออก และมหาสมุทรแปซิฟิก • สงครามโลกครั้งที่หนึ่งเป็นการระดมคนจานวนมาก เข้ามาสู่สงครามประหัตประหารกัน ที่เรียกว่า "สงครามของคนหมู่มาก" (War of the Masses) • สงครามโลกครั้งที่สอง ประชาชนทุกคนล้วน เกี่ยวข้องกับสงครามอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ จึงอาจกล่าว ได้ว่า สงครามโลกครั้งที่สองนั้นเป็น "สงครามของ ประชาชนทุกคน“
  • 24. สงครามโลกครั้งที่ 1 (1914-1918) สงครามโลกครั้งที่ 2 (1939-1945) ฝ่ายมหาอานาจกลาง หรือไตรพันธมิตร ศูนย์กลางอยู่ที่ ไตรพันธมิตร ได้แก่เยอรมนี ออสเตรีย-ฮังการีและอิตาลี จักรวรรดิออตโตมัน เข้าสู่สงครามใน ค.ศ. 1914 อิตาลี และบัลแกเรียใน ค.ศ. 1915 และโรมาเนียใน ค.ศ. 1916 ฝ่ายอักษะ ได้แก่ เยอรมนี อิตาลี ญี่ปุ่น กับ กับ ฝ่ายมหาอานาจไตรภาคี หรือฝ่ายสัมพันธมิตร ศูนย์กลางอยู่ที่ไตรภาคี คืออังกฤษ ฝรั่งเศส และรัสเซีย ค.ศ. 1918 กองทัพสหรัฐอเมริกาเข้าร่วมสงคราม จักรวรรดิรัสเซียล่มสลายใน ค.ศ. 1917 และรัสเซียถอน ตัวจากสงครามหลังการปฏิวัติเดือนตุลาคมในปีเดียวกัน ฝ่ายสัมพันธมิตร ได้แก่อังกฤษ ฝรั่งเศส และรัสเซีย เมื่อเริ่มสงคราม สหรัฐอเมริกาวางตัวเป็นกลาง แต่ เมื่อญี่ปุ่นโจมตีอ่าวเพิร์ลซึ่งเป็นฐานทัพของ สหรัฐอเมริกาในมหาสมุทรแปซิฟิก จึงเข้าร่วมใน สงครามโลกครั้งที่ 2
  • 25. สงครามโลกครั้งที่ 1 (1914-1918) สงครามโลกครั้งที่ 2 (1939-1945) 1. ลัทธิชาตินิยม 2. การแข่งขันกันแสวงหาอาณานิคม 3. การรวมกลุ่มพันธมิตรทางทหาร 4. ความไม่มั่นคงทางการเมืองในคาบสมุทรบอล ข่าน 1. ลัทธิชาตินิยมในประเทศเยอรมนี อิตาลี และญี่ปุ่น 2. ลัทธิจักรวรรดินิยม 3. ลัทธินิยมทางทหาร การสะสมอาวุธเพื่อ ประสิทธิภาพของกองทัพ 4. ความขัดแย้งทางด้านอุดมการณ์ทางการเมือง ระหว่างระบอบประชาธิปไตยกับระบอบเผด็จการ 5. ความอ่อนแอขององค์การสันนิบาตชาติ 6. สนธิสัญญาสันติภาพที่ไม่เป็นธรรม โดยเฉพาะ สนธิสัญญาแวร์ซายส์
  • 26. สงครามโลกครั้งที่ 1 (1914-1918) สงครามโลกครั้งที่ 2 (1939-1945) • การลอบปลงพระชนม์อาร์ชดยุก - ฟรานซ์ เฟอร์ดินานด์แห่งออสเตรีย รัชทายาทแห่งจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน ค.ศ. 1914 โดยกัฟรีโล ปรินซีปนักศึกษา ชาวบอสเนียเซิร์บและสมาชิกบอสเนียหนุ่ม เป็น ชนวนเหตุใกล้ชิดของสงคราม • กองทัพเยอรมนีบุกโปแลนด์แบบสายฟ้าแลบ เมื่อ 1 กันยายน 1939 ด้วยโปแลนด์ปฏิเสธที่จะยกเมืองท่า ดานซิกและฉนวนโปแลนด์ในเยอรมนี อังกฤษและ ฝรั่งเศส ซึ่งมีสัญญาค้าประกันเอกราชของโปแลนด์ ได้ยื่นคาขาดให้เยอรมนี ถอนทหารออกจากโปแลนด์ แต่ฮิตเลอร์ปฏิเสธ อังกฤษและฝรั่งเศสจึงประกาศ สงครามกับเยอรมนี • และญี่ปุ่นโจมตีอ่าวเพิร์ล ฐานทัพเรือฝั่งแปซิฟิก ของสหรัฐอเมริกา
  • 27. สงครามโลกครั้งที่ 1 (1914-1918) สงครามโลกครั้งที่ 2 (1939-1945) • สงครามเกิดขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2457( ค.ศ. 1914 ) ในรัชสมัย รัชกาลที่ 6 • สยามตั้งตัวเป็นกลาง จนสงครามได้รุนแรงขึ้นเป็นลาดับ รัชกาลที่ 6 ทรงเห็นว่าฝ่ายเยอรมนีเป็นฝ่ายรุกราน จนกระทั่ง 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2460 จึงทรงตัดสินพระทัยประกาศ สงครามกับเยอรมันนีและออสเตรีย-ฮังการี และได้ส่งทหาร อาสาสมัครไปช่วยรบ • สงครามเกิดขึ้น เมื่อ พ.ศ. 2482( ค.ศ. 1939 ) ในรัชสมัย ของรัชกาลที่ 8 (ขณะนั้นเสด็จประทับอยู่ในประเทศ สวิตเซอร์แลนด์) หลวงพิบูลสงคราม (จอมพล ป.พิบูล สงคราม) เป็นนายกรัฐมนตรี • เมื่อเริ่มสงครามนั้นไทยประกาศตนเป็นกลาง แต่เพราะ ไทยมีกาลังน้อย เมื่อญี่ปุ่นบุกจึงไม่สามารถต่อต้านได้ และ เพื่อป้องกันมิให้ตกอยู่ใต้อิทธิพลของญี่ปุ่นในด้านเศรษฐกิจ และการเมือง รัฐบาลต้องยอมให้ญี่ปุ่นผ่าน
