SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5
ปี การศึกษา 2562
ชื่อโครงงาน โรคซึมเศร้าร้ายแรงมากแค่ไหน
ชื่อผู้ทาโครงงาน
ชื่อ นายภูมิ ตุลย์วัฒนางกูร เลขที่ 14 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ห้อง
15
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปี การศึกษา 2562
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
2
สมาชิกในกลุ่ม
1. นายภูมิ ตุลย์วัฒนางกูร เลขที่ 14
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) : โรคซึมเศร้าร้ายแรงมากแค่ไหน
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) : How serious are depression?
ประเภทโครงงาน : โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน : นายภูมิ ตุลย์วัฒนางกูร
ชื่อที่ปรึกษา : ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน : ภาคเรียนที่ 1-2 ปี การศึกษา 62
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล
ของการทาโครงงาน)
ปัจจุบันนี้เราสามารถพบเห็นคนที่เป็นโรคซึมเศร้าได้ในชีวิตประจาวันอย่างง่ายดาย
ไม่ว่าที่ใดในโลก ประเทศไหนๆก็มีอยู่ทุกหนทุกแห่ง
แต่เราทราบหรือไม่ว่าในโรคเหล่านั้นมีอันตรายและความสาคัญมากอยู่
ซึ่งก่อให้เกิดอันตรายต่อตัวผู้ที่เป็นโรคซึมเศร้าและคนใกล้ตัว
ดังนั้นการศึกษาเรื่องโรคซึมเศร้า
จึงเป็นอีกหนึ่งเรื่องที่ควรทราบไว้ป้องกันตัวเองและคนรอบข้าง
เพื่อลดโอกาสเกิดโรคภัยและอันตรายที่อาจทาให้เกิดการสูญเสียได้
การรู้ข้อมูลที่อาจไกลตัวแต่เป็ นเรื่องใกล้ตัวจึงสาคัญไม่น้อย
ดังนั้นการให้ความรู้ในโอกาศเล็กน้อยๆนี้
อาจช่วยแก้ปัญหาของผู้ที่ถูกลูกหลงจากความไม่รู้และละเลยเรื่องที่ใกล้ตัวและอันตร
ายได้ อาจทาให้ร่างกายทรุดโทรมอย่างหนัก
หรือทาให้คนรอบข้างที่เราเคยสนิทสนมค่อยๆหายไป
และร้ายที่สุดคือการเกิดเสียชีวิตซึ่งอันตรายเป็นอย่างมาก
เราอาจจะสามารถรักษาให้หายได้
แต่ก็ต้องเสียบ้างสิ่งไปและการดาเนินชีวิตก็จะเปลี่ยนตามไปด้วย
แต่ก็มีความเสี่ยงที่จะไม่สามารถรักษาได้อยู่สูง
ดังนั้นการที่เราสามารถรับรู้ถึงสิ่งที่อันตรายและหลีกเหลี่ยงได้
ก็ยังดีกว่าปล่อยให้อะไรเกิดขึ้นในตอนที่อาจจะแก้ไขไม่ได้แล้ว
3
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1. เพื่อเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับโรคซึมเศร้า
2. เพื่อใช้เป็ นสื้อในการศึกษาสาหรับผู้ที่สนใจในเรื่องโรคซึมเศร้า
3. เพื่อให้ผู้อ่านสามารถนาความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต
เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
จัดทาโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องโรคซึมเศร้าร้ายแรงมากแค่ไหน
ผ่านสื่อเว็บไซต์ www.blogger.com
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
1.สาเหตุของโรคซึมเศร้า
"โรคซึมเศร้า" ถือเป็นโรคหนึ่งซึ่งสามารถเกิดขึ้นได้ในช่วงชีวิตของคนเรา
เหมือนกับโรคทางกายอื่น ๆ เช่น เบาหวาน ความดันโลหิตสูง
แต่การเป็นโรคซึมเศร้าไม่ได้หมายความว่า ผู้ที่เป็นนั้นจะเป็นคนอ่อนแอ ล้มเหลว
หรือไม่มีความสามารถ แต่เป็นเพียงการเจ็บป่วยอย่างหนึ่ง เกิดได้ทั้งมีสาเหตุ เช่น
การสูญเสีย การหย่าร้าง ความผิดหวัง และเกิดได้เองโดยไม่มีสาเหตุใด ๆ
ซึ่งในปัจจุบันโรคนี้สามารถรักษาหายได้ด้วยการใช้ยา การรักษาทางจิตใจ
หรือทั้งสองอย่างรวมกัน
ส่วนปัจจัยที่กระตุ้นให้คนที่มีปัจจัยเสี่ยงเหล่านี้ มีโอกาสเกิดอาการก็คือ ความเครียด
ที่มีความผิดปกติของระดับสารเคมีของเซลล์สมองสร้างขึ้น
เพื่อรักษาสมดุลของอารมณ์
หรือสภาพจิตใจที่เกิดจากการเลี้ยงดูก็เป็นปัจจัยที่เสี่ยงอีกประการหนึ่ง
ต่อการเกิดโรคซึมเศร้าเช่นกัน รวมถึง
หากชีวิตพบกับการสูญเสียครั้งใหญ่ต้องเจ็บป่วยเรื้อรัง