  • 28. สงครามโลกครั้งที่ 1 (1914-1918) สงครามโลกครั้งที่ 2 (1939-1945) • ประเทศไทยได้เข้าร่วมสงครามโลกครั้งที่ 2 เพียง ประเทศเดียวในทวีปเอเชียและแปซิฟิกไม่นับรวม ญี่ปุ่น ที่เข้าร่วมกับฝ่ายอักษะ สาเหตุการเข้าร่วม เนื่องมาจากการล่าอาณานิคมของชาติตะวันตกใน สมัยรัชกาลที่ 5 ทุกประเทศในฝั่งทะเลแปซิฟิกและ ทะเลอันดามัน ถูกเป็นเมืองขึ้นกันหมดเหลือแต่ไทย และญี่ปุ่นเท่านั้น
  • 29. สงครามโลกครั้งที่ 1 (1914-1918) สงครามโลกครั้งที่ 2 (1939-1945) • ปืนกลยิงรัว ยังเป็นแบบติดฐานบังเกอร์ • ใช้ Assault Rifle หรือ Sub Machine Gun ให้ทหารพกพา • ทหารม้ายังขี่ม้าออกรบ โดยรถถังยังไม่มีบทบาท • รถถังถูกใช้กันแพร่หลาย และทหารม้าเปลี่ยนจากขี่ม้ามาขับ รถถังออกรบแทน • เครื่องบินรบยังเน้นใช้ยิงกันบนฟ้าเป็นหลักและบินได้ไม่ไกล • เครื่องบินถูกใช้ทั้งยิงกันบนฟ้า ทิ้งระเบิด และบินได้ไกลข้าม ทวีป • รูปแบบการรบภาคพื้นดินเป็นแนวรบอยู่กับที่ • รูปแบบการรบภาคพื้นดินมีรูปแบบการรบที่มีการ เปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ
  • 30. สงครามโลกครั้งที่ 1 (1914-1918) สงครามโลกครั้งที่ 2 (1939-1945) • ระเบิดก๊าซพิษแตกต่างกันราว 30 ชนิดถูก นามาใช้ ทาให้ผู้ได้รับแก๊สพิษเสียชีวิตอย่างช้า ๆ และทรมาน ซึ่งหลังสงครามครั้งที่ 1 หลาย ประเทศได้มีการลงนามในสนธิสัญญาว่าด้วย การห้ามใช้ก๊าซพิษเหล่านี้อีก • เทคโนโลยีในสงครามโลกครั้งที่ 2 ระบบ เรดาร์ จรวดพิสัยไกล เรือดาน้า รถถัง ปืน ไรเฟิลประจากายทหารที่ยิงรัวต่อเนื่องได้ เครื่องบินไอพ่น ระเบิดนิวเคลียร์ • ไม่มีการนาก๊าซพิษมาใช้อีก
  • 31. สงครามโลกครั้งที่ 1 (1914-1918) สงครามโลกครั้งที่ 2 (1939-1945) • ฝ่ายสัมพันธมิตรเป็นฝ่ายชนะสงคราม • ส่วนรัฐจักรวรรดิใหญ่ 4 รัฐ อันได้แก่ จักรวรรดิเยอรมัน ออสเตรีย-ฮังการี รัสเซียและออตโตมัน พ่ายแพ้ทั้งทาง การเมือง และทางทหาร จนได้สิ้นสภาพไป เยอรมนีและ รัสเซียสูญเสียดินแดนไปมหาศาล ส่วนอีก 2 รัฐที่เหลือนั้นล่ม สลายลงอย่างสิ้นเชิง • แผนที่ยุโรปกลางได้ถูกเขียนใหม่โดยมีประเทศขนาดเล็ก เกิดใหม่หลายประเทศ • ฝ่ายสัมพันธมิตรเป็นฝ่ายชนะสงคราม • เกิดมหาอานาจของโลกใหม่ คือสหรัฐอเมริกา และสหภาพ โซเวียต จนนาไปสู่เกิดสงครามเย็น ที่ดาเนินต่อมาอีก 45 ปี • การเกิดประเทศเอกราชใหม่ๆ
  • 33. สงครามโลกครั้งที่ 1 (1914-1918) สงครามโลกครั้งที่ 2 (1939-1945) • ทหารที่เข้าร่วมสงครามทั้งฝ่ายมหาอานาจ กลางและฝ่ายสัมพันธมิตร ประมาณ 70 ล้าน คน เสียชีวิต 8 ล้านคน บาดเจ็บมากกว่า 20 ล้านคน พิการตลอดชีวิตประมาณ 7 ล้านคน • ความเสียหายต่อชีวิตและทรัพย์สินมากกว่า สงครามโลกครั้งที่ 1 โดยมีผู้เสียชีวิตไปไม่น้อย กว่า 68 ล้านคน จากการนาอาวุธที่ทันสมัยและ ระเบิดปรมาณูมาใช้ • สันนิบาตชาติถูกก่อตั้งขึ้นด้วยหวังว่าจะ ป้องกันความขัดแย้งเช่นนี้มิให้เกิดขึ้นอีก ในอนาคต • สหประชาชาติถูกสถาปนาขึ้น เพื่อ ส่งเสริมความร่วมมือระหว่างประเทศและเพื่อ ป้องกันความขัดแย้งในอนาคต
  • 34. สงครามโลกครั้งที่ 1 (1914-1918) สงครามโลกครั้งที่ 2 (1939-1945) • สิ้นสุดลงเมื่อเยอรมนีเซ็นสัญญาสงบ ศึก ในวันที่ 11 พฤศจิกายน 1918 • กินเวลานาน 4 ปี 5 เดือน จึงยุติลง อย่างเป็นรูปธรรม • มีการลงนามในสนธิสัญญาแวร์ซายส์ ในวันที่ 28 มิถุนายน ค.ศ.1919 • เป็นสงครามที่เกิดขึ้นภายหลัง สงครามโลกครั้งที่ 1 เพียง 20 ปี • ระยะเวลายาวนาน 6 ปี จึงยุติ สงคราม
  • 35.
  • 36. สงครามโลกครั้งที่ 1 (1914-1918) สงครามโลกครั้งที่ 2 (1939-1945) สงครามโลกครั้งที่ 3 (จะไม่มีจุดเริ่มต้นและสิ้นสุด) • พื้นที่สงครามส่วนใหญ่อยู่ เฉพาะในทวีปยุโรป • พื้นที่สงครามลุกลามไปทั่ว โลกทั้งในยุโรป แอฟริกาเหนือ เอเชียตะวันออก และ มหาสมุทรแปซิฟิก • พื้นที่สงครามกระจายไปทั่ว ในแต่ละประเทศทุกทวีป ทั้ง อเมริกา แอฟริกา เอเชียแป ซิฟิค ยุโรป และมหาสมุทร แปซิฟิคฯลฯ •"สงครามของคนหมู่มาก" (War of the Masses) •"สงครามของประชาชนทุก คน” •สงครามไร้ตัวตน(นิรนาม)
  • 37. สงครามโลกครั้งที่ 1 (1914-1918) สงครามโลกครั้งที่ 2 (1939-1945) สงครามโลกครั้งที่ 3 (จะไม่มีจุดเริ่มต้นและสิ้นสุด) • ฝ่ายไตรพันธมิตร เยอรมนี ออสเตรีย- ฮังการีและอิตาลี • ออตโตมัน อิตาลี บัลแกเรียและ โรมาเนียเข้ามาภายหลัง • ฝ่ายอักษะ ได้แก่เยอรมนี อิตาลี ญี่ปุ่น • กลุ่มประเทศสังคมนิยมเก่า กลุ่มประเทศมุสลิม กับ กับ กับ • ฝ่ายสัมพันธมิตรอังกฤษ ฝรั่งเศส และ รัสเซีย • สหรัฐอเมริกาเข้าร่วมหลังรัสเซียล่ม สลาย • ฝ่ายสัมพันธมิตรอังกฤษ ฝรั่งเศส และ รัสเซีย • เริ่มสงครามสหรัฐอเมริกาเป็นกลาง เมื่อ ญี่ปุ่นโจมตีอ่าวเพิร์ลจึงเข้าร่วมสงคราม • ฝ่ายสัมพันธมิตรสหรัฐอเมริกา อังกฤษ ฝรั่งเศส ออสเตเลีย และกลุ่มประเทศ NATO
  • 38. สงครามโลกครั้งที่ 1 (1914-1918) สงครามโลกครั้งที่ 2 (1939-1945) สงครามโลกครั้งที่ 3 (จะไม่มีจุดเริ่มต้นและสิ้นสุด) • ลัทธิชาตินิยม แข่งขันกัน แสวงหาอาณานิคม • การรวมกลุ่มพันธมิตรทาง ทหาร • ความไม่มั่นคงทางการเมือง ในคาบสมุทรบอลข่าน • ลัทธิชาตินิยม จักรวรรดินิยม ลัทธินิยมทางทหาร • การสะสมอาวุธ • อุดมการณ์ทางการเมือง • ความอ่อนแอขององค์การ สันนิบาตชาติสนธิสัญญา สันติภาพที่ไม่เป็นธรรม • ลัทธิชาตินิยม • องค์การสหประชาชาติที่ไม่ เป็นธรรม • สังคม วัฒนธรรม เชื้อชาติ เผ่าพันธ์ ศาสนาที่แตกต่างกัน (Crash Civilization, Megatrend Asia, Americanization, Islamization )
  • 39. สงครามโลกครั้งที่ 1 (1914-1918) สงครามโลกครั้งที่ 2 (1939-1945) สงครามโลกครั้งที่ 3 (จะไม่มีจุดเริ่มต้นและสิ้นสุด) • ลอบปลงพระชนม์อาร์ชดยุก- ฟรานซ์ เฟอร์ดินานด์แห่ง ออสเตรีย โดยนักศึกษาชาว บอสเนียเซิร์บและสมาชิก บอสเนียหนุ่ม • เยอรมนีบุกโปแลนด์แบบ สายฟ้าแลบ ด้วยโปแลนด์ ปฏิเสธที่จะยกเมืองท่าดานซิก และฉนวนโปแลนด์ในเยอรมนี • อังกฤษและฝรั่งเศส ยื่นคา ขาดให้เยอรมันถอนทหารจาก โปแลนด์ แต่ฮิตเลอร์ปฏิเสธ และญี่ปุ่นโจมตีอ่าวเพิร์ล ของ สหรัฐอเมริกา • เหตุการณ์โจมตีประเทศในตะวันออก กลาง 9//11 • การโจมตีกลุ่ม ISIS ในอิรักและซีเรีย • การแย่งชิงหมู่เกาะพาราเซล/ สเเปรต ลีย์ • การท้าทายของอิหร่านและเกาหลี เหนือต่อสหรัฐอเมริกา • พื้นที่ Eurasia (Russia /CIS) and China
  • 40. สงครามโลกครั้งที่ 3 (จะไม่มีจุดเริ่มต้นและสิ้นสุด) • เหตุการณ์โจมตีประเทศในตะวันออกกลาง • เหตุการณ์โจมตี 9//11 อังกฤษ ฝรั่งเศส เบลเยี่ยม • การโจมตีกลุ่ม ISIS ในอิรักและซีเรีย • การแย่งชิงหมู่เกาะพาราเซล/ สเเปรตลีย์ • การท้าทายของอิหร่านและเกาหลีเหนือต่อสหรัฐอเมริกา • พื้นที่ Eurasia (Russia /CIS) and China
  • 41. 41
  • 42.  แนวโน้มจะใช้กระบวนการทางการเมืองแก้ไขปัญหาแทนการสู้รบด้วยอาวุธ  ความขัดแย้งในรูปแบบใหม่ที่เกิดจากหลายปัจจัย เช่นความแตกต่างของเชื้อชาติ ศาสนา วัฒนธรรมที่ปะทุขึ้น ต้องมีมาตรการแก้ไขที่ไม่ให้ขยายขอบเขตกว้างขวาง  มีมาตราการป้องกันกระแสโลกาภิวัตน์ที่ทาให้เกิดความขัดแย้งในระดับปัจเจกบุคคลหรือกลุ่ม ผลประโยชน์ทางการเมืองที่อาจขยายตัวเป็นความขัดแย้งขนาดใหญ่ ที่มีผลกระทบต่อสันติภาพ และความมั่นคงของประเทศต่างๆ