ความสัมพันธ์กับคนใกล้ชิดไม่ราบรื่น
หรือต้องมีการเปลี่ยนแปลงในทางที่ไม่ปรารถนา
ก็อาจกระตุ้นให้โรคซึมเศร้ากาเริบได้เช่นกัน
2.ลักษณะของโรคซึมเศร้า
ลักษณะของคนที่ป่วยเป็นโรคซึมเศร้ามักจะชอบแยกตัวอยู่คนเดียว ย้าคิดย้าทา
เชื่องช้า ซึม เก็บตัว ชอบพูดเปรยว่าถ้าไม่มีเขาอะไรคงจะดี และพูดสั่งเสียอยู่เรื่อยๆ
ซึ่งผู้ป่วยจะมีอาการหนักประมาณ 2-3 เดือน ถือเป็นช่วงอันตรายที่สุด
เพราะมีโอกาสคิดสั้นฆ่าตัวตายสูงมาก หากมีเรื่องกระทบจิตใจเพียงนิดเดียว
แต่ถ้าพ้นช่วงนี้ไปได้ก็จะกลับสู่ภาวะปกติซึ่งอาการของโรคจะกาเริบเมื่อไรไม่มีใคร
รู้ล่วงหน้าบางคน 1-2 ปี จึงจะออกอาการ บางคนเพียง 6
เดือนแต่ถ้ารู้ว่าตัวเองป่วยก็สามารถรักษาให้หายได้
ด้วยการเข้าพบจิตแพทย์และกินยาตามที่แพทย์สั่ง
3.การป้องกันโรคซึมเศร้า
4
สาหรับการป้องกันการเกิดโรคทางจิต หากพบว่ามีปัญหาเครียด ไม่สบายใจ
นอนไม่หลับ ไม่ควรเก็บปัญหาไว้คนเดียว ควรระบายปัญหาออก เช่น
ปรึกษาผู้ที่ไว้วางใจที่สุดเพื่อหาทางออก
ช่วยกันดูแลสมาชิกในครอบครัวสอบถามทุกข์สุข ทากิจกรรม เช่น
ออกกาลังกายอย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 วัน วันละ 30 นาที
จะสามารถคลี่คลายปัญหาสุขภาพจิตได้ดีมาก โดยร่างกายจะหลั่งสารเอนดอร์ฟิน
ซึ่งเป็นสารแห่งความสุข ทาให้นอนหลับสนิททุกวัน
และที่สาคัญไม่ควรใช้สารเสพติดหรือดื่มสุราดับทุกข์
เนื่องจากจะทาให้เกิดการเสพติด และสามารถโทรปรึกษาสายด่วนสุขภาพจิต
1323 และ 1667 ตลอด 24 ชั่วโมง
สิ่งที่เกิดขึ้น ถือเป็นบททดสอบของชีวิต ไม่ว่าจะเป็นความสุข หรือความทุกข์
สมหวังหรือผิดหวัง แต่หากมีสติย้อนคิดและไตร่ตรองให้ถี่ถ้วน
ความเสี่ยงที่จะเป็นโรคซึมเศร้าก็จะลดน้อยลง ที่สาคัญ
การสังเกตและกาลังใจจากคนรอบข้าง
ก็จะช่วยให้โรคนี้ไม่มีทางเกิดขึ้นกับตัวเองหรือคนใกล้ตัวอย่างแน่นอน
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
1. กาหนดหัวข้อโครงานตามความสนใจ
2. หาข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อ
และนาข้อมูลที่ได้มาเสนอครูที่ปรึกษาพร้อมทั้งตั้งคาถามและสมมติฐา
น
3. รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับหัวข้อโดยค้นคว้าจากอินเตอร์เน็ต
หรือแหล่งเรียนรู้อื่นๆ
4. ลงมือปฏบัติตามแผนโครงร่าง
5. ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลพร้อมแก้ไขข้อบกพร่อง
6. นาเสนอโครงงาน
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
1. คอมพิวเตอร์ส่วนตัวและโรงเรียน
2. โปรแกรม Microsoft Word
3. บราวเซอร์ และเว็บไซต์ในการค้นหาข้อมูล
งบประมาณ
ไม่มีจ่ายใช้จ่าย เนื่องจากในอุปกรณ์ส่วนตัวและสาธารณะ
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดั
บ
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดช
อบ
5
ที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
1
2
1
3
1
4
1
5
1
6
17
1 คิดหัวข้อโครงงาน /
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อ
มูล
/
3 จัดทาโครงร่างงาน /
4 ปฏิบัติการสร้างโคร
งงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทาเอกสารรายงา
น
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโครงงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
1. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคซึมเศร้า
2. สามารถนาความรู้ที่ได้ไปปรับใช้ในชีวติประจาวันได้
3. นาความรู้ที่ได้ไปเผยแพร่ให้แก่ผู้อื่น
4. ผู้ที่สนใจบทความสามารถนาความรู้ไปใช้ได้จริง
สถานที่ดาเนินการ : โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
1. กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
1. https://www.sanook.com/health/7329/
2. https://checktour.com/
3. https://www.youtube.com/watch?v=RJdu3jeqh7Y