  • 43.  การเคลื่อนย้ายข้อมูลข่าวสาร เงินทุน ทาให้โลกเล็กลง รัฐและพรมแดนลด ความสาคัญ  เกิดปัญหาลักษณะข้ามรัฐและความสลับซับซ้อน  โลกจะมีประชาธิปไตยสูงขึ้น  ความโดดเด่นอานาจเดียวจะลดความสาคัญ  การต่อสู้ทางวัฒนธรรมและศาสนาจะเพิ่มมากขึ้นระหว่าง อิสลาม คริสต์ และขงจื๊อ
  • 44.  สถานการณ์ด้านความมั่นคงมีความเปราะบาง  ความขัดแย้งระหว่างรัฐและภายในรัฐขยายวงกว้างในทุกภูมิภาค  ผลจากโลกาภิวัฒน์เกิดความไม่แน่นอนหรือการเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็ว  การกอบโกยแย่งชิงทรัพยากรของรัฐต่างๆ  ภัยคุกความจากเครือข่ายก่อการร้าย อาวุธทาลายล้างสูง  ภัยคุกความจากภัยพิบัติขนาดใหญ่ หมวดที่ ๘ ของกฏบัตรสหประชาชาติ
  • 45. หนทางที่ ๑ ตามบทบัญญัติที่กาหนดในกฎบัตรสหประชาชาติหมวดที่ ๑ Article 2 ข้อ 7  การแก้ปัญหาภายในโดยรัฐใช้กระบวนการสมานฉันท์สองฝ่าย  พยายามป้องกันไม่ให้ปัญหาถูกยกระดับขึ้นสู่สากล  หัวใจสาคัญคือไม่ยอมให้กลุ่มกองกาลังได้รับการยอมรับสถานภาพจากประชาคมโลก  ควบคุมการละเมิดสิทธิมนุษยชน ถ้าสามารถควบคุมได้ก็มีสิทธิที่จะปฏิเสธความพยายาม ในการแทรกแซงด้วยบทบาทการรักษาสันติภาพจากประชาคมโลกได้ www.kpi.ac.th
  • 46. “Nothing contained in the present charter shall authorize the UN to intervene in matters which are essentially within the domestic jurisdiction of any state or shall require the member to submit such matters to settlement under the present charter; But this principle shall not prejudice the application of enforcement measures under chapter 7” www.kpi.ac.th
  • 47. www.kpi.ac.th ปัญหาความขัดแย้งภายในชาติใดชาติหนึ่งอาจมีสาเหตุ จากเงื่อนไขหนึ่งหรือหลายประการประกอบกัน • ความไม่เป็นธรรมในสังคม • ความแตกต่างทางเชื้อชาติ ศาสนา เผ่าพันธุ์ • การรักษาการปกครองของรัฐ • กฎหมายหรือองค์กรบังคับใช้กฎหมาย อ่อนแอ • ภูมิรัฐศาสตร์ที่ไม่เอื้ออานวยให้อานาจการปกครองของรัฐบาลกลางสถาปนาครอบคลุมพื้นที่ อย่างเต็มประสิทธิภาพ
  • 48. หนทางที่ ๑ ตามบทบัญญัติที่กาหนดในกฎบัตรสหประชาชาติหมวดที่ ๑ Article 2 ข้อ 7  การแก้ปัญหาภายในโดยรัฐใช้กระบวนการสมานฉันท์(Reconciliation Process) สองฝ่าย  พยายามป้องกันไม่ให้ปัญหาถูกยกระดับขึ้นสู่สากล  หัวใจสาคัญคือไม่ยอมให้กลุ่มกองกาลังได้รับการยอมรับสถานภาพจากประชาคมโลก  ควบคุมการละเมิดสิทธิมนุษยชน ถ้าสามารถควบคุมได้ก็มีสิทธิที่จะปฏิเสธความพยายามในการแทรกแซงด้วย บทบาทการรักษาสันติภาพจากประชาคมโลกได้ www.kpi.ac.th
  • 49.  กรณีรัฐคู่กรณีไม่ยินยอม และสหประชาชาติพิจารณาว่าความขัดแย้งดังกล่าวเป็นภัยคุกคามต่อสันติภาพและ ความมั่นคงนานาชาติ  การละเมิดสันติภาพ (Breaches of Peace)  การกระทาในลักษณะรุกราน (Acts of Aggression)  จะพิจารณาใช้มาตรการบังคับให้เกิดสันติภาพภายใต้กฎบัตรฯ หมวดที่ ๗ โดยสหประชาชาติอาจเข้าดาเนินการเอง หรือ อนุมัติอานาจให้องค์กรภูมิภาคเข้าดาเนินการตามกฎบัตรฯ หมวดที่ ๘ Article 53 ข้อ 1 • ผลประโยชน์ของชาติทับซ้อน • ปัญหาเขตแดน • อิทธิพลจากภายนอก • ความแตกต่างของการปกครอง • ความขัดแย้งของปัจเจกบุคคลที่ถูกยกระดับโดยภาวะโลกาภิวัตน์
  • 50. America has stood down enemies before, and we will do so this time. Bush September, 11, 2001
  • 51.  ประชากรไอร์แลนด์ มีการอพยพจานวนสูง ไปยังเฉพาะสหรัฐอเมริกา สองในห้าของชาว ไอร์แลนด์ที่เกิดมีถิ่นฐานอยู่ในต่างประเทศในศตวรรษที่ 21 มีราว 80 ล้านคนจากทั่วโลกที่อ้าง ว่าสืบเชื้อสายมาจากชาวไอริช ในจานวนนี้เป็นชาวอเมริกัน 45 ล้านคนอ้างว่าเชื้อสายไอริช  ข้อมูลสามะโนประชากรสหรัฐอย่างน้อย 34.5 ล้านคนระบุว่ามีเชื้อสายไอริช ซึ่งมากกว่าตัวเลข ประชากรในไอร์แลนด์ 4.68 ล้านคน ราว 7 เท่า ไอริชอยู่สหรัฐมากที่สุดเป็นอันดับสองรองจาก คนเยอรมัน เมืองบอสตัน ซึ่งเป็นเมืองหลวงของรัฐแมสซาชูเซตส์ มีประชากรเชื้อสายไอริชสูง ถึง 20.4%(วอชิงตัน โพสต์)  ประเทศสหรัฐอเมริกาประชากรมีบรรพบุรุษเป็นชาวอังกฤษ แต่น้อยกว่าเยอรมัน