More Related Content

What's hot

2560 project -1-1
2560 project -1-12560 project -1-1
2560 project -1-1
rungthiwa_
 

What's hot (20)

2562 final-project -m
2562 final-project -m2562 final-project -m
2562 final-project -m
 
2562 final-project 30
2562 final-project 302562 final-project 30
2562 final-project 30
 
น้องหมา
น้องหมาน้องหมา
น้องหมา
 
Bipolar disorder in adolescents
Bipolar disorder in adolescentsBipolar disorder in adolescents
Bipolar disorder in adolescents
 
2562 final-project (1)
2562 final-project  (1)2562 final-project  (1)
2562 final-project (1)
 
Lin
LinLin
Lin
 
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
 
2561 project-chaiyapat
2561 project-chaiyapat2561 project-chaiyapat
2561 project-chaiyapat
 
2559 project1
2559 project12559 project1
2559 project1
 
At1
At1At1
At1
 
2562 final-project 46-609_chitsanupa
2562 final-project 46-609_chitsanupa2562 final-project 46-609_chitsanupa
2562 final-project 46-609_chitsanupa
 
แบบเสนอโครงร่างงานคอม
แบบเสนอโครงร่างงานคอมแบบเสนอโครงร่างงานคอม
แบบเสนอโครงร่างงานคอม
 
Aratchaporn chaimongkol
Aratchaporn chaimongkolAratchaporn chaimongkol
Aratchaporn chaimongkol
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
2562 final-project 22
2562 final-project 222562 final-project 22
2562 final-project 22
 
Chel
ChelChel
Chel
 
2562-final-project_17
2562-final-project_172562-final-project_17
2562-final-project_17
 
Project1 604
Project1 604Project1 604
Project1 604
 
2560 project -1-1
2560 project -1-12560 project -1-1
2560 project -1-1
 
46 project 1
46 project 146 project 1
46 project 1
 

Similar to 615-14

Similar to 615-14 (20)

2562 final-project 02
2562 final-project 022562 final-project 02
2562 final-project 02
 