  • 52.  รัสเซีย จีน กลุ่ม BRIC China + Russia มีการค้าขายกันอย่างมาก และร่วมปฏิบัติในตะวันออกกลาง โจมตีกลุ่ม ISIS  North Korea, Iran, Germany  Russia ค้ากับ Germany อันดับ 10 มีโรงงาน 6000 โรงงานและมีจานวนแรงงาน 300,000 คน  Russia เป็น Strategic Partner กับ Germany ส่งน้ามันให้ Germany 36%  UK ถอนตัวจาก EU และ NATO ไม่ร่วม EU Dollars  Germany France ตั้ง EU  คนอังกฤษอพยพ IRISH, ISRAEL, UK เข้าไปใน Canada, USA  China ค้ากับ USA อย่างมาก
  • 53. Continent Population in 2003 Muslim Population in 2003 Muslim Percentage Africa 861.20 461.77 53.62 Asia 3830.10 1178.89 30.78 Europe 727.40 52.92 7.28 North America 323.10 6.78 2.10 South America 539.75 3.07 0.57 Oceania 32.23 0.60 1.86 Total 6313.78 1704.03 26.99 Muslim Population is increasing at the rate of 2.9%** We are taking the rate of natural increase as 2% around the world. The Muslim population in 2003 was 1704.03 million. **US Center For World Mission 1997 Report
  • 54. กลุ่มแอฟริกา ประชากรมุสลิม 294 ล้านคน กลุ่มประเทศแถบเอเชียใต้ ประชากรมุสลิม 326.9 ล้านคน กลุ่มตะวันออกกลาง ประชากรมุสลิม 194.4 ล้านคน กลุ่มประเทศอาเซียน ประชากรมุสลิม 192.5 ล้านคน กลุ่มยุโรปตะวันออก ประชากรมุสลิม 72.7 ล้านคน ไทย
  • 55.
  • 56. ความเปลี่ยนแปลงเริ่มจากศตวรรษที่ 7 กลุ่มประเทศมุสลิมเพิ่มมากขึ้นจากบริเวณตะวันออก กลาง สู่ยุโรป หลังการล่มสลายของระบบสังคมนิยม ค.ศ. 1990 มีบอสเนีย และเอเซียกลางแยกจากรัสเซีย รวมเป็น Islamic Conference Organization(ICO) ไม่มีเอกภาพในรูปแบบการปกครองในประเทศ มีนโยบายต่างประเทศที่แตกต่างกัน มีเอกลักษณ์เป็นของตัวเอง และมีปัจเจกชนนิยมสูง เป็นไปตามประวัติศาสตร์ ภูมิศาสตร์ และ ยุทธศาสตร์ของที่ตั้งประเทศตามภูมิรัฐศาสตร์(Geopolitics) ประมุขผู้นาของประเทศมีกรอบแนวความคิด บุคลิก ประสบการณ์ส่วนตัวต่างกันไป
  • 57. 1. ประเทศมุสลิมที่ปกครองในระบอบกษัตริย์หรือเจ้าผู้ครองในลักษณะ สมบูรณาญาสิทธิราชย์หรือกึ่งๆ 2. ประเทศมุสลิมประชาธิปไตยแบบสมัยใหม่ 3. ประเทศมุสลิมสมัยใหม่กึ่งประชาธิปไตย 4. ประเทศมุสลิมแนวปฏิวัติ 5. ประเทศมุสลิมสายเคร่ง 6. ประเทศมุสลิมผสมอิทธิพลของวัฒนธรรมสลาฟ
  • 58. 1. ประเทศมุสลิมที่มีกษัตริย์ปกครองหรือเจ้าผู้ครองในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์หรือกึ่งๆ(โมร็อกโก จอร์แดน ซาอุดิอารเบีย บรูไน และรัฐเล็กๆ ริมอ่าวเปอร์เซีย) 2. ประเทศมุสลิมประชาธิปไตยแบบสมัยใหม่(มาเลเซีย อินโดนีเซีย ตุรกี) 3. ประเทศมุสลิมสมัยใหม่กึ่งประชาธิปไตย(ปากีสถาน แอลจีเรีย อียิปต์ ตูนิเซีย เลบานอน) 4. ประเทศมุสลิมแนวปฏิวัติ(อิรัก ซีเรีย ลิเบีย ซึ่งมีผู้นาในลักษณะเผด็จการหรือกึ่งเผด็จการ) 5. ประเทศมุสลิมสายเคร่ง (คือศาสนามีอานาจเหนือรัฐ) มักรู้จักกันในภาษาอังกฤษว่า Islamic Fundamentalism ได้แก่ อัฟกานิสถาน และอิหร่าน (ซึ่งเคร่งน้อยลงกว่าในทศวรรษ 1980) 6. ประเทศมุสลิมผสมอิทธิพลของวัฒนธรรมสลาฟ ได้แก่ บรรดาประเทศในบริเวณเอเชียกลางและคอเค ซัสที่เคยรวมอยู่ในอดีตสหภาพโซเวียต(อุสเบกิสถาน เติร์กเมนิสถาน คาซักสถาน ทิกิร์เซีย และ อาเซอร์ไบจาน)