2562 final-project
2562 final-project2562 final-project
2562 final-project
 
work 1 fix
work 1 fixwork 1 fix
work 1 fix
 
2562 final-project 08
2562 final-project 082562 final-project 08
2562 final-project 08
 
2562 final-project 615 12
2562 final-project 615 122562 final-project 615 12
2562 final-project 615 12
 
2562 final-project 615 12
2562 final-project 615 122562 final-project 615 12
2562 final-project 615 12
 
2562 final-project 29
2562 final-project 292562 final-project 29
2562 final-project 29
 
2562 final-project
2562 final-project2562 final-project
2562 final-project
 
ใบงานที่5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
2562 final-project 12
2562 final-project 122562 final-project 12
2562 final-project 12
 
2562 final-project 0710
2562 final-project 07102562 final-project 0710
2562 final-project 0710
 
2562 final-project-615-33
2562 final-project-615-332562 final-project-615-33
2562 final-project-615-33
 
2562 final-project 21
2562 final-project  212562 final-project  21
2562 final-project 21
 
2562 final-project -21
2562 final-project -212562 final-project -21
2562 final-project -21
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
2562 final-project pongpat-40
2562 final-project pongpat-402562 final-project pongpat-40
2562 final-project pongpat-40
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
doc dog dick
doc dog dickdoc dog dick
doc dog dick
 

More from supasanwongkuna (15)

Dangerous of pandemic
Dangerous of pandemicDangerous of pandemic
Dangerous of pandemic
 
Job
JobJob
Job
 
2562 final-project-21
2562 final-project-212562 final-project-21
2562 final-project-21
 
Job3
Job3Job3
Job3
 
Job2
Job2Job2
Job2
 
Nicotine presention
Nicotine presentionNicotine presention
Nicotine presention
 
Com303
Com303Com303
Com303
 
work2
work2work2
work2
 
pre2
pre2pre2
pre2
 
Pang_task2
Pang_task2Pang_task2
Pang_task2
 
comproject2
comproject2comproject2
comproject2
 
Folk project
Folk projectFolk project
Folk project
 
2 ray
2 ray2 ray
2 ray
 
2562 final-project(TEE)
2562 final-project(TEE)2562 final-project(TEE)
2562 final-project(TEE)
 
2560 final-project pang
2560 final-project pang2560 final-project pang
2560 final-project pang
 