  • 59. ประเทศหรือกลุ่มมุสลิมสายเคร่ง เช่นอัฟกานิสถาน อิหร่าน ขบวนการชาวปาเลสไตน์บางกลุ่มเช่น “ฮามาส” “ฮิซโบเลาะห์” “ตาลีบัน” และ “ISIS” มุสลิมแนวปฏิวัติอิรักและลิเบีย ก่อการร้ายต่ออเมริกาและกลุ่มตะวันตก ผู้นาเอากฎแบบเคร่งครัดของอิสลามมาใช้เป็น “เครื่องมือทางการเมือง” ต่อต้าน “การครอง โลกแบบครบวงจรของสหรัฐอเมริกา อารยธรรมชนผิวขาวคริสเตียนเป็นศัตรูที่เกิดขึ้นระหว่าง “ฝรั่ง” กับ “มุสลิม”(ฮันติงตัน เรียกว่า“The Clash of Civilizations” ผู้นาที่มีความเชื่อมั่นในตัวเองสูง เช่น ซัดดัมฮุสเซน โมอามาร์ กัดดาฟี “กฎโลก” ที่ใช้ในองค์การระหว่างประเทศเช่น UN , IMF, World Bank , WTO องค์การ กาหนดมาตรฐานระหว่างประเทศ ฯลฯ เหล่านี้ มักมีสหรัฐอเมริกาและพันธมิตรอยู่เบื้องหลัง
  • 60.  อิยิปต์  โมร็อกโก  จอร์แดน  ซาอุดิอาระเบีย  ตูนิเซีย • ปากีสถาน • รัฐเล็กๆ ริมอ่าวเปอร์เซีย • อินโดนีเซีย • บูรไน
  • 62. A Publication by www.elifesara.com 62  คาเรียกร้องการช่วยเหลือของผู้นาเยเมน ต่อซาอุฯ ทาให้ถูกดึงเข้าไปสู่สถานการณ์เยเมนอย่างเต็มตัว จนเป็น “สงครามตัวแทน”  อิหร่านซึ่งหนุนหลังผู้นากบฏฮูตีที่นับถือนิกาย ชีอะห์ ในขณะที่ซาอุฯ สนับสนุนนิกายสุหนี่  ซาอุฯ โจมตีทางอากาศถล่ม “กบฏฮูตี” ในเยเมน
  • 63. สงครามในอัฟกานิสถาน ต้องการใช้พื้นที่ปากีสถานเป็นฐานทัพหน้าและส่งกาลังบารุง รัฐบาล ปากีสถานอนุญาตให้สิทธิแค่การบินผ่าน สงครามอิรัก ขอใช้พื้นที่ประเทศตุรกีเป็นฐานทัพหน้า ได้รับการปฏิเสธจากสภาฯ การใช้พื้นที่ประเทศอื่นเป็นฐานทัพหน้า ต้องเสี่ยงกับการใช้ งป.มหาศาล และเกิดความสูญ เปล่าในอนาคต การลงทุนสร้างฐานทัพที่อ่าวซูบิคในฟิลิปปินส์ ต่อมาไม่ต่อสัญญาเช่า ต้องหันกลับมาใช้อาณานิคมของตนเอง คือเกาะกวมเป็นศูนย์กลางของกองกาลังสหรัฐฯ ในเขต ภูมิภาค เอเชีย-แปซิฟิก
  • 64. พัฒนาฐานทัพอากาศ และฐานทัพเรือ ใช้งบประมาณ ๑,๐๔๘ ล้านยูเอสดอลล่าร์ มีประชากร ๑๗๐,๐๐๐ คน มีโรงกลั่นน้ามัน และอู่ซ่อมเรือ ห่างจากฟิลิปปินส์ ไปทางตะวันออก ๒๒๔๐ กม. มีพื้นที่ ๕๔๑ ตร.กม. (บทความนิติภูมิ ไทยรัฐ หน้า ๒ วันที่ ๖ มีนาคม ๒๕๕๒)
  • 65. Strategic Defence Mobile Forces Bases Places Hard Power Smart Power
  • 66.
  • 68. กาหนดเป็นยุทธศาสตร์แบบ ๔-๒-๑ สามารถยับยั้งภัยคุกคามได้ ๔ ภูมิภาค เอาชนะได้อย่างรวดเร็ว ๒ ภัยคุกคาม เอาชนะได้อย่างเด็ดขาด อย่างน้อย ๑ ใน ๒ ภัยคุกคาม
  • 69. ปรับกองเรือจาก ๑๙ กองเรือ เป็น ๓๗ กองเรือ มีขีดความสามารถในการทาการรบในทุก ภูมิภาคทั่วโลก ให้ความสาคัญกับขีดความสามารถของหน่วยปฏิบัติการพิเศษ (Special Force) มีการปรับปรุงเรือดาน้า Nuclear ชั้น Ohio Class ซึ่งจากเดิมมีการติดตั้งขีปนาวุธ Nuclear มาเป็นติดตั้งอาวุธปล่อยแบบ Tomahawk และสามารถส่งหน่วย Special Force ขึ้นปฏิบัติการบนฝั่งได้
  • 70. สร้างฐานทัพหน้าในแผ่นดินตนเอง ใช้กาลังเคลื่อนที่เร็วลดการพึ่งพาชาติอื่น วางกาลังและฐานทัพ ฐานส่งกาลังบารุงต่าง ๆ ไว้ทั่วโลก วางกาลังใหม่ของ ทร.สหรัฐฯ ในภูมิภาคเอเชีย – แปซิฟิก ลดกาลังทหารประจาการใน เกาหลีใต้ จานวน ๑ ใน ๓ เหลือ ๑๒,๕๐๐ คน จากเดิม ๓๗,๕๐๐ คน ภัยคุกคามรูปแบบใหม่ยากที่จะประเมินทิศทางและเป้าหมายที่ชัดเจน ยุทธศาสตร์ใหม่ของสหรัฐฯเน้นการสร้างความร่วมมือจากชาติพันธมิตร ในการเข้าจัดการกับภัย คุกคามตามภูมิภาคต่าง ๆ
  • 71. Sea Shield การป้องกันจากทะเล ปกป้องแผ่นดินแม่ มีการป้องกัน Air Missile Theater, Air Missile Defense และการป้องกันภัยคุกคามทั้ง 3 มิติ Sea Strike การโจมตีจากทะเล Sea Basing ฐานปฏิบัติการจากทะเลที่ใช้ในการบัญชาการรบ Sea Trial การฝึกและทดสอบจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนาเทคโนโลยีใหม่ ๆ และวางแนวความคิดในการ ปฎิบัติการ Sea Warrior การอบรมและพัฒนาคุณภาพของกาลังพลทางเรือ Sea Enterprise การตรวจสอบเพื่อปรับปรุงการปฎิบัติภารกิจของกองทัพให้มีประสิทธิภาพมาก ยิ่งขึ้น
  • 72.