615-14

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5 ปี การศึกษา 2562 ชื่อโครงงาน โรคซึมเศร้าร้ายแรงมากแค่ไหน ชื่อผู้ทาโครงงาน ชื่อ นายภูมิ ตุลย์วัฒนางกูร เลขที่ 14 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ห้อง 15 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปี การศึกษา 2562 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
  • 2. 2 สมาชิกในกลุ่ม 1. นายภูมิ ตุลย์วัฒนางกูร เลขที่ 14 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) : โรคซึมเศร้าร้ายแรงมากแค่ไหน ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) : How serious are depression? ประเภทโครงงาน : โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ชื่อผู้ทาโครงงาน : นายภูมิ ตุลย์วัฒนางกูร ชื่อที่ปรึกษา : ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน : ภาคเรียนที่ 1-2 ปี การศึกษา 62 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) ปัจจุบันนี้เราสามารถพบเห็นคนที่เป็นโรคซึมเศร้าได้ในชีวิตประจาวันอย่างง่ายดาย ไม่ว่าที่ใดในโลก ประเทศไหนๆก็มีอยู่ทุกหนทุกแห่ง แต่เราทราบหรือไม่ว่าในโรคเหล่านั้นมีอันตรายและความสาคัญมากอยู่ ซึ่งก่อให้เกิดอันตรายต่อตัวผู้ที่เป็นโรคซึมเศร้าและคนใกล้ตัว ดังนั้นการศึกษาเรื่องโรคซึมเศร้า จึงเป็นอีกหนึ่งเรื่องที่ควรทราบไว้ป้องกันตัวเองและคนรอบข้าง เพื่อลดโอกาสเกิดโรคภัยและอันตรายที่อาจทาให้เกิดการสูญเสียได้ การรู้ข้อมูลที่อาจไกลตัวแต่เป็ นเรื่องใกล้ตัวจึงสาคัญไม่น้อย ดังนั้นการให้ความรู้ในโอกาศเล็กน้อยๆนี้ อาจช่วยแก้ปัญหาของผู้ที่ถูกลูกหลงจากความไม่รู้และละเลยเรื่องที่ใกล้ตัวและอันตร ายได้ อาจทาให้ร่างกายทรุดโทรมอย่างหนัก หรือทาให้คนรอบข้างที่เราเคยสนิทสนมค่อยๆหายไป และร้ายที่สุดคือการเกิดเสียชีวิตซึ่งอันตรายเป็นอย่างมาก เราอาจจะสามารถรักษาให้หายได้ แต่ก็ต้องเสียบ้างสิ่งไปและการดาเนินชีวิตก็จะเปลี่ยนตามไปด้วย แต่ก็มีความเสี่ยงที่จะไม่สามารถรักษาได้อยู่สูง ดังนั้นการที่เราสามารถรับรู้ถึงสิ่งที่อันตรายและหลีกเหลี่ยงได้ ก็ยังดีกว่าปล่อยให้อะไรเกิดขึ้นในตอนที่อาจจะแก้ไขไม่ได้แล้ว
  • 3. 3 วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1. เพื่อเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับโรคซึมเศร้า 2. เพื่อใช้เป็ นสื้อในการศึกษาสาหรับผู้ที่สนใจในเรื่องโรคซึมเศร้า 3. เพื่อให้ผู้อ่านสามารถนาความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) จัดทาโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องโรคซึมเศร้าร้ายแรงมากแค่ไหน ผ่านสื่อเว็บไซต์ www.blogger.com หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) 1.สาเหตุของโรคซึมเศร้า "โรคซึมเศร้า" ถือเป็นโรคหนึ่งซึ่งสามารถเกิดขึ้นได้ในช่วงชีวิตของคนเรา เหมือนกับโรคทางกายอื่น ๆ เช่น เบาหวาน ความดันโลหิตสูง แต่การเป็นโรคซึมเศร้าไม่ได้หมายความว่า ผู้ที่เป็นนั้นจะเป็นคนอ่อนแอ ล้มเหลว หรือไม่มีความสามารถ แต่เป็นเพียงการเจ็บป่วยอย่างหนึ่ง เกิดได้ทั้งมีสาเหตุ เช่น การสูญเสีย การหย่าร้าง ความผิดหวัง และเกิดได้เองโดยไม่มีสาเหตุใด ๆ ซึ่งในปัจจุบันโรคนี้สามารถรักษาหายได้ด้วยการใช้ยา การรักษาทางจิตใจ หรือทั้งสองอย่างรวมกัน ส่วนปัจจัยที่กระตุ้นให้คนที่มีปัจจัยเสี่ยงเหล่านี้ มีโอกาสเกิดอาการก็คือ ความเครียด ที่มีความผิดปกติของระดับสารเคมีของเซลล์สมองสร้างขึ้น เพื่อรักษาสมดุลของอารมณ์ หรือสภาพจิตใจที่เกิดจากการเลี้ยงดูก็เป็นปัจจัยที่เสี่ยงอีกประการหนึ่ง ต่อการเกิดโรคซึมเศร้าเช่นกัน รวมถึง หากชีวิตพบกับการสูญเสียครั้งใหญ่ต้องเจ็บป่วยเรื้อรัง ความสัมพันธ์กับคนใกล้ชิดไม่ราบรื่น หรือต้องมีการเปลี่ยนแปลงในทางที่ไม่ปรารถนา ก็อาจกระตุ้นให้โรคซึมเศร้ากาเริบได้เช่นกัน 2.ลักษณะของโรคซึมเศร้า ลักษณะของคนที่ป่วยเป็นโรคซึมเศร้ามักจะชอบแยกตัวอยู่คนเดียว ย้าคิดย้าทา เชื่องช้า ซึม เก็บตัว ชอบพูดเปรยว่าถ้าไม่มีเขาอะไรคงจะดี และพูดสั่งเสียอยู่เรื่อยๆ ซึ่งผู้ป่วยจะมีอาการหนักประมาณ 2-3 เดือน ถือเป็นช่วงอันตรายที่สุด เพราะมีโอกาสคิดสั้นฆ่าตัวตายสูงมาก หากมีเรื่องกระทบจิตใจเพียงนิดเดียว แต่ถ้าพ้นช่วงนี้ไปได้ก็จะกลับสู่ภาวะปกติซึ่งอาการของโรคจะกาเริบเมื่อไรไม่มีใคร รู้ล่วงหน้าบางคน 1-2 ปี จึงจะออกอาการ บางคนเพียง 6 เดือนแต่ถ้ารู้ว่าตัวเองป่วยก็สามารถรักษาให้หายได้ ด้วยการเข้าพบจิตแพทย์และกินยาตามที่แพทย์สั่ง 3.การป้องกันโรคซึมเศร้า
  • 4. 4 สาหรับการป้องกันการเกิดโรคทางจิต หากพบว่ามีปัญหาเครียด ไม่สบายใจ นอนไม่หลับ ไม่ควรเก็บปัญหาไว้คนเดียว ควรระบายปัญหาออก เช่น ปรึกษาผู้ที่ไว้วางใจที่สุดเพื่อหาทางออก ช่วยกันดูแลสมาชิกในครอบครัวสอบถามทุกข์สุข ทากิจกรรม เช่น ออกกาลังกายอย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 วัน วันละ 30 นาที จะสามารถคลี่คลายปัญหาสุขภาพจิตได้ดีมาก โดยร่างกายจะหลั่งสารเอนดอร์ฟิน ซึ่งเป็นสารแห่งความสุข ทาให้นอนหลับสนิททุกวัน และที่สาคัญไม่ควรใช้สารเสพติดหรือดื่มสุราดับทุกข์ เนื่องจากจะทาให้เกิดการเสพติด และสามารถโทรปรึกษาสายด่วนสุขภาพจิต 1323 และ 1667 ตลอด 24 ชั่วโมง สิ่งที่เกิดขึ้น ถือเป็นบททดสอบของชีวิต ไม่ว่าจะเป็นความสุข หรือความทุกข์ สมหวังหรือผิดหวัง แต่หากมีสติย้อนคิดและไตร่ตรองให้ถี่ถ้วน ความเสี่ยงที่จะเป็นโรคซึมเศร้าก็จะลดน้อยลง ที่สาคัญ การสังเกตและกาลังใจจากคนรอบข้าง ก็จะช่วยให้โรคนี้ไม่มีทางเกิดขึ้นกับตัวเองหรือคนใกล้ตัวอย่างแน่นอน วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน 1. กาหนดหัวข้อโครงานตามความสนใจ 2. หาข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อ และนาข้อมูลที่ได้มาเสนอครูที่ปรึกษาพร้อมทั้งตั้งคาถามและสมมติฐา น 3. รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับหัวข้อโดยค้นคว้าจากอินเตอร์เน็ต หรือแหล่งเรียนรู้อื่นๆ 4. ลงมือปฏบัติตามแผนโครงร่าง 5. ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลพร้อมแก้ไขข้อบกพร่อง 6. นาเสนอโครงงาน เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ 1. คอมพิวเตอร์ส่วนตัวและโรงเรียน 2. โปรแกรม Microsoft Word 3. บราวเซอร์ และเว็บไซต์ในการค้นหาข้อมูล งบประมาณ ไม่มีจ่ายใช้จ่าย เนื่องจากในอุปกรณ์ส่วนตัวและสาธารณะ ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดั บ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดช อบ
  • 5. 5 ที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 1 2 1 3 1 4 1 5 1 6 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน / 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อ มูล / 3 จัดทาโครงร่างงาน / 4 ปฏิบัติการสร้างโคร งงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทาเอกสารรายงา น 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) 1. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคซึมเศร้า 2. สามารถนาความรู้ที่ได้ไปปรับใช้ในชีวติประจาวันได้ 3. นาความรู้ที่ได้ไปเผยแพร่ให้แก่ผู้อื่น 4. ผู้ที่สนใจบทความสามารถนาความรู้ไปใช้ได้จริง สถานที่ดาเนินการ : โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง 1. กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน) 1. https://www.sanook.com/health/7329/ 2. https://checktour.com/ 3. https://www.youtube.com/watch?v=RJdu3jeqh7Y