  • 73. Maritime Prepositioning Force (Future) MPF(F) / Sea base
  • 74.  เป็นหน่วยงานของ UN รองรับมาตรการต่อต้านการก่อการร้ายทางทะเลที่เรียกว่า The International Ship and Port Facility Code (ISPS CODE) เมื่อปี 2545  มาตรการที่กาหนดให้ประเทศสมาชิก IMO ที่รับรองมาตรการนี้จานวน 146 ประเทศ เพิ่มการรักษาความ ปลอดภัยการเดินเรือเพื่อป้องกันการก่อการร้าย  กาหนดให้เรือที่มีระวางตั้งแต่ 300-50,000 ตัน ต้องติดตั้งระบบ Automatic Information System ภายใน 31 ธันวาคม 2547  กาหนดให้เรือทุกลาต้องติดระบบเตือนภัยให้ จนท.บนฝั่งทราบถึงชื่อเรือ สถานที่ตั้ง และปัญหาด้านความปลอดภัย  กาหนดให้ท่าเรือมีการประเมินความปลอดภัยของท่าเรือ และจัดทาแผนรักษาความปลอดภัยสถานที่  เรือที่ไม่ปฏิบัติตามระเบียบจะไม่ได้รับใบประกาศความปลอดภัยการเดินเรือระหว่างประเทศ(International Ship Security Certificate) ซึ่งจะทาให้ไม่สามารถจอดเข้าท่าเทียบเรือของประเทศสมาชิก IMO ได้
  • 75. Raw Material Product & Container Money Man
  • 76. บิดาแห่งกาลังอานาจทางทะเล เป็นผู้บรรยายในวิทยาลัยการทัพเรือ เขียนหนังสือเกี่ยวกับทฤษฏีของการใช้กาลังอานาจทางเรือ เสนอแนวคิดกาลังอานาจทางทะเล(Sea Power Strategy) ครองเจ้าทะเล คุมเส้นทางเดินเรือ และแสวงหาทรัพยากรโพ้นทะเล ซึ่งได้รับการยอมรับในผลงานยุทธศาสตร์ทางเรือ (Naval Strategy)
  • 77.
  • 78.  ข้อพิพาททะเลจีนใต้มี 4 ประเทศสมาชิกอาเซียน กับจีน และไต้หวัน  ฟิลิปปินส์และเวียดนามเลือกฝ่ายสหรัฐ หลังการปรับเปลี่ยนยุทธศาสตร์ของอเมริกา พญาอินทรีซึ่งเพิ่ม สรรพกาลังทางทะเลในเอเชียตะวันออก-แปซิฟิก เป็น 60% และแอตแลนติก-ยุโรป เหลือ 40% จาก ที่เคยอยู่ที่ประมาณ 50:50  รัฐมนตรีกลาโหมสหรัฐปรกาศที่สิงคโปร์ปรับกาลังทางทะเลใหม่ จากนั้นเดินทางเยือนฟิลิปปินส์และ เวียดนาม และออกข่าวว่าสหรัฐจะรื้อฟื้นฐานทัพเรือขนาดใหญ่ในสองประเทศขึ้นมาใช้งานใหม่ ส่วนกัมพูชา เลือกข้างจีน  อดีตเอกอัครราชทูตอินโดนีเซีย บอกว่าหากอาเซียนปล่อยให้ภูมิภาคเป็นสนามรบ “สงครามกองโจรทางการ ทูต” ของสหรัฐกับจีนต่อไป โดยไม่มีการควบคุมหรือห้ามปราม ก็จะเป็นจุดเริ่มไปสู่ความหายนะของกลุ่มใน อีกไม่นาน
  • 79.  Globalization  Technology  Mobility  Beliefs  Economy
  • 80. เป็นประเทศที่ทรงอิทธิพลที่สุด ในด้านเศรษฐกิจ การเมืองและการทหาร มีศักยภาพในการชี้นาและการกาหนดกฎเกณฑ์ต่างๆ ในโลก มีขนาดเศรษฐกิจที่ใหญ่ที่สุดในโลก มีความสามารถการแข่งขันทางเศรษฐกิจสูงที่สุดในโลก (จัดอันดับโดย The Economist) มีบทบาทสูงในเวทีเศรษฐกิจระหว่างประเทศ เช่น UN, NATO, IMF, World Bank, WTO, G8, OECD, APEC และ UNCTAD
  • 81.  มองวิถีชีวิตแบบอเมริกันตะวันตก จะเต็มไปด้วยความเลวทราม อุจาด ลามก ทุจริต คดโกง เห็นแก่ตัว กีดกัน โค่นล้มเท่าที่จะสามารถทาได้ทั้งโดยวิธีสงบและวิธีรุนแรง  ยึดมั่นในคาสั่งสอนของศาสนาอิสลามอยางเคร่งครัด และต้องการนาเอากฎหลักของศาสนามาใช้เป็น กฎหลักของสังคมอย่างเคร่งครัด  สังคมมุสลิม ผู้นาเอากฎหลักแบบเคร่งครัดของศาสนาอิสลามมาใช้เป็น “เครื่องมือทางการเมือง” เพื่อ ต่อต้าน“การครองโลกแบบครบวงจรของสหรัฐอเมริกา และอารยธรรมของชนผิวขาวชาวคริสเตียน”  ความเป็นศัตรูเกิดขึ้นระหว่าง“ตะวันตก” กับ “มุสลิม” (“The Clash of Civilizations”  ผู้นาจานวนนี้มักเป็นผู้นาที่มีความนับถือตัวเอง และเชื่อมั่นในตัวเองสูง เช่น ซัดดัมฮุสเซน ในอิรัก หรือโมอามาร์ กัดดาฟี ในลิเบีย
  • 82. 1. การสร้างรัฐบาลโลกเดียวผ่านยูเอ็น 2. การสร้างธนาคารกลางโลกเดียวผ่านกองทุนการเงินระหว่างประเทศ หรือBank for International Settlements 3. การสร้างเงินสกุลโลกเดียวผ่านเงินดิจิตัล special drawing rights ของกองทุนการเงินระหว่างประเทศ 4. การสร้างศาสนาโลกเดียว โดยจะมีการรวมเอาศาสนาจูดาห์ ศาสนาคริสต์ และศาสนาอิสลามเข้าด้วยกัน 5. การสถาปนาให้เยรูซาเลมเป็นเมืองหลวงของโลก
  • 83.  แองโกลอเมริกันเดินหน้าสร้าง Greater Israel อย่างเร่งด่วน ด้วยการสร้าง ISIS เพื่อล้มอิรัก ซีเรีย และ อิหร่านในท้ายที่สุดในตะวันออกกลาง  พยายามยันรัสเซีย รวมทั้งจีนไม่ให้ผงาด แล้วเตรียมตัวก่อสงครามโลกครั้งที่ 3 ในอีก 3-5 ปี โดยมั่นใจว่าเวลานั้น จะสามารถสยบทุกประเทศได้  แต่ รัสเซีย จีนละอิหร่านจับมือกันชิงก่อสงครามก่อนในซีเรีย เพื่อเปิดเผยว่าใครอยู่เบื้องหลัง ISIS เตรียมการยึด ตะวันออกกลางและแอฟริกาเหนือและจะทาลาย Greater Israel ให้พังพินาศ  แกนของโลกอยู่ที่ตะวันออกกลางเวลานี้ เนื่องจากเป็นแหล่งพลังงาน แหล่งประวัติศาสตร์ และอารยะธรรมโบราณ หลักของโลก ใครเป็นผู้นาในตะวันออกกลางได้ ผู้นั้นจะเป็นผู้ครองโลก
  • 84. 84 1. สหรัฐอเมริกาแทรกแซงทางทหารในประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก นับตั้งแต่ปี 1946 มีเพียงปี 1955 และ 1957 เท่านั้นที่ไม่มีหลักฐานการแทรกแซงทางทหารของสหรัฐอเมริกา (Uppsala Conflict Data Program, 2011: Grossman ,2012): Global Policy Forum, 2005) 2. สหรัฐอเมริกาเป็นผู้ส่งออกอาวุธรายใหญ่ที่สุดในโลก(Stockholm International Peace Research Institute, 2011) สงคราม กับ เศรษฐกิจ โดย นางสาวกมลนัทธ์ มีถาวร นิสิตปริญญาเอก คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 4 กันยายน พ.ศ. 2556
  • 85.  สงครามกลางเมืองในซีเรียเป็นชนวนสงคราม สหรัฐฯ และรัสเซีย มีชาติพันธมิตรเป็นพวกชัดเจน  ฝ่ายสหรัฐฯ และชาติพันธมิตร 11 ชาติ ที่ต้องการโค่นล้มรัฐบาลประธานาธิบดี บาชาร์ อัล อัสซาดแห่งซีเรีย  ฝ่ายรัสเซีย และพันธมิตร ที่สนับสนุนประธานาธิบดีอัล อัสซาด มีอยู่ 4 ชาติ คือ อิหร่าน จีน เลบานอน และอิรัก  มีเครื่องบินรบของสหรัฐฯ และพันธมิตรหลายลาบินเข้ามาโจมตีทางอากาศถล่มกลุ่มติดอาวุธรัฐอิสลาม หรือ ไอซิส ในประเทศซีเรีย หากมีเครื่องบินลาใดตก จะก่อให้เกิดความเข้าใจผิดว่า เป็นฝีมือของชาติฝ่ายตรง ข้าม และเป็นชนวนให้เกิดการสู้รบระหว่างสองฝ่าย
  • 86.  เหตุจลาจลประท้วงการเสียชีวิตของ เฟรดดี้ เกรย์ ชายผิวสี วัย 25 ปีในเมืองบัลติมอร์ รัฐแมรีแลนด์ บาน ปลายเป็นปัญหาระดับชาติ  ประชาชนในเมืองใหญ่เช่นที่กรุงวอชิงตัน ดี.ซี. นครนิวยอร์ก ถือป้ายประท้วงหน้าทาเนียบขาว ตะโกนถาม เจ้าหน้าที่ถึงระบบประชาธิปไตยของประเทศ เจ้าหน้าที่ตารวจดาเนินการจับกุมผู้ประท้วงที่จตุรัสยูเนียน เกาะแมนฮัตตัน  นายโจเซฟ เคนท์ แกนนาการประท้วงกรณีการเสียชีวิตของวัยรุ่นผิวสี ถูกเจ้าหน้าที่ตารวจอุ้มหายต่อหน้า สื่อมวลชน  การประท้วงครั้งนี้รุนแรงที่สุด ตั้งแต่มีการประท้วงการกระทาเกินกว่าเหตุของเจ้าหน้าที่ตารวจครั้งแรกที่ เมืองเฟอร์กูสัน รัฐมิสซูรี ที่สถานการณ์บานปลายเช่นกัน จนรัฐต้องส่งเนชั่นแนล การ์ดเข้าประจาการ. 86A Publication by www.elifesara.